BP นางดวงสมร บาตรโพธิ์ ผอ.ร.ร.บ้านท่ามะนาว

Page 1

Best Practice ๑. ชื่อผลงาน BP นิเทศเยี่ยงมิตรยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้ ด้าน ( / ) วิชาการ ( )บริหารจัดการศึกษา

( ) นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน

๒. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP ๒.๑ ชื่อผู้พัฒนา BP นางดวงสมร บาตรโพธิ์ ๒.๒ โรงเรียน เครือข่าย ๒.๓ โทรศัพท์

บ้านท่ามะนาว เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาวังด้ง – ช่องสะเดา ๐๘๕๒๑๗๐๒๒๒๙

e-mail doungtum๙@hotmail.com

๓. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ๓.๑ ครูสามารถจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกกิจพอเพียง ๓.๑ ผู้เรียนมีความสุขกับการเรียนรู้แบบบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓.๒ ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ร้อยละ ๑๐๐ ๓.๓ ผลการสอบ O – NET เฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ ๔. ระยะเวลาในการพัฒนา BP (ระบุช่วงเริ่มต้นการพัฒนา และระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา BP) ระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา ๒๕๕๕ - จนถึงปัจจุบัน ๕. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป. สพม. สพฐ. สถานศึกษา เชื่อมโยงกับเป้าหมาย และ จุดเน้น - กระทรวงศึกษาธิการ มีดังนี้ นโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๖๑) เป้าหมายปฏิรูปการศึกษา ข้อที่ ๓ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการบริหารและจัด การศึกษา - สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีดังนี้ กลยุทธ์ ข้อที่ ๑ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถทาง เทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ ข้อที่ ๒ ปลูกฝั งคุณธรรม ความสานึกในความเป็ นชาติไทย และวิถีตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง


จุดเน้นในปี ๒๕๕๖ - สานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ มีดังนี้ กลยุทธ์ข้อที่ ๑ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริม ความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ - โรงเรียนบ้านท่ามะนาว ดังนี้ กลยุทธ์ที่ ๒ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม ความสานึกในความเป็นไทยและวิถีชีวิตตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง กลยุทธ์ที่ ๓ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานควบคู่กับการส่งเสริมสุนทรียภาพแก่ ผู้เรียนทุกระดับ กลยุทธ์ที่ ๕ พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยชุมชนมีส่วนร่วม ๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP ๖.๑ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง "เศรษฐกิจพอเพียง" เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดารัสชี้แนะแนวทางการดาเนินชีวิต แก่พสกนิกรชายไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรง เน้นย้าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์ และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ปรัญชาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง แปลว่า Sufficiency Economyคาว่า Sufficiency Economy นี้ไม่ได้มีในตาราเศรษฐกิจ. จะมีได้อย่างไร เพราะว่าเป็นทฤษฎีใหม่ ...Sufficiency Economy นั้นไม่มีในตารา เพราะหมายความว่าเรามี ความคิดใหม่... และโดยที่ท่านผู้เชี่ยวชาญสนใจ ก็หมายความว่าเราก็สามารถที่จะไปปรับปรุง หรือไปใช้หลักการ เพื่อที่จะให้เศรษฐกิจของประเทศและของโลกพัฒนาดีขึ้น." พระราชดารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒ หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความ รอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทา


มีหลักพิจารณาอยู่ ๕ ส่วน ดังนี้ ๑. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติคนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมา จากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการ เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา ๒. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติ บนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน ๓. คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะ พร้อมๆ กันดังนี้ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและ ผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดย พิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล ๔. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้และ คุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบ ที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วยความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและมี ความอดทน มีความเพียรใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต ๕. แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การ พัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้และ เทคโนโลยี


๖.๒ การนิเทศการสอนแบบกัลยาณมิตร การนิเทศการสอนแบบกัลยาณมิตร กรอบความคิด ความมุ่งมั่นในการบริหารจัดการด้านวิชาการในการปฏิรูปการเรียนรู้นั้น ทุกคนทุกฝ่ายนับเป็น องค์ประกอบสาคัญ การเป็นเพื่อนร่วมทางที่จะเดินไปด้วยกัน อย่างไว้ใจและเชื่อว่าจะชี้แนะช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ได้ให้กา้ วไปในทางที่ถูกต้องด้วยน้าใจมิใช่อานาจ คือหนทางแห่งกัลยาณมิตร นักวิชาการนิ เทศ ได้กล่าวเกี่ยวกับการนิเทศที่คานึงถึงฐานวัฒนธรรมไทยว่า ความเป็นกัลยาณมิตรเป็นกุญแจทองที่จะไขเปิดประตูแห่งความเป็นมิตร ความอ่อนน้อมถ่อมตน ยังเป็นคุณสมบัติที่คนไทยทุกคนยอมรับ ความจริงใจเป็นเครื่องหล่อลื่นสัมพันธภาพ ความมีน้าใจ เป็นหยดทิพย์ที่ทาให้จิตใจชุ่มชื่นบาน การใช้คาพูดที่สุภาพ จริงใจสม่าเสมอเป็นเครื่องส่งเสริมความรู้สึกที่ดีต่อกัน กัลยาณมิตร ๗ ประการในการนิเทศ ๑. ปิโย - น่ารัก สบายใจ สนิทสนม ชวนให้อยากปรึกษา ๒. ครุ - น่าเคารพ ประพฤติสมควรแก่ฐานะ อบอุ่น เป็นที่พึ่งปลอดภัย ๓. ภาวนีโย - น่ายกย่อง / ทรงคุณความรู้ /ภูมิปัญญาแท้จริง และหมั่นปรับปรุงตนอยู่เสมอ ๔. อตตา จ - รู้จักพูดให้ได้ผล รู้จักชี้แจงให้เข้าใจ รู้ว่าควรพูดอะไร อย่างไร เป้นที่ปรึกษาที่ดี


๕. วจนก ขโม - อดทนต่อถ้อยคา พร้อมที่จะรับฟังคาปรึกษา / คาถามคาวิพากษ์วิจารณ์ ๖. คมภีรญจ กถ กตตา - แถลงเรื่องลึกล้าได้ อธิบายเรื่องที่ยากให้ง่ายได้ ๗. โน จฏฐาเน นิโยชเน - ไม่แนะนาเรื่องเหลวไหล แนะไปในทางเสื่อม องค์ประกอบของกัลยาณมิตร ๑. ให้ใจ - การปฐมนิเทศสร้างความเข้าใจร่วมกัน ๒. ร่วมใจ - การร่วมคิด ร่วมทางาน แลกเปลี่ยนรู้ซึ่งกันและกัน ๓. ตั้งใจ - เป็นการร่วมกันสร้างสรรค์คุณภาพในการทางาน + มุ่งมั่นสู่เป้าหมายร่วมกัน + ช่วยกันแก้ปัญหา + ถือว่าผลงานคือคุณภาพของผู้เรียน ๔. เปิดใจ - การวัดและประเมินตนเอง ประเมินผลงาน + ประเมินผลการพัฒนาการอย่างเที่ยงตรง + ปราศจากอคติ กระบวนการกัลยาณมิตร ๑. ไม่มุ่งเน้นปริมาณ - เน้นความชัดเจนของขั้นตอน วิธีการ ๒. สานพลังอาสา - เริ่มที่ศรัทธา / อาสาสมัคร / ไม่ใช่การสั่งการ ๓. เสวนาร่วมกัน - ใช้อปริหานิยธรรม ๗ + หมั่นประชุมเป็นเนืองนิตย + พร้อมเพรียงทากิจที่พึงทา + ปฏิบัติตามหลักการที่วางไว้/สิ่งใดดีอยู่รู้รักษา + ศรัทธา ยอมรับนับถือกันและกัน + ไม่บังคับ /ไม่ห้าหั่น /ลุแก่อานาจบังคับบัญชา + พัฒนาไปตามสภาพจริงของสถานศึกษาที่เป็นเรื่องชัดแจ้ง + คุ้มครองเสริมแรง ห้ากลังใจ ๔. สร้างสรรค์ความเป็นมิตร - ชักชวนให้ร่วมกันพัฒนา ๕. ฝึกคิดมุ่งมั่น - มีความเพียร อดทน รู้จักใช้เหตุผล ๖. ทุกวันปฏิบัติ - ทาอย่างต่อเนื่อง ๗. จัดทาบันทึกแนวทาง - รู้จักสังเกตแล้วบันทึก ปัจจัยเกื้อหนุน ๔ ประการ ๑. องค์ความรู้ ๒. แรงหนุนจากต้นสังกัด ๓. ผู้บริหารทุกระดับ ๔. บุคลากรทั้งสถานศึกษา บทบาทของผู้บริหารในการนิเทศ กระบวนกัลยาณมิตร เป็นการปฏิบัติจริงในสภาพที่เป็นจริง ผู้นิเทศกับผู้รับการนิเทศต้องมีการ ปรึกษาหารือ ติดต่อสื่อสาร เยี่ยมเยียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยแก้ปัญหาและให้กาลังใจกัน ถ้าจะเปรียบผู้นิเทศก็เป็นเหมือนครูฝึก ( coach ) ของผู้สอน ที่จะต้องโดดลงไปร่วมคิดร่วมทา มิใช่ เพียงร้องบอกให้ผู้สอนลองผิด ลองถูกตามยถากรรมอาจต้องบอกวิธีให้รู้ สาธิตให้ดู และช่วยแก้ไขข้อบกพร่องที่พบ การพบปะสนทนาเมื่อเวลานิเทศ ไม่ว่าจะเป็นผู้บริหาร ครู ศึกษานิเทศก์ กรรมการศึกษา ชุมชน รอบๆสถานศึกษา จะได้ทราบทุกข์ สุข และก่อให้เกิดความเข้าใจในปัญหาพื้นฐาน เพื่อกาหนดจุดมุ่งหมายในการ ทางานต่อไป


“คลินิคครู” มีความจาเป็นสาหรับสถานศึกษา โดยจัดช่วงเวลาที่ครูสมารถมาพบในลักษณะกลุ่ม สนใจ หรือตามประเด็นปัญหาที่มีผู้นิเทศสนทนาให้คาแนะนา โดยเตรียมข้อมูลเพื่อพบปะสนทนากัน ใน “คลินิค” การเข้าใช้บริการ “คลินิกครู” อาจมีลักษณะเป็นรายบุคคล เป็นคู่ หรือเป็นกลุ่มย่อยตามความ สมัครใจ ครูที่เข้าพบเป็นเปิดประเด็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ในการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน มุ่ง สนับสนุนในการพัฒนาบุคลากรในโรงเรียนโดยผู้บริหารต้องเป็นผู้นาในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ โดยมี โครงการร่วมคิดร่วมทา เพื่อปรับปรุงพัฒนา ซึ่งผู้บริหารอาจจัดระบบนิเทศเป็น ๓ ลักษณะ คือ ๑. นิเทศการจัดบรรยากาศห้องเรียน ๒. นิเทศการจัดการเรียนการสอน ๓. การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกันของครู หลักประการสาคัญของกัลยาณมิตรนิเทศ คือเข้าใจวัฒนธรรมการคิดและการทาการคิดและการทางานของครู ผู้ นิเทศย่อมตระหนักดีว่าครูทางานหนักและจาเจ เดิมๆ ซ้าๆ หากมีใครสักคนเข้ามาดูงานของเขา อาจทาให้เขา เครียด เกร็ง ระมัดระวัง และรู้สึกไม่เป็นธรรมชาติ ธรรมดา เพราะเขาคิดว่าต้องมีภาระเพิ่มขึ้น การทางานหนัก ขึ้นและอาจเกิดการต่อต้าน ผู้นิเทศจึงจาเป็นต้องเริ่มงานด้วยความสัมพันธ์ที่ดี ให้ครูรู้สึกไว้วางใจ พร้อมกับนา กระบวนการนิเทศสอดแทรกกลมกลืนเข้าไปกับภาระงานปกติของครู การเยี่ยมเยียน การติดต่อสื่อสารกับครูควรหลีกเลี่ยงการใช้อานาจของการตรวจสอบหรือพิพากษาว่า ใครถูก ใครผิด แต่ควรเป็นการให้กาลังใจ ใช้วิธีการพูดทางบวก มีการแลกเปลี่ยนความคิด และปรึกษาหารือให้ครู รู้จักสบายใจ แนวทางการนิเทศ ๑. สร้างความสัมพันธ์ แจ้งภารกิจและความมุ่งหมาย จัดเวลา กาหนดวิธีการทางาน ๒. จัดนิทรรศการทางวิชาการและสาธิตรูปแบบการสอน ๓. แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์จริง จัดบริการเอกสารทางวิชาการ ๔. วางแผนร่วมกัน เพื่อศึกษาดูงาน ๕. แนะให้ปฏิบัติตามสภาพจริง ๖. พบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผลการปฏิบัติ และหาทางแก้ไขปรับปรุง ๗. เข้าร่วมประชุม สัมมนา การฝึกอบรมตามโอกาส ๘. นาเสนอผลงานในการประชุมปฏิบัติการ ๙. วัดและประเมินผลงานกัลยาณมิตรนิทศ สรุปประเด็นสาคัญ หลักการสาคัญ พึงตระหนักว่าการนิเทศนั้นมิใช่การสั่งการ ตรวจสอบ บังคับบัญชา มิใช่การนิเทศ กระดาษ แต่เป็นการนิเทศคน กระดาษ เป็นแผนการสอน คะแนนผลสัมฤทธิ์ หรือโครงการ เป็นองค์ประกอบที่แสดงร่องรอยการ เรียนรู้ส่วนหนึ่ง แต่ที่สาคัญที่สุด ผู้นิเทศต้องนิเทศคน พูดคุยกับครู ดูพฤติกรรมของนักเรียน สังเกตบรรยากาศและความสัมพันธ์ในสังคมเรียนรู้นั้นเพื่อเข้าถึงสถานภาพและ ปัญหา นาไปสู่แนวทางการนิเทศที่ถูกต้อง สรุปเป็นบทร้อยกรองว่า ไม่ตั้งตนเป็นคนเหนือคนอื่น เสนอแนะให้ขวัญกาลังใจ ฟังข้อมูลหนุนให้ทานาให้คิด นาเทคนิคพลิกแพลงมาแบ่งปัน

ควรหยิบยื่นสิ่งดีดีมีมอบให้ แสดงว่าจริงใจไม่ทิ้งกัน ชี้ถกู ผิด แนะทางอย่างสร้างสรรค์ เป็นเพื่อนขวัญบนเส้นทางย่างก้าวเดิน


กระบวนการกัลยาณมิตรนิเทศ สุมน อมรวิวัฒน์ (๒๕๔๗ : ๗ - ๑๐) ได้กล่าวถึงกระบวนการกัลยาณมิตรนิเทศสาหรับผู้บริหาร ซึง่ เน้น ๕ กระบวนการสาคัญ ดังนี้ ๑. กัลยาณมิตรนิเทศเน้นการนิเทศคนไม่ใช่นิเทศกระดาษ การนิเทศครูในโรงเรียนเป็นการนิเทศคนไม่ใช่การนิเทศกระดาษและอุปกรณ์ เพราะฉะนั้นการนิเทศแบบ กัลยาณมิตรจะเกิดขึ้นไม่ได้ถ้าผู้บริหารไม่สนใจครู ไม่สนใจนักเรียน การดาเนินการควรมีการพูดคุยกับครู สนทนา เป็นกลุ่มหรือสนทนาอย่างไม่เป็นทางการ เป็นการนิเทศคนแล้วเราจะได้ปัญหาและแนวทางแก้ไขมากกว่านิเทศ กระดาษ ๒. กัลยาณมิตรนิเทศ เป็นกระบวนการ "ให้ใจ" และ "ร่วมใจ" การนิเทศคนจะนิเทศไม่ได้ถ้าไม่ได้ใจของเขา เพราะถ้าจาใจแล้วจาเจจะน่าเบื่อ อะไรก็ตามที่จาใจทาแล้ว ไม่เกิดฉันทะ เพราะฉะนั้นหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษาคือทาอย่างไรจะให้ครูในโรงเรียนของเรามีใจ ไม่มา โรงเรียนแต่กาย เพราะฉะนั้นสิ่งแรกคือทาอย่างไรจึงจะได้ใจเขามา แล้วครูในโรงเรียนของเราทางานสาเร็จ เป็น ความสาเร็จจากการร่วมใจของทุกคน ๓. กัลยาณมิตรเริ่มต้นที่ "ศรัทธา" การที่จะได้ใจต้องสร้างศรัทธา ศรัทธานั้นสร้างไม่ยาก พอเริ่มยิ้มให้กันศรัทธาจะเกิดขึ้น ใช้ผัสสะทั้ง ๖ ให้ได้เห็น ให้ได้ยิน ให้ได้สัมผัสด้วยกาย วาจา ใจ คือเป็นการสร้างรอยยิ้มให้เกิดขึ้น อย่างไรก็ตาม เอาน้าขุ่น ไว้ใน น้าใสไว้นอก แสดงความเอาใจใส่ สร้างความไว้วางใจ สร้างความเชื่อมั่นในทางเสริมแรงกัน ๔. กระบวนการกัลยาณมิตรนิเทศเน้นการสร้างสังคมการเรียนรู้ ผู้บริหารที่ฉลาดจะพยายามค้นหาว่าครูแต่ละคนเขามีดีอะไร แล้วใช้สิ่งที่เขาดีมาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ กันจะช่วยสร้างความมั่นใจให้เขาทีละนิดๆ ให้เขาได้มีโอกาสแสดง มีโอกาสคิด เน้นการสื่อสารกันอย่าง สม่าเสมอ มีจดหมายข่าว มีกระดานข่าว มีกล่องรับฟังความคิดเห็น มีการสื่อสารกันอย่างเป็นทางการและไม่เป็น ทางการ จะทาให้โรงเรียนมีชีวิตชีวา ๕. กระบวนการกัลยาณมิตรนิเทศมาจากฐานปัญญาธรรม ฐานเมตตาธรรม และฐานความเป็นจริงใน ชีวิต ฐานที่ ๑ ปัญญาธรรม คือ ฐานความรู้ ผู้บริหารจะมัวพูดว่าไม่รู้อยู่ตลอดเวลาไม่ได้ ในการที่จะแสวงหา ความรู้มีป้ายกระดานข่าวให้ความรู้ครู มีความสะดวกในการค้นหาความรู้ข่าวสารจากอินเทอร์เน็ต เป็นต้น ซึง่ ฐานความรู้นี้เป็นฐานที่สาคัญ ฐานที่ ๒ เมตตาธรรม คือ ฐานความรัก ก่อนอื่นต้องเมตตาตัวเอง ไม่ควรจะโหมงานอยู่คนเดียว พยายาม กระจายงาน พยายามทาตนให้มีชีวิตชีวา พยายามสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ทุกอย่างเป็นฐานของความเมตตา ทั้งสิ้น ฐานที่ ๓ คือ ฐานความเป็นจริงในชีวิต เป็นฐานทางวัฒนธรรม ถึงแม้ว่าเป็นครูเหมือนกันมีประสบการณ์ คล้ายคลึงกัน แต่เมื่อมาทางานร่วมกัน ผู้บริหารต้องเข้าใจวัฒนธรรมของแต่ละคน แล้วมีความสามารถที่จะสร้าง วัฒนธรรมองค์กรของตน ๖.๓ จิตวิญญาณความเป็นครู แนวคิด ครู ซึ่งมาจากคาว่า คุรุ แปลว่า หนัก ฉะนั้นแล้ว ครู จึงเป็นผู้หนัก หนักในเรื่องใดบ้าง เช่น หนักในการ ที่จะสั่งสอนศิษย์ให้เป็นบุคคลที่มีความรู้ หนักในการที่จะสอนคนหลาย ๆ คนให้เป็นคนที่ดีเป็นบุคคลที่สังคมมีความ ต้องการ คุณธรรม ความเป็นครูเป็นคุณลักษณะเฉพาะตัวสาหรับคนที่ประกอบวิชาชีพครู ซึ่งขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ ภายนอกตัวครูอื่นอีก ไม่ว่าจะเป็นระบบบริหารสถาบันวิชาชีพจรรยาบรรณ หรือกฎเกณฑ์ต่าง ๆ


คาว่า ครู หรือ คุรุ ในภาษาไทย มาจากคาว่า คุรุธาตุ หรือ ครธาตุ ซึ่งแปลความได้ว่า เป็นผู้ที่หนักใน วิชาความรู้ ในคุณธรรม และในภารกิจการงาน รวมทั้งการทาหน้าที่ยกย่องเชิดชูศิษย์ของตนเองจากผู้ที่ไม่รู้ให้ กลายเป็นผู้รู้ ผู้ที่ไม่มีความสามารถให้มีความสามารถ ผู้ที่ไม่มีความคิดให้มีความคิด ผู้ที่มีความประพฤติไม่เหมาะสม ให้มีความเหมาะสม และจากผู้ที่ไม่พึงปรารถนาให้เป็นผู้ที่พึงปรารถนา ซึ่งตามนัยของความเป็นครูในภาษาไทยจึง เป็นผู้ที่ต้องทางานหนักจริง ๆ ส่วนในภาษาอังกฤษมาจากคาว่า TEACHER ก็เช่นเดียวกัน กล่าวคือ T- Teach E– Example A–Ability C- Characteristic H– Health E- Enthusiasm R – Responsibility

๑. TEACH (การสอน) คุณลักษณะประการแรกของความเป็นครูก็คือ ต้องสอนได้ สอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ใน ตนเอง มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทางที่ดี โดยการ : ๑) ฝึกฝนแนะนาให้เป็นคนดี ๒) สอนให้เข้าใจแจ่มแจ้ง ๓) สอนศิลปวิทยาให้หมดสิ้น ๔) ยกย่องให้ปรากฏในหมู่คณะ ๕) สร้างเครื่องคุ้มกันในสารทิศ (สอนให้รู้จักเลี้ยงตัว รักษาตนในอันที่จะดาเนินชีวิตต่อไปด้วยดี) ๖) ต้องสอนให้เกิดความงอกงามทางสติปัญญา มีความคิด และ สร้างสรรค์ อย่างไรก็ตามการสอนของครูแต่ละคนนั้นขึ้นกับทักษะและลักษณะของตนเอง (Teaching skill and style) เป็นการนาเทคนิควิธีและทักษะหลาย ๆ ด้านมาผสมผสานให้เหมาะสมสอดคล้องกัน จึงต้องใช้เทคนิคและทักษะ หลายด้านร่วมกับประสบการณ์เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ และต้องมุ่งจัดสรรการเรียนรู้นั้นไปในทิศทางที่ดีและมี คุณธรรมในสังคม บทบาทการสอนของครูจึงต้องดาเนินการโดย ๑) สอนเนื้อหาวิชาการตามหลักสูตรรายวิชาที่ได้รับ มอบหมาย โดยมีการเตรียมการสอน อย่างเป็นขั้นเป็นตอน ตั้งแต่การทา Course Syllabus แผนการจัดการเรียนรู้ หรือแผนการสอนรายชั่วโมง การดาเนินการสอน และการประเมินผล มีการปรับปรุงพัฒนา และสร้างผลงานทาง วิชาการอยู่เสมอ ๒) สอนการปรับตัวให้เหมาะสมในสังคม ๓) สอนให้เจริญเติบโต มีความคิด มีเหตุผล และมี ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ตามแผนที่ได้กาหนดหรือเตรียมการไว้เป็นอย่างดี ๒. EXAMPLE (เป็นตัวอย่าง) ผู้เรียนโดยทั่วไปนัน้ จะ “เรียน” และ “เลียน” จากตัวครู การทาตัวเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างจึงเป็นสิ่ง ที่มีอิทธิพลมากกว่าการบอกกล่าวเฉย ๆ เพราะการแสดงต้นแบบให้เห็นด้วยสายตานั้น เป็นภาพที่มองเห็นชัดเจน และง่ายต่อการลอกเลียนยิ่งกว่าการรับฟังและบอกเล่าอย่างปกติ ถ้าต้องการให้ผู้เรียนเป็นอะไร จงพยายาม แสดงออกเช่นนั้นทั้งในการดาเนินชีวิตและในการสนทนาการวางตัวของครูเป็นตัวอย่างหรือเยี่ยงอย่างให้แก่ผู้เรียน ได้มาก แม้ว่าผู้เรียนจะมีความคิดความอ่านของตนเองที่ไม่ต้องการเลียนแบบผู้ใหญ่ทุกประการเหมือนเด็กเล็ก แต่ครู ก็คือ ครู ที่ผู้เรียนพิจารณาว่ามีความหมายสาคัญอยู่มาก โดยเขาจะสนใจและเฝ้าสังเกตนับตั้งแต่การแต่งกาย ไป จนถึงการประพฤติปฏิบัติ จะเป็นประสบการณ์ให้เขาได้พิจารณา นอกจากนี้การรู้ตัวเองของครู การแนะนาให้ผู้เรียน ประพฤติตนให้เหมาะสม ก็เป็นสิ่งจาเป็นที่ครู (ตัวเรา) ต้องประพฤติและปฏิบัติตนให้เหมาะสมด้วย ๓. ABILITY (ความสามารถ) คาว่า “ความสามารถ” หมายถึง กาลังที่มีจริงในการแสดงหรือในการกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งไม่ว่าการ กระทานั้นจะเป็นการกระทาทางกายหรือทางจิตใจ และไม่ว่ากาลังนั้นจะได้มาจากการฝึกฝนอบรมหรือไม่ก็ตาม แบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภท คือ ความสามารถทั่วไป (general ability) และความสามารถพิเศษ (specific ability) นอกจากนั้นครูจะต้องทราบถึงการเปลี่ยนแปลงใหม่หรือนวัตกรรมทางการศึกษา (innovation in teaching) เพื่อ จะช่วยปรับปรุงและพัฒนากระบวนการเรียนรู้หรือการเรียนการสอนให้ดียิ่งขึ้นไป การเรียนการสอนก็เช่นเดียวกับ การวินิจฉัย การรักษาโรคทางการแพทย์ หรือจะสมมติเป็นการปรุงอาหารในครัวที่จะต้องแสดงฝีมืออย่างเต็มที่ เพื่อให้ได้อาหารอร่อยที่สุดก็ได้ ดังนั้น ครูจึงต้องประเมินตัวเอง ประเมินการสอน และปรับปรุงข้อบกพร่องของสิ่งที่ ตนสอนไปเสมอ (diagnosis and treatment of course defects) เพื่อให้ผลการสอนดีที่สุด นอกจากครูจะต้อง เข้าใจบทบาทความเป็นครูของตนเองแล้ว (teacher’s role) ครูควรจะมีความสามารถดังนี้ - จิตวิทยาการเรียนรู้ (psychology of learning) - การกาหนดวัตถุประสงค์ของการสอนอย่างชัดเจน (specific of objectives)


- การวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) - การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน (learning activities) - การนาโสตทัศนูปกรณ์มาช่วยสอน (the application of audiovisual aids) - การจัดทาแผนการสอน (course syllabus and lesson planning) - การประเมินการเรียนการสอน (assessment) ๔. CHARACTERISTIC (คุณสมบัติ) ความหมายที่ใช้โดยทั่ว ๆ ไป หมายถึง คุณภาพหรือคุณสมบัติที่สังเกตได้ชัดเจนในตัวบุคคล ทาให้ทราบ ได้ว่าบุคคลนั้นแตกต่างไปจากบุคคลอื่น ๆ ในความหมายเฉพาะ อุปนิสัย หมายถึง ผลรวมของนิสัยต่าง ๆ ที่บุคคลมี อยู่ หรือผลรวมของลักษณะของพฤติกรรมต่าง ๆ ของบุคคล ตามความเข้าใจของคนทั่วไป คาว่าอุปนิสัยนี้แฝง ความหมายของคุณธรรมจรรยาในตัวด้วย เช่น เราพูดว่าเขาผู้นั้นมีอุปนิสัยดีเป็นต้น ในคุณสมบัติของความเป็นครู สิ่งสาคัญคือ ครูจะต้องมีเจตคติที่ดีต่อผู้เรียน ต่อวิชาที่สอน และต่องานที่ทา ๕. HEALTH (สุขภาพดี) การมีสุขภาพดี หมายถึง การไม่มีโรค รวมถึงมีสภาพทางร่างกายและจิตใจที่สมบูรณ์แข็งแรงพอที่จะ ดารงชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข ผู้ที่เป็นครูนั้นต้องทางานหนัก ดังนั้นสุขภาพทางด้านร่างกายจึงเป็นสิ่งสาคัญ แต่ที่ สาคัญกว่าคือสุขภาพจิต คงเคยได้ยินคาว่า “จิตเป็นนาย กายเป็นบ่าว” ดังนั้น ครูจึงจาเป็นต้องมีสุขภาพจิตที่ดีด้วย จิตดีนั้นไม่เพียงแต่ไม่เป็นโรคจิตโรคประสาทเท่านั้น แต่เป็นผู้ที่มีสมรรถภาพ มีการงานและมีชีวิตที่เป็นสุข ทา ประโยชน์ต่อสังคมด้วยความพอใจ สามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งต่อบุคคลที่เราอยู่ร่วมและต่อสังคมที่ เราเกี่ยวข้อง โดยไม่ก่อความเดือดร้อนให้ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น ๖. ENTHUSIASM (ความกระตือรือร้น) ความกระตือรือร้นของครูนั้น อาจจะเป็นการใฝ่หาความรู้ใส่ตน เพราะจะต้องถือว่าการใฝ่หาความรู้เพื่อ ปรับปรุงการเรียนการสอนนั้นเป็นกระบวนการอย่างหนึ่งของการพัฒนาตน (learning to teach is a process of self-development) การเพิ่มพูนความรู้มีหลายรูปแบบ เช่น การประชุมสัมมนาการอบรมระยะสั้น เป็นต้น จะทา ให้ครูที่ขาดความรู้ในเรื่องที่ตนสอนได้มีความรู้เพิ่มเติมและทาให้มีความมั่นใจในการสอนมากขึ้น ความกระตือรือร้น ของครูนั้น ไม่ใช่มุ่งเน้นเฉพาะการพัฒนาตัวครูเท่านั้นแต่จะต้องมีความกระตือรือร้นในการพัฒนาการเรียนการสอน ด้วย ๗. RESPONSIBILITY (ความรับผิดชอบ) ครูที่ดีจะต้องมีความรับผิดชอบในหน้าที่ของตนตามที่ได้กล่าวมาแล้วเป็นอย่างดี รวมทั้งยอมรับผลแห่ง การกระทานั้น ๆ ไม่ว่าจะดีหรือไม่ก็ตาม และพร้อมที่จะปรับปรุงแก้ไข การสอนของครู สาหรับการสอนของครูในการช่วยเหลือผู้เรียนนั้น คาถามต่อไปนี้จะบ่งชี้ว่าครูท่านนั้นเป็นครูที่ดีหรือไม่ รวมทั้งตัวเราเองที่เป็นครูด้วย ซึ่งสามารถตรวจสอบได้ด้วยตัวเอง ดังนี้


ลาดับ

รายการสังเกต

การสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกหัดเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self learning) ๑ ให้ผู้เรียนได้ตอบคาถามเกี่ยวกับวิชาการที่เรียน ๒ ให้ผู้เรียนค้นคว้าเพื่อตอบคาถามหรือเพื่อแก้ไขปัญหาเพิ่มเติม ๓ จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้รู้จักคิด และฝึกทักษะในการทางาน การประเมินและการบอกให้ผู้เรียนทราบถึงผลงานที่ทา (Feed back) ๔ บอกผู้เรียนว่าเมื่อมอบหมายงานให้ทาแล้ว เขาทางานเป็นอย่างไร ๕ อธิบายให้ผู้เรียนทราบถึงข้อบกพร่องต่าง ๆ ที่ทา ๖ อธิบายให้ผู้เรียนทราบว่าทาอย่างไรจึงจะทาได้ดีกว่านี้ การให้ความกระจ่างชัดในการสอน (Clearity) ๗ ๘ ๙

สังเกตว่าผู้เรียนทุกคนสามารถได้ยินและมองเห็นชัดเจน ใช้คาพูดง่าย ๆ เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ใช้อุปกรณ์การสอนเพื่อช่วยให้การเรียนการสอนมีความหมายยิ่งขึ้น ซึ่งอุปกรณ์การสอนดังกล่าว อาจประกอบด้วย - รูปภาพ ภาพถ่าย ภาพวาด - ภาพโปสเตอร์ - แผนภูมิ แผนผัง แผนที่ - ภาพหลัก - ภาพติดกระดานผ้าสาลี - ภาพกระจกฉาย - ภาพยนตร์ - ภาพชุด - วัตถุของจริง - วัตถุจาลอง - นิทรรศการ - เครื่องบันทึกเสียง เป็นต้น การทาให้การสอนมีความหมายมากขึ้น (Making your meaningful) ๑๐ สอนโดยเชื่อมโยงบทเรียนที่สอนกับสภาพที่ผู้เรียนเป็นอยู่ ๑๑ ยกตัวอย่างเพื่อให้ผู้เรียนมองเห็นภาพพจน์กระจ่างขึ้น ๑๒ เชื่อมโยงสิ่งที่ครูสอนกับงานที่ผู้เรียนจะต้องกระทา ๑๓ สรุปเพื่อให้ผู้เรียนได้แนวคิดที่ดีอีกครั้ง จะต้องแน่ใจว่าผู้เรียนเรียนรู้เรื่องสิ่งที่สอน (Ensuring mastery) ๑๔ ตรวจสอบว่าผู้เรียนทุกคนเข้าใจในทุก ๆ เรื่อง ทุก ๆ จุดที่สอน ๑๕ ตรวจสอบว่าผู้เรียนแต่ละคนสามารถฝึกทักษะได้หรือไม่ จะต้องเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้เรียนแต่ละคน (Individual differences) ๑๖ ยินยอมให้ผู้เรียนแต่ละคนได้ทางานตามความสามารถและใช้เวลาที่ ไม่เท่ากัน

ตรวจสอบรายการ ใช่ ไม่ใช่


ลาดับ

รายการสังเกต

ตรวจสอบรายการ ใช่ ไม่ใช่

๑๗ ๑๘

เคยกระตุ้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยวิธีแตกต่างกันออกไป เคยใช้วิธีสอนหลาย ๆ วิธี ซึ่งวิธีสอนมีหลายวิธี ดังนี้ - อธิบายจากหนังสือแล้วให้ผู้เรียนไปอ่านเองนอกเวลา - อธิบายจากหนังสือแล้วให้อ่านหนังสือพร้อมกัน - วิธีประชุมกลุ่มให้ผู้เรียนออกความคิดเห็นอภิปรายร่วมกัน - การแสดงหรือเล่นละครสั้น ๆ - สอนจากเหตุการณ์หรือประสบการณ์ ใช้กรณีศึกษา - ใช้วิธี constructivism - ทารายงานค้นคว้าเป็นรายบุคคล ทารายงานค้นคว้าเป็นกลุ่ม - วิธีสาธิต ให้มีการฝึกปฏิบัติ - ให้ทาโครงการหรือโครงงาน - การทัศนศึกษาหรือจัดหาประสบการณ์ตรง (first hand experience) ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนให้สอดคล้องกับ เนื้อหาที่สอน - ใช้วิธีการปฏิบัติให้เกิดกระบวนการทางปัญญา เป็นต้น ให้การดูแลผู้เรียนทุกคน (Caring) ๑๙ เคยให้ความมั่นใจแก่ผู้เรียนว่าครูรักผู้เรียนทุกคนไม่ว่าจะทาดีหรือไม่ ๒๐ แสดงให้ผู้เรียนเห็นว่าสนใจและเตรียมสอนอย่างดีตลอดช่วงเวลาที่สอน ๒๑ เคยฟังความคิดเห็น หรือให้ผู้เรียนวิจารณ์การสอน ๗. กระบวนการพัฒนา BP ๗.๑ กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ (ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจานวนกลุ่มเป้าหมาย) ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ๘ คน นักเรียน ๘๕ คน ๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา BP (อาจระบุเป็นแผนภาพ/แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา) เป็น BP ประเภท กระบวนการ ดังนี้ เริ่ มจากการวิเคราะห์บริ บทและปั ญหาต่างๆ โดยกระบวนการมีส่วนร่ วม เพื่อให้ทราบถึงปั ญหาและ เพื่อสร้างความตระหนักในการแก้ปัญหาร่ วมกันของทุกฝ่ าย วางแผนและดาเนิ นการตาแผนที่วางไว้ ทั้งนี้ ให้มี การวิเคราะห์การดาเนินงานเป็ นระยะๆ ดังแผนภูมิต่อไปนี้


การนิเทศการสอนแบบกัลยาณมิตร Flow Chart

ประชุมวางแผน

คู่กัลยาณมิตรทาปฏิทินการนิเทศ

สังเกต / นิเทศการสอน

ประเมินผลการนิเทศ

ไม่ผ่าน ปรับปรุง / แก้ไข

บรรลุผลหรือไม่ ผ่าน

สรุปรายงานผลการนิเทศ

พัฒนางานอย่างต่อเนื่อง


๗.๔ การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวิธีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้) - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รวมทั้ง ผลการสอบ NT และ O – NET - แบบแสดงความพึงพอใจของครู นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน - ภาพถ่าย เอกสารหลักฐานต่างๆที่เกี่ยวข้องต่อการพัฒนา ๗.๔ แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ - พัฒนาการจัดการเรียนการสอนของครูให้ผู้เรียนบรรลุตามมาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน - ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๘. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP (เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ BP ) ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ๘.๑.๑ ครูสามารถจัดการเรียนการสอนไดอย่างหลากหลายตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๘.๑.๒ นักเรียนทุกคนมีความสุขกับการเรียนรู้ และอยู่อย่างพอเพียง ๘.๒ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ ๘.๒.๑ นักเรียนมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน ๘.๒.๒ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ ๔ ๘.๒.๓ ค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติ O – NET รวมทุกกลุ่มสาระเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ ๓ ๘.๓ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP (ระบุค่าร้อยละของความพึงพอใจจากผู้เกี่ยวข้องและวิธีการได้มา เกี่ยวกับข้อมูลความพึงพอใจ) นักเรียนและผู้ปกครองมีความพึงพอใจต่อการ ๘.๔ ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา -

BP/ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา BP ไปใช้ BP มีดังต่อไปนี้

ความสามารถในการออกแบบนิเทศภายในของผู้บริหารและคณะครู ความรัก ความสามัคคีในหมู่คณะของครูและบุคลากรทางการศึกษา การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน ความสามารถในการออกแบบและจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการของครู

ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา BP ไปใช้ มีดังนี้ การนิเทศแบบกัลยาณมิตรสามารถทาได้หลายรูปแบบและสามารถสร้างความสามัคคีในหมู่คณะได้


๙. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้า BP วิเคราะห์แบบนิเทศภายในให้มีความชัดเจนและสามารถปฏิบัติได้จริง ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP ๑๐. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง (ระบุวันเวลา และรูปแบบ/ วิธีการ ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล) - รายงานความก้าวหน้าในที่ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง และชุมชนตามควรแก่โอกาส


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.