การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์การ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1
การควบคุมงบประมาณ/เงินประจางวดส่วนจังหวัด ที่เป็นเลิศ (Best Practice)
นางสาวพรทิพย์ มีตา เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีชานาญงาน
โทรศัพท์ 0929799241 E-mail: porn5502@hotmail.cin
งบประมาณเป็นปัจจัยสาคัญยิ่งในการดาเนินงานกิจกรรม ของทุกหน่วยงาน ทั้งภาครัฐและเอกชน เนื่องจากงบประมาณเป็นตัวกาหนด พฤติกรรมของงานและมีความเกี่ยวกับการบริหารทุกขั้นตอน งบประมาณใน รูปแบบที่เหมาะสมจะเป็นสิ่งส่งเสริมการดาเนินงานของหน่วยงาน ให้บรรลุ วัตถุประสงค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่การใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์ได้ เพียงใดนั้น ขึ้นอยู่กับส่วนราชการผู้ขอใช้และผู้ใช้เป็นสาคัญ ถ้ามีการขอใช้ งบประมาณอย่างไม่หยัดก็จะทาให้ขาดประสิทธิภาพในการใช้งบประมาณ (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,2536 หน้า 95) การควบคุมงบประมาณ/เงินประจางวดส่วนจังหวัด อยู่ใน ส่วนการบริหารงานด้านงบประมาณ ซึ่งอยู่ในมาตรฐานสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา มาตรฐานที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษา ที่มีประสิทธิภาพ ตัวบ่งชี้ที่ 2 การบริหารงบประมาณ เป็นภารกิจของสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา เนื่องจากงบประมาณที่ใช้ในการบริหารจัดการศึกษาถือเป็น ทรัพยากรทางการบริหารจัดการศึกษา ที่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จะต้อง บริหารจัดการให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยมีการวางแผนการใช้ งบประมาณต้องปฏิบัติตามเงื่อนไข หรือตามที่กฎหมายกาหนด ซึ่งกาหนดให้ ผู้ใช้ปฏิบัติตามเงื่อนไข หรือตามกฎหมายนั้น ซึ่งเป็นการควบคุมการใช้จ่าย งบประมาณ กฎหมาย ระเบียบ นโยบายที่เกี่ยวข้อง 1. พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502 2. ระเบียบการบริหารงบประมาณ พ.ศ.2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ดังนั้น การควบคุมงบประมาณ/เงินประจางวดส่วนจังหวัด จึงมีส่วนสาคัญที่ต้องมีควบคู่กับการใช้จ่ายงบประมาณ เพราะหากปล่อยผู้ขอ ใช้จ่ายงบประมาณโดยขาดการควบคุม อาจเกิดผลเสียได้ เช่น การนาเงิน งบประมาณไปใช้จ่ายอย่างพุ่มเฟือยหรือนาไปใช้จ่ายในกิจกรรมที่ไม่เหมาะสม ไม่เป็นไปตามระเบียบของทางราชการ เป็นต้น ประกอบกับ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีนโยบายที่พัฒนางานด้านการบริหารงบประมาณของสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา เพื่อให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาในสังกัด สามารถบริหารจัดการ งบประมาณให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ทันเวลา เกิดความคุ้มค่า มีความถูก ต้องและได้ประโยชน์สูงสุดรวมทั้งสอดคล้องกับมาตรการเร่งรัดการใช้จ่ายเงิน งบประมาณที่คณะรัฐมนตรีกาหนด ข้าพเจ้าในฐานะผู้รับผิดชอบควบคุม งบประมาณ/เงินประจางวดส่วนจังหวัด ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้อง สามารถนาข้อมูลไปใช้
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1
ประโยชน์ได้ทันเวลา เกิดความคุ้มค่าและได้ประโยชน์สูงสุดรวมทั้งสอดคล้อง กับมาตรการเร่งรัดการใช้จ่ายเงินประประมาณที่คณะรัฐมนตรีกาหนด ข้าพเจ้าได้ดาเนินการควบคุมงบประมาณ/เงินประจางวดส่วนจังหวัด ด้วย ความมุ่งมั่นตั้งใจและจริงจัง เพื่อให้บรรลุผลสูงสุดที่ตั้งใจ ในการควบคุม งบประมาณ/เงินประจางวดส่วนจังหวัด ที่เป็นเลิศ (Best Practice) ของ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้การควบคุมงบประมาณ/เงินประจางวดส่วนจังหวัด ที่เป็นเลิศ (Best Practice) เป็นไปตามเงื่อนไขและวัตถุประสงค์ ข้อกฎหมายที่กาหนด 2. เพื่อให้ผู้บังคับบัญชา ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้ใช้ข้อมูลผลการเบิกจ่ายและงบประมาณคงเหลือไปใช้ในการบริหารให้เกิด ประโยชน์สูงสุด เมื่อสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาได้รับการแจ้งการโอน เปลี่ยนแปลงการจัดสรรงบประมาณรายจ่าย (แบบ ง.241) หรือรับทราบผ่าน ระบบ GFMIS ปัจจุบันสานักงานเขตพื้นที่การศึกษายังจาเป็นต้องทาทะเบียน คุมเงินประจางวดส่วนจังหวัด (จัดทาด้วยมือ) ควบคู่กับโปรแกรมติดตาม เร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณประจาปีของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน เพื่อให้มีข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วนตามแผนงาน ผลผลิต กิจกรรม และงบรายจ่าย รวมทั้งเป็นปัจจุบัน เพื่อให้ทราบว่า ณ ขณะนั้นสานักงานเขต พื้นที่การศึกษา ยังคงมีเงินคงเหลือเป็นจานวนเงินเท่าใด โดยสามารถจาแนก แผนงาน ผลผลิต กิจกรรม และงบรายจ่ายได้ รวมทั้งมีระบบการตรวจสอบ ก่อนการอนุมัติให้ใช้เงินให้ถูกต้องตาม แผนงาน ผลผลิต กิจกรรม วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ และงบประมาณที่จะขอใช้ในการ ดาเนินงานที่ส่งผลต่อความสาเร็จของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา เด็กนักเรียน ชุมชน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้าพเจ้าในฐานะผู้ปฏิบัติงานการควบคุมงบประมาณ/ เงินประจางวดส่วนจังหวัด ที่เป็นเลิศ (Best Practice) ของสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ต้องประสานงานกับผู้เกี่ยวข้องด้วย ความรวดเร็ว เพื่อให้การใช้จ่ายเงินงบประมาณ/เงินประจางวดส่วนจังหวัด เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ทันเวลา และถูกต้อง และได้ดาเนินการควบคุม งบประมาณ/เงินประจางวดส่วนจังหวัด ด้วยความมุ่งมั่น ตั้งใจ จริงจัง ดังนี้ 1. ระบบจัดทาทะเบียนคุมเงินประจางวดส่วนจังหวัดด้วย ระบบมือ (Manual) 2. ระบบงบประมาณในระบบ GFMIS 3. ระบบโปรแกรมติดตามเร่งรัดการใช้จ่ายเงินงบประมาณ ประจาปี ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1
การควบคุมงบประมาณ/เงินประจางวดส่วนจังหวัด ทั้ง 3 ระบบนี้ ต้องทาควบคู่กันไปซึ่งเป็น การตรวจสอบงบประมาณรายจ่ายที่ได้รับอนุมัติเงินงวดประจางวด จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน ว่ามียอดคงเหลือพอที่จะเบิกจ่ายจากกรมบัญชีกลาง เพื่อนาไปจ่ายให้แก่เจ้าหนี้ / ผู้มีสิทธิ์ เพื่อมิให้มีการ ใช้เงินเกินวงเงินงบประมาณ ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ทีได้รับการจัดสรร
แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาประยุกต์ใช้ในการควบคุม งบประมาณ/เงินประจางวดส่วนจังหวัด ที่เป็นเลิศ (Best Practice) แนวคิดที่ใช้ในการดาเนินการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ของการควบคุมงบประมาณ/เงินประจา งวดส่วนจังหวัดที่เป็นเลิศ (Best Practice) ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 คือ การใช้วงจรคุณภาพของ เดรมมิ่ง (PDCA) ดังนี้ 1. การวางแผน (P : Plan) เป็นการวิเคราะห์ปัญหาและหาสาเหตุแล้ว กาหนดสิ่งที่ต้องทา 2. การลงมือปฏิบัติ (D : Do) เป็นการปฏิบัติตามแผนที่ได้วางไว้ 3. การติดตามตรวจสอบ (C : Check) เป็นการตรวจสอบผลลัพธ์กับแผนว่างานที่ได้จัดทานั้นมีคุณภาพ ตรงตามความต้องการหรือไม่ 4. การปรับปรุงแก้ไข (A : Action) เป็นการนาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หากไม่บรรลุตามแผน ก็หาสาเหตุ และวางแผนใหม่ (เริ่มวงจร PDCA ใหม่)
ภาพวงจรคุณภาพ
A
P
C
D
กลุ่มเป้าหมายในการนาการควบคุมงบประมาณ/เงินประจางวดส่วนจังหวัด ที่เป็นเลิศ (Best Practice)ไปใช้ 1. 2. 3. 4. 5. 6.
ผู้บังคับบัญชา/หน่วยงาน/กลุ่มงาน สถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน นักเรียน ชุมชน
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1
กระบวนการควบคุมงบประมาณ/เงินประจางวดส่วนจังหวัดที่เป็นเลิศ (Best Practice) ขั้นตอนที่ 1 การวางแผน กาหนดทิศทางการดาเนินงาน ควบคุมงบประมาณ เตรียมสร้างแบบทะเบียนคุมเงิน ประจางวดส่วนจังหวัด
P
ขั้นตอนที่ 2 การดาเนินงาน การอนุมัติเงินประจางวด บันทึกเสนอผู้บังคับบัญชา บันทึกควบคุมงบประมาณ แจ้งผู้เกี่ยวข้อง ตรวจสอบการเบิกเงิน ตัดยอดเงินงบประมาณ สรุปผลการดาเนินงานและ รายงานผล
D
ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบประเมินผล ตรวจสอบรายงานทะเบียนคุม เงินประจางวดส่วนจังหวัด ตรวจสอบรายงานโปรแกรม เร่งรัดติดตามการใช้จ่าย งบประมาณประจาปี สพฐ. ตรวจสอบรายงานในระบบ GFMIS
ขั้นตอนที่ 4 ขั้นพัฒนา / ปรับปรุง สรุปข้อพร่อง/ผิดพลาด การพัฒนา
ข้อมูล ป้อนกลับ
C
A
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1
ขั้นตอนการปฏิบัติตามกระบวนการควบคุมงบประมาณ/เงินประจางวดส่วนจังหวัด ที่เป็นเลิศ (Best Practice) ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA P : Plan ขั้นวางแผน 1 กาหนดทิศทางการดาเนินงานควบคุมงบประมาณ - ทาการตรวจว่าแต่ละปีงบประมาณ หน่วยงานจะได้รับเงินงบประมาณจาก แผนงาน โครงการ กิจกรรม อะไร 2 เตรียมสร้างทะเบียนคุมเงินประจางวดส่วนจังหวัด - ทาการสร้างทะเบียนควบคุมงบประมาณ/เงินประจางวดส่วนจังหวัด (ทะเบียนคุมเงินประจางวด ส่วนจังหวัด) ตามแผนงาน โครงการ กิจกรรมหลัก D : Do ขั้นดาเนินการ 1. การอนุมัติเงินประจางวด 1.1 รับแจ้งอนุมัติเงินประจางวด จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.1 ตรวจสอบการอนุมัติเงินประจางวด 3 ช่องทาง 1.1.1 ในระบบ GFMIS 1.1.2 ในระบบ e – office 1.1.3 หน้าเว็บสานักการคลังและสินทรัพย์ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. บันทึกเสนอผู้บังคับบัญชาตามลาดับชั้น 3. บันทึกควบคุมงบประมาณ 3.1 ทะเบียนคุมเงินประจางวดส่วนจังหวัด 3.2 โปรแกรมเร่งรัดติดตามการใช้จ่ายงบประมาณประจาปี ของ สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน 4. แจ้งผู้ที่เกี่ยวข้อง 4.1 กลุ่มงานต่าง ๆ ภายใน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 4.2 โรงเรียนในสังกัดตามบัญชีจัดสรรงบประมาณ 5. ตรวจสอบการเบิกเงิน (ตรวจสอบเงื่อนไข) 5.1 ตรวจสอบรหัสงบประมาณ รหัสกิจกรรม แหล่งของเงิน 5.1 ถ้าไม่ถูกต้องส่งคืนผู้เสนอขอเบิกหรือเจ้าของเรื่อง 5.3 ถ้าถูกต้องบันทึกการตัดยอด 6. ตัดยอดงบประมาณ 6.1 บันทึกในทะเบียนคุมเงินประจางวดส่วนจังหวัด ตามแผนงาน รหัสงบประมาณ รหัสกิจกรรม แหล่งของเงิน 6.2 บันทึกในโปรแกรมเร่งรัดติดตามการใช้จ่ายงบประมาณประจาปี ของ สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามแผนงาน รหัสงบประมาณ รหัสกิจกรรม แหล่งของเงิน 6.3 บันทึกการตัดยอดตามงบพัฒนา/งบประจา 6.4 บันทึกการตัดยอดในโครงการที่อนุมัติมาเป็นการเฉพาะ (ตามใบอนุมัติเงินประจางวด)
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1
7. การรายงานฯ 7.1 บันทึกรายงานเสนอผู้บังคับบัญชาตามลาดับชั้น 7.2 รายงานเงินประจางวดประจาเดือนส่ง ณ วันสิ้นเดือน สานักงานตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดกาญจนบุรี สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน C : Check ขั้นตรวจสอบ ในการควบคุมงบประมาณ ณ วันสิ้นเดือน รายงาน 3 ระบบ จะต้องมียอดงบประมาณคงเหลือถูกต้อง ตรงกันทั้ง 3 ระบบ สามารถจาแนกเงินประจางวดคงเหลือว่าเป็นแผนงาน ผลผลิต กิจกรรม และงบรายจ่ายใด ได้อย่างถูกต้อง เพื่อเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการงบประมาณ ให้ทันภายในปีงบประมาณและมีประสิทธิภาพ ดังนี้ 1. รายงานทะเบียนคุมเงินประจางวดส่วนจังหวัด (จัดทาด้วยมือ) 2. รายงานโปรแกรมเร่งรัดติดตามการใช้จ่ายงบประมาณประจาปี ของ สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. รายงานในระบบ GFMIS A : Action ขั้นพัฒนา/ปรับปรุง 1. สรุปข้อบกพร่อง / ผิดพลาดคลาดเคลื่อนจากการปฏิบัติงานการควบคุมงบประมาณ/เงินประจางวด ส่วนจังหวัด กับผู้ร่วมงานภายในกลุ่มบริหารการเงินและสินทรัพย์ ด้วยการพูดคุย ได้รับความร่วมมือ ทั้งจาก ผู้บังคับบัญชา หัวหน้างาน และเพื่อนร่วมงานเป็นอย่างดียิ่ง 2. การพัฒนาการควบคุมงบประมาณ/เงินประจางวดส่วนจังหวัด (จัดทาด้วยมือ) ข้าพเจ้านาโปรแกรม Microsoft Excel มาสร้างทะเบียนคุมเงินประจางวดส่วนจังหวัด ใส่สูตรการคานวณ เพื่อให้สามารถ รับรู้ยอดเงินงบประมาณคงเหลือ และออกรายงานเงินประจาส่วนจังหวัดรายงานให้สานักงานตรวจ เงินแผ่นดิน และผู้บังคับบัญชา และ หัวหน้างาน ได้ทันทีเมื่อได้ดาเนินการเบิกจ่าย และตัดยอด งบประมาณเสร็จเรียบร้อยแล้ว
กระบวนการควบคุมงบประมาณ/เงินประจางวดส่วนจังหวัดที่เป็นเลิศ (Best Practice) ไปใช้ประโยชน์ 1. ผู้บริหารใช้เป็นข้อมูลในการบริหารจัดการ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดคุ้มทุนคุ้มค่าและสามารถ ตรวจสอบการรับ – จ่าย เปรียบเทียบกับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการของสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา 2. สถานศึกษา ได้ทราบว่าได้รับอนุมัติเงินประจางวดเรียบร้อยแล้ว เพื่อจะได้ดาเนินการเบิกจ่ายตาม ระเบียบของทางราชการให้ทันภายในปีงบประมาณ นั้น ๆ ต่อไป 3. กลุ่มนโยบายและแผน นาข้อมูลไปวิเคราะห์ เพื่อผลในการขออนุมัติจัดสรรเงินงบประมาณให้ หน่วยงานในสังกัด หรือขอเงินงบประมาณเพิ่ม 4. เจ้าของโครงการต่าง ๆ เมื่อทราบว่าได้รับการอนุมัติเงินประจางวด จะได้ดาเนินการตามโครงการและ เบิกเงินเพื่อใช้ในโครงการที่ได้วางแผนงานไว้ 5. เจ้าหน้าที่การเงินสามารถตรวจสอบเงินประจางวดในส่วนของงานที่ตนรับผิดชอบว่าได้รับงบประมาณ จานวนเท่าใด เพื่อผลการเบิกจ่ายมิให้เกินวงเงินงบประมาณ
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนาองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1
ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ผู้บริหารสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 สามารถนาเงินงบประมาณ คงเหลือ จากการใช้จ่ายตามโครงการต่าง ๆ ที่สิ้นสุดโครงการแล้ว มาบริหารจัดการโครงการใหม่ เพื่อยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของโรงเรียนขนาดเล็ก ดังนี้ 1. รายการโรงเรียนที่มีผล O-NET ต่า จานวน 10 โรงเรียน 2. รายการโต๊ะเก้าอี้นักเรียน จานวน 10 โรงเรียน 3. รายการค่าวัสดุเตรียมแข่งขันงานศิลปหัตถกรรม จานวน 143 โรงเรียน
ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 สามารถนาข้อมูลสารสนเทศด้าน งบประมาณไปใช้ในการบริหารจัดการศึกษา ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อหน่วยงานและสถานศึกษา ทาให้นักเรียน มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาชาติ มีค่านิยมที่พึ่งประสงค์ เป็นที่พอใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง คือ ผู้เรียน ผู้สอน ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน ส่งผลให้ครอบครัวอบอุ่น คนมีคุณภาพ สังคมประเทศชาติเข้มแข็งอย่าง ยั่งยืน 2. การควบคุมงบประมาณ/เงินประจางวดส่วนจังหวัด ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต 1 มีคุณภาพสูงขึ้น วัดจากการที่ทราบว่ามีเงินงบประมาณคงเหลือหลังจากดาเนินการตามโครงการ ต่าง ๆ เรียบร้อยแล้ว สามารถนาเงินงบประมาณคงเหลือมาบริหารจัดโครงการใหม่ให้กับโรงเรียนในสังกัดเพิ่มเติม ได้อย่างมีคุณภาพ
ปัจจัยที่ทาให้การควบคุมงบประมาณ/เงินประจางวดส่วนจังหวัดที่เป็นเลิศ (Best Practice) ประสบความสาเร็จ 1) ความมุ่งมั่น ตั้งใจ อุทิศเวลาให้กับการปฏิบัติงาน 2) ผู้บังคับบัญชา หัวหน้างาน เห็นความสาคัญของการควบคุมงบประมาณ/เงินประจางวด ส่วนจังหวัด 3) การทางานเป็นทีม ผู้ร่วมงานให้ความร่วมมือ 4) มีระบบการจัดการ การสื่อสารทาความเข้าใจภายในกลุ่มบริหารงานการเงินและสินทรัพย์ เมื่อมีปัญหา ความคลาดเคลื่อน ความบกพร่อง ในการปฏิบัติงาน 5) ดาเนินงานตามขั้นตอน ซึ่งควบคุมด้วยวงจรคุณภาพ PDCA ซึ่งทาให้ระบบการทางานมี ประสิทธิภาพ ผลการดาเนินงาน บรรลุตามเป้าหมาย และปัญหาอุปสรรคน้อยลง
การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของการดาเนินพัฒนางานควบคุมงบประมาณ/เงินประจางวด ส่วนจังหวัด ที่เป็นเลิศ (Best Practice) และการเผยแพร่ เผยแพร่ผลการดาเนินงานควบคุมงบประมาณ บนเว็บไซต์ ของสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากายจนบุรี เขต 1
การควบคุมงบประมาณ/เงินประจ่างวดส่วนจังหวัด ที่เป็นเลิศ (Best Practice) สรุปงบด่าเนินงานได้รบั อนุมตั เิ งินประจ่างวดปีงบประมาณ 2557 ส่านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 แผนงาน / โครงการ
อนุมตั เงินงวด (1)
กันไว้เบิกเหลือมปี
(2)
แผนงาน : ขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา - ผลผลิตผู้จบการศึกษาก่อนประถมศึกษา 1,005,500.00 66,000.00 - ผลผลิตผู้จบการศึกษาภาคบังคับ 28,876,575.00 510,957.00 - ผลผลิตผู้จบการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย 8,120.00 - ผลผลิต เด็กพิการไดรับการศึกษาขัน้ พื้นฐานและการพัฒนาสมรรถภาพ 653,900.00 - โครงการพัฒนาครูทั้งระบบเต็มตามศักยภาพ 563,427.00 - โครงการคืนครูให้นักเรียน 19,043,024.00 - โครงการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 6,108,225.00 - โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐาน 5,406,982.00 - ผลผลิตเด็กผู้มคี วามสามารถพิเศษได้รับการพัฒนาศักยภาพ 30,000.00 - โครงการจัดการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์พกพา 1,122,360.00 95,000.00 แผนงาน : ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมชิ อบในภาครัฐ โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา 161,000.00 แผนงาน : รองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน 5,572,700.00 78,140.00 รวมทั้งสิน
68,551,813.00 750,097.00
เบิกจ่าย (3)
เงินหลือจ่าย (4) เบิกจ่ายทั้งสิ้น คงเหลือ รร.ทีม่ ีผล O-Net ต่่า โต๊ะเก้าอี้นักเรียน ค่าวัสดุงานศิลป์ (5) = (3) + (4) (6) = (1) - (2) - (5)
857,817.28 27,418,495.44 525,000.00 285,980.00 7,994.00 653,244.60 514,090.00 18,964,060.11 6,021,716.10 5,301,370.81 30,000.00 856,292.00 160,196.00 5,418,844.00 66,204,120.34 525,000.00 285,980.00
81,000.00 938,817.28 54,000.00 28,283,475.44 7,994.00 653,244.60 45,000.00 559,090.00 76,500.00 19,040,560.11 85,500.00 6,107,216.10 63,000.00 5,364,370.81 30,000.00 166,500.00 1,022,792.00
5,490,844.00
682.72 82,142.56 126.00 655.40 4,337.00 2,463.89 1,008.90 42,611.19 4,568.00 804.00 3,716.00
643,500.00 67,658,600.34
143,115.66
72,000.00
160,196.00