BP นางเบญจมาศ วรรณายก ร.ร.บ้านนากาญจน์

Page 1

การปฏิบัตทิ ี่เป็นเลิศ Best Practice โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

นางเบญจมาศ วรรณายก ครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านนากาญจน์ สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


Best Practice ๑. ชือ่ ผลงาน BP

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง “แต่งเสริมเติมค่าผ้าร้อยจีบ” กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ด้าน บริหารจัดการศึกษา ๒. ข้อมูลทัว่ ไปของผู้พฒ ั นา BP ๒.๑ ชื่อผู้พัฒนา BP นางเบญจมาศ วรรณายก ๒.๒ โรงเรียน บ้านนากาญจน์ เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาวังเย็น ระดับประถมศึกษา ๒.๓ โทรศัพท์ ๐๙-๐๗๙๒-๙๑๘๗ e-mail : nokben1@gmail.com ๓. เป้าหมาย วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ๓.๑ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๓.๒ เพื่อให้นักเรียนมิเจตคติที่ดีในการทางานและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ ๓.๓ เพื่อประสานความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและชุมชน ๔. ระยะในการพัฒนา BP (ระบุชว่ งเริ่มต้นการพัฒนา และระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา BP) ระหว่าง ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๕๖ ๕. ความเชือ่ มโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป. / สพฐ. / สถานศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีพันธกิจในการพัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุน การจัดการศึกษาให้ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยเน้นการพั ฒนาผู้เรียนเป็น สาคัญ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ มีคุณธรรมจริยธรรม มีความสามารถตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการพัฒนาสู่คุณภาพระดับสากล ซึ่งปรากฏอยู่ในแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี (๒๕๕๕ – ๒๕๕๘) จุดเน้นของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ข้อที่ ๔ ระบุไว้ว่านักเรียนทุกคนมีความสานึกใน ความเป็นไทย จิตสาธารณะ อยู่อย่างพอเพียง (Sufficiency & Public Mind) ส่วนพันธกิจของสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ คือ พัฒนาและส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยพัฒนาผู้เรียนเป็นบุคคลที่มีความรู้คู่คุณธรรม มีความสามารถตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพระดับสากล หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลักการที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชดารัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๗ ชี้ถึงแนวการดารงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชนในทุก ระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ความพอเพียงหมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการ เปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐาน ของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกัน ที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบในการวางแผน และการตัดสินใจ โรงเรียนบ้านนากาญจน์ มีพันธกิจที่เกี่ยวข้องในเรื่องของการปลูกฝังให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ โดยมุ่งเน้นให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ข้าพเจ้าในฐานะ ครูผู้รับผิดชอบโครงการเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียน จึงได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโครงงานเศรษฐกิจ


พอเพียง “แต่งเสริมเติมค่าผ้าร้อยจีบ” เพื่อตอบสนองจุดเน้นและพันธกิจ ซึ่งจะส่งผลถึงการพัฒนาศักยภาพ ของนักเรียนให้สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีทนี่ ามาใช้ในการพัฒนา BP หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานเศรษฐกิจ พอเพีย ง “แต่ งเสริม เติม ค่าผ้ าร้ อ ยจี บ ” ได้นาหลั กปรัช ญาเศรษฐกิจ พอเพียง ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดารัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๗ เป็นต้นมา เป็นแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนา เศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียงหมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึง ความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลง ทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนา วิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐาน จิตใจของคนในชาติให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิต ด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ ความรู้ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีหลักพิจารณาอยู่ ๕ ส่วน ดังนี้ ๑. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติคนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลก เชิงระบบที่ มีก ารเปลี่ ย นแปลงอยู่ ตลอดเวลา มุ่งเน้น การรอดพ้นจากภัย และวิ กฤต เพื่ อความมั่ นคงและ ความยั่งยืนของการพัฒนา ๒. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน ๓. คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะ พร้อมๆ กันดังนี้ - ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดย ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ - ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไป อย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น จากการกระทา นั้น ๆ อย่างรอบคอบ - การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการ เปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน อนาคตทั้งใกล้และไกล ๔. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัย ทั้งความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ


- เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่าง รอบด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และ ความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ - เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วยความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียรใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต ๕. แนวทางปฏิบั ติ / ผลที่ คาดว่าจะได้รั บ จากการนาปรั ช ญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมา ประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้ และเทคโนโลยี

วิธกี ารสอนแบบโครงงาน ความหมาย การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน คือ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่จัดประสบการณ์ ให้แก่นักเรียนเหมือนกับการทางานในชีวิตจริง วัตถุประสงค์ ๑. มีประสบการณ์โดยตรง ๒. ได้ทาการทดลองและพิสูจน์สิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง ๓. รู้จักการทางานอย่างมีระบบ มีขั้นตอน ๔. ฝึกการเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี ๕. ได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหา ๖. ได้รู้จักวิธีการต่าง ๆ ในการแก้ปัญหา ๗. ฝึกวิเคราะห์ และประเมินตนเอง การจัดการเรียนรูแ้ บบโครงงาน การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน เป็น กระบวนการแสวงหาความรู้ หรือการค้นคว้าหาคาตอบ ในสิ่งที่ผู้เรียนอยากรู้หรือสงสัยด้วยวิธีการต่างๆ เป็นวิธีการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้เลือกศึกษาตามความสนใจของ ตนเองหรือของ กลุ่มเป็นการตัดสินใจร่วมกัน จนได้ชิ้นงานที่สามารถนาผลการศึกษาไปใช้ได้ในชีวิตจริง การเรียนรู้แบบโครงงาน เป็นการเรียนรู้ที่ใช้เทคนิคหลากหลายรูปแบบนามาผสมผสานกันได้แก่ กระบวนการกลุ่ม


การฝึกคิด การแก้ปัญหา การเน้นกระบวนการ การสอนแบบปริศนาความคิด และการสอนแบบร่วมกันคิด เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งจากความสนใจ อยากรู้ อยากเรียนของผู้เรียนเอง โดยใช้กระบวนการและ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ผู้เรียนจะเป็นผู้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ เพื่อค้นหาคาตอบด้วยตนเอง เป็นการเรียน ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรงกับแหล่ง ความรู้เบื้อง สามารถสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงกับหลักการพัฒนาการคิดของ บลูม (Boom) ดังนี้ ๑. ความรู้ความจา ๒. ความเข้าใจ ๓. การนาไปใช้ ๔. การวิเคราะห์ ๕. การสังเคราะห์ ๖. การประเมินค่า การเรียนรู้แบบโครงงาน ยังเป็นการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญในทุกขั้นตอนของ กระบวนการเรียนรู้ ตั้งแต่การวางแผนการเรียนรู้ การออกแบบการเรียนรู้ การสร้างสรรค์กระบวนการ จัดการเรียนรู้ แบ่งเป็น ๓ ระยะ คือ ระยะที่ ๑ การเริ่มต้นโครงงาน เป็นระยะที่ผู้สอนต้องสังเกต/สร้างความสนใจ ให้เกิดขึ้นในตัว ผู้เรียน เลือกเรื่องที่จะศึกษาร่วมกัน ระยะที่ ๒ การพัฒนาโครงงาน เป็นขั้นที่ผู้เรียนกาหนดหัวข้อคาถาม หรือประเด็นปัญหา แล้ว ตั้งสมมุติฐานเพื่อตอบคาถามเหล่านั้น ระยะที่ ๓ ขั้นสรุป เป็นระยะที่ผู้สอน และผู้เรียนแบ่งปันประสบการณ์ การทางานและแสดง ให้เห็นถึงความสาเร็จมีกิจกรรมที่ผู้เรียนดาเนินการ ดังนี้ - ผู้เรียนเขียนรายงานเป็นรูปแบบงานวิจัยเล็กๆ - ผู้เรียน นาเสนอผลงาน (แสดงเป็นแผงโครงงาน) ให้ผู้ที่สนใจได้รับรู้ สรุปและ นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ขั้นตอนในการสอนทาโครงงาน การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานมี ๔ ขั้นตอน คือ ๑. กาหนดความมุ่งหมายและลักษณะโครงงานโดยตัวนักเรียนเอง ๒. วางแผนหรือวางโครงงาน นักเรียนต้องช่วยกันวางแผนว่าจะทาอะไร ใช้วิธีการหรือ กิจกรรมใด จึงจะบรรลุจุดมุ่งหมาย ๓. ขั้นดาเนินการ ลงมือทากิจกรรมหรือแก้ปัญหา ๔. ประเมินผล โดยประเมินว่ากิจกรรมหรือโครงงานนั้นบรรลุผลตามความมุ่งหมายที่ กาหนด หรือไม่ มีข้อบกพร่อง และควรแก้ไขให้ดีขึ้นอย่างไร วิธกี ารทาโครงงาน ๑. ประชุมปรึกษาหารือ เพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับหัวข้อของโครงงาน จากสิ่งต่อไปนี้ - การสังเกต หรือตามที่สงสัย - ความรู้ในวิชาต่าง ๆ - จากปัญหาใกล้ตัว หรือการเล่น - คาบอกเล่าของผู้ใหญ่ หรือผู้รู้


๒. เขียนหลักการ เหตุผล ที่มาของโครงงาน ๓. ตั้งวัตถุประสงค์ของการทาโครงงาน ๔. กาหนดวิธีการศึกษา เช่น การสารวจ การทดลอง เป็นต้น ๕. นาผลการศึกษามาอภิปรายกลุ่ม ๖. สรุปผลการศึกษา โดยการอภิปรายกลุ่ม ๗. ปรับปรุงชื่อโครงงาน ให้ครอบคลุม น่าสนใจ การประเมินผลการทาโครงงาน ครูผู้สอนจะเป็นผู้ประเมินการทาโครงงานของนักเรียนแต่ละกลุ่ม โดยใช้แบบประเมินแผนผัง โครงงานพิจารณาตามรายละเอียดดังนี้ ๑. ชื่อเรื่องแสดงถึงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ๒. ชื่อเรื่องมีความสัมพันธ์กับเนื้อหาคาถามมีการกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความคิด ๓. สมมติฐานมีการแสดงถึงพื้นฐานความรู้เดิม ๔. วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา เหมาะสมสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายและเนื้อหา ๕. แหล่งศึกษาสามารถค้นคว้าคาตอบได้ ๖. วิธีการนาเสนอชัดเจน เหมาะสมกับเนื้อหาและเวลา ๗. กระบวนการพัฒนา BP ๗.๑ กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ – ๖ โรงเรียนบ้านนากาญจน์ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ จานวน ๑๖ คน ๗.๒ ขัน้ ตอนการพัฒนา BP ขั้นวางแผน - ศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรและตัวชี้วัด - สารวจปัญหาและความสนใจของนักเรียน - ศึกษาหลักการ ทฤษฎีการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน - จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบ แบบประเมิน และสื่อการเรียนรู้ นาไปให้ผู้เชี่ยวชาญ ประเมินความเหมาะสม แล้วนามาปรับปรุงตามคาแนะนา จากนั้นจึงนาไปทดลองใช้กับนักเรียน ขั้นดาเนินการตามแผน - จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ - นาผลงานไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ขั้นประเมินผล - ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - ตรวจผลงาน โครงงาน “แต่งเสริมเติมค่าผ้าร้อยจีบ” - ประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการทางาน - สังเกตพฤติกรรมการทางาน การนาความรู้และผลงานไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ขั้นปรับปรุง - นาข้อบกพร่องที่ได้จากการประเมินมาปรับปรุงแก้ไข


ขั้นเผยแพร่ผลงาน - ขยายผลแก่คณะครู - จัดทาแผ่นพับประชาสัมพันธ์ - จัดนิทรรศการ - นาสินค้าออกจาหน่าย - นาผลงานไปถวายวัดสาหรับใช้ประโยชน์ตามโอกาส - เผยแพร่ทางเฟสบุ๊คของโรงเรียน https://www.facebook.com/ban.nakan.9


วางแผน ศึกษาหลักสูตร, สารวจปัญหา, ศึกษาทฤษฎี, สร้างเครื่องมือ, หาคุณภาพ

ดาเนินการตามแผน จัดกิจกรรม ความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ ดี ้ ความรู

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

โครงงาน นาไปประยุกต์ใช้

คุณธรรม

ประเมินผล ทดสอบ, ตรวจผลงาน, สังเกตพฤติกรรม, ประเมินความพึงพอใจ ปรับปรุง

เผยแพร่ ผลงาน ขยายผล, แผ่นพับ, นิทรรศการ, facebook


๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวธิ กี ารและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้) ๗.๓.๑ หาคุณภาพเครื่องมือ ๑) ประเมินความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (IOC) แผนการจัดการเรียนรู้, แบบทดสอบ, แบบประเมินความพึงพอใจ, แบบสังเกตพฤติกรรม ซึ่งมีค่าระหว่าง ๐.๖๗ – ๑.๐๐ โดยผู้เชี่ยวชาญ จานวน ๓ ท่าน คือ - นางยุพดี สุขกรม ศึกษานิเทศก์ สพป.กาญจนบุรี เขต ๑ - นางจันทรา เกตุจันทร์ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านนากาญจน์ - นางอารมย์ เหลืองแดง ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านวังตะเคียน ๒) หาค่าความยากง่ายและค่าอานาจจาแนกของแบบทดสอบ - นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ได้รับการตรวจสอบความเที่ยงตรง เชิงเนื้อหา และปรับปรุงแก้ไขคาถามให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ตามที่ผู้เชี่ยวชาญเสนอแนะ นาไปทดลองใช้ กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนวัดบ้านเก่า จานวน ๓๐ คน ซึ่งไม่ใช่กลุ่มเป้าหมาย - นาคะแนนที่ได้จากการทดสอบกับนักเรียนทั้ง ๓๐ คน ไปวิเคราะห์ค่าความ ยากง่าย (P) เป็นรายข้อโดยพิจารณาค่าความยากง่าย (p) ตั้งแต่ ๐.๒๐ ถึง ๐.๘๐ และวิเคราะห์หาค่าอานาจ จาแนก (r) ของแบบทดสอบเป็นรายข้อโดยใช้เทคนิค ๕๐% ซึ่งค่าอานาจจาแนก (r) มีค่าตั้งแต่ ๐.๒๐ ขึ้นไป - คัดเลือกแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่หาความยากง่าย (P) และค่า อานาจจาแนก (r) เป็นที่เรียบร้อยแล้ว จานวน ๒๐ ข้อ เป็นแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบ หลังเรียน สาหรับใช้กับกลุ่มเป้าหมายต่อไป ๗.๓.๒ ผลการเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ร้อยละ ความก้าวหน้า มีค่าร้อยละความก้าวหน้าเท่ากับ ๒๘.๓๓ ๗.๓.๓ ผลการประเมินเจตคติที่ดีในการทางานและการนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน โดยใช้ แบบประเมินความพึงพอใจ มีผลประเมินความพึงพอใจในระดับ มากที่สุด ( x = ๔.๙๖) ๗.๓.๔ ผลการประเมินความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและชุมชน โดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ มีผลประเมินความพึงพอใจในระดับ มากที่สุด ( x = ๔.๙๒ ) ๗.๔ แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ ๗.๔.๑ ใช้ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมให้นักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สามารถประดิษฐ์ของไว้ ใช้เอง และเป็นการหารายได้เสริมระหว่างเรียน ๗.๔.๒ เป็นแนวทางให้นักเรียนและผู้ปกครองนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน ๗.๔.๓ เป็นแนวทางให้คณะครูนาไปประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ๗.๔.๔ โรงเรียนมีแผนการจัดการเรียนรู้และสื่อการเรียนรู้ในเรื่องหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๗.๔.๕ โรงเรียนและชุมชนมีการประสานความร่วมมือในการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน


๘. ผลสาเร็จทีเ่ กิดขึน้ จากการพัฒนา BP (เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ BP) ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ๘.๑.๑ นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ร้อยละ ๑๐๐ ๘.๑.๒ นักเรียนมิเจตคติที่ดีในการทางานและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ ร้อยละ ๑๐๐ ๘.๑.๓ ความร่วมมือกันระหว่างโรงเรียนและชุมชน ร้อยละ ๑๐๐ ๘.๒ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ ๘.๒.๑ นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับ ดี ๘.๒.๒ นักเรียนมิเจตคติที่ดีในการทางานและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ ระดับ ดีมาก ๘.๒.๓ ผู้ปกครองและชุมชนให้ความร่วมมือในการพัฒนาในระดับ ดีมาก ๘.๓ ความพึงพอใจของผู้เกีย่ วข้องต่อ BP ประเมินความพอใจของ นักเรียน ครู และผู้ปกครอง โดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ มีผลดังนี้ ๘.๓.๑ ความพึงพอใจของนักเรียน ร้อยละ ๙๙.๒๐ ๘.๓.๒ ความพึงพอใจของผู้ปกครอง ร้อยละ ๙๘.๔๐ ๘.๓.๓ ความพึงพอใจของครู ร้อยละ ๑๐๐ ๘.๔ ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP / ประสบการณ์เรียนรูจ้ ากการนา BP ไปใช้ ๘.๔.๑ ผู้บริหารให้การสนับสนุนงบประมาณ สร้างขวัญและกาลังใจในการทางาน ๘.๔.๒ ผู้เชี่ยวชาญให้คาปรึกษา แนะนา และช่วยเหลือในการพัฒนางาน ๘.๔.๓ คณะครูให้ความร่วมมือ สนับสนุน และช่วยเหลือในการพัฒนางาน ๘.๔.๔ กิจกรรมการเรียนรู้มีความน่าสนใจ ท้าทายความสามารถของนักเรียน ๘.๔.๕ นักเรียนมีความมุ่งมั่น ขยันในการทางาน ตั้งใจทางานจนสาเร็จลุล่วงด้วยดี ๘.๔.๖ ผู้ปกครองและชุมชนให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรม ๙. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ๙.๑ วิธกี ารตรวจสอบซ้า BP นากิจกรรมโครงงานเศรษฐกิจพอเพียง “แต่งเสริมเติมค่าผ้าร้อยจีบ” มาขยายผลให้กับ นักเรียนชั้นอื่น ๆ ที่มีความสนใจ พร้อมทั้งบันทึกและประเมินผลการจัดกิจกรรมเพื่อนามาปรับปรุงต่อไป ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้า เพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP นักเรียนทุกคนมีความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สามารถนาเศษผ้ามา ประดิษฐ์เป็นผ้าร้อยจีบแล้วนาไปสร้างผลงานตามความคิดสร้างสรรค์ได้มากขึ้นกว่าเดิม เช่น นาไปตกแต่งที่ คาดผม ฯลฯ ผลงานของนักเรียนนอกจากจะทาไว้ใช้เองแล้ว นักเรียนบางคนก็ทาไปฝากคนที่บ้านด้วย เช่น ทากิ๊บติดผมไปให้น้อง เป็นต้น นอกจากนั้นยังนาผลงานไปจาหน่ายเป็นรายได้เสริมระหว่างเรียน และ โรงเรียนยังได้นาเงินที่ได้จากการจาหน่ายและแบ่งปันให้กับนักเรียนแล้ว ร่วมทาบุญในโอกาสต่าง ๆ ตามความ เหมาะสม เพื่อเป็นการปลูกฝังคุณธรรมและทาให้นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง ผู้ปกครองให้ความ


ร่วมมือในกิจกรรมเป็นอย่างดี ซึ่งนับได้ว่าเป็นกิจกรรมที่ประสานความร่วมมือและความเข้าใจระหว่าง โรงเรียนและชุมชนได้เป็นอย่างดี ๑๐. การประชาสัมพันธ์ ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ขยายผลในวงกว้าง ๑๐.๑ ขยายผลให้ กับ คณะครูในเครือข่ายพัฒ นาคุณภาพการศึกษาวังเย็น เมื่อวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ณ โรงเรียนบ้านนากาญจน์ อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ๑๐.๒ จัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในศูนย์เครือข่ายพัฒนาการศึกษาวังเย็น เมื่อวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๖ ณ เดอะเลกาซีรีสอร์ท จังหวัดกาญจนบุรี ๑๐.๓ จัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานในโครงการอบรมพัฒนาครูด้วยกระบวนการสร้างระบบพี่เลี้ยง (Coaching and Mentoring) เมื่อวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๖ ณ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต ๑ ๑๐.๔ จัดทาแผ่นพับประชาสัมพันธ์ ๑๐.๕ นาสินค้าออกจาหน่าย ๑๐.๖ นาผลงานไปถวายวัดเพื่อสาหรับใช้ประโยชน์ตามโอกาส ๑๐.๘ เผยแพร่ผลงานทางเฟสบุ๊คของโรงเรียนบ้านนากาญจน์


ภาพกิจกรรม


การประดิษฐ์ผา้ ร้อยจีบ วัสดุอปุ กรณ์ ๑. เศษผ้าสีตามต้องการ

๒. ด้าย เข็มเย็บผ้า


๓. กรรไกร

๔.

กาวแท่ง เทียน ไม้ขีด


๕. กระดาษแข็ง


ขัน้ ตอนการทา ๑. ตัดกระดาษเป็นวงกลมขนาดตามต้องการ (สาหรับใช้เป็นแบบ)

๒. นากระดาษไปวางบนผ้าแล้วตัดตามแบบ


๓. นาผ้าที่ตัดมาเย็บด้นให้ห่างประมาณ ๐.๕ เซนติเมตร จนรอบวงกลม

๔. รูดผ้าที่เย็บให้เป็นจีบ จับจีบให้มีระยะสวยงาม


๕. ผูกปลายด้ายแล้วตัดออก

๖. ผ้าร้อยจีบหลากสีพร้อมนาไปประยุกต์ใช้แล้วจ้ะ


ผลงานนักเรียนจากการทาโครงงาน กระเป๋าสีสนั กับวันสดใส


เสือ้ สุดเก๋


ทีร่ ดั ผมสุดสวย


กิ๊บจ๋าน่ารักจ้ะ


ผ้ารองแจกันแสนน่ารัก


ขยายผลแก่คณะครูและผูท้ สี่ นใจ



จัดนิทรรศการในเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาวังเย็น เมือ่ วันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๖ ณ เดอะเลกาซีรสี อร์ท จังหวัดกาญจนบุรี


จัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานในโครงการสร้างระบบพีเ่ ลีย้ ง เมือ่ วันที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๖ ณ สพป.กาญจนบุรี เขต ๑


นาสินค้าออกจาหน่ายในโรงเรียนและในชุมชน



คณะครูและนักเรียนร่วมกันผลิตผ้ารองพานเพือ่ นาไปถวายวัดนากาญจน์





ผ้าผืนน้อย จากผ้าผืนน้อย ปลูกฝังปัญญา อยู่อย่างพอเพียง เด็กไทยควรทา

เรียงร้อยคุณค่า รู้ค่าคุณธรรม คู่เคียงสุขล้า น้อมนา “พอเพียง” “ครูนก”


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.