คานา
เอกสารเล่มนี้จัดทาขึ้น เพื่อเสนอผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice (BP) เรื่องโครงการบวรจัดกิจกรรมสร้างจิตอาสา กิจกรรมเพื่อสัง คมและสาธารณประโยชน์ ซึ่งผู้รายงานได้เสนอ ข้อมูลผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ สาหรับใช้ประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการ มี การนาเสนอ ข้อมูลครอบคลุมตามหลักเกณฑ์และ วิธีการ ดังนี้ ขอขอบคุ ณ นายปร งงา เที่ ย งธรรม ผู้ อ านวยการโรงเรี ย นวัด หนองเสื อ คณะพระสงฆ์ วัดหนองเสือ ผู้ปกครอง คณะครู นักเรียนและองค์กรที่เกี่ยวข้องทุกท่านที่สนับสนุน ช่วยเหลือ ให้คาปรึกษา แนะนา การให้ความร่วมมือ ในการปฏิบัติงานจนสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ บังเอิง แสงจันทร์
แบบสรุปผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice(BP) ๑. ชื่อผลงาน โครงการบวรจัดกิจกรรมสร้างจิตอาสา ครูประถมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ยอดเยี่ยม ด้านบริหารจัดการ ๒. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP ๒.๑ ชื่อผู้พัฒนา นางบังเอิง แสงจันทร์ ๒.๒ โรงเรียนวัดหนองเสือ เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ระดับประถมศึกษา ๒.๓ โทรศัพท์ ๐๘๑-๕๒๗๑๙๘๘ e-mail Yanin ๒๕๔๙ @gmail.com ๓. เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ๓.๑ บ้าน วัด โรงเรียน ร่วมกันจัดกิจกรรมสร้างจิตอาสา ให้กับผู้เรียน ๓.๒ เพื่อสร้างจิตอาสาให้ผู้เรียนได้บาเพ็งตนให้เป็นประโยชน์ต่อครอบครัว โรงเรียน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ๓.๓ เพื่อพัฒนาผู้เรียนการร่วมปฏิบัติกิจกรรม ด้วยความสมัครใจและมีความพึงพอใจใน การร่วมปฏิบัติกิจกรรม ๔. ระยะในการพัฒนา BP (ระบุช่วงเริ่มต้นการพัฒนา และระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา BP) ระยะในการพัฒนาจะพัฒนาตลอดปีการศึกษา ดาเนินการต่อเนื่องทุกปีการศึกษา โดยมี การประเมินผลแล้ว นามาวิเคราะห์ปรงหาเพื่อนามาแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาตลอดปีการศึกษาตามกิจกรรมของบ้าน วัด โรงเรียน และชุมชนหนองเสือ ตาบลวังศาลา อาเภอท่าม่วง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากางจนบุรี เขต ๑ ๕. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป./สพฐ/สถานศึกษา กระทรวงศึกษาธิการจึงมีนโยบายปฏิรูปการศึกษาโดยยึดคุณธรรมนาความรู้มุ่งมั่น ขยายโอกาสทาง การศึกษาให้เยาวชนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างกว้างขวางและทั่วถึง โดยคานึงถึง การพัฒนาผู้เรียนอย่าง รอบด้าน ครอบคลุมทั้งด้านพฤติกรรม จิตใจ และปรงงา นอกเหนือจาก การยกระดับคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษา นอกจากนี้ยังได้ส่งเสริมและสร้างความตระหนักให้ผู้เ รียนมีจิตสานึกในคุณคาปรัชงาของเศรษฐกิจ พอเพียง ความสมานฉันท์ สันติวิธี และวิถีประชาธิปไตย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นหลักสูตรอิงมาตรฐานซึ่งกาหนดสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ไว้ในมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ซึ่งจะประกอบด้วยความรู้ ความสามารถ คุณธรรมจริยธรรม คานิยมที่พึงประสงค์ เมื่อผู้เรียนได้รับการพัฒนา ไปแล้ว นอกจากจะมีความรู้ความสามารถ ตลอดจนคุณธรรมจริยธรรมที่กาหนดไว้ในมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัดแล้ว จะนาไปสู่การมีสมรรถนะสาคัง 5 ประการและมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ อีกด้วย จุดหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปรงงา มีความสุข มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัย และปฏิบัติตนตามหลักธรรม
ของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชงาของเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ ซึ่งเป็นหน้าที่ของสถานศึกษาทุกแห่งจะต้องเน้ นการสร้างเยาวชนที่มีความสมดุล ลูกศิษย์ ต้อง เป็นคนเก่ง เป็นคนดี มีคุณลักษณะและมีสมรรถนะตามที่หลักสูตรกาหนด เยาวชนควรที่จะได้รับการ พัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีโดยการอบรมที่ถูกต้อง ทั้งทางร่างกายและจิตใจตลอดจนการแก้ปรงหาโดยอาศัยหลัก พุทธธรรมเป็นเครื่องดาเนินชีวิต โดยอาศัยความรู้รักสามัคคี และประสานงานโดยการใช้คุณธรรมนาความรู้ ระหว่าง พระสงฆ์ พ่อแม่ผู้ปกครอง ครูอาจารย์ บุคคลในชุมชน เพื่อที่เยาวชนจะได้มีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่ อ งของคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมควบคู่ กั บ การศึ ก ษาได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งอั น เป็ น แนวทางน าไปสู่ ก ารพั ฒ นา ประเทศชาติให้เจริงแบบยั่งยืนสืบไป ดังนั้น การพัฒนาให้ผู้เรียนมีจิตอาสา นาความรู้ ต้องอาศัยความร่วมมือ ของบ้าน วัด โรงเรียนโดยการจัด กิจกรรมร่วมกัน ได้แก่ กิจกรรมเกี่ ยวกับครอบครัว เช่นกิ จกรรมวันแม่แห่ง ชาติ กิจกรรมวั นพ่อแห่ง ชาติ กิจกรรมเกี่ยวกับวันสาคังทางศาสนา กิจกรรมเกี่ยวกับประเพณีในชุมชน เพื่อให้ผู้เรียนได้แสดงศักยภาพของ การเป็นบุคคลที่มี คุณธรรม จริยธรรม นาความรู้ ๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP จิตสาธารณะหมายถึงคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการมีส่วนร่วมในกิจกรรมหรือสถานการณ์ที่ก่อให้เกิด ประโยชน์แก่ผู้อื่น ชุมชน และสังคม ด้วยความสมัครใจ กระตือรือร้นโดยไม่หวัง ผลตอบแทนผู้มีจิตสาธารณะ คือ ผู้ที่มีลักษณะเป็นผู้ให้และช่วยเหลือผู้อื่น แบ่งปรนความสุขส่วนตนเพื่อทาประโยชน์แก่ส่วนรวม เข้าใจ เห็น ใจผู้ที่มีความเดือดร้อน อาสาช่วยเหลือสังคม อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ด้วยแรงกาย สติปรงงา ลงมือปฏิบัติเพื่อ แก้ปรงหาหรือร่วมสร้างสรรค์สิ่งที่ดีงามให้เกิดในชุมชนโดยไม่หวังสิ่งตอบแทน แนวคิดเรื่องทุนทางสังคมเป็นเรื่องใหม่ ต่อกระบวนการพัฒนาชุมชนและสังคม คาจากัดความและ องค์ประกอบหรือ ขอบเขตจึงยังค่อนข้างหลากหลาย ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมและพื้นฐานของแต่ละสังคมใน บริบทของสังคมไทย สานักพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต (2546) ให้ความหมาย ทุนทางสังคมว่า ผลรวมของ สิ่งดีงามต่างๆ ที่มีอยู่ในสังคม ทั้งในส่วนที่ได้จากการสั่งสมและการต่อยอดรวมถึงการรวมตัวของคนที่มีคุณภาพ เพื่อสร้างประโยชน์ต่อส่วนรวม บนพื้นฐานของความไว้เนื้อเชื่อใจ สายใยแห่งความผูกพันและวัฒนธรรมที่ ดีงาม โดยสามารถแบ่งขอบเขต / องค์ประกอบ ดังนี้ คือ 1. ทุนมนุษย์ ที่มีคุณภาพ มีความรู้ สติปรงงาและทักษะ คุณธรรม ความวินัย และ ความ รับผิดชอบ การรวมกลุ่มและการสร้างเครือข่ายเพื่อทาประโยชน์ให้กับท้องถิ่น ชุมชน และสังคม ซึ่งในกรอบ การศึกษาครั้งนี้ รวมไปถึง ปราชง์ชาวบ้าน ครูนอกระบบ พระภิกษุสามเณร ผู้นาทางจิตวิงงาณ ผู้นา ชุมชน ความเอื้อเฟื้อและเสียสละในชุมชน ความผูกพันและความรักถิ่นฐานบ้านเกิดในชุมชน 2.ทุนที่เป็นสถาบัน ได้แก่ สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา การเมือง องค์กร ที่ตั้งขึ้นในชุมชน องค์กรพัฒนาเอกชน คณะกรรมการชุมชน สมาคม ชมรมวิชาชีพต่างๆ โรงเรียน วิทยาลัย ชุมชน และสถาบันการศึกษาในท้องถิ่นที่ทาการศึกษา ซึ่งในงานวิจัยนี้ กล่าวรวมถึง วัด คาสอนทาง พระพุทธศาสนา บุคลากรและองค์กรทางพระพุทธศาสนา
3. ทุ นทางปรง งาและวัฒ นธรรม ครอบคลุ มถึ ง ระบบ คุณ ค่า คุ ณธรรม วินั ย จิ ตส านึ ก สาธารณะ วัฒนธรรมไทย และภูมปรงงาท้องถิ่น แหล่งประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็นต้น ด้วย แนวคิด มนตรี“บวร” การก่อให้เกิดกระบวนการประชาสังคม “บวร” คือการนาเอารูปแบบและ แนวคิด การพัฒนา แบบ “บวร” (บ้าน วัด โรงเรียน) กล่าวคือ เป็นแนวคิดที่มุ่งพยายามที่จะนาเอา องค์กร และ/หรือ สถาบันหลักในชุมชนท้องถิ่นมาเป็นยุทธศาสตร์ในการพัฒนา อันได้แก่ การนาเอาสถาบันที่สาคัง ในชุมชน 3 สถาบันได้แก่ 1. สถาบันการปกครอง (บ = บ้าน) 2. สถาบันศาสนา (ว = วัด) 3. และ สถาบันการศึกษา (ร = โรงเรียน) ผนึกกาลังจัดตั้งเป็นองค์กรที่เรียกว่า “มนตรี บวร” เพื่อนามารองรับและดาเนินการต่างๆ ตาม นโยบายของทางราชการ (สุริยน จันทรนกูร,2537) ฉะนั้น คาว่า “บวร” จึงเป็นคาย่อ โดยการนาเอา พยังชนะต้นของคาว่า บ้าน วัด โรงเรียน มา บังงัติเป็นคาใหม่ คือ ซึ่งมีองค์ประกอบของ “บวร” (ธน พรรณ ธานี,2545,น.6) ดังต่อไปนี้ 1. สถาบันการปกครอง (บ้าน) ซึ่ง ประกอบไปด้วย กานัน ผู้ใหง่บ้าน คณะกรรมการ หมู่บ้าน อบต. สาธารณสุขตาบล เกษตรตาบล เป็นต้น รวมทั้งระบบกลไกในการบริหารที่มาจากรัฐ ในรูป อื่นๆ ด้วย 2. สถาบันศาสนา(วัด) ประกอบด้วย เจ้าอาวาส พระภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา และ กลุ่ม หรือ ชมรมทางศาสนา ซึ่งในความหมายในเชิงกว้าง อาจจะหมายรวมถึง องค์กรหรือ หรือ สถาบันทาง ศาสนาต่างๆ ในชุมชนนั้นๆ ด้วย 3. สถาบันการศึกษา (โรงเรียน) ประกอบด้วย ครูใหง่ อาจารย์ใหง่ คณะครู นักวิชาการ และ บุคคลากรทางการศึกษาอื่นๆ ทั้งในโรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย และองค์กรทางการศึกษาอื่นๆ ด้วย พระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่พระองค์ทรงเห็นความสาคังและความผูกพันที่ไ ม่ สามารถแบ่ง แยกออกจากกันได้ของสังคมไทยกับวัด พระองค์ไ ด้พระราชทานแนวพระราชดาริ “บ้าน วัด โรงเรียน” หรือ “บวร” เมื่อวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๒๔ ให้แก่ส่วนราชการและภาครัฐต่าง ๆ นาไปแก้ไขปรงหา สังคมในปรจจุบันและในอนาคต ให้เกิดความสุขสงบตลอดไป ในงานสมัชชาคุณธรรมและตลาดนัดคุณธรรม ได้กล่าวว่าวันนี้คาว่า "บวร" หรือ บ้าน วัด โรงเรียน จึงได้ ถูกนากลับมาสนใจอีกครั้ง ผ่านทัศนคติของผู้เชี่ยวชางทั้ง ด้านวิชาชีพ และด้านจิตใจจากหลายองค์กร ที่ นาเสนอในงานเสวนาวิชาการเรื่อง "การฝึกนิสัยผ่าน "บวร" ทางออกของปรงหาคุณธรรมเยาวชน จากความหมายและบทความที่กล่าวมานั้นจะเห็นว่าการจะพัฒนาผู้เรียนมี คุณธรรม จริยธรรม นา ความรู้ ต้องอาศัยความร่วมมือ จาก พ่อแม่ผู้ปกครอง พระสงฆ์ ครูอาจารย์ จัดกิจกรรมร่วมกัน เพื่อพัฒนา ผู้เรียนร่วมกัน
๗. กระบวนการพัฒนา BP ๗.๑ กลุ่ ม เป้ า หมายในการน า BP ไปใช้ (ระบุ ร ายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ ประเภทและจ านวน กลุ่มเป้าหมาย) ประเภทของกลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔- ๖ โรงเรียนวัดหนองเสือ จานวนกลุ่มเป้าหมาย ๗๓ คน ๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา BP (อาจระบุเป็นแผนภาพ/แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา)
โครงการบวรจัดกิจกรรมสร้างจิตอาสา
ขั้นตอนที่ ๑
การสารวจเพื่อศึกษาสภาพปรจจุบันปรงหาต่างๆทั้งภายในโรงเรียน และชุมชน
ขั้นตอนที่ ๒
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปรงหาต่างๆ และจัดลาดับปรงหาตาม ความสาคัง
ขั้นตอนที่ ๓
ขั้นตอนที่ ๔ ขั้นตอนที่ ๕
ขั้นตอนที่ ๖ ขั้นตอนที่ ๗
ประชุ มวางแผน ออกแบบกิ จ กรรม และจั ดท าปฏิ ทิ นการปฏิ บั ติ กิจกรรมร่วมกันระหว่าง ผู้ปกครอง พระสงฆ์ ครู คณะกรรมการ สถานศึกษา องค์กรต่างๆ ร่วมกัน ระหว่าง ผู้ปกครอง พระสงฆ์ แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานปฏิบัติกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ ครู คณะกรรมการสถานศึกษา องค์กรต่างๆ ดาเนินงานปฏิบัติกิจกรรมตามแผนที่วางไว้
ประเมินและรายงานผลการปฏิบัติกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้หลังจากเสร็จสิ้นการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสะท้อน ในประเด็นดังนี้ คือ ผลที่เกิดกับผู้ปฎิบัติกิจกรรมและผลที่เกิดแก่ สั ง คมภายหลั ง จากการปฏิ บั ติ กิ จ กรรม เพื่ อ เป็ น แนวทางใน การแก้ไขต่อไป
๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวิธีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้) วิธีการตรวจสอบคุณภาพ BP ใช้แบบประเมินสอบถาม แบบสังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน ความพึงพอใจ ของผู้เรียนกลุ่มเป้าหมาย นาผลที่ได้มาวิเคราะห์เปรียบเทียบ ผลการตรวจสอบคุณภาพ หลังจากการจัดกิจกรรม โดย สร้างจิตอาสา ปรากฏว่าผู้เรียนมีจิต อาสาเพิ่ม มากขึ้น โดยดูจาก แบบประเมินสอบถาม แบบสังเกตพฤติกรรม แบบประเมินความพึงพอใจ ๗.๔ แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ ใช้ในการพัฒนาผู้เรียนมีมีจิตอาสานาไปใช้ประโยชน์ในการใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข ๘. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP (เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ BP) ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ ๘๙ มีจิตอาสาเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว ๘.๒ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนมีจิตอาสา นักเรียนการร่วมปฏิบัติกิจกรรมสร้างเสริมจิตอาสา นาความรู้ ด้วยความ สมัครใจและมีความพึงพอใจ ๘.๓ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP (ระบุค่าร้อยละของความพึงพอใจจากผู้เกี่ยวข้องและ วิธีการได้มาเกี่ยวกับข้อมูลความพึงพอใจ) การตรวจสอบความพึงพอใจของนักเรียน จากการสังเกตพฤติกรรม และแบบประเมินความ พึงพอใจ มีความพึงพอใจในระดับมาก และ มากที่สุด คิดเป็นนักเรียนร้อยละ ๘๙ ๘.๔ ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP / ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา BP ไปใช้ ๘.๔.๑ นักเรียนเกิดความพึงพอใจในการที่จะรับการพัฒนา ๘.๔.๒ นักเรียนมีความสุขและสนุกที่ได้ปฏิบัติกิจกรรม ร่วมกับผู้ปกครอง พระสงฆ์ ครู ๘.๔.๓ ผู้บริหาร คณะครูให้ความร่วมมือในการทางานและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๙. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนา ปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้า BP ตรวจสอบปรงหาเพื่อหาสาเหตุข้อบกพร่องแต่ละขั้นตอนแล้วนามาปรับปรุงแก้ไข ได้แก่ การคิด กิจกรรมรูปแบบใหม่ๆ น่าสนใจ เหมาะสมกับวัยของผู้เรียนแล้วปฏิบัติกิจกรรมซ้าๆ ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP นักเรียนสามารถนากิจกรรมที่ดาเนินการมาพัฒนาตนเองให้มีมีจิตอาสาที่ยั่งยืน ๑๐ การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง (ระบุวัน เวลา และ รูปแบบ/วิธีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล) นาเสนอผลงานพร้อมแผ่นพับ เผยแพร่ ให้กับคณะครูโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายชาววัง คณะครูในกลุ่ม เครื อ ข่ า ยโรงเรี ย นชุ ม พลบุ รี 3 ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษาสุ ริ น ทร์ ที่ ม าศึ ก ษาดู ง านที่
โรงเรี ยนวัด หนองเสือตามโครงการโรงเรียนดี ศรีตาบล และประชาชนในงานจัดนิ ทรรศการของโรงเรีย น นาเสนอผลงานพร้อมแผ่น พับเผยแพร่ในงานศิลปะหั ตถกรรมนักเรียน ครั้ง ที่ ๖๒ที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ ฯ จังหวัดกางจนบุรี และที่อาคาร IMPACT F)RUM HALL ๙ ห้อง SAPPHILE ๑๐๓ – ๑๐๙ จังหวัดนนทบุรี เผยแพร่ผลงานทางเว็ บไซด์ของส านักงานเขตพื้นที่การศึ กษาประถมศึกษากางจนบุรี เขต ๑ พร้อมทั้ง ส่ ง นักเรียนเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมจิตอาสา ทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน
ลงชื่อ บังเอิง แสงจันทร์ ผู้ขอรับการประเมิน ( นางบังเอิง แสงจันทร์ )
ภาคผนวก
ภาพกิจกรรมบวร ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประชุมผู้ปกครอง
เยี่ยมบ้านนักเรียน
ภูมิปรงงาท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้
ครูพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน
ศึกษาแหล่งเรียนรู้
ภูมิปรงงาท้องถิ่นและ แหล่งเรียนรู้
กิจกรรมสานึกดี
พระอาจารย์อบรมคุณธรรม ความรู้
ภูมิปรงงาท้องถิ่นและ แหล่งเรียนรู้
ฝึกนั่งสมาธิ
ภูมิปรงงาท้องถิ่นและ แหล่งเรียนรู้
โรงเรียนสีขาว
ครูD.A.R.E.ให้ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดให้โทษ
ตารวจให้ความรู้เรื่องกฎหมายเกี่ยวกับสารเสพติดให้โทษ
ธนาคารขยะ
นาขยะมาขาย
คัดแยกขยะ
พิธีไหว้ครู
นักเรียนทาพิธีไหว้ครู
ผู้ปกครองร่วมทาบุงเลี้ยง
พระ
วันแห่เทียนเข้าพรรษา
ครูและนักเรียนร่วมกันหล่อเทียน
ร่วมเดินขบวนแห่งเทียนพรรษา
วันแม่แห่งชาติ
นักเรียนกราบแม่
นักเรียนกราบครูแม่คนที่สอง
วันลอยกระทง
ประดิษฐ์กระทงใบตองประกวด
การประกวดนางนพมาศ มีนายกเทศมนตรีเป็นประธาน
เข้าค่ายพักแรมลูกเสือ –เนตรนารี
การฝึกระเบียบแถว
การแสดงรอบกองไฟ
วันพ่อแห่งชาติ
เดินเทอดพระเกียรติ
แจกเกียรติบัตรให้พ่อดีเด่น
กิจกรรมจิตอาสา แห่งชาติ
ทาความสะอาดวัด
ทาความสะอาดโรงเรียน
ทาความสะอาดห้องน้า
ดูแลและช่วยสอนน้องอ่านหนังสือ
แสดงนาฏศิลป์ในงานต่างๆ ของโรงเรียนและชุมชน ชุมชน
วงดุริยางค์โรงเรียนเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียนและชุมชน
ดนตรีไทยโรงเรียนเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียนและชุมชน
ร่วมกิจกรรมอนุรกั ษ์และพัฒนา แม่น้า คู คลอง