Best Practice 1. ชื่อผลงาน Best Practice การบริหารงานแบบ 6 ใจ กลุม่ สาระการเรี ยนรู้ ด้ าน( / )วิชาการ( )บริหารจัดการศึกษา ( )นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน 2. ข้ อมูลทัว่ ไปของผู้พฒ ั นา Best Practice 2.1 ชื่อผู้พฒ ั นา Best Practice นายสมเดช ช้ างงา ผู้อานวยการโรงเรี ยนชานาญการพิเศษ 2.2 โรงเรี ยนบ้ านวังลาน ตาบลหนองหญ้ า อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี เครื อข่ายพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาเกาะสาโรง 2.3 โทรศัพท์ 081-5269487 e-mail Mrsomdesh@hotmail.co.th 3. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา Best Practice 3.1 เพื่อพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้ มีคณ ุ ภาพ 3.2 เพื่อจัดกระบวนการเรี ยนรู้ที่มีประสิทธิภาพ 3.3 เพื่อวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ที่มีคณ ุ ภาพ มาตรฐาน มีความชัดเจน 3.4 เพื่อพัฒนาสื่อ นวัตกรรมเพื่อการเรี ยนรู้มีคณ ุ ภาพและจานวนเพียงพอ 3.5 เพื่อพัฒนากิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยนให้ มีคณ ุ ภาพส่งเสริมหลักสูตรคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3.6 เพื่อให้ มีระบบนิเทศภายในสถานศึกษาที่มีคณ ุ ภาพ 4. ระยะเวลาในการพัฒนา Best Practice 16 พฤษภาคม 2555 – 31 มีนาคม 2556 5. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง Best Practice กับเป้าหมาย/จุดเน้ นของ สพป./สพฐ./สถานศึกษา เชื่อมโยงกับกลยุทธ์ที่ 1 ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื ้ ้นฐาน คือพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถด้ านเทคโนโลยีเพื่อเป็ นเครื่ องมือใน การเรี ยนรู้ สัมพันธ์กลยุทธ์ที่ 1 ของสานักงานเขตพื ้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 คือพัฒนา คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถด้ านเทคโนโลยีเพื่อเป็ น เครื่ องมือในการเรี ยนรู้ และสัมพันธ์กบั กลยุทธ์ที่ 1ของโรงเรี ยนคือ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ทุกระดับและส่งเสริมเทคโนโลยีเพื่อเป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู้ การบริหารงานตามพระราชดารัส “เข้ าใจ เข้ าถึง พัฒนา” เพื่อการบริหารวิชาการสูค่ ณ ุ ภาพ เป็ นภาระหลักของสถานศึกษาอย่างหนึง่ ที่จะต้ องพัฒนา นวัตกรรมการบริหารงานที่เหมาะสมกับบริบท สอดคล้ องวิสยั ทัศน์ เป้าหมาย พันธกิจ และกลยุทธ์ของ โรงเรี ยน วิสัยทัศน์ ของโรงเรียน
2 ”โรงเรี ยนบ้ านวังลานจัดการศึกษาให้ ได้ มาตรฐานการศึกษาชาติ นาเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนรู้ บุคลากรมีมาตรฐานวิชาชีพ ผู้เรี ยนมีคณ ุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง โดยชุมชนมีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษา” พันธกิจ 1.จัดการศึกษาให้ ได้ มาตรฐานการศึกษาชาติ 2.ส่งเสริมการใช้ เทคโนโลยีในการจัดการ 3.พัฒนาบุคลากรให้ มีมาตรฐานวิชาชีพ 4.ส่งเสริมผู้เรี ยนให้ มีคณ ุ ลักษณะอันพึงประสงค์และดารงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 5.ส่งเสริมให้ ชมุ ชนเข้ ามามีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษา เป้าประสงค์ 1.จัดการศึกษาให้ ได้ มาตรฐานการศึกษาชาติ 2.ใช้ เทคโนโลยีในการจัดการ 3.บุคลากรมีมาตรฐานวิชาชีพ 4.ผู้เรี ยนให้ มีคณ ุ ลักษณะอันพึงประสงค์และดารงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5.ชุมชนเข้ ามามีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษา กลยุทธ์ การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรี ยนบ้ านวังลาน กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมเทคโนโลยีเพื่อเป็ น เครื่ องมือในการเรี ยนรู้ กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝั งคุณธรรม ความสานึกในความเป็ นชาติไทยและวิถีชีวิตตามหลักของปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง กลยุทธ์ที่ 3 ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ ทวั่ ถึงครอบคลุมผู้เรี ยนได้ รับโอกาสในการพัฒนาเต็ม ตามศักยภาพ กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทังระบบ ้ กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาตามแนวทางการกระจายอานาจตามหลัก ธรรมาภิบาล เน้ นการมีสว่ นร่วมจากทุกภาคส่วน 6. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ ในการพัฒนา Best Practice
3 การบริหารโดยทัวไปมี ่ ความมุ่งหมายเพือ่ ต้องการให้การปฏิบตั งิ านบรรลุตามวัตถุประสงค์ การ บริหารจึงเป็ นทัง้ ศาสตร์และศิลป์ ซึง่ มีเทคนิควิธเี พือ่ นาไปสู่เป้ าหมายทีก่ าหนดไว้ โดยอาศัยหลักการและ กระบวนการต่างๆ โรงเรียนบ้านวังลานได้นาหลักคิดและทฤษฎีต่าง ๆ มาบูรณาการกันเพือ่ ให้สอดคล ้อ กับบริบทของโรงเรียนจึงได้การบริหารแบบ 6 ใจมาบริหารงานของโรงเรียน
เข้าใจ ขวัญและ กาลังใจ
ไว้ใจ
การบริ หาร แบบ 6 ใจ มีใจ
ใส่ใจ
รวมใจ
แผนผังการบริหารแบบ 6 ใจ 1. เข้ าใจ หมายถึงความเข้ าใจในบริบทของโรงเรี ยน เข้ าใจประเด็น จุดมุง่ หมาย ทิศทางงานทีทา ทางโรงเรี ยนบ้ านวังลานได้ ดาเนินการจัดทา SWOT Analysis Strengths คือ จุดแข็ง หมายถึง เรามีจดุ แข็งหรื อส่วนดีด้านใดบ้ าง เก่งทางด้ านไหน ควรหา วิธีการพัฒนาและฝึ กฝนด้ านดีนี ้ตลอดเวลา เพื่อเพิ่มศักยภาพให้ ดีขึ ้นอยูเ่ สมอ Weaknesses คือ จุดอ่อน เรามีข้อด้ อยในด้ านใด สิ่งไหนที่ไม่ถนัด ไม่ชอบ หรื ออาจทาไม่คอ่ ยได้ ควรพยายามหาทางแก้ ไข ปรับปรุง และพัฒนาจุดอ่อนนันให้ ้ ลดน้ อยลงหรื อหมดไปในที่สดุ
4 Opportunities คือ โอกาส ซึง่ เป็ นปั จจัยของสภาพแวดล้ อมภายนอก ที่เอื ้ออานวยให้ การทางาน นันเป็ ้ นไปตามจุดมุง่ หมายที่วางไว้ และช่วยส่งเสริมการพัฒนาตนเองให้ มีประสิทธิภาพที่ดี ยิ่งขึ ้น ดังนันเมื ้ ่อมีโอกาสที่ดีเข้ ามาแล้ วจึงไม่ควรปล่อยให้ โอกาสนันหลุ ้ ดลอยไป Threats คือ อุปสรรค เป็ นปั จจัยภายนอก ที่สง่ ผลกระทบต่อเป้าหมาย ซึง่ อุปสรรคนี ้อาจทาให้ เราไม่สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ที่วางไว้ ได้ 2. ไว้ ใจ หมายถึงการกระจายอานาจ (Decentralization) เป็ นการมอบอานาจให้ กบั ผู้ใต้ บงั คับบัญชาตามภาระงานโดยอาศัยหลักธรรมาภิบาล (Good governence) คือหลักนิติ ธรรม หลักคุณธรรมหลักความโปร่งใส หลักการมีสว่ นร่วม หลักความคุ้มค่า ทาให้ ได้ ทีมงาน (Team )ในการร่วมปฏิบตั งิ านที่มีข้อตกลงร่วมกัน มีผลประโยชน์ร่วมกัน และมีความรับผิดชอบ ร่วมกัน
2.1 การแบ่งงาน (Division of work) เป็ นการกาหนดภารกิจและความรับผิดชอบให้บคุ ลากร 2.2 มอบอานาจความรับผิดชอบ (Authority) ให้ผูป้ ฏิบตั ไิ ด้ทาตามบทบาทหน้าที่ และ รับผิดชอบต่อผลทีเ่ กิดขึ้น รวมทัง้ คานึงถึงการให้รางวัล และผลตอบแทนทีเ่ หมาะสม 2.3 กฎระเบียบ (Discipline) จัดให้มกี ฎและระเบียบ หรือข้อตกลงร่วมกันระหว่างผูบ้ ริ หาร และผูป้ ฏิบตั ไิ ด้เข้าใจตรงกันและจาเป็ นต้องอาศัยการแนะนาการนิเทศทีด่ ี 2.4 เอกภาพการสังการ ่ (Unity of command) งานควรได้รบั คาแนะนา หรือคาสังจาก ่ ผูบ้ ริหารหรือหัวหน้างานเท่านัน้ 2.5 เอกภาพของการกาหนดทิศทาง (Unity of direction) ผูบ้ ริหารต้องกาหนดทิศทาง เป้ าหมาย แต่ละงานให้ตรงตามวัตถุประสงค์ ซึง่ จาเป็ นต้องอาศัยการประสานงาน การ สร้างเอกภาพ และการเน้นการปฏิบตั ิ 3. มีใจ หมายถึงความตัง้ ใจในการปฏิบตั งิ านโดยยึดหลักการพัฒนาคุณภาพ (Quality Management) เป็ นการบริหารงานเพือ่ นาไปสู่ความเป็ นเลิศทางวิชาการ องค์ประกอบของคุณภาพทีเ่ ป็ น ตัวชี้วดั คือผลผลิตและกระบวนการเป็ นปัจจัยสาคัญทีท่ าให้บคุ ลากรและผูร้ บั บริการได้รบั ความพึงพอใจ พัฒนาศักยภาพ เป็ นทีย่ อมรับของสังคมในระดับสากลมากขึ้น โดยอาศัยกระบวนการประกันคุณภาพ การศึกษา ได้แก่ การควบคุมคุณภาพ การตรวจสอบคุณภาพ และการประเมินคุณภาพ โรงเรี ยนบ้ าน วังลานได้ นาหลักการของไคเซ็นมาใช้ในการบริหารมีกระบวนการ 7 ขัน้ ตอน ดังนี้ 3.1 สังเกต ค้นหาจุดทีเ่ ป็ นปัญหา เช่น ความสูญเปล่า ความไม่สมา่ เสมอ สุดวิสยั เช่น ปัญหาด้านคุณภาพ ต้นทุนสูง ความปลอดภัยน้อย เวลาต้องล่าช้าอยู่เป็ นประจา 3.2 สืบสวน ตรวจตรา สภาพการณ์ปจั จุบนั
5 3.3 คิดค้น ออกความคิดว่าหากทาเช่นนี้แล้วจะเป็ นอย่างไรบ้าง 3.4 สะสาง การจัดระบบ จัดหมวดหมู่ 3.5 ปฏิบตั ิ ดาเนินการปรับปรุง โดยทดลองทาและสังเกตดูวา่ ดีหรือไม่ดอี ย่างไร 3.6 ติดตามตรวจสอบประสิทธิผล จนกว่าผลลัพธ์จะคงที่ 3.7 สรุป ทารายงาน เขียนข้อเสนอแนะ 4.รวมใจ หมายถึงการทางานใช้ หลักการมีสว่ นร่วม (Participation) การปรับปรุงคุณภาพของ กระบวนการบริหารได้พฒั นามาอย่างต่อเนื่อง สมา่ เสมอตลอดเวลา โดยทุกคนในหน่วยงานมี ส่วนร่วมเสนอแนะปรับปรุงและพัฒนา หลักการมีส่วนร่วมต้องการให้ทกุ คนได้ร่วมกันทางาน ซึง่ ลักษณะของงานวิชาการต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่ าย โดยโรงเรียนได้ดาเนินงานใน รูปของคณะกรรมการวิชาการ ซึง่ จะมีเป้ าหมายการทางานร่วมกัน นาไปสู่การพัฒนาคุณภาพได้ มากขึ้น ให้ทกุ คน ร่วมคิด ร่วมทา และร่วมประเมินผล 5. ใส่ ใจ หมายถึงการทีบ่ คุ คลใส่ใจในการปฏิบตั งิ านยึดหลัก 3 องค์ประกอบ ได้แก่ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และประหยัด 3.1 ประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง การปฏิบตั ติ ามแผนทีก่ าหนดไว้ เป็ นไปตามขัน้ ตอน และกระบวนการ มีปญั หาและอุปสรรคอย่างไรในขณะดาเนินการก็สามารถปรับปรุงแก้ไข ได้ มีประสิทธิภาพเน้นไปทีก่ ระบวนการ (Process) การใช้กลยุทธ์และเทคนิควิธตี ่าง ๆ ที ทาให้บรรลุวตั ถุประสงค์มากทีส่ ุด 3.2 ประสิทธิผล (Effectiveness) หมายถึง ได้ผลผลิต (Outputs) ตามวัตถุประสงค์ทก่ี าหนด ไว้ ตรงตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร มีความรูค้ วามสามารถ มีทกั ษะเพิม่ ขึ้น รวมทัง้ การ คานึงถึงประโยชน์ทไ่ี ด้รบั อย่างไรก็ตามมักใช้คาสองคานี้ควบคู่กนั คือมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล 3.3 ประหยัด (Economy) หมายถึง การใช้เวลาน้อย การลงทุนน้อย การใช้กาลังหรือแรงงาน น้อย โดยไม่ตอ้ งเพิม่ ทรัพยากรทางการบริหาร แต่ได้ผลผลิตตามทีค่ าดหวัง โรงเรียนบ้าน วังลานได้คานึงถึงความประหยัด อย่างไรก็ตามในการบริหารเพือ่ พัฒนาคุณภาพต้อง อาศัยความประหยัด บุคลากร งบประมาณ วัสดุและเทคโนโลยี และใช้เวลาน้อยอีกด้วย 6. ขวัญและกาลังใจ โรงเรียนบ้านวังลานใช้แนวคิดของ เมโย เพือ่ ให้บคุ ลากรทางานอย่างมี
ความสุข ซึง่ ได้สรุปปัจจัยทีส่ าคัญและเป็ นองค์ประกอบต่อประสิทธิภาพขององค์การไว้ดงั นี้
6 6. 1 ขวัญ (M or al ) บุคลากรจะต้องมีขวัญและกาลังใจทีด่ ใี นการทางาน ผูบ้ ริหาร ได้ คานึงถึงขวัญและกาลังใจ โดยการสร้างมนุษยสัมพันธ์ทด่ี กี บั ผูร้ ่วมงานทุกคน 6.2 ระดับความปรารถนา (Level of aspiration) ทุกคนมีความปรารถนาต่อชีวติ เพือ่ สร้างคุณภาพชีวติ ทีด่ แี ก่ตนเองและครอบครัว หรือสังคม ดังนัน้ การตัง้ ความหวัง เพือ่ พัฒนาไปสู่ความปรารถนาสูงสุดย่อมเป็ นแรงผลักดันให้การปฏิบตั งิ านมีความสาเร็จ 6.3 ความตระหนักในตนเอง (Self-realization) บุคลากรจะต้องสร้างความตระหนักใน
บทบาทและหน้าที่ ผูบ้ ริหารได้เห็นความสาคัญของทุกคน ทุกส่วน ประกอบกันในองค์การ การรูแ้ ละเข้าใจในหน้าทีข่ องตนเอง จะเป็ นพื้นฐานในการปฏิบตั งิ านร่วมกัน 6.4 ความรู้สกึ เป็ นเจ้ าของ (Sense of belonging) การให้ทกุ คนมีความรูส้ กึ เป็ นเจ้าของ
จึงสร้างความผูกพันต่อองค์การมากขึ้น มนุษยสัมพันธ์กบั เพือ่ นร่วมงานดี มีความอบอุ่น มีชวี ติ ชีวาทาให้รูส้ กึ เป็ นเจ้าของ ต้องการให้สถานศึกษาทีป่ ฏิบตั งิ านประสบความสาเร็จ และไม่ละทิ้งหน้าทีข่ องตนเอง 6.5 การมีสว่ นร่วมในการทางาน (Participation) ผูบ้ ริหารเปิ ดโอกาสให้บคุ ลากรมีส่วน
ร่วมในการคิด วางแผนแก้ปญั หาทีอ่ าจเกิดขึ้น ร่วมปฏิบตั ิ และร่วมประเมินผล มีมนุษย สัมพันธ์ทด่ี ี ต่อกันก่อให้เกิดความร่วมมือและก่อให้เกิดผลต่อองค์ประกอบอืน่ ๆ ทีก่ ล่าว มาแล ้วอีกด้วย ทัง้ ห้าองค์ประกอบนี้ เป็ นส่วนทีเ่ กี่ยวข้องกับความรูส้ กึ หรือจิตใจและอ่อนไหวง่าย ดังนัน้ โรงเรียนบ้านวังลานจึงได้สร้างความรูส้ กึ และจิตใจให้เข้มแข็ง เปิ ดโอกาสให้ทกุ คนได้แสดงความคิดเห็น ร่วมกัน สร้างความสัมพันธ์ทด่ี ตี ่อกัน 7. กระบวนการพัฒนา Best Practice 7.1 กลุม่ เป้าหมายในการนา Best Practice ไปใช้ กลุม่ เป้าหมายในการพัฒนา ได้ แก่ ครูและบุคลากร นักเรี ยน ของโรงเรี ยนบ้ าน วังลาน และผู้เกี่ยวข้ อง ประกอบด้ วย ครูและบุคลากร ทางการศึกษา จานวน 20 คน นักเรี ยนจานวน 271 คน 7.2 ขันตอนการพั ้ ฒนา Best Practice การพัฒนา Best practice เรื่ อง การบริหารวิชาการแบบ 6 ใจ ประกอบด้ วย วิธีดาเนินการ พัฒนา วิธีดาเนินการพัฒนา ดาเนินการตาม 4 ขันตอนดั ้ งรายละเอียดต่อไปนี ้
7
ขันตอนการด ้ าเนินงาน FLOW CHART ศึกษาองค์ประกอบของรูปแบบการบริหารงานแบบ 6 ใจ
สร้ างรูปแบบการบริหารงานแบบ 6 ใจ
ทดลองใช้ รูปแบบการบริหารงานแบบ 6 ใจ
ประเมินรูปแบบการบริหารงานแบบ 6 ใจ
ตอนที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบของรูปแบบการบริหารงานแบบ 6 ใจ ตอนที่ 2 การสร้ างรูปแบบการบริหารงานแบบ 6 ใจ ได้ ดาเนินการดังนี ้ 1. นาผลการวิเคราะห์ แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั และการวิเคราะห์ความคิดเห็น เกี่ยวกับ องค์ประกอบที่สาคัญของรูปแบบการบริหารงานแบบต่างๆ มาร่างเป็ นรูปแบบ โดยมี องค์ประกอบหลัก และองค์ประกอบย่อย
8 2. การตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็ นไปได้ ของรูปแบบการบริหารงานแบบ 6 ใจ โดย ผู้เกี่ยวข้ องจากสถานศึกษาในเครื อข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาเกาะสาโรง จานวน 8 คน และ ผู้เชี่ยวชาญจานวน 3 ท่าน โดยใช้ แบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ นาข้ อมูลที่ได้ ไปแก้ ไข ปรับปรุงร่างรูปแบบการบริหารงานแบบ 6 ใจ ตามข้ อเสนอแนะของผู้เกี่ยวข้ องและ ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อให้ รูปแบบมีความเหมาะสมและความเป็ นไปได้ มากที่สดุ แล้ วนามาสร้ าง ข้ อตกลง ร่วมกันดาเนินการตามรูปแบบการบริหารงานแบบ 6 ใจ เพื่อการบริหารวิชาการสูค่ ณ ุ ภาพ 3. การประเมินความเหมาะสมของคูม่ ือการดาเนินการตามรูปแบบการบริหารงานแบบ 6 ใจ โดย ผู้เชี่ยวชาญและผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา จานวน 27 คน ด้ วย แบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ โดยพิจารณาจากระดับความเหมาะสม นา ข้ อมูลที่ได้ ไปปรับปรุงข้ อตกลงการดาเนินการตามรูปแบบการบริหารงานแบบ 6 ใจ ตามความ คิดเห็นและข้ อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญและผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา แล้ วนาไปทดลองใช้ ตอนที่ 3 การทดลองใช้ รูปแบบการบริหารงานแบบ 6 ใจ โดยทดลองใช้ ใน โรงเรี ยนบ้ านวังลาน ตาบล หนองหญ้ า อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ปี การศึกษา 2556 ตังแต่ ้ เดือนพฤษภาคม 2555 ถึง เดือน มีนาคม 2556 โดยได้ ทดลองการดาเนินงานตามข้ อตกลงการดาเนินการตามรูปแบบการ บริหารงานแบบ 6 ใจ และวัดผลการดาเนินการตามรูปแบบหลังการทดลองใช้ ตอนที่ 4 การประเมินรูปแบบการบริหารงานแบบ 6 ใจ ซึง่ มีรายละเอียดดังนี ้ 4.1 การศึกษาข้ อมูลพื ้นฐานสาหรับการพัฒนารูปแบบการบริหารงานแบบ 6 ใจ ได้ ดาเนินการ รวบรวมข้ อมูลสารสนเทศจากแหล่งข้ อมูล คื อ ศึกษา แนวคิด ทฤษฎี จากเอกสารและงานวิจยั ที่ เกี่ยวข้ องกับ การบริหารการศึกษา หลักการทางานเป็ นทีม ภารกิจและขอบข่ายงานวิชาการใน สถานศึกษาขันพื ้ ้นฐานและ กระบวนการบริหารงานวิชาการตามแนวปฏิรูปการศึกษา 4.2 การสังเคราะห์เนื ้อหา ผู้ใช้ นาผลจากการวิเคราะห์ สังเคราะห์เนื ้อหาและดาเนินการร่างรูปแบบ การบริหารงานแบบ 6 ใจ ซึง่ ประกอบด้ วยโครงสร้ างที่แสดงความสัมพันธ์ ระหว่างองค์ประกอบ การบริหารงานแบบ 6 ใจ ประกอบด้ วย การเข้ าใจ การไว้ ใจ การมีใจ การรวมใจ การพอใจ ขวัญกาลังใจ และ คุณธรรมจริยธรรม 7.3 การตรวจสอบคุณภาพ Best Practice ในขันตอนนี ้ ้ผู้พฒ ั นาได้ ดาเนินการดังนี ้ ประเมินคุณภาพ ของ รูปแบบ ก่อน นาไปใช้ โดยหาคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญด้ านการบริหารทังหมด ้ 8 ท่านเมื่อมี คุณภาพแล้ วจึงนามาใช้ จริง การสร้ างรูปแบบต้ องมีการศึกษารูปแบบต่างๆ อย่างชัดเจนก่อนสร้ าง
9 รูปแบบใหม่ที่เหมาะสมกับ สภาพการบริหารจัดการ บริบทของแต่ละโรงเรี ยนแต่ความน่าเชื่อถือใน รูปแบบการบริหารจัดการต้ องอยูใ่ นระดับดีมากการบริหารจึงจะประสบความสาเร็จ การทบทวน ปรับปรุง พัฒนาต้ องมีอย่างต่อเนื่อง ซึง่ จะนาผลจากการเก็บข้ อมูลมาวิเคราะห์ ปรับปรุง ต่อไป 7.4 แนวทางการนา Best Practice ไปใช้ ประโยชน์ 1) ทุกคนที่เกี่ยวข้ องมีสว่ นร่วม ร่วมคิด ร่วมสร้ าง ร่วมใช้ และร่วมประเมิน 2) ตระหนักถึงความสาคัญในการพัฒนาการจัดการศึกษาให้ ผ้ เู รี ยนเป็ นคนดี คนเก่ง และคนที่ มี ความสุขอยูร่ ่วมกันในสังคมอย่างสันติรูปแบบการบริหารจัดการที่ดีที่สดุ คือรูปแบบของนักเรี ยน เรา โรงเรี ยนเรา และบริบทของเรา 3) ทาให้ เกิดองค์กรคุณภาพครูแ ละนักเรี ยนมี จิตมุง่ เน้ นการให้ บริการที่ดี คุณธรรมจริยธรรม การ เรี ยนรู้ตลอดเวลา คานึงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความคุ้มค่า มีทกั ษะในการคิดและการ ดาเนินชีวิต 4) มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องทาให้ เกิดระบบงานที่มีคณ ุ ภาพเกิดวัฒนธรรมองค์ก รที่มีความยัง่ ยืน 8. ผลสาเร็จที่เกิดขึ ้นจากการพัฒนา Best Practice 8.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 1) เพื่อให้ มีหลักสูตรทุกกลุม่ สาระการเรี ยนรู้ 2) เพื่อจัดกระบวนการเรี ยนรู้ที่มีประสิทธิภาพ มีแผนการจัดการเรี ยนรู้ทกุ วิชา 3) เพื่อวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ทกุ ภาคเรี ยน หรื อปี ละ 1 ครัง้ 4) เพื่อพัฒนาสื่อ นวัตกรรมเพื่อการเรี ยนรู้ทกุ สาระวิชา 5) เพื่อพัฒนากิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยนให้ มีคณ ุ ภาพ ส่งเสริมหลักสูตร คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ปีการศึกษาละ 1 ครัง้ 6) เพื่อให้ มีระบบนิเทศภายในสถานศึกษา ภาคเรี ยนละ 1 ครัง้ 8.2 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) เพื่อให้ ได้ หลักสูตรที่มีคณ ุ ภาพ 2) เพื่อมีแนวทางจัดกระบวนการเรี ยนรู้ที่มีประสิทธิภาพ 3) เพื่อให้ การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ที่มีคณ ุ ภาพ มาตรฐาน มีความชัดเจน 4) เพื่อพัฒนาสื่อ นวัตกรรมเพื่อการเรี ยนรู้มีคณ ุ ภาพและจานวนเพียงพอ 5) เพื่อพัฒนากิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยนให้ มีคณ ุ ภาพ ส่งเสริมหลักสูตร คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 6) เพื่อให้ มีระบบนิเทศภายในสถานศึกษาที่มีคุณภาพ 8.3 ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้ องต่อ Best Practice จากการประเมินความพึงพอใจของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรี ยนบ้ านวังลาน
10 ประกอบด้ วย ครูและบุคลากรทางการศึกษาจานวน 20 คน นักเรี ยนจานวน 165 คน ผู้ปกครอง นักเรี ยนจานวน 82 คน คณะกรรมการสถานศึกษาขันพื ้ ้นฐานจานวน 9 คน รวม คนโดยใช้ แบบสอบถาม ร้ อยละ 92 มีความพึงพอใจในระดับดีมาก 8.4 ปั จจัยความสาเร็จของการพัฒนา Best Practice / ประสบการณ์เรี ยนรู้จากการนา Best Practice ไปใช้ ปั จจัยที่ทาให้ เกิดความสาเร็จในการบริหารรูปแบบการบริหารที่พฒ ั นาขึ ้น คือ 1) ผู้บริหารให้ การสนับสนุน ส่งเสริม เป็ นที่ปรึกษา แนะแนวทางสร้ างและปฏิบตั ิ อย่างจริงจัง ต่อเนื่อง 2) ครูมีความตระหนักเห็นคุณค่าของการพัฒนาตนรวมทังการถ่ ้ ายทอดสัง่ สอนนักเรี ยนอย่างเต็ม ศักยภาพ 3) องค์กรมีทิศทางการบริหารและพัฒนาที่ชดั เจน เกิดวัฒนธรรมองค์กร 4) การจัดการความรู้ถกู นามาใช้ อย่างแท้ จริง 5) การพัฒนาต้ องมีความต่อเนื่องจึงจะเกิดความยัง่ ยืน 9. กระบวนการตรวจสอบซ ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง Best Practice ให้ เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง 9.1 วิธีการตรวจสอบซ ้า Best Practice จากการดาเนินงานในปี การศึกษาแรกประสบความสาเร็จในระดับหนึง่ ดังนันจึ ้ งได้ นารูปแบบ การบริหารงานแบบ 6 ใจ เพื่อการบริหารวิชาการสูค่ ณ ุ ภาพ มาปรับปรุงพัฒนา เพิ่มเติมบางส่วน ให้ เกิดความสมบูรณ์ แล้ วนาไปใช้ ในปี การศึกษาต่อไป เป็ นการสร้ าง การใช้ การประเมินผลแล้ วนา ผลการประเมินมาใช้ พฒ ั นาอย่างเป็ นระบบที่ตอ่ เนื่อง 9.2 ผลการตรวจสอบซ ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง Best Practice ผลการประเมินพบว่า ทัง้ 5 ส่วนประกอบมีความสาคัญ ต้ องพัฒนาไปพร้ อม ๆ กัน สร้ างให้ เกิดขึ ้นในตัวของครูและ นักเรี ยนดังนี ้ 1) มีหลักสูตรที่มีคณ ุ ภาพทุกกลุม่ สาระวิชา 2) มีการจัดกระบวนการเรี ยนรู้ที่มีประสิทธิภาพ ทุกกลุม่ สาระวิชา 3) มีการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ที่มีคณ ุ ภาพ มาตรฐาน ทุกกลุม่ สาระวิชา 4) มีการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมเพื่อการเรี ยนรู้มีคณ ุ ภาพและจานวนเพียงพอทุกกลุม่ สาระวิชา 5) มีการพัฒนากิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยนให้ มีคณ ุ ภาพ ส่งเสริมหลักสูตร คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 6) มีระบบนิเทศภายในสถานศึกษาที่มีคณ ุ ภาพทุกปี การศึกษา 10.การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ Best Practiceและการเผยแพร่ การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ Best Practiceและการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้ าง โรงเรี ยนได้
11 เผยแพร่ผา่ นทางเว็บไซด์ของโรงเรี ยน ตังแต่ ้ ปี 2555 จนถึงปั จจุบนั จัดนิทรรศการเผยแพร่ผ ลงาน วิชาการของโรงเรี ยนบ้ านวังลาน ได้ เผยแพร่เป็ นเอกสารไปยังโรงเรี ยนในศูนย์เครื อข่ายพัฒนาคุณภาพ การศึกษาเกาะสาโรง โรงเรี ยนต่าง ๆ ใน อาเภอเมือง และสานักงานเขตพื ้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต 1