BP นายวรรณชัย นิลผึ้ง โรงเรียนวัดหนองเสือ

Page 1


ผลงานการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ ( Best Practice : BP ) 

๑. ชื่อผลงาน BP การบริหารจัดการคณิตศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ที่ยั่งยืน กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ด้าน บริหารจัดการยอดเยี่ยม ๒. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP ๒.๑ ชื่อผู้พัฒนา BP นายวรรณชัย นิลผึ้ง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ ๒.๒ โรงเรียน

วัดหนองเสือ ตาบลวังศาลา อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาต้อนต้น

๒.๓ โทรศัพท์ ๐๘๖ – ๐๖๙๘๘๑๙ E– mail : wannachai_09@hotmail.com ๒.๔ ความเป็นมาเพื่อการพัฒนา BP คณิตศาสตร์มบี ทบาทอย่างยิ่ง ต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์ ทาให้มนุษย์มีความคิดอย่าง มีเหตุผล เป็นระบบระเบียบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและสถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วน รอบคอบ คณิตศาสตร์ยังช่วยพัฒนาคนให้เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีความสมดุล ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญาและอารมณ์ สามารถคิดเป็นทาเป็นแก้ปัญหาเป็น และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ความสุข ปัจจุบั นการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ย่ อมจะต้องมีปัญหาผู้เรี ยนขาดทัก ษะ ความรู้ ความเข้าใจในการคิดคานวณ และไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้หรือตัวชี้วัดการเรียนรู้ เนื่องจาก ความแตกต่างระหว่างบุคคล สภาพท้องถิ่น และโอกาสในการศึกษาเล่าเรียน ครูผู้สอนจึงต้องหา แนวทางแก้ไข/พัฒนา เพื่อช่วยให้นักเรียนได้มโี อกาสเรียนรู้ตามความสามารถของตน การพัฒนาทักษะด้านการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ ช่วยให้นักเรียนมีเจตคติที่ดี ต่อคณิตศาสตร์ และทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูงขึ้น โดยครูต้องมีการบริหาร จัดการชั้นเรียนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน รู้จักผู้เรียน การจัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน ซึ่งการดาเนินการดังกล่าวสามารถเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมาย จุดเน้นของสพป./สพฐ. และ หลั ก สู ต รสถานศึ กษา ที่ ว่า คณิ ต ศาสตร์ ท าให้ ม นุ ษ ย์มี ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ คิ ด อย่ า งมี เ หตุ ผ ล คิดอย่างเป็นระบบ มีระเบียบแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบ ถี่ถ้ วน สามารถคาดการณ์ วางแผน ตั ดสิ นใจแก้ ปัญ หาได้ เพื่อ จะนาไปใช้ พัฒ นาคุณ ภาพชี วิ ต รวมทั้งใช้เป็นพืน้ ฐานและเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ต่อไปในการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์


ตามแนวการจัดการเรียนรู้ ตาม พ.ร.บ. ๒๕๔๒ โดยเน้นความสาคัญ ๓ ด้าน คือ ด้านความรู้ ด้านทักษะ/กระบวนการ ด้านคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม และแนวการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้สอนควรคานึงถึงความสนใจ ความถนัดของผู้เรียน และความแตกต่างของ ผู้เรียน การจัดสาระการเรียนรู้จงึ ควรจัดให้มหี ลากหลาย ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนได้ตามความ สนใจ รูปแบบของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนควรมีหลากหลายไม่ว่าจะเรียนรวมกันทั้งชั้น เรียนเป็นกลุม่ ย่อย เรียนเป็นรายบุคคล สถานที่จัดก็ควรมีทั้งในห้องเรียน นอกห้องเรียน บริเวณ สถานศึกษา มีการจัดให้ผู้เรียนได้ไปศึกษาในแหล่งวิทยาการต่าง ๆ ที่อยู่ในชุมชนหรือในท้องถิ่น จัด ให้ สอดคล้ องกับ เนื้อ หาวิช าและความเหมาะสมกับ ผู้เ รี ยนเพื่ อ ให้ ผู้เ รีย นมีผ ลการเรีย นรู้ ไ ด้ มาตรฐานตามที่หลักสูตรกาหนด ในการจัดกิจกรรมการเรียนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ได้ลง มือปฏิบัตจิ ริง ผู้สอนควรฝึกให้ผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็น รู้จักบูรณาการความรูต้ ่าง ๆ เพื่อให้เกิดองค์ ความรู้ใหม่ รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ฝึกให้ผู้เรียนรู้ จัก ประเมินผลงานและปรับปรุงงาน ตลอดจนสามารถนาความรู้และประสบการณ์ไปใช้ในชีวิตและอยู่ ในสังคมได้อย่างมีความสุข เพื่อให้การเรียนการสอนคณิตศาสตร์ประสบความสาเร็จ จึงได้จัดกิจกรรมบริหาร จัด การชั้ นเรีย นคณิต ศาสตร์เ พื่อ การเรีย นรู้ ที่ยั่ งยื นให้บ รรลุวั ตถุ ประสงค์ และเป้า หมายตามที่ กาหนด ๓. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ๓.๑ เพื่อพัฒนาทักษะการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทางคณิตศาสตร์ให้หลากหลาย ๓.๒ เพื่อให้มเี จตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ ๓.๓ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการเรียนคณิตศาสตร์สูงขึน้ ๔. ระยะเวลาในการพัฒนา BP (ระบุช่วงเวลาเริ่มต้นการพัฒนา และระยะเวลา ที่ใช้ในการพัฒนา BP) ระยะเวลาในการพัฒนาจะพัฒนาตลอดปีการศึกษา ดาเนินการต่อเนื่องทุกปีการศึกษา โดยมี การปรับและพัฒนาตลอดเวลา


๕. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้น ของ สพป./สพฐ./สถานศึกษา การพัฒนาทักษะด้านการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ ช่วยให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อ คณิตศาสตร์ และทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูงขึน้ โดยครูต้องมีการบริหารจัดการ ชั้นเรียนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน รูจ้ ักผู้เรียน การจัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน ซึ่งการ ดาเนินการดังกล่าวสามารถเชื่อมโยง/สัมพันธ์ กับเป้าหมาย จุดเน้นของสพป./สพฐ.และหลักสูตร สถานศึกษา ที่ว่า คณิตศาสตร์ ทาให้มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผลคิดอย่างเป็น ระบบ มีร ะเบีย บแบบแผน สามารถวิเคราะห์ ปัญหาและสถานการณ์ได้ อย่างรอบคอบ ถี่ถ้ว น สามารถคาดการณ์วางแผน ตัดสินใจแก้ปัญหาได้ เพื่อจะนาไปใช้พัฒนาคุณภาพชีวิต รวมทั้งใช้ เป็นพืน้ ฐานและเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ต่อไป ๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP การพัฒนา BP ใช้แนวคิด หลักการ และทฤษฏี ในการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ ตาม แนวการจัดการเรียนรู้ตาม พ.ร.บ. ๒๕๔๒ โดยเน้นความสาคัญ ๓ ด้าน คือ ด้านความรู้ ด้าน ทักษะ/กระบวนการ ด้านคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม และแนวการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ ผู้สอนควรคานึงถึงความสนใจ ความถนัดของผู้เรี ยน และความแตกต่างของผู้เรียน การจัดสาระการเรียนรู้จึงควรจัดให้มีหลากหลาย ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนได้ตามความสนใจ รูปแบบของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนควรมีหลากหลายไม่ว่าจะเรียนรวมกันทั้งชั้นเรียน เป็ น กลุ่ม ย่ อ ย เรี ยนเป็ น รายบุ คคล สถานที่จั ด ก็ ค วรมี ทั้ งในห้ องเรี ยน นอกห้ อ งเรี ย น บริ เ วณ สถานศึกษา มีการจัดให้ผู้เรียนได้ไปศึกษาในแหล่งวิทยาการต่าง ๆ ที่อยู่ในชุมชนหรือในท้องถิ่น


จัดให้ สอดคล้องกั บเนื้อ หาวิช าและความเหมาะสมกับผู้เ รียนเพื่อให้ผู้เรี ยนมีผ ล การเรีย นรู้ไ ด้ มาตรฐานตามที่หลักสูตรกาหนด ในการจัดกิจกรรมการเรียนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ได้ลง มือปฏิบัติจริง ผู้สอนควรฝึกให้ผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็น รู้จักบูรณาการความรูต้ ่าง ๆ เพื่อให้เกิดองค์ ความรู้ใหม่ รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ฝึกให้ผู้เรียนรู้จัก ประเมินผลงานและปรับปรุงงาน ตลอดจนสามารถนาความรู้และประสบการณ์ไปใช้ในชีวิตและ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

๗. กระบวนการพัฒนา BP ๗.๑ กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ (ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจานวน กลุ่มเป้าหมาย) ประเภทของกลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนวัดหนองเสือ จานวนกลุ่มเป้าหมาย ๑๕ คน


๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา BP (อาจระบุเป็นแผนภาพ/แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา) ศึกษาวิเคราะห์เนื้อหาในหลักสูตร กาหนดแผนการเรียนรู้ตามหลักสูตร วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล จัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ดาเนินการพัฒนา สรุปผลและประเมินผล

๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวิธีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้) วิธีการ ตรวจสอบคุณภาพ BP ใช้แบบประเมินผล แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรีย น กลุ่ ม เป้ า หมายที่ ส ร้ า งขึ้ น แบบประเมิ น ความพึ ง พอใจน าผลการประเมิ น ที่ ไ ด้ ม าวิ เ คราะห์ เปรียบเทียบ ปรับปรุง เพื่อดูคุณภาพ ของ BP ผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้ นักเรียนมีเจตคติ ที่ดีต่อคณิตศาสตร์ มีผลสัมฤทธิ์ ทาง การเรียนคณิตศาสตร์สูงขึน้ ดูจากแบบสังเกตพฤติกรรมและความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย ๗.๔ แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ ใช้ในการพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์และนักเรียนสามารถนาไปใช้ประโยชน์ใน ชีวิตประจาวันได้


๘. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP (เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ BP) ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ ๙๐ มีความสาเร็จในการเรียนคณิตศาสตร์และมีเจตคติ ที่ดี ๘.๒ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูงขึน้ ๘.๓ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP (ระบุค่าร้อยละของความพึงพอใจจากผู้ที่ เกี่ยวข้องและวิธีการได้มาเกี่ยวกับข้อมูลความพึงพอใจ) นักเรียนร้อยละ ๘๕ มีความพึงพอใจในระดับมาก – มากที่สุด ได้มาจากแบบสังเกตความ พึงพอใจโดยให้ผู้เรียนเป็นผูป้ ระเมิน ๙. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้า BP ตรวจสอบปัญหาเพื่อหาสาเหตุข้อบกพร่องแต่ละขั้นตอนแล้วนามาปรับปรุงแก้ไข และหา รูปแบบใหม่ ๆ ที่น่าสนใจมาเสนอ ให้เหมาะสมกับวัยของผู้เรียนแล้วดาเนินการซ้า ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP นักเรียนสามารพัฒนาการเรียนคณิตศาสตร์ได้ดีขึ้น และมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ และนาไปใช้ได้อย่างยั่งยืน ๑๐. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง (ระบุวัน เวลาและรูปแบบ/วิธีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล) นักเรียนที่สนใจคณิตศาสตร์ เข้าร่วมแข่งขันตอบปัญหาทักษะทางคณิตศาสตร์ในหลาย ๆ โครงการ ประสบผลสาเร็จบ้างในบางโครงการ และได้เผลแพร่ผลงานให้แก่ครูที่สอนคณิต ศาสตร์ ในกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาชาววัง และ อาเภอท่าม่วง

ลงชื่อ

วรรณชัย นิลผึ้ง ผู้ขอรับการประเมิน ( นายวรรณชัย นิลผึ้ง ) ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ


ประมวลภาพการดาเนินการพัฒนา BP

บริเวณหน้าห้องเรียน

บริเวณมุมห้องเรียน

มุมประสบการณ์ในห้องเรียน

ประชุมคณะครู

กรรมการเครือข่าย



เกียรติบัตรต่างๆ




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.