Best practice นางพวงทิพย์ เด่นดวงใจ

Page 1

Best Practice ประเภทนวัตกรรม การเรียนรูแบบบูรณาการ โดยใชสื่อคุณธรรม 9 ประการสานความรู สูอาเซียน

Written and Illustrated by Puangthip Denduangjai.

โดย

นางพวงทิพย เดนดวงใจ ครู วิทยฐานะชํานาญการพิเศษ

โรงเรียนบานชองสะเดา(การไฟฟาฝายผลิตอุปถัมภ) สํานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1


OBEC AWARDS ประเภทนวัตกรรม 1. ชื่อผลงาน BP “การเรียนรูแบบบูรณาการ โดยใชสื่อ คุณธรรม 9 ประการสานควาามรู สูอาเซียน” ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนบานชองสะเดา(การไฟฟาฝายผลิตอุปถัมภ) กลุมสาระเรียนรู บูรณาการระดับประถมศึกษา ดาน นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 2. ขอมูลทั่วไปของผูพัฒนา BP

ชื่อผูพัฒนา นางพวงทิพย นามสกุล เดนดวงใจ ครู วิทยฐานะชํานาญการพิเศษ สถานที่ทํางาน โรงเรียนบานชองสะเดา(การไฟฟาฝายผลิตอุปถัมภ) เครือขายสงเสริมประสิทธิการจัดการศึกษา ระดับ ประถมศึกษา โทรศัพท 089 9101779 e-mail puangthipden@hotmail.com 3. เปาหมาย/วัตถุประสงคของการพัฒนา BP 1. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการสอบ O –NET ในสาระที่ 1 ภาษาเพื่อ การสื่อสาร และสาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรมใหสูงขึ้น 2. เพื่อโรงเรียน นักเรียนและครูมีสอื่ ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรูป ลูกฝงคุณธรรม และ มีความรูเกี่ยวกับอาเซียน 3. เพื่อนักเรียนมีเจตคติที่ดีตอ วิชาภาษาอังกฤษ สามารถใชภาษาอังกฤษ สื่อสารในสถานการณ ตางๆ และแสวงหา ความรู ประกอบอาชีพและศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น 4. ระยะเวลาในการพัฒนา BP (ระบุชวงเริ่มตนการพัฒนา และระยะเวลาที่ใชในการพัฒนา BP) ชวงเริ่มตนการพัฒนาตั้งแตปการศึกษา 2554 ถึง ปการศึกษา 2555 5. ความเชื่อมโยง/สัมพันธระหวาง BP กับเปาหมาย/จุดเนนของ สพป./สพม./สพฐ./สถานศึกษา เชื่อมโยงกับเปาหมายของหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ วิชาภาษาอังกฤษ ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ดังนี้ การเรียนรูภาษาตางประเทศมี ความสําคัญและจําเปนอยางยิง่ ในชีวิตประจําวัน เนื่องจากเปนเครื่องมือสําคัญในการติดตอสื่อสาร การศึกษา การแสวงหาความรู การประกอบอาชีพ การสรางความเขาใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมและ วิสัยทัศนของชุมชนโลก และตระหนักถึงความหลากหลาย ทางวัฒนธรรมและมุมมองของสังคมโลก นํามาซึ่งมิตรไมตรีและความรวมมือกับประเทศตางๆ ชวยพัฒนาผูเ รียนใหมีความเขาใจตนเองและผูอื่น ดีขึ้น เรียนรูและเขาใจความแตกตางของภาษาและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี การคิด สังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง มีเจตคติที่ดี ตอการใชภาษาตางประเทศ และใช ภาษาตางประเทศเพื่อการสื่อสารได รวมทั้งเขาถึงองคความรูตางๆ ไดงายและกวางขึ้น และมีวิสัยทัศนในการดําเนินชีวิต


6. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นํามาใชในการพัฒนา BP 1. ทฤษฎีการสรางความรูโดยนักเรียนเอง (Constructivism) กระบวนการเรียนรูชวยใหผูเรียนมี ทักษะในการเรียนรู และสามารถสรางองคความรูไดดวยตนเอง สามารถดําเนินชีวิตอยูในโลกของการ เรียนรูยุคขอมูลขาวสารไรพรมแดนไดอยางมีประสิทธิภาพ กระบวนการเรียนแบบบูรณาการสอดคลอง กับทฤษฎีดังกลาวมีผลทําใหนกั เรียนเห็นคุณคาของการเรียนที่มีตอการดํารงชีวิต มีนิสัยในการคิด เชื่อมโยง เห็นความสัมพันธระหวางตนเองกับธรรมชาติ สิง่ แวดลอม สังคม วัฒนธรรม ประเพณี ชุมชน ทองถิ่น ประเทศชาติ นักเรียนมีเจตคติที่ดีตอการเรียนรู มีลักษณะนิสัยที่ดีในการทํางาน มี ความรับผิดชอบ มีการพัฒนาความคิดริเริ่ม สรางสรรคมีวินัยในตนเองและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงขึ้น กระทรวงศึกษาธิการ (2548 : 5) 2. แนวคิดการสอนภาษาอังกฤษ ไดแกแนวคิดการเรียนรูโดยการกระทํา Susan Halliwell 3. ทฤษฎีการเสริมแรงของ B.F. Skinner 4. ทฤษฎีการกระทําซ้ําๆของ Edward L. Thomdike 5. ทฤษฎีการวางเงือ่ นไขแบบคลาสสิกของ John B Watson 6. ทฤษฎีการเรียนรูโดยปะทะกับสิ่งเราของกลุม ทฤษฎีเกสตัลท 7. ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของ Pavlov 8. สื่อการเรียนการสอนคือเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณตางๆ ที่ชวยใหการเรียนการสอนบรรลุ จุดประสงคไดงายและรวดเร็ว ชัยฤทธิ์ ศิลาเดช ( 2544 : 100 ) ครูผสู อนจะตองพิจารณาเลือกสื่อ ใชใหเหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอน สอดคลองกับเนื้อหา มีความยากงายเหมาะแกวัยของ ผูเรียน มีความทันสมัย และเราใจผูเ รียนไดอยางเหมาะสม ลักษณะสื่อการเรียนการสอนที่ดีทุก คนยึดเปนหลักในการพิจารณาทั้งในดานการจัดทําและการจัดหาคือ 1. ประโยชน เปนประโยชนตอการเรียนรู 2. ประหยัด ราคาเหมาะสมกับสือ่ ใชคุมคา 3. ประณีต มีความสวยงามคงทน 4. ประยุกต สามารถปรับใชกับการเรียนรูไดหลายอยาง 5. ประสิทธิภาพ ใชไดเหมาะสม ตรงตามเปาหมาย จะเกิดผลสัมฤทธิ์ตามจุดประสงค กลาวโดยสรุป การผลิตสื่อจากโดยยึดหลัก 5 ป. ทันสมัย เหมาะสมตามวัยและเรา ความสนใจของนักเรียน และจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบบูรณาการ และการจัดกิจกรรมตามทฤษฎีที่ อางถึง ทําใหนักเรียนบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไวตามศักยภาพของนักเรียนแตละบุคคล 7. กระบวนการพัฒนา BP 7.1 กลุมเปาหมายในการนํา BP ไปใช (ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจํานวน กลุมเปาหมาย) 1. ประเภทของนวัตกรรม 1.1 หนังสือเสริมทักษะการอาน 1.2 แบบฝกเสริมทักษะภาษาอังกฤษ 1.3 แผนจัดการเรียนรู


2. จํานวนกลุมเปาหมายคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนบานชองสะเดา (การไฟฟาฝายผลิตอุปถัมภ) จํานวน 19 คน 7.2 ขั้นตอนการพัฒนา BP (อาจระบุเปนแผนภาพ/แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา) 1. การพัฒนาโดยใชวงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle) PDCA คือ วงจรที่พัฒนามาจากวงจรที่คิดคนโดยวอลทเตอร ซิวฮารท(Walter Shewhart )ผูบ ุกเบิกการใชสถิติสําหรับวงการอุตสาหกรรมและตอมาวงจรนีเ้ ริ่มเปนที่รจู ักกันมากขึ้น เมื่อ เอดวารด เดมมิ่ง (W.Edwards Deming) ปรมาจารยดานการบริหารคุณภาพเผยแพรใหเปน เครื่องมือสําหรับการปรับปรุงกระบวนการทํางานของพนักงานภายในโรงงานใหดียงิ่ ขึ้น และชวยคนหา ปญหาอุปสรรคในแตละขั้นตอนการผลิตโดยพนักงานเอง จนวงจรนีเ้ ปนทีร่ จู ักกันในอีกชื่อวา “วงจรเด็ม มิ่ง” ตอมาพบวา แนวคิดในการใชวงจร PDCA นั้นสามารถนํามาใชไดกับทุกกิจกรรม จึงทําใหเปนที่ รูจักกันอยางแพรหลายมากขึ้นทั่วโลก PDCA เปนอักษรนําของศัพทภาษาอังกฤษ 4 คําคือ P : Plan = วางแผน D : DO = ปฏิบัติตามแผน C : Check = ตรวจสอบ / ประเมินผลและนําผลประเมินมาวิเคราะห A : Action = ปรับปรุงดําเนินการใหเหมาะสมตามผลการประเมิน ดังนี้ ขั้นตอนการพัฒนา ศึกษาสภาพทั่วไป Plan นักเรียน

โรงเรียน

ครอบครัว

ชุมชน

ศึกษาหลักสูตรและทฤษฎีเกี่ยวกับรูปแบบการสอนภาษาอังกฤษ ดําเนินการจัดทํา ( Do ) นําเสนอผูเชี่ยวชาญ Check ปรับปรุงแกไขและนําเสนอผูเชี่ยวชาญ ทดลองและใชและปรับปรุงแกไขเปนระยะ ( Act )


2. ขาพเจาไดศึกษาหลักสูตรภาษาอังกฤษ พุทธศักราช 2551 คูมือครูตางๆ เพื่อ นําเนื้อหาทีห่ ลักสูตรกําหนดเขียนหนังสืออานเสริมทักษะภาษาอังกฤษ ที่นําเสนอและดําเนินเรื่อง การใหความรูเ รือ่ ง 10 ประเทศในอาเซียนโดยนําคุณธรรม 9 ประการ คือ ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี มีน้ําใจและกตัญู และไดสํารวจความตองการของนักเรียน และ ประชาชนภายในทองถิ่น เกี่ยวกับเนื้อหาและรูปแบบของสือ่ การเรียนการสอน ตลอดจนความตองการ ใหนักเรียนมีลักษณะอันพึงประสงคมากนอยเพียงใด 3. ขาพเจาไดจัดทําหนังสืออานเสริมทักษะภาษาอังกฤษ (ชุด Are you ready ASEAN Community in 2015?) จํานวน 10 เรื่อง ดังนี้ 1. Kingdom of Thailand ราชอาณาจักรไทย 2. Kingdom of Cambodia ราชอาณาจักรกัมพูชา 3. Republic of the Union of Myanmar สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร 4. Republic of the Philippines สาธารณรัฐฟลิปปนส 5. Laos People’s Democratic Republic สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 6. Socialist Republic of Vietnam สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม 7. Republic of Indonesia สาธารณรัฐอินโดนีเซีย 8. State of Brunei Darussalam รัฐบรูไนดารุสซาลาม 9. Singapore สิงคโปร 10. Malaysia มาเลเซีย 4. ดําเนินการเขียนเรื่องตามขั้นตอนดังนี้ 4.1 วางแกนของเรื่อง ในที่นี้หมายถึง คุณธรรมและคุณลักษณะที่พงึ เกิดกับ นักเรียน 4.2 กําหนดตัวละครหนังสือทีข่ าพเจาจัดทําขึ้นนั้น กําหนดตัวละครตาม แนวเรื่องความสําคัญ และคน เปนแนวเรื่องจริง จากประสบการณและเนื้อหาที่ทันสมัย ทัน เหตุการณ ที่นักเรียนวัยนี้ ใหความสนใจและตองการเรียนรู 4.3 กําหนดเคาโครงเรื่อง เพื่อเปนแนวทางในการเขียนเรื่อง และดําเนินเรื่อง กําหนดเนื้อหา ความคิดรวบยอด เริ่มตนดวยการเขียนเริ่มเรื่อง ตอนกลางเรื่อง และการจบของเรื่อง อยางยอๆ จะทําใหสามารถกําหนด ความยาวของเรื่องไดและไมสบั สน เรื่องที่เกี่ยวกับ 10 ประเทศ


ในอาเซียนจะศึกษาเนื้อหาและขอมูลจากหนังสือ การขับเคลื่อนการศึกษาสูประชาคมอาเซียน (กระทรวงศึกษาธิการ 2555 : 27 – 37) เอกสารและเว็บไซดตางๆ เชน - http://www.spiritofasean.com - http://www.15thaseansummit-th.org - http://www.15thaseansummit-th.org/thai/asean..docmentary.php - http://www. 15thaseansummitth.org/thai/asean..discovery..cartoon php - http://www. Aseansec.org - http://www.wikipedia.org/wiki/ASEAN - http://www.mfa.go.th/web/1650.php - http://thailandasean.prd.go.th/en/Default.aspx - http:www.bic.moe.go.th/index.php?id=579 7.3 การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวิธีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได) 1. ตรวจสอบนวัตกรรมจากผูเชี่ยวชาญ จํานวน 5 ทาน มีความพึงพอใจในนวัตกรรม รอยละ 98.50 2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางคะแนนทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน มีนัยสําคัญทีร่ ะดับ 0.05 3. สอบถามนักเรียนโดยใชแบบสอบถามความพึงพอใจ นักเรียนมีความพึงพอใจในนวัตกรรม รอยละ 94.21 7.4 แนวทางการนํา BP ไปใชประโยชน 1. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการทดสอบแหงชาติ (O –NET)ในสาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร และสาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม 2. เพื่อปรับปรุงและซอมเสริมนักเรียนทีเ่ รียนรูชาใหบรรลุเปาหมายที่โรงเรียนกําหนด 3. เพื่อเผยแพรไปยังโรงเรียนตางๆ 4. นําแนวทางการจัดการเรียนรู เปนตนแบบพัฒนางานครั้งตอๆไป 8. ผลสําเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP (เปรียบเทียบกับวัตถุประสงคของ BP) 8.1 ผลสําเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2555 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวา เปาหมายที่โรงเรียนกําหนดและมีผลการทดสอบในระดับชาติ (O-NET) ในสาระที่ 1 ภาษาเพื่อ การสือ่ สาร และสาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรมสูงขึ้น ดังนี้


ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ (O – NET) ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนบานชองสะเดา(การไฟฟาฝายผลิตอุปถัมภ) สาระ 1. ภาษาเพื่อการสื่อสาร

ปการศึกษา 2553 10.20

ปการศึกษา 2554 30.23

ปการศึกษา 2555 30.63

2. ภาษาและวัฒนธรรม

11.88

30.68

32.90

หมายเหตุ

8.2 ผลสําเร็จเชิงคุณภาพ 1. ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบบูรณาการ โดยใชสื่อ 9 คุณธรรมสานความรูสูอาเซียน ทําใหนักเรียนสามารถนําความรูท ี่ไดรับไปปรับใชในการแขงขันทักษะทางวิชาการ โดย ไดรับรางวัลเหรียญทองในทักษะการพูดและรางวัลเหรียญเงินในกิจกรรมพัฒนาผูเ รียน กิจกรรม Cross Words ระดับเขตพื้นที่การศึกษา 2. นักเรียนมีเจตคติที่ดีตอวิชาภาษาอังกฤษ สามารถใชภาษาอังกฤษสื่อสารในสถานการณ ตางๆได 8.3 ความพึงพอใจของผูเกี่ยวของตอ BP (ระบุคารอยละของความพึงพอใจจากผูเ กี่ยวของและ วิธีการไดมาเกี่ยวกับขอมูลความพึงพอใจ) 1. ผูเชี่ยวชาญมีความพึงพอใจในนวัตกรรมรอยละ 98.50 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 มีความพึงพอใจในนวัตกรรมรอยละ 94.21 8.4 ปจจัยความสําเร็จของการพัฒนา BP/ประสบการณเรียนรูจากการนํา BP ไปใช 1. นักเรียน ครู ผูปกครองและชุมชน มีความสัมพันธที่ดีตอกัน ชวยกํากับ ดูแลและรวม วางแผนการจัดการเรียนรู ที่มเี นื้อหาเหมาะสมกับวัยและสภาพภายในทองถิ่นซึ่งสอดคลอง กับหลักสูตรและตามธรรมชาติวิชา 2. มีการจัดกิจกรรมการเรียนรูทหี่ ลากหลาย เชน - นักเรียนนําความรูเดิมเปนพื้นฐานในการเรียนรูแบบบูรณาการกับกลุมสาระการเรียนรู อื่นๆ - เนนประสบการณตรงสรางองคความรู - เรียนรูจ ากสิ่งทีง่ ายไปสิ่งที่ยากและจากสิ่งใกลตัวไปสูส ิ่งไกลตัว - เรียนรูแบบเนน ย้ํา ซ้ําทวนและเพิ่มเติม - ฯลฯ


3. ใชวัสดุอปุ กรณมีอยูในทองถิ่นประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยนักเรียนมีสวนรวมใน การผลิต 4. มีและใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัย 5. นักเรียน ครู และผูปกครองรวมมือในการวัดและประเมินผลดวยวิธีการที่หลากหลายและ เหมาะสม และนําผลที่ไดใชปรับปรุงและพัฒนานักเรียนอยางตอเนือ่ ง 6. ครูใหการเสริมแรงตลอดเวลา 7. ครูซอมเสริมนักเรียนและใชกระบวนการวิจัยในชั้นเรียนอยางตอเนื่อง 8. นักเรียนมีโอกาสไดแสดงออกและสามารถนําเสนอผลงานของตนเองตามศักยภาพ 9. กระบวนการตรวจสอบซ้ําเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ใหเกิดผลดีอยางตอเนื่อง 9.1 วิธีการตรวจสอบซ้ํา BP นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 - 6 พึงพอใจนวัตกรรมรอยละ 100 9.2 ผลการตรวจสอบซ้ําเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP นักเรียนมีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนระหวางคะแนนทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนมีนัยสําคัญ ที่ระดับ 0.05 การจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบบูรณาการ กับสื่อคุณธรรม 9 ประการสานความรูส ู อาเซียน สามารถทําใหนกั เรียนพัฒนาตนเองไดอยางมีประสิทธิภาพ 10. การประชาสัมพันธผลสําเร็จของ BP และการเผยแพร ขยายผล ในวงกวาง (ระบุวันเวลา และ รูปแบบ/วิธีการประชาสัมพันธ เผยแพร และขยายผล) วัน เดือน ป

รูปแบบ

13 สิงหาคม 2555 แลกเปลี่ยนเรียนรูใน การประเมิน Best Practice

สถานที่

ระดับ

หองขุนแผน โรงแรมริเวอรแคว จังหวัดกาญจนบุรี

สพป.กาญจนบุรี เขต 1

20 กันยายน 2555 แลกเปลี่ยนเรียนรูใน โรงเรียนอนุบาลวัดไชย สพป.กาญจนบุรี นิทรรศการ Best Practice ชุมพลชนะสงคราม เขต 1 11 ธันวาคม 2555 แลกเปลี่ยนเรียนรูในการ ประเมิน Best Practice งานศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 62

โรงแรมสตาร จังหวัดระยอง

ภาคกลางและ ภาคตะวันออก


10. การประชาสัมพันธผลสําเร็จของ BP และการเผยแพร ขยายผล ในวงกวาง (ระบุวันเวลา และ รูปแบบ/วิธีการประชาสัมพันธ เผยแพร และขยายผล) (ตอ) วัน เดือน ป 3 – 5 มิถุนายน 2556 8 สิงหาคม 2556

รูปแบบ วิทยากรกิจกรรมพัฒนา นักเรียนเตรียมความพรอม สูอาเซียน

สถานที่

ระดับ

โรงเรียนอนุบาลวัดไชย ชุมพลชนะสงคราม

สพป.กาญจนบุรี เขต1

รับการประเมิน “นวัตกรรม สํานักงานเขตพื้นที่ สพป.กาญจนบุรี เตรียมความพรอมสูอาเซียน” การศึกษาประถมศึกษา เขต 1 กาญจนบุรเี ขต 1

พวงทิพย เดนดวงใจ ผูผลิตนวัตกรรม


ภาคผนวก


นักเรียนนําความรูที่ไดรับแตงเรื่องของนักเรียนเอง

ชอบหนาใดในหนังสือแลว แตงบทสนทนาเลียนแบบ นักเรียนจะมีผลงานเปนของตนเองตามศักยภาพ


มีอิสระนอกหองเรียนในการปฏิบัติกิจกรรมดวยตนเอง การผลิตนวัตกรรมและการจัดกิจกรรมการเรียนรูเนนการสื่อสาร

นักเรียนสนทนาโดยใชบทสนทนาในสื่อเกี่ยวกับขอมูลประเทศตางๆ


ถาปฏิบัติกิจกรรมไมได มีการซอมเสริมโดยเพื่อนชวยเพื่อน

มุมแสดงผลงานของนักเรียนเกี่ยวกับอาเซียน


รวมเลมผลงานนอกเหนือจากแบบฝก

โครงงานตางๆ ผลจากการสืบคน ผาน Internet


การมาศึกษาดูงานจากคณะครูตางจังหวัด


รวมจัดนิทรรศการในงานศิลปหัตถกรรม ณ โรงแรมสตาร จังหวัดระยอง

ผูเขาชมงานใหความสนใจผลงานที่รวมนําจัดนิทรรศการ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.