1
ผลงานนวัตกรรม Best Practice
“ สถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ” ของ โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง
1 การป้องกัน
P
D
5 การบริการจัดการ
2 การค้นหา
A
C 4 การเฝ้าระวัง
3 การรักษา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
2 BEST PRACTICE 1. ชื่อผลงาน BP
สถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข
- ด้านบริหารจัดการศึกษา 2. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP 2.1 ชื่อผู้พัฒนา BP
โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง
2.2 โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาจรเข้เผือก 2.3 โทรศัพท์ 034-540148
E-mail : adchar_7721@hotmail.co.th
3. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพที่สมบูรณ์ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา เป็นคนที่มคี ุณภาพ 2. ชุมชนเข้าใจและร่วมคิด ร่วมทา รณรงค์ป้องกันสารเสพติด และอบายมุขในโรงเรียน 3. โรงเรียนและชุมชนเข้าสู่สังคมที่มคี ุณธรรม จริยธรรม มีชีวิตที่สงบสุขแบบยั่งยืน 4. ระยะเวลาในการพัฒนา BP - ปีการศึกษา 2556 – 2557 5. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป./สพฐ./โรงเรียน - เรื่องยาเสพติดถือเป็นวาระระดับชาติที่ต้องป้องกันให้เยาวชนห่างไกลจากยาเสพติด BPนี้ได้นา นโยบายของโครงการ TO BE NUMBER ONE ที่มีองค์ประกอบ 3ก คือ กรรมการ กองทุน กิจกรรม มา ดาเนินการในโรงเรียน ภายใต้แนวคิด “ปรับทุกข์ สร้างสุข แก้ปัญหา พัฒนาEQ” - การจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับกิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี สอดแทรกเรื่องยาเสพติดเข้าไปด้วย - ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตาม 5 ขัน้ ตอนหลัก ดังนี้ 1. การรู้จกั นักเรียนเป็นรายบุคคล 2. การคัดกรอง 3. การส่งเสริมและพัฒนา 4. การป้องกันและแก้ไข 5. การส่งต่อ
3 6. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP กระบวนการทางาน แบบ PDCA ของเดมมิ่ง PDCA คือ วงจรที่พัฒนามาจากวงจรทีค่ ิดค้นโดยวอล์ทเตอร์ ซิวฮาร์ท(Walter Shewhart ) ผู้บุกเบิกการใช้สถิติสาหรับวงการอุตสาหกรรมและต่อมาวงจรนี้เริ่มเป็นทีร่ ู้จกั กันมากขึ้นเมื่อ เอดวาร์ด เดมมิ่ง (W.Edwards Deming) ปรมาจารย์ด้านการบริหารคุณภาพเผยแพร่ให้เป็นเครื่องมือสาหรับการปรับปรุง กระบวนการทางานของพนักงานภายในโรงงานให้ดียิ่งขึน้ และช่วยค้นหาปัญหาอุปสรรคในแต่ละขั้นตอนการ ผลิตโดยพนักงานเอง จนวงจรนี้เป็นที่รู้จกั กันในอีกชื่อว่า “วงจรเด็มมิ่ง” ต่อมาพบว่า แนวคิดในการใช้วงจร PDCA นั้นสามารถนามาใช้ได้กับทุกกิจกรรม จึงทาให้เป็นที่รู้จกั กันอย่างแพร่หลายมากขึน้ ทั่วโลก PDCA เป็นอักษรนาของศัพท์ภาษาอังกฤษ ๔ คา คือ P : Plan = วางแผน D : Do = ปฏิบัติตามแผน C : Check = ตรวจสอบ / ประเมินผลและนาผลประเมินมาวิเคราะห์ A : Action = ปรับปรุงแก้ไขดาเนินการให้เหมาะสมตามผลการประเมิน 7. กระบวนการพัฒนา BP 7.1 กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ - นักเรียนทุกคนในโรงเรียน - ชุมชนบริเวณใกล้เคียงกับโรงเรียน
4 7.2 ขั้นตอนการพัฒนา BP
1 การป้องกัน
P
D
5 การบริการจัดการ
2 การค้นหา
A
C 4 การเฝ้าระวัง
3 การรักษา
7.3 การตรวจสอบคุณภาพ BP - การประเมินจากนักเรียนเกีย่ วกับยาเสพติด เช่น การตรวจปัสสาวะทุกภาคเรียน พฤติกรรมนักเรียนจากระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน - ผลการดาเนินงานของโรงเรียน ภาพรวมในกิจกรรม/โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข
5 7.4 แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ - สร้างความเข้าใจกับครู นักเรียนและผู้ปกครอง เกี่ยวกับโครงการนี้ - แต่งตั้งทีมงานดาเนินการ - ดาเนินการตามขั้นตอน - ประเมินผลและสรุปผลการดาเนินงาน 8. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP 8.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ - นักเรียนร้อยละ 100 ปลอดจากยาเสพติด และอบายมุข 8.2 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ - โรงเรียนผ่านการประเมินสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 จากสานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 - ครูได้รับรางวัล ครูผู้เสียสละดูแลนักเรียนให้ห่างไกลจากยาเสพติด จากกระทรวงศึกษาธิการ ปี 2556 - ผู้อานวยการ ครูและโรงเรียนได้รับรางวัลสถานศึกษาป้องกันยาเสพติดดีเด่น ประจาปี 2557 8.3 ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP - ใช้แบบสอบถามในการตรวจสอบ คือ ร้อยละ 100 ของนักเรียน ครู บุคลากรในโรงเรียน และผู้ปกครองมีความพึงพอใจ 8.4 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP/ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา BP ไปใช้ - ความร่วมมือของครู บุคลากร ชุมชนทาให้ BP ประสบความสาเร็จ 9. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาและปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง 9.1 วิธีการตรวจสอบซ้า - การประเมินผลตรวจสอบอย่างต่อเนื่องทุกภาคเรียน - สรุปผลและรายงานผลต่อผู้บริหาร และหน่วยงานต้นสังกัด 9.2 ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP - การนิเทศ ติดตามการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง 10. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ขยายผลในวงกว้าง - การประชาสัมพันธ์ทางวารสารของโรงเรียนทุกเดือน - การเดินรณรงค์ป้องกันยาเสพติด และอบายมุขในชุมชน
6 - เผยแพร่ผลงานทาง Facebook ของโรงเรียน - การนาเสนอผลงานในการจัดนิทรรศการต่างๆ
การดาเนินการ ตามโครงการสถานศึกษาสี ขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข การป้ องกัน 1. สถานศึกษาดาเนินโครงการห้ องเรียนสี ขาว
เน้นให้นกั เรี ยนสามารถพัฒนาป้ องกันและแก้ไขตนเองให้ปลอดสารเสพติด โรคเอดส์ และอุบตั ิภยั ได้ตาม ศักยภาพและสามารถปรับตัวอยูใ่ นสังคมได้อย่างมีความสุข ผูเ้ รี ยนในห้องเรี ยนตระหนักถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด โรคเอดส์ อุบตั ิภยั และยาสู บที่มีผลกระทบ ต่อตนเอง สังคมและประเทศ มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ และสร้างองค์ความรู ้จากการปฏิบตั ิกิจกรรมห้องเรี ยนสี ขาว ผูเ้ รี ยนในห้องไม่เสพยาเสพติด หลีกเลี่ยงพฤติกรรมทางเพศที่ไม่พึงประสงค์ป้องกันตนเองจากอุบตั ิภยั และ อบายมุขรวมถึงปฏิบตั ิตนตามระเบียบของสถานศึกษาได้อย่างเหมาะสม
2. สถานศึกษาจัดกิจกรรม TO BE NUMBER ONE มีองค์ประกอบ 3 ก คือ กรรมการ กองทุน กิจกรรม มีการดาเนินงานภายใต้ 3 ยุทศาสตร์ - มีการจัดตั้งศูนย์เพือ่ นใจ TO BE NUMBER ONE - มีการจัดกิจกรรมภายใต้แนวคิด “ปรับทุกข์ สร้างสุข แก้ปัญหา พัฒนา EQ” รายละเอียดการดาเนินการ 1. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการการดาเนินงานของชมรม TO BE NUMBER ONE ในโรงเรี ยน โรงเรี ยนมีการจัดตั้งชมนม TO BE NUMBER ONE ในโรงเรี ยนเพื่อเป็ นการรวบรวมคนดี คนเก่ง และคนที่มี อุดมการณ์ที่จะสร้างสรรค์กิจกรรมดีๆ เพือ่ ป้ องกันและแก้ไขปั ญหายาเสพติดร่ วมกัน โดยมีคณะกรรมการครู และ นักเรี ยนร่ วมกันจัดกิจกรรมดังต่อไปนี้
l.1 นักเรี ยนทุกห้องเรี ยน(ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา)สมัครเป็ นสมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE หน้ าที่ของสมาชิก 1. เป็ นแกนนาในการหาสมาชิกเข้าร่ วมโครงการ เพือ่ สร้างเครื อข่ายสมาชิกในการต่อต้านยาเสพติดให้ กว้างขวางมากขึ้น 2. สมาชิกเข้าร่ วมกิจกรรมกับชมรมในการต่อต้านยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง 3. ร่ วมสอดส่องดูแลถึงเพือ่ นที่เป็ นกลุ่มเสี่ยงให้ห่างไกลยาเสพติดหรื อหากพบเพือ่ นที่เป็ นกลุ่มเสพที่แจ้ง เบาะแสแก่ครู อาจารย์ 4. ทาหน้าที่คอย “ปรับทุกข์ – ผูกมิตร” กับเพือ่ นที่ติดยาเสพติดและกลับตัวเป็ นคนดีเพือ่ ให้กา้ วสู่ สงั คมได้ อย่างมัน่ ใจ 1.2 มีคณะกรรมการดาเนินงาน TO BE NUMBER ONE ประกอบด้วย 3 ก โดย ก ที่ 1 กรรมการ ประกอบด้วยคณะกรรมดังต่อไปนี้ 1. นางอัจฉรา รอดภัย ผูอ้ านวยการโรงเรี ยน ประธานกรรมการ(ฝ่ ายหาทุน) 2. นายณัฐภัทร์ ตวันคา หัวหน้างานบริ หารวิชาการ รองประธานกรรมการ(ฝ่ ายประชาสัมพันธ์) 3. นางณิ ชาภัทร เส็งเครื อ หัวหน้างานบริ หารงานทัว่ ไป เลขานุการ(ฝ่ ายกิจกรรม) 4. นายฤทธิชยั สุวพานิช
ครู
กรรมการ(ฝ่ ายรับเรื่ องราวร้องทุกข์)
5. นางสุภสั สรา ม่วงประสิทธิ์
ครู
กรรมการ(ฝ่ ายกิจกรรม)
6. นายณัฐพงศ์ กรรณแก้ว
ครู
กรรมการ(ฝ่ ายรับเรื่ องราวร้องทุกข์)
7. นางวราภรณ์ งามชม
ครู
เหรัญญิก(ฝ่ ายสอดส่องดูแลและประเมินผล)
หน้ าที่ มีการประชุมปรึ กษาหารื อร่ วมกันในการจัดทาแผนงานโครงการ งบประมาณ และกิจกรรมของชมรม อย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี 1.3 มีการจัดตั้งคณะกรรมการสภานักเรี ยน 1. เด็กหญิงพิมลภัส พันยุโดด ประธานกรรมการ 2. เด็กหญิงพิมณภา ใจเที่ยงแท้ รองประธานกรรมการ 3. เด็หญิงสุรารักษ์ โพธิ์พรม กรรมการ 4. เด็กหญิงอภิญญา ด่วนดี กรรมการ 5. เด็กหญิงชญานี เปรมมานะ กรรมการ 6. เด็กเจษฎา ดอนรอดไพร กรรมการ 7. เด็กชายวิทยา สุตวานนท์ กรรมการ 8. เด็กชายอภิชาต หาญสมเศษ กรรมการ 9. เด็กชายณรงค์ชยั รอดสู กรรมการ
10. เด็กชายพรรษกร ดังตาชู กรรมการ 11. เด็กชายวิบูรณ์ เย็นกลม กรรมการ 12. เด็กชายจิรเมธ มะลิวลั ย์ กรรมการ 13. เด็กหญิงกัญภัค นิลยาน กรรมการ 14. เด็กหญิงเครื อวัลย์ ปทุมสูตร กรรมการ 15. เด็กหญิงกัณทิมา สระทองเงิน กรรมการและเลขานุการ หน้ าที่ คณะกรรมการการดาเนินงานของชมรม To Be Number One ในโรงเรี ยนร่ วมกับคณะครู รณรงค์และจัด กิจกรรมป้ องกันและแก้ไขปั ญหายาเสพติดภายในโรงเรี ยน 1.4 มีการจัดตั้งคณะกรรมการนักเรี ยนแกนนาของโรงเรี ยน เด็กชายโชคชัย พฤฒิพบิ ูลพงศ์ นักเรี ยนแกนนาชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 เด็กหญิงกัญญารัตน์ ศาระสาลิน นักเรี ยนแกนนาชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 เด็กชายพิษณุ พ่วงเฟื่ อง นักเรี ยนแกนนาชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 เด็กหญิงอภิญญา ด่วนดี นักเรี ยนแกนนาชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 เด็กหญิงชญานี เปรมมานะ นักเรี ยนแกนนาชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 เด็กชายวรากร ชาวบ้านใหม่ นักเรี ยนแกนนาชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 เด็กชายเจษฎา ดอนรอดภัย นักเรี ยนแกนนาชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 เด็กหญิงพิมณภา ใจเที่ยงแท้ นักเรี ยนแกนนาชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 เด็กชายโสรส โพยมพฤกษ์ นักเรี ยนแกนนาชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 เด็กหญิงสุชาดา สินธ์ช่วย นักเรี ยนแกนนาชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 หน้ าที่ 1. ประสานงานกับคณะครู ในการดูแลสอดส่องนักเรี ยนในเขตรับผิดชอบให้ปลอดจากยาเสพติด 2.ให้คาปรึ กษา แนะนาเพือ่ นที่มีพฤติกรรมเสี่ยง ก ที่ 2 กิจกรรมชมรม ทางโรงเรี ยนบ้านหนองหญ้าปล้องได้มีการจัดกิจกรรมในชมรม คือกิจกรรมสร้างสรรค์ ที่ ให้สมาชิกเข้ามามีส่วนร่ วม ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์เกิดความภาคภูมิใจและมองเห็นคุณค่าของตนเอง อันเป็ น หนทางห่ างไกลยาเสพติดและดู แลช่ วยเหลื อกันระหว่างสมาชิก เช่น กิ จกรรมด้านดนตรี กี ฬาสี กี ฬาเครื อ ข่าย ศิลปะ การเดินรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด กิจกรรมเสียงตามสาย กิจกรรมการทาความสะอาด บ้าน วัด โรงเรี ยน เป็ น ต้น ทางโรงเรี ยนมีการจัดกิจกรรมทั้งภายในและภายนอกห้องเรี ยนดาเนิ นตามยุทธศาสตร์หลัก 3 ยุทธศาสตร์ ของ โครงการได้แก่ กิจกรรมในยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างกระแส เช่น - การรับสมัครสมาชิกชมรม - ประชาสัมพันธ์ชมรม - จัดกิจกรรมดนตรี , กีฬา, การประกวดกิจกรรมสร้างสรรค์ ต่างๆ - การตรวจหาสารเสพติด - เข้าร่ วมกิจกรรมในวันสาคัญต่างๆ ร่ วมกับภาครัฐ
- จัดแข่งขันกีฬาสีในโรงเรี ยน กีฬาเครื อข่าย และชุมชน - สนับสนุนทุนการศึกษา/อุปกรณ์ แก่ สถานศึกษา/ชุมชน ฯลฯ - ร่ วมกับชุมชนในการดูแลสิ่งแวดล้อม ในวัด บริ เวณถนนในหมู่บา้ น กิจกรรมในยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างภูมิคุม้ กันทางจิต เช่น - การจัดตั้งศูนย์เพือ่ นใจวัยรุ่ น / ศูนย์เพือ่ นใจวัยทางาน - การอบรมให้ความรู ้เรื่ องยาเสพติด - การทาบุญทางศาสนา / ฟังเทศน์ - การจัดกิจกรรมที่ใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ เช่น ฝึ กอาชีพ เพือ่ หารายได้ กิจกรรมในยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างและพัฒนาเครื อข่าย เช่น - สนับสนุนวิทยากร (อบรมให้ความรู ้), เงินทุนและอุปกรณ์ แก่ชุมชนและสถานศึกษา ฯลฯ ในการจัดตั้ง ชมรม TO BE NUMBER ONE / ศูนย์เพือ่ นใจวัยรุ่ น - เป็ นพีเ่ ลี้ยง/ที่ปรึ กษาในการจัดตั้ง ชมรม TO BE NUMBER ONE แก่ชมรมอื่น - สนับสนุนวิทยากรในการอบรมให้ความรู ้เรื่ องยาเสพติด ก ที่ 3 กองทุน กรรมการและสมาชิกร่ วมดาเนินการจัดตั้งกองทุนเพือ่ นาเงินรายได้หมุนเวียนใช้จ่ายในชมรม โดยทาง โรงเรี ยนจะมีท่านผูอ้ านวยการโรงเรี ยนเป็ นผูอ้ อกหาเงินทุนในการใช้จ่ายโดยได้รับเงินซึ่งได้จากการบริ จาค การ จัดกิจกรรมเพือ่ หาทุน หรื อได้รับ สนับสนุนจากภาครัฐหรื อเอกชนต่างๆ และทางด้านทรัพย์สิน ประเภทสามารถ เคลื่อนย้ายได้ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ อุปกรณ์ สานักงาน คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์กีฬา ดนตรี ศิลปะ เป็ นต้น ทางโรงเรียนบ้ านหนองหญ้ าปล้ องได้ จัดตั้งศูนย์ เพื่อนใจวัยรุ่น เป็ นกิจกรรมหนึ่งของชมรม TO BE NUMBER ONE ที่มีการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง เน้นการช่วยเหลือดูแลสมาชิกและพัฒนาสมาชิกให้มีคุณภาพ และมีความสุข การดาเนินงานภายใต้แนวคิด “ปรับทุกข์ สร้ างสุ ข แก้ ปัญหา พัฒนา EQ” ทั้งจากการเรี ยนรู ้ดว้ ย ตนเองและการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม อาศัยกระบวนการกลุ่มให้เกิดความสนุก พร้อมกับการพัฒนาทักษะต่างๆ อาทิ การควบคุมอารมณ์ และความต้องการของตนเอง รู ้จกั เห็นใจผูอ้ ื่น มีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม (ดี) มี ความสามารถ ในการรู ้จกั ตนเอง มีแรงจูงใจ สามารถตัดสินใจแก้ปัญหา แสดงออกได้อย่างเหมาะสม และมี สัมพันธภาพที่ดีกบั ผูอ้ ื่น (เก่ง) มีความภาคภูมิใจในตนเอง พอใจในชีวติ มีความสงบสุขทางใจ และสามารถดาเนิน ชีวติ อย่างเป็ นสุข (สุข) รวมทั้งจัดบริ การเพือ่ ให้โอกาสสาหรับการแสดงออกถึงพลังสร้างสรรค์ที่มีอยูข่ องวัยรุ่ นใน สถานศึกษาเพือ่ เสริ มสร้างภูมิคุม้ กันทางจิต และป้ องกันแก้ไขปั ญหาพฤติกรรมวัยรุ่ นเชิงรุ กในพื้นที่ที่เสี่ยงต่อการ เกิดปั ญหาวัยรุ่ นได้ง่าย วัตถุประสงค์ เพือ่ ให้วยั รุ่ นและเยาวชน 1. ที่มีปัญหา หรื อต้องการความช่วยเหลือ ได้รับคาปรึ กษา แนะนา ที่ถูกต้องเหมาะสมจากผูเ้ ชี่ยวชาญ หรื อเพือ่ นอาสาสมัครที่ผา่ น การอบรม 2. ได้รับประสบการณ์ และเพิม่ พูนทักษะจากการฝึ กแก้ปัญหา พัฒนา EQ ทั้งด้วยตนเอง และจากกลุ่ม
เพือ่ นวัยเดียวกัน 3. ได้มีโอกาสใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ โดยเข้าร่ วมกิจกรรม ที่สร้างสรรค์และเสริ มสร้างความสุข ให้กบั ตนเอง ด้วยการฝึ ก ทักษะด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ ฯลฯ จากอาสาสมัคร ผูเ้ ชี่ยวชาญ แต่ละด้าน 4. ได้มีสถานที่ที่เหมาะสมและเป็ นที่ยอมรับจากทุกฝ่ ายในการทา กิจกรรมที่สนใจร่ วมกัน รวมทั้ง กิจกรรมที่จะเสริ มสร้างความ สัมพันธ์ที่ดีในครอบครัวและระหว่างสมาชิกในชุมชน 5. ที่มีความสามารถเข้ารับการอบรมเป็ นอาสาสมัครให้คาปรึ กษา เพือ่ นช่วยเพือ่ น กลุ่มเป้ าหมาย นักเรี ยนโรงเรี ยนบ้านหนองหญ้าปล้องชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4-6 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่1-3 โดยจาแนกเป็ น อาสาสมัคร/แกนนา และสมาชิกศูนย์เพือ่ นใจวัยรุ่ นที่มาใช้บริ การในศูนย์ และครอบครัว การดาเนินงาน กิจกรรมด้ านการบริหาร • ครู ผจู ้ ดั การศูนย์เพือ่ นใจวัยรุ่ นและนักเรี ยนแกนนา มีหน้าที่ความรับผิดชอบ ดังต่อไปนี้ ร่ วมจัดทาแผนงาน แผนกิจกรรม และแผนเงิน ปฏิบตั ิงานตามกิจกรรมในตารางปฏิบตั ิงาน สรุ ป / บันทึก ข้อมูลการปฏิบตั ิงาน / จัดทารายงานตาม แบบฟอร์มที่กาหนด • บทบาทของเจ้าหน้าที่ประจาศูนย์เพือ่ นใจวัยรุ่ น (ทั้งผูจ้ ดั การและแกนนา อาสาสมัครประจาศูนย์เพือ่ นใจวัยรุ่ น) เป็ นที่พ่งึ พาทางใจ คอยปรับทุกข์ และให้คาปรึ กษา คอยให้กาลังใจ ช่วยเหลือเพือ่ น สนับสนุนให้เพือ่ น ได้รับการพัฒนา EQ ด้วยกิจกรรมกลุ่ม สนับสนุนให้เพือ่ นได้เรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง จัดกิจกรรมสร้างสรรค์ต่างๆ ที่ เพือ่ นสนใจ สร้างบรรยากาศภายในศูนย์ฯ ให้เป็ นมิตรและอบอุ่น • คุณสมบัติของเจ้าหน้าที่ประจาศูนย์เพือ่ นใจวัยรุ่ น มีความสมัครใจ ที่จะทางานเพือ่ ส่วนรวม มีภาวะความเป็ นผูน้ าและอดทน รักในการทางานเป็ นทีม มี ทักษะในการทางานเป็ นทีม เป็ นที่ยอมรับของเพื่อนๆ ได้รับการยอมรับจากเพือ่ น สมาชิก กิจกรรมบริการ ทางโรงเรี ยนได้มีการบริ การให้คาปรึ กษาบริ การปรึ กษาเป็ นรายบุคคล หรื อรายกลุ่ม (Walk in) บริ การ ปรึ กษาทางโทรศัพท์ (Phone in)แลกเปลี่ยนความคิดเห็น / แก้ปัญหาร่ วมกันเขียนใส่กล่อง (OA Technique) / ตู ้ รับคาปรึ กษา เป็ นจดหมาย (ปิ ดบังชื่อ /นามแฝง) / จดหมาย และยังให้บริ การบริ การฝึ กคิดแก้ปัญหาพัฒนา EQ กิจกรรมการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง (Self Study) เช่น เรี ยนรู ้จากโปรแกรมสาเร็จรู ปคอมพิวเตอร์ หนังสือ และแบบ ประเมินกิจกรรมกลุ่ม (Group Activities) เช่น กิจกรรม พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ), กิจกรรม เสริ มสร้าง ภูมิคุม้ กันทางจิต, การเล่านิทาน, วาดภาพ, ของเล่น มุมหนังสือ, กิจกรรมสืบสาน ภูมิปัญญาท้องถิ่น ประเพณี วัฒนธรรม เป็ นต้นให้แกนนา อาสาสมัครประจาศูนย์เพือ่ นใจวัยรุ่ นดาเนินการสารวจความต้องการ / ความสนใจ ของสมาชิกในชมรม TO BE NUMBER ONE เพือ่ นามาจัดบริ การสร้างสุขขึ้นภายในศูนย์ฯ อาทิ กิจกรรมทางด้าน ดนตรี กีฬา ศิลปะ พัฒนาบุคลิกภาพ เกมส์เชาวปั ญญา กิจกรรมพัฒนาด้านภาษา พัฒนาด้านอาชีพฯ กิจกรรมใดที่ สมาชิกต้องการเพิม่ หรื อเปลี่ยนแปลง ก็ให้ดาเนิ นการปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม
นักเรี ยนแกนนาโดยอาสาสมัครจะเป็ นผูด้ าเนินกิจกรรม กิจกรรมดังกล่าวจะสอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับการ ป้ องกันตนเองจากยาเสพติด ซึ่งนอกจากจะทาให้วยั รุ่ นได้รับความสนุกสนาน ได้รู้จกั เพือ่ นแล้วยังทาให้วยั รุ่ นได้ พัฒนา EQ ของตนเอง และเรี ยนรู ้ที่จะอยูใ่ นสังคมอย่างมีความสุขและปลอดภัยจากยาเสพติด วันเวลาให้ บริการ 1. ให้บริ การทุกวันรวมทั้งเสาร์ - อาทิตย์ ซึ่งมีครู เวรอยูเ่ วรประจาวันเป็ นผูร้ ับผิดชอบรับเรื่ องราวในการให้บริ การ แก่นกั เรี ยนทุกคน 2. เวลา เช้า 07.30 - 08.30 น. กลางวัน 12.00 - 13.00 น.
1.3 สถานศึกษากิจกรรมลูกเสื อ /เนตรนารี/ ต้ านยาเสพติด/กองร้ อยลูกเสื ออาสาบาเพ็ญประโยชน์ - มีการให้ความรู ้เรื่ องยาเสพติดโดยใช้กระบวนการลูกเสือ รายละเอียดการดาเนินการ ทางโรงเรี ย นได้มี การให้ความรู ้เรื่ อ งยาเสพติดโดยใช้กระบวนการลู กเสื อ ทุกระดับชั้นโดยมี แผนการสอนบูรณาการยาเสพติดทุกกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5-6 และมัธยมศึกษาปี่ ที่ 1-3 ได้มีการเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ-เนตรนารี กลุ่มเครื อข่ายจรเข้เผือก เป็ นประจาทุกปี และส่ งเสริ มให้นักเรี ยนได้ เข้า รั บ การอยู่ค่ า ยพัก แรม ตามโครงการลู ก เสื อ -เนตรนารี ต ้า นภัย ยาเสพติ ด จัง หวัด กาญจนบุ รี ประจ าปี งบประมาณ 2556 เมื่อวันที่ 5-6 มิถุนายน 2556 (ค่ายอินทรแคมป์ ) ตาบลวังเย็น อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี
การค้นหา 1. สถานศึกษามีการดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน โรงเรี ยนบ้านหนองหญ้าปล้อง มีการแต่งตั้งคณะกรรมการงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน และดาเนินการตามขั้นตอน 5 ขั้นตอน คือ 1. การรู ้จกั นักเรี ยนเป็ นรายบุคคล 2. การคัดกรองนักเรี ยน 3. การส่งเสริ มและพัฒนา 4. การป้ องกันและช่วยเหลือ 5. การส่งต่อ - สถานศึกษามีการสุ่มตรวจปั สสาวะหายาเสพติด อย่างน้อยภาคเรี ยนละ 1 ครั้ง ทางโรงเรี ยนขอความร่ วมจากทางสาธารณสุ ขอาเภอด่านมะขามเตี้ย ให้เจ้าหน้าที่มาสุ่ มตรวจปั สสาวะหา ยาเสพติด อย่างน้อ ยภาคเรี ย นละ 1 ครั้ง สาหรั บนักเรี ยนในระดับชั้นมัธยมศึก ษา และสรุ ปผลรายงานให้ทาง ผูป้ กครอง และผูท้ ี่เกี่ยวข้องทราบ
- สถานศึกษามีการคัดกรองสารวจสภาพการใช้ยาเสพติด ภาคเรี ยนละ 1 ครั้ง ทางโรงเรี ยนขอความร่ วมจากทางสาธารณสุขอาเภอด่านมะขามเตี้ย ให้เจ้าหน้าที่มาคัดกรองสารวจสภาพ การใช้ยาเสพติด ภาคเรี ยนละ 1 ครั้ง สาหรับนักเรี ยนในระดับชั้นมัธยมศึกษา และสรุ ปผลรายงานให้ทางผูป้ กครอง และผูท้ ี่เกี่ยวข้องทราบ -
สถานศึกษามีระบบการค้นหาโดยให้นกั เรี ยนแกนนา ครู ประจาชั้น ครู ที่ปรึ กษาสังเกตพฤติกรรม
ทุกสัปดาห์ โดยแต่งตั้งเป็ นคณะกรรมการดาเนินงาน
การรักษา 1. สถานศึกษามีระบบการส่งต่อให้หน่วยงานที่ดูแลบาบัดรักษาฟื้ นฟู จากการดาเนินงานของทางโรงเรี ยนบ้านหนองหญ้าปล้อง ในการสุ่มตรวจปั สสาวะ สารเสพติด ผลสรุ ป คือ ไม่พบนักเรี ยนที่มีสารเสพติดเลย ดังนั้นทางโรงเรี ยนจึงไม่ได้ส่งนักเรี ยนเข้ารับการบาบัดดูแลรักษาฟิ้ นฟู แต่ถา้ ในปี การศึกษาต่อๆ ไป หากพบนักเรี ยนดังกล่าว ทางโรงเรี ยนจะดาเนินการตามระบบขั้นตอนที่วางแผนไว้ 2. สถานศึกษาจัดค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โรงเรี ยนได้กาหนดโครงการการจัดค่ายเพือ่ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรี ยนไว้อย่างหลากหลาย โครงการค่ายคุณธรรม โครงการค่ายวิชาการ โครงการต่อต้านยาเสพติด เป็ นต้น
เช่น
3. สถานศึกษามีแนวทางการดาเนินงานด้านจิตสังคมบาบัดในสถานศึกษา โดยทางโรงเรี ยนมีการใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรี ยนเข้าไปช่วยในด้านนี้ โดยมีการเยีย่ มบ้าน พูดคุยกับ ผูป้ กครองและนักเรี ยน ช่วยแก้ไขปั ญหา มีชวั่ โมงโฮมรู มให้ครู ที่ปรึ กษาได้พบปะกับนักเรี ยน 4. สถานศึกษามีคลินิกให้คาปรึ กษา เช่น ศูนย์เพือ่ นใจวัยรุ่ นในสถานศึกษา
การเฝ้ าระวัง 1. สถานศึกษามีการจัดกิ จกรรมเฝ้ าระวัง โดยจัดให้มีโครงการครู แดร์. (D.A.R.E) ทางโรงเรี ยนได้รับ ความอนุเคราะห์จากสถานีตารวจภูธรอาเภอด่านมะขามเตี้ย ส่ งเจ้าหน้าที่ตารวจมาสอนและให้ความรู ้นักเรี ยนชั้น ประถมศึกษาปี ที่ 6 สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
2. สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมหน้าเสาธง 5 นาที โดยผูบ้ ริ หาร ผูน้ าชุมชน เจ้าหน้าที่ตารวจ และครู เวร ประจาวัน มาให้ความรู ้นกั เรี ยนในเรื่ องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการโรงเรี ยนสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข 3. สถานศึกษาจัดให้มีกิจกรรมโฮมรู ม/กิจกรรมแนะแนวสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ในทุกระดับชั้น โดยมีการจัดทา แผนโฮมรู มเป็ นรายสัปดาห์ 4. จัดให้มีกิจกรรมสภานักเรี ยน โดยการเลื อกตั้งตามระบอบประชาธิปไตย สภานักเรี ยนประกอบด้วย ประธานนักเรี ยน รองประธาน และกรรมการ รวม 16 คน ทาหน้าที่ในการช่วยดูแลนักเรี ยน รวมถึงการมีส่วน ร่ วมในการเสนอความคิดเห็น การร่ วมมือกับคุณครู ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ในโรงเรี ยน 5. จัดให้มีโครงการ “บ้านหลังเรี ยน” เป็ นกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์เพือ่ พัฒนานักเรี ยนมุ่งเน้นการใช้เวลาว่าง หลังเลิ กเรี ยนและวันเสาร์ อ าทิตย์ ในการทากิ จกรรมต่าง ๆ ที่สอดคล้อ งกับความต้อ งการและเป็ นประโยชน์
สาหรับนักเรี ยนตลอดจนเป็ นการเสริ มสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็กและเยาวชนกับผูป้ กครอง โดยมีกิจกรรม การศึกษาตามอัธยาศัย โดยการจัดมุมต่างๆให้นักเรี ยนมาใช้บริ การหลังเลิกเรี ยนและวันหยุด ราชการตามความ สนใจ อาทิ มุมทาการบ้าน มุมรอผูป้ กครอง มุมสืบค้นข้อมูล มุมศาสนา มุมเด็ก มุมบันเทิงศึกษา และมุมไอซีที เป็ น ต้นโรงเรี ยนจัดกิจกรรมภายนอกบ้าน ได้แก่ การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ใน รู ปแบบกิจกรรมนันทนาการ ดนตรี กีฬา ศิลปวัฒนธรรม และประเพณี เป็ นต้น นอกจากนี้ ยังมีกิจกรรมพิเศษที่จดั ในวาระสาคัญและกิจกรรมที่สอดคล้องกับความต้องการของ เด็ก เช่น การประดิษฐ์การ์ดอวยพร กิจกรรมพ่อลูกปลูกกล้วยระหว่างเด็กกับผูป้ กครอง บ้านหลังเรี ยนมีลกั ษณะ 3 ประการคือ พื้นที่ใช้สอยที่ดี การจัดกิจกรรมที่ดี และการบริ หารจัดการที่ดี โดย มีนกั เรี ยนโรงเรี ยนบ้านหนองหญ้าปล้องเข้าร่ วมกิจกรรมในโรงเรี ยนนี้ รวม 173 คน
6. สถานศึกษามีนกั เรี ยนแกนนาห้องเรี ยนสีขาวในการดาเนินงานด้านยาเสพติด ห้องเรี ยนละ 5 คน รวมทั้งสิ้น 45 คน มีหน้าที่ในการดูแลสอดส่อง เฝ้ าระวัง ตามพื้นที่ที่รับผิดชอบตามเขตรับผิดชอบ และมีการ จัดตั้งคณะกรรมการนักเรี ยนแกนนาของโรงเรี ยน จานวน 10 คน 7. สถานจัดให้มีครู แกนนายาเสพติดในสถานศึกษาจานวน 15 คน มีเครื อข่ายผูป้ กครอง จานวน 9 คน 8. มีการจัดตั้งครู เวรประจาวันดู แล เฝ้ าระวังพื้นที่ต่าง ๆ ในสถานศึกษา วันละ 3 คน คอยดูแลความ ปลอดภัยบริ เวณโดยรอบโรงเรี ยน และสถานที่เสี่ยงต่าง ๆ บริ เวณโรงเรี ยน 9. จัดครู เวร ออกตรวจพื้นที่เสี่ยงรอบบริ เวณสถานศึกษาร่ วมกับเจ้าหน้าที่ อ.ป.พ.ร (อาสาสมัครป้ องกัน) ในช่วงกลางคืน 10. สถานศึกษามีการจัดสภาพสิ่ งแวดล้อมบริ เวณโดยรอบโรงเรี ยนและบริ เวณห้องเรี ยนให้เอื้อต่อการ ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้ให้ผเู ้ รี ยนปลอดยาเสพติด และให้นกั เรี ยนได้ศึกษาเรี ยนรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ
11. สถานศึกษาจัดพื้นที่ให้มีลานกีฬาต้านยาเสพติด ให้บริ การแก่นักเรี ยน ผูป้ กครอง และชุมชน 2 แห่ ง ได้แก่ สนามฟุตบอล และสนามตะกร้อ 12. จัดกิจกรรมในวันต่อต้านยาเสพติดและส่งเสริ ม/สนับสนุนให้นกั เรี ยนเข้าร่ วมกิจกรรม ทุกปี การศึกษา กิจกรรมรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด - อ่านสารของรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงศึกษาธิการเนื่องในวันต่อต้านยาเสพติด - ถือป้ ายประชาสัมพันธ์เดินขบวนรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด ในหมูบา้ นหมู่ที่ 7 - เชิญวิทยากรที่เกี่ยวข้องมาให้ความรู ้ - แข่งขันการตอบปั ญหาเกี่ยวกับวันต่อต้านยาเสพติด - แข่งขันการวาดภาพต่อต้านยาเสพติด ระดับช่วงชั้นอนุบาล 1,2 ระดับช่วงชั้นที่ 1,2,3 - แข่งขันการแต่งคาขวัญต่อต้านยาเสพติด ระดับช่วงชั้นที่ 1,2,3 - แข่งขันการเรี ยงความต่อต้านยาเสพติด ระดับช่วงชั้นที่ 1 - แข่งขันปั้ นดินน้ ามันต่อต้านยาเสพติด ระดับช่วงชั้นอนุบาล 1,2 - แข่งขันกีฬาต่อต้านยาเสพติด 13. สถานศึกษากิจกรรมลูกเสือ /เนตรนารี / ต้านยาเสพติด/กองร้อยลูกเสืออาสาบาเพ็ญประโยชน์ - มีการให้ความรู ้เรื่ องยาเสพติดโดยใช้กระบวนการลูกเสือ ทางโรงเรี ย นได้มี การให้ความรู ้เรื่ อ งยาเสพติดโดยใช้กระบวนการลู กเสื อ ทุกระดับชั้นโดยมี แผนการสอนบูรณาการยาเสพติดทุกกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5-6 และมัธยมศึกษาปี่ ที่ 1-3 ได้มีการเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ-เนตรนารี กลุ่มเครื อข่ายจรเข้เผือก เป็ นประจาทุกปี และส่ งเสริ มให้นักเรี ยนได้ เข้า รั บ การอยู่ค่ า ยพัก แรม ตามโครงการลู ก เสื อ -เนตรนารี ต ้า นภัย ยาเสพติ ด จัง หวัด กาญจนบุ รี ประจ าปี งบประมาณ 2556 เมื่อวันที่ 5-6 มิถุนายน 2556 (ค่ายอินทรแคมป์ ) ตาบลวังเย็น อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี
โครงการลูกเสือ-เนตรนารี ตา้ นภัยยาเสพติด จังหวัดกาญจนบุรี ประจาปี งบประมาณ 2556
กิจกรรมหนึ่งในโครงการห้องเรี ยนสีขาว
กิจกรรมเยีย่ มบ้านนักเรี ยนและประชุมผูป้ กครองเพือ่ การเฝ้ าระวังยาเสพติด
หนึ่งในกิจกรรม D.A.R.E
ลานกีฬาต้านยาเสพติด
การบริหารจัดการ 1. สถานศึกษามีนโยบายและยุทธศาสตร์ นโยบายด้านการป้ องกันและแก้ไขปั ญหายาเสพติดในสถานศึกษา ผูบ้ ริ หาร คณะครู ผูป้ กครอง นักเรี ยน น้อมนาพระราชดารัสที่ทรงห่ วงใยเยาวชน ที่ไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดและการดาเนินงานตามแนวทางยุทธศาสตร์พระราชทาน เข้าใจ เข้าถึง และ พัฒนามาเป็ นหลักในการทางานตามมาตรการ 5 มาตรการ คือ ป้ องกัน ค้นหา รักษา เฝ้ าระวัง และบริ หารจัดการ
Dk i[ib sk i0y fdk i
2. สถานศึกษามีแผนงานและโครงการ/กิจกรรม
3. สถานศึกษามีคณะกรรมการดาเนินงาน มีคาสัง่ และการประชุม
4. สถานศึกษามีความร่ วมมือและประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องบูรณาการ บริ หารแบบมีส่วนร่ วมกับ ภาคีเครื อข่ายทุกภาคส่วน
5. สถานศึกษามีการกากับ ติดตาม ประเมินผล และรายงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง