1. ชื่อผลงาน
ชุดการสอนเรื่อง ความรู้แสนสวยด้วยอินโฟกราฟิก(infographic) รายวิชา ง 21201 สร้างสรรค์งานด้วยคอมพิวเตอร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ บูรณาการ ด้าน นวัตกรรม
2. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา ชื่อผู้พัฒนา นางศุภวรรณ ทักษิณ โรงเรียน เขาดินวิทยาคาร โทรศัพท์ 034-604098 e-mail supphawan@gmail.com 3. เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการพัฒนา 1) เพื่อพัฒนาชุดการสอนเรื่อง ความรู้แสนสวยด้วยอินโฟกราฟิก(infographic) รายวิชา ง 21201 สร้างสรรค์งานด้วยคอมพิวเตอร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2) เพื่อสร้างหน่วยบูรณาการ รายวิชา ง 21201 สร้างสรรค์งานด้วยคอมพิวเตอร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 3) เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ที่พัฒนาความสามารถและทักษะในการแสวงหาความรู้ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดการสอนเรื่อง ความรู้แสนสวยด้วยอินโฟกราฟิก (infographic) รายวิชา ง 21201 สร้างสรรค์งานด้วยคอมพิวเตอร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 4. ระยะเวลาในการพัฒนา เมษายน – ตุลาคม 2556 5. การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างBP กับเป้าหมาย จุดเน้นของ สพป./สพฐ กลยุทธ์ของ สพฐ. กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถ ด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ จุดเน้นที่ 4 เพิ่มศักยภาพนักเรียนด้านคณิตศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ และด้านเทคโนโลยี
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพือ่ การประกันคุณภาพภายใน ด้านผู้เรียน มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มี ความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์ มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นในการเรียนรู้ตามหลักสูตร มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนา ตนเองอย่างต่อเนื่อง มาตรฐานที่ 9 ผู้เรียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต น้อมนาคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พอประมาณ นักเรียนใช้คอมพิวเตอร์สร้างสรรค์ ผลงานได้ด้วยตนเอง เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม
มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี นักเรียนเข้าใจถึงการเลือกใช้ เป็นผู้มีความสามารถและทักษะในการ และตัดสินใจในการนาเสนอ แสวงหาความรู้ ผลงาน ความรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์สร้างสรรค์ผลงาน ความซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อหน้าที่ มีความขยันหมั่นเพียร ในการทางานที่ได้รับมอบหมาย มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีความสามัคคี
6. แนวคิดหลักการทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดนโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.25522561)โดยมีวิสัยทัศน์ให้คนไทยได้เรียนรู้ ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ภายใน ปี 2561 จะต้องมีการปฏิรูปการศึกษา และการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ เพื่อให้การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552–2561) ประสบความสาเร็จ บรรลุตามเป้าหมายดังกล่าว กระทรวงศึกษาธิการ โดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กาหนด จุดเน้นและแนวทางการพัฒนา คุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551เพื่อให้ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานและสถานศึกษาทุกโรง นาจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนไปสู่การ ปฏิบัติในระดับสถานศึกษาและระดับห้องเรียน อันจะช่วยยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของผู้เรียนให้สูงขึ้น
โรงเรียนในฐานะสถานศึกษา ต้องจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความสามารถ ทักษะ และ คุณลักษณะที่เป็นจุดเน้น พร้อมทั้งผลักดัน ส่งเสริม ให้ครูมีการออกแบบและจัดการเรียนรู้ตามความถนัด ความสนใจ เต็มศักยภาพของผู้เรียน การจัดการเรียนรู้พึงจัดให้เชื่อมโยงกับวิถีชีวิต เน้นการปฏิบัติจริงทั้งในและนอกห้องเรียน ใช้ สื่อ เทคโนโลยีที่หลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียนสนุกกับการเรียน และเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ แสวงหาความร่วมมือ จากชุมชน จัดแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาร่วมในการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียน ให้คุณภาพที่มีความ ครอบคลุมในด้านความสามารถและทักษะ ตลอดจนคุณลักษณะที่จะช่วยเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีคุณภาพบรรลุตาม เป้าหมายของหลักสูตร ซึ่งกาหนดไว้ ทั้งในด้านความสามารถ ทักษะ และด้านคุณลักษณะ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น กาหนดให้ผู้เรียนมีความสามารถและทักษะในการแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอย่าง สร้างสรรค์ตามช่วงวัย มุ่งพัฒนาต่อยอด พัฒนาความสามารถในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ความสามารถในการ ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย และมี คุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง ทักษะแสวงหาความรู้ มีความสาคัญ เพราะในการดาเนินชีวิตของคนเราทุกคน โดยเฉพาะในการ ประกอบอาชีพ จาเป็นต้องหมั่นศึกษาค้นคว้าหาความรู้อยู่ตลอดเวลาและสามารถปรับเปลี่ยนความรู้เดิมที่มีอยู่ ตลอดเวลา และสามารถปรับเปลี่ยนความรู้เดิมที่มีอยู่โดยการสร้างความรู้ใหม่เพิ่มเติมได้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ โดย การอาศัยการเรียนรู้และวิธีการฝึกฝนจนเกิดความชานาญ จึงจะช่วยให้เกิดแนวความคิดความเข้าใจที่ถูกต้องและ กว้างขวางยิ่งขึ้น ถ้าหากเราไม่แสวงหาความรู้เพิ่มเติมก็จะทาให้การประกอบอาชีพของเรานั้นไม่มีการพัฒนาขึ้น ธุรกิจหรืออาชีพของเราก็อาจจะล้มเหลวได้ ทักษะการแสวงหาความรู้จึงเป็นทักษะสาคัญทักษะหนึ่งของการจัดการ เรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี การเรียนรู้แบบบูรณาการ เป็นการจัดการเรียนรู้โดยการนาสาระการเรียนรู้ที่มีความสัมพันธ์ เชื่อมโยงกัน นามาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจในลักษณะที่เป็นองค์รวม และสามารถ นาความรู้ ความเข้าใจไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ ฉะนั้นการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการจึงเป็นแนวการ จัดการเรียนรู้ที่สนองตอบต่อการพัฒนาผู้เรียนตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552-2561) ผ่านกระบวนการเรียนรู้ที่พัฒนาความสามารถและทักษะการแสงหาความรู้ ชุดการสอน เป็นสื่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสมที่มีความเหมาะสมกับเนื้อหาหรือ จุดประสงค์ โดยมีการจัดหน่วยการเรียนตามหัวข้อหรือประสบการณ์ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ทั้งในด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติ ตามความมุ่งหวังที่กาหนดไว้ ส่งเสริมการเรียนเป็นรายบุคคล โดยให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตาม ความสามารถ ความสนใจ ตามเวลาและโอกาสที่เหมาะสมของบุคคล ผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง สามารถ พัฒนาความสามารถและทักษะการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง มีโอกาสฝึกทักษะการตัดสินใจ และการทางาน
ร่วมกับผู้อื่น ช่วยให้ผู้เรียนจานวนมากได้รับความรู้แนวเดียวกันอย่างมีประสิทธิภาพ ชุดการสอนจึงเป็นสื่อการจัดการ เรียนรู้ที่มีความเหมาะสมในการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ อินโฟกราฟิก(Infographic)g เป็นเทคนิคการจัดระบบคิดเรื่องใดเรื่องหนึ่งในสมอง และแปลผล ออกมาเป็นภาพโดยให้โยงใยกันเป็นเครือข่าย ซึ่งช่วยให้ง่ายต่อการจดจาได้แม่นยาและยาวนานกว่าตัวอักษร อินโฟกราฟิก(Infographic) มาจากคาว่า information รวมกับ graphic เป็นการรวมข้อมูลทางตัวเลข ข้อมูลทาง สถิติต่างๆ กับการออกแบบให้ตัวเลขและสถิติที่ดูยุ่งยาก ให้เข้าใจง่ายมากขึ้น เป็นวิธีเสนอข้อมูลต่างๆ ให้เข้าใจง่าย มากขึ้น อินโฟกราฟิก(Infographic) สามารถเป็นเครื่องมือช่วยในจัดการระบบคิดเรื่องใดเรื่องหนึ่งในสมอง และแปล ผลออกมาเป็นภาพโดยให้โยงใยกันเป็นเครือข่าย ซึ่งช่วยให้ง่ายต่อการจดจาได้แม่นยาและยาวนานกว่าตัวอักษร เพราะการรับรู้ของมนุษย์ ข้อมูลที่เข้าสู่สมองของคนเราคือข้อมูลที่เป็นรูปภาพ เพราะรูปภาพและกราฟิกต่างๆเร้า ความสนใจได้ดีกว่าการอ่าน และในการสร้างหรือพัฒนางานประเภทอินโฟกราฟิก(Infographic) ผู้สร้างผลงานต้อง มีความรู้ความเข้าใจในข้อมูลที่ต้องการนาเสนอเป็นอย่างดี ต้องใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ รวมทั้ง ทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองเพื่อค้นหาความรู้ที่ทาให้เกิดความเข้าใจในข้อมูลมี่ต้องการนาเสนอมากยิ่งขึ้น ชุดการสอนเรื่อง ความรู้แสนสวยด้วยอินโฟกราฟิก(infographic) เป็นชุดการสอนที่มีเนื้อหา บูรณาการระหว่างกลุม่ สาระการเรียนรู้ เป็ นการจัดการเรียนรู้ที่เชือ่ มโยงสาระการเรียนรู้ ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ระหว่างรายวิชา รายวิชา ง 21201 สร้างสรรค์งานด้วยคอมพิวเตอร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1กลุ่มสาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีกบั กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ เพือ่ มุง่ ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องราว ประเด็น ปั ญหา หัวเรื่อง หรือประสบการณ์เรื่องใดเรื่องหนึ่งซึ่งช่วยให้ ผ้ เู รียนได้ เรียนรู้ในเรื่องนันๆ ้ อย่างเข้ าใจลึกซึ ้ง และชัดเจนใกล้ เคียงกับความเป็ น จริงในชีวติ และนาความรู้นั้นๆมานาเสนอในรูปแบบของอินโฟกราฟิก(Infographic) โดยเป็นสร้างสรรค์งานจาก
คอมพิวเตอร์ 7. กระบวนการพัฒนา 7.1 กลุ่มเป้าหมายในการนาไปใช้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนเขาดินวิทยาคาร สานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 จานวน 32 คน
7.2 ขั้นตอนในการพัฒนา ศึกษาเนื ้อหาสาระของเรื่ องที่จะสอนและการเชื่อมโยงการเรี ยนรู้กลุม่ สาระการเรี ยนรู้ตา่ งๆ
จัดทาโครงสร้ างหน่วยการเรี ยนรู้บรู ณาการ กาหนดหน่วยการเรี ยนบูรณาการ กาหนดความคิดรวบยอดและจุดประสงค์การเรี ยนรู้ วิเคราะห์หากิจกรรมการเรี ยนการสอน
เตรี ยมหรื อสร้ างสื่อตามจุดประสงค์
ทดลองใช้ เนื ้อหาประสิทธิภาพ
7.3 การตรวจสอบคุณภาพของBP 1) การประเมินความพึงพอใจของผู้เรียน 2) การเผยแพร่ผลงานและพิจารณาผลย้อนกลับ 3) การประเมินความสามารถและทักษะในการแสวงหาความรู้ของนักเรียน 7.4 แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ ชุดการสอนเรื่อง ความรู้แสนสวยด้วยอินโฟกราฟิก(infographic) รายวิชา ง 21201 สร้างสรรค์ งานด้วยคอมพิวเตอร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถือเป็นนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียน พัฒนาความสามารถและทักษะในการแสวงหาความรู้ ตามจุดเน้นในการพัฒนาผู้เรียน ซึ่งสามารถนาแนวทางการ พัฒนาชุดการสอนนี้ไปประยุกต์ใช้เพื่อการผลิตสื่อการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาอื่นๆได้
8. ผลสาเร็จที่เกิดจากการพัฒนาBP 1) ชุดการสอนเรื่อง ความรู้แสนสวยด้วยอินโฟกราฟิก(infographic) รายวิชา ง 21201 สร้างสรรค์ งานด้วยคอมพิวเตอร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพตามเป้าหมาย 2) มีโครงสร้างหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ รายวิชา ง 21201 สร้างสรรค์งานด้วยคอมพิวเตอร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 3) สามารถพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ที่พัฒนาความสามารถและทักษะในการแสวงหาความรู้ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ทาให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาความสามารถและทักษะนี้ได้ 4) นักเรียนมีความพึงพอใจของต่อชุดการสอนเรื่อง ความรู้แสนสวยด้วยอินโฟกราฟิก(infographic) รายวิชา ง 21201 สร้างสรรค์งานด้วยคอมพิวเตอร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระดับดีขึ้นไป 5) ครูผู้สอนรายวิชาต่างๆ สามารถนาผลงานของนักเรียน ไปใช้เป็นสื่อประกอบการจัดการเรียนรู้ได้ 6) ผลจากการเผยแพร่ชุดการสอน ได้รับผลย้อนกลับคือ มีความพึงพอใจต่อชุดการสอนนี้ระดับดีขึ้นไป 7) ได้แนวทางในการพัฒนาชุดการสอนแบบบูรณาการ ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนพัฒนาความสามารถและ ทักษะในการแสวงหาความรู้ ตามจุดเน้นในการพัฒนาผู้เรียน ซึ่งสามารถนาแนวทางการพัฒนาชุด การสอนนี้ไปประยุกต์ใช้เพื่อการผลิตสื่อการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาอื่นๆได้ 9. ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา/ประสบการณ์เรียนรู้จากการนาไปใช้ 1) การจัดกิจกรรมที่แปลกใหม่ ทาให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ มากขึ้น 2) ครูจะต้องเป็นผู้ให้คาปรึกษาตลอดเวลาในช่วงแรกๆของการจัดกิจกรรม 3) การบูรณาการการจัดการเรียนรู้ ทาให้นักเรียนเห็นคุณค่าของการเรียนรู้รายวิชา คอมพิวเตอร์ ที่สามารถเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้รายวิชาอื่นๆได้ 4) การที่ผู้พัฒนาได้เข้าร่วมการประชุมเรื่องแนวทางการจัดการเรียนรู้บูรณาการแบบครบวงจร โดยสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ทาให้เกิดแนวทางในการ พัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน 10. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุงให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ควรประเมินความสามารถและทักษะในการแสวงหาความรู้ของนักเรียน อย่างต่อเนื่อง และจัด กิจกรรมที่ส่งเสริมสนับสนุนความสามารถและทักษะดังกล่าวเพิ่มเติม
ตัวอย่างชิ้นงาน ความรู้แสนสวยด้วยอินโฟกราฟิก(Infographic)