BEST PRACTICE
“ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสร้ างสรรค์ โครงงานวิทยาศาสตร์ ” โดย
นางศรีรักษ์ นันตะเสนีย์ ครู ชานาญการพิเศษ โรงเรียนวัดหนองเสื อ สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรีเขต๑
คานิยาม ผลงานนวัตกรรม Best Practice เรื่ อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสร้างสรรค์โครงงาน วิทยาศาสตร์ ข้าพเจ้าจัดทาขึ้นเพื่อใช้ในการสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้น เรื่ องโครงงานวิทยาศาสตร์ โดยพัฒนามาจาก Best Practice เรื่ องทักษะกระบวนการสู่ โครงงานวิทยาศาสตร์ ที่ขา้ พเจ้าได้จดั ทาขึ้นเมื่อปี ๒๕๕๔ ผลงานนวัตกรรม Best Practice เรื่ อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสร้างสรรค์โครงงาน วิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยข้อมูลทัว่ ไปของผูจ้ ดั ทา วัตถุประสงค์ของการพัฒนา ระยะเวลาในการพัฒนา ความเชื่อมโยง แนวคิด หลักการ กระบวนการพัฒนา ผลสาเร็ จ กระบวนการตรวจสอบซ้ าเพื่อพัฒนา และการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ขอขอบพระคุณ นายปัญญา เที่ยงธรรม ผูอ้ านวยการโรงเรี ยนวัดหนองเสื อ คณะครู โรงเรี ยน วัดหนองเสื อ คณะผูป้ กครอง และศิษย์ทุกรุ่ น ที่มีส่วนเกี่ยวข้องให้การปฏิบตั ิงานในหน้าที่ของครู และ ผลงานนวัตกรรม Best Practice เรื่ อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสร้างสรรค์โครงงานวิทยาศาสตร์ ประสบผลสาเร็ จด้วยดี
ศรี รักษ์ นันตะเสนีย ์
ผลงานนวัตกรรม Best Practice ๑. ชื่อผลงาน BP ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสร้างสรรค์โครงงานวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ วิทยาศาสตร์ ด้าน บริ หารจัดการชั้นเรี ยน ๒. ข้ อมูลทัว่ ไปของผู้พฒ ั นา BP ๒.๑ ชื่อผูพ้ ฒั นา BP นางศรี รักษ์ นันตะเสนีย ์ ๒.๒ โรงเรี ยนวัดหนองเสื อ เครื อข่ายส่ งเสริ มประสิ ทธิ ภาพการจัดการศึกษา ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น ๒.๓ โทรศัพท์ บ้าน ๐๓๔ – ๖๔๗๒๐๙ มือถือ ๐๘๑ – ๑๙๗๙๔๓๔ e –mail sriruk @ live.com ๓. เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ ของการพัฒนา BP เพื่อพัฒนากิจกรรมการสอนโครงงานวิทยาศาสตร์ โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ให้มี ประสิ ทธิ ภาพสู งขึ้น ๔. ระยะเวลาในการพัฒนา BP (ระบุช่วงเวลาเริ่ มต้นการพัฒนาและระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา BP ) ขั้นตอน ขั้นเตรี ยมการ
ขั้นพัฒนา
ขั้นประเมินผล
วิธีการ ๑.ศึกษา ค้นคว้า รวบรวมเทคนิค วิธีการสอนแบบ ต่างๆที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ๒.จัดเตรี ยมเอกสารที่ตอ้ งใช้ในการสอนโครงงาน วิทยาศาสตร์ ๑.ทบทวนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการ แก้ปัญหา ๕ ขั้นตอน ๒.ดาเนินการพัฒนาการสอนโครงงานวิทยาศาสตร์ ใช้ข้ นั ตอนการบริ หารจัดการ (P D C A ) ๑.นาผลการพัฒนามาวิเคราะห์ สรุ ปและรายงานผล การพัฒนาการสอนโครงงานวิทยาศาสตร์ ๒.การเผยแพร่ ผลงาน
ระยะเวลา พฤษภาคม ๒๕๕๕
มิถุนายน ๒๕๕๕ ถึง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖
มีนาคม ๒๕๕๕
๕. ความเชื่อมโยง/สั มพันธ์ ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้ นของสพป./สพม./สพฐ./สถานศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มีความมุ่งหมายและหลักการว่า การจัดการศึกษาต้อง เป็ นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ท้ งั ร่ างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริ ยธรรม และวัฒนธรรมในการดารงชีวติ สามารถอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นอย่างมีความสุ ขและกาหนดแนวการจัดการศึกษาต้องยึด หลักว่า ผูเ้ รี ยนทุกคนมีความสามารถเรี ยนรู ้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผูเ้ รี ยนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการ จัดการศึกษาต้องส่ งเสริ มให้ผเู้ รี ยนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ โดยจัดเนื้ อหาสาระและ กิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจ และความถนัดของผูเ้ รี ยน คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึ กทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู ้มาใช้ในการป้ องกัน แก้ไขปั ญหา และเรี ยนรู้จากประสบการณ์จริ ง ดังนั้นหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกาหนดให้มีสาระการเรี ยนรู้ ๘ กลุ่ม วิชา และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน เนื่ องจากการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วของสังคมและเทคโนโลยีที่ก่อให้เกิดทั้ง ผลดีและผลเสี ยส่ งผลให้การดาเนินชี วติ ในปั จจุบนั มีความยุง่ ยากซับซ้อนมากยิง่ ขึ้น บุคคลจึงจาเป็ นต้อง ปรับเปลี่ยนวิถีการดาเนินชีวิตให้สามารถดารงชี วติ อยูใ่ นสังคมได้อย่างมีคุณค่า มีศกั ดิ์ศรี โครงสร้างหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กาหนดให้วทิ ยาศาสตร์ เป็ นกลุ่มสาระ การเรี ยนรู้หลักในการวางรากฐาน เพื่อให้ผเู ้ รี ยนเกิดพัฒนาการทางความคิดอย่างเป็ นเหตุ เป็ นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วจิ ารณ์ มีทกั ษะสาคัญในการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ดว้ ยกระบวนการสื บเสาะหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็ นระบบ รู ้จกั ใช้ขอ้ มูลที่หลากหลายในการตัดสิ นใจรวมทั้งมีทกั ษะในการใช้เทคโนโลยี เพื่อสื บค้นข้อมูล ผูเ้ รี ยนจึงจาเป็ นต้องได้รับการกระตุน้ ให้เกิดการเรี ยนรู ้ เผชิ ญปั ญหา มีโอกาสได้คิดและ ปฏิบตั ิจริ ง ดังนั้นการจัดการเรี ยนการสอนจึงต้องคานึงถึงผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ โดยจัดกระบวนการเรี ยนการสอน ให้เหมาะสมตามความสนใจและความถนัดของผูเ้ รี ยน นอกจากนี้ในการเรี ยนการสอนต้องส่ งเสริ มและพัฒนา ผูเ้ รี ยนให้มีเจตคติ คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยมที่เหมาะสมกับวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและสิ่ งแสดล้อม การสอนโครงงานวิทยาศาสตร์ เป็ นการจัดประสบการณ์ที่เปิ ดโอกาสให้ผเู้ รี ยนได้เรี ยนรู้เรื่ องใดเรื่ อง หนึ่งตามความสนใจของผูเ้ รี ยนอย่างลุ่มลึก ตั้งแต่การกาหนดเรื่ อง วิธีการ การดาเนินการ การบันทึกผล การสรุ ป วิจารณ์ผลการทดลองเอง โดยครู เป็ นที่ปรึ กษาในการดาเนินงานแต่ละขั้นตอน ผ่านกระบวนการหลักคือ กระบวนการแก้ปัญหา ผูเ้ รี ยนจะเป็ นผูล้ งมือปฏิบตั ิเพื่อค้นหาคาตอบด้วยตนเอง จึงเป็ นการเรี ยนรู้จากการได้มี ประสบการณ์ตรงจากแหล่งเรี ยนรู ้ การแสวงหาความรู ้ทุกขั้นตอนผูเ้ รี ยน ได้ฝึกทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนได้เป็ นคนช่างสังเกต มีเหตุมีผล มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ มีวนิ ยั มีความซื่อสัตย์ รับผิดชอบ ในการทางานกลุ่มและมีคุณภาพ
๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ ในการพัฒนาBP หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ โดยกระทรวงศึกษาธิการให้ความหมายโครงงาน ว่าเป็ นการทากิจกรรมที่เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้ศึกษาค้นคว้าและลงมือปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง รวมทั้งร่ วมกาหนด แนวทางในการวัดและประเมินผล กระบวนการเรี ยนรู้แบบ Constructionism ก็มีลกั ษณะเป็ นการเรี ยนผ่านโครงงาน (Project Based Learning) เน้นการเรี ยนรู ้ผา่ นการสร้างสิ่ งที่เป็ นรู ปธรรม โดยจะใช้เทคโนโลยีหรื อไม่ใช้เทคโนโลยีก็ได้ เริ่ ม จากการคิดวางแผน ออกแบบและลงมือสร้างโครงงาน ซึ่งนักเรี ยนจะได้พบประสบการณ์และความรู้ที่ หลากหลายที่จบั ต้องได้ชีวิตจริ งแล้ว นักเรี ยนก็จะได้ผา่ นกระบวนการสะท้อนความคิด ด้วยการบันทึกประจาวัน การสนทนา Reflection ซึ่งเป็ นการให้นกั เรี ยนได้ฝึกฝนการทบทวน และเรี ยนรู้จากประสบการณ์และ กระบวนการที่ได้ผา่ นไป เพื่อนาไปปรับปรุ งพัฒนาตนเองและพัฒนาชิ้นงานอย่างต่อเนื่องต่อไป การจัดการ เรี ยนรู ้ในโครงงานจะมีการออกแบบให้นกั เรี ยนได้มีโอกาสในการเรี ยนรู ้ผา่ นการคิด ลงมือปฎิบตั ิและสะท้อน ความคิด ที่แตกต่างกันไปในแต่ละระดับการเรี ยนรู ้ โดยมีหลักการพื้นฐานของโครงงานดังนี้ ๑. คิดและออกแบบด้วยตนเอง (Thinking or Designing) เพื่อฝึ กฝนการคิดและจินตนาการ การคิดอย่าง มีเป้ าหมาย เป็ นรู ปธรรม และการคิดในเชิงเหตุผล ๒. นักเรี ยนจะต้องเป็ นผูท้ ี่ลงมือทาด้วยตนเอง(Making or Doing) มีความเป็ นเจ้าของในสิ่ งที่เขาสร้าง อย่างเต็มที่ โดยอาจเริ่ มเรี ยนรู ้จากสิ่ งที่ผเู ้ รี ยนมีความสนใจ หรื อจากปัญหาที่นกั เรี ยนมีความสนใจเป็ นพิเศษที่จะ ค้นหาวิธีแก้ โดยมี Facilitator หรื อผูอ้ านวยการเรี ยนรู ้ เป็ นผูค้ อยชี้แนะ ให้คาแนะนาและร่ วมเรี ยนรู ้ไปกับ นักเรี ยน ๓. กระบวนการสะท้อนความคิด (Reflecting or Contemplating) ซึ่งจะเป็ นการให้นกั เรี ยนได้ฝึกฝน สะท้อนความคิด ระลึกถึงสิ่ งที่ได้เรี ยนรู ้จากประสบการณ์ต่างๆ ที่ผา่ นไป ทาให้เกิดความตระหนักในสิ่ งที่ได้ เรี ยนรู้ ได้เรี ยนรู้เชิงประจักษ์ (เห็นได้ดว้ ยตนเอง) ว่าตนเรี ยนรู ้ได้อย่างไร และแก้ไขปั ญหาต่างๆ ได้อย่างไร การ สะท้อนความคิดนี้ เป็ นองค์ประกอบที่สาคัญมาก เพราะเป็ นการฝึ กฝนกระบวนการเรี ยนรู้ดว้ ยตนเองของ นักเรี ยน ที่จะค่อยๆ สั่งสมประสบการณ์จากการคิดทบทวนสิ่ งที่ตนเองได้ทา หรื อรับฟังมุมมองความคิดเห็นที่ แตกต่างจากเพื่อนหรื อครู “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็ นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงมีพระราชดารัสชี้แนะแนวทาง การดาเนิ นชีวติ แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และ เมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้า แนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดารงอยูไ่ ด้อย่างมัน่ คงและยัง่ ยืนภายใต้ กระแสโลกาภิวตั น์และความเปลี่ยนแปลง กรอบแนวคิด เป็ นปรัชญาที่ช้ ีแนะแนวทางการดารงอยูแ่ ละปฏิบตั ิ
ตนในทางที่ควรจะเป็ นโดยมีพ้นื ฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็ นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยและวิกฤติ เพื่อความ มัน่ คงและความยัง่ ยืนของการพัฒนา คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กบั การปฏิบตั ิตน ได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบตั ิบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็ นขั้นตอน ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะพร้อม ๆ กัน ดังนี้ ๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่นอ้ ยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเอง และผูอ้ ื่น เช่น การผลิตและการบริ โภคที่อยูใ่ นระดับพอประมาณ ๒. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสิ นใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้องเป็ นไปอย่างมี เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้น ๆ อย่าง รอบคอบ ๓. การมีภูมิคุม้ กันที่ดีในตัว หมายถึงการเตรี ยมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้าน ต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และ ไกล เงื่อนไข การตัดสิ นใจและการดาเนินกิจกรรมต่างๆให้อยูใ่ นระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรุ ้ และ คุณธรรมเป็ นพื้นฐาน กล่าวคือ ๑. เงื่อนไขความรู ้ ประกอบด้วย ความรอบรู ้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความ รอบคอบที่จะนาความรู ้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่ อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในขั้น ปฏิบตั ิ ๒. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริ มสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความชื่อสัตย์ สุ จริ ต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต แนวทางปฏิบตั ิ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การ พัฒนาที่สมดุลและยัง่ ยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่ งแวดล้อม ความรู ้ และเทคโนโลยี ดังนั้นข้าพเจ้าจึงได้สอนนักเรี ยนปฏิบตั ิโครงงานวิทยาศาสตร์ โดยให้นกั เรี ยนนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงมาใช้ในการวิเคราะห์และปฏิบตั ิเพื่อให้เกิดการเรี ยนรู ้ที่แท้จริ งอันเกิดประโยชน์อย่างสู งสุ ดในทุกๆด้าน ๗. กระบวนการพัฒนา BP ๗.๑ กลุ่มเป้ าหมายในการนาBP ไปใช้ (ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจานวนกลุ่มเป้ าหมาย) การสอนโครงงานวิทยาศาสตร์ นาไปใช้กบั นักเรี ยนกลุ่มเป้ าหมายคือนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ปี การศึกษา ๒๕๕๕ จานวน ๒๐ คน
๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา BP (อาจระบุเป็ นแผนภาพ/แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา )
พอประมาณ ปัญหา สมมติฐาน ออกแบบการทดลอง
มีเหตุผล
ภูมิคุ้มกัน
ค้นคว้า / สื บค้นข้อมูล ปฏิบตั ิการทดลอง รวบรวมข้อมูล สรุ ปผลการทดลอง รายงาน/ เผยแพร่ ผลงาน
ความรู้
คุณธรรม
๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวธิ ีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้ ) วิธีการตรวจสอบคุณภาพ BP มีข้ นั ตอนดังนี้ ๑)ศึกษารายละเอียดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทฤษฎีการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ หลักการสอนโครงงาน และขั้นตอนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ๒)ครู ใช้บทกลอนการสอนโครงงานวิทยาศาสตร์ ในการปฏิบตั ิการสอนตามขั้นตอนดังนี้ เมื่อรู ้วา่ ปัญหาคืออะไร เรามุ่งไปเร่ งตั้งสมมติฐาน หาวิธีการให้ได้ซ่ ึงคาตอบ ที่โดยชอบนัน่ คือการทดลอง อย่าบกพร่ องเรื่ องของบันทึกผล ควรต้องทาสามหนเป็ นอย่างน้อย แล้วจึงค่อยนามาหาค่าเฉลี่ย จะช่วยเคลียร์ ให้ได้ในคาตอบ เพื่อรอบคอบควรเพิ่มการค้นคว้า ให้ได้มาเอกสารที่เกี่ยวข้อง แล้วพวกเราช่วยกันมองถึงประโยชน์ จะให้งานรุ่ งโรจน์ควรขอบคุณ ผูเ้ กื้อหนุนการทางานของพวกเรา แล้วเขียนเล่าเรื่ องราวมาทั้งหมด เราเรี ยกบทคัดย่อนัน่ ไงคะ เสร็ จแล้วจ๊ะการทาโครงงานวิทย์ นางศรี รักษ์ นันตะเสนีย ์ ผูแ้ ต่งคาประพันธ์ ๓) ดาเนิ นการสอนทีละขั้นตอนโดยครู เป็ นเพียงผูก้ ากับดูแลเป็ นที่ปรึ กษา นักเรี ยนเป็ นผูป้ ฏิบตั ิ ดังนี้ - การกาหนดปั ญหา - การตั้งสมมติฐาน - การกาหนดตัวแปรต้น ตัวแปรตามและตัวแปรควบคุม - ค้นคว้าเพิ่มเติม การออกแบบการทดลอง และปฏิบตั ิการทดลอง - การบันทึกผลการทดลอง - การวิเคราะห์แปลผลการทดลองและสรุ ปผลการทดลอง - การเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ - การเขียนแผนภูมิปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - การนาเสนอและเผยแพร่ โครงงาน ๔) ติดตาม ตรวจสอบผลการดาเนินการของนักเรี ยนกับตารางแผนการปฏิบตั ิงาน ๕) รวบรวมข้อมูล ๖) วิเคราะห์ขอ้ มูล สรุ ปผล และรายงานผล ๗) ปรับปรุ ง พัฒนาแล้วนาไปใช้กบั กลุ่มตัวอย่าง
ผลการตรวจสอบคุณภาพ BP โครงงานวิทยาศาสตร์ ที่นกั เรี ยนจัดทาขึ้นโดยครู ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและ กระบวนการสอนโครงงานวิทยาศาสตร์ ตามขั้นตอน สามารถทาให้นกั เรี ยนกลุ่มเป้ าหมาย ปฏิบตั ิโครงงาน วิทยาศาสตร์ได้ครบถ้วนถูกต้องทุกโครงงานคิดเป็ นร้อยละ๑๐๐ ส่ งผลงานตามกาหนดเวลา ผลงานน่าพึงพอใจ และสอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๗.๔ แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ “ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สร้างสรรค์โครงงานวิทยาศาสตร์ ” เป็ นการสอนการทาโครงงาน วิทยาศาสตร์ ที่ยดึ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทาให้นกั เรี ยนสามารถทาโครงงานวิทยาศาสตร์ได้สาเร็ จทุกคน และสามารถนากระบวนการแก้ปัญหาหรื อการทาโครงงานไปใช้ในการเรี ยนกลุ่มสาระอื่นๆได้ นอกจากนี้ยงั สามารถนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจาวันได้อีกด้วย ๘. ผลสาเร็จทีเ่ กิดขึน้ จากการพัฒนา BP ๘.๑ ผลสาเร็ จเชิงปริ มาณ นักเรี ยนกลุ่มเป้ าหมายร้อยละ ๑๐๐ สามารถทาโครงงานวิทยาศาสตร์ได้ ๘.๒ ผลสาเร็ จเชิงคุณภาพ การสอนโครงงานวิทยาศาสตร์ มีประสิ ทธิภาพสอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทาให้ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ทุกคนสามารถทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ได้ถูกต้องตามขั้นตอน ผ่านเกณฑ์การ ประเมินเรื่ องโครงงานวิทยาศาสตร์ ทุกตัวชี้วดั นักเรี ยนได้เป็ นตัวแทนศูนย์พฒั นาคุณภาพการศึกษาชาววังของ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต๑ในการแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง โรงเรี ยนวัดหนองเสื อได้รับคัดเลือกเป็ นโรงเรี ยนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง และโรงเรี ยนดีศรี ตาบล นักเรี ยน ได้รับรางวัลนักเรี ยนดีเด่นด้านคุณธรรมและจริ ยธรรม ระดับประเทศ ประจาปี ๒๕๕๔ ได้รับทุนการศึกษา จากธนาคารออมสิ นและนอกจากนี้ยงั ได้รับทุนการศึกษาจนจบปริ ญญาตรี จากททบ.ช่อง ๕ รายการ “สานรักคน เก่ง หัวใจแกร่ ง ” การบริ หารจัดการชั้นเรี ยนดี ด้วยความตั้งใจในการปฏิบตั ิหน้าที่ของข้าพเจ้า เอาใจใส่ นกั เรี ยน ทุ่มเทเสี ยสละ ทาการสอนเต็มเวลา เต็มความสามารถ คอยติดตามให้คาปรึ กษา คาแนะนาอย่างต่อเนื่ อง ช่วยเหลือและแก้ปัญหาในเรื่ องส่ วนตัวและเรื่ องเรี ยนทาให้ขา้ พเจ้าได้รับโล่รางวัล พระราชทาน“ครู ผปู้ ฎิบตั ิ หน้าที่ดว้ ยความเข้มแข็ง เสี ยสละเอาใจใส่ สั่งสอน อบรมเยาวชนด้วยความเมตตากรุ ณา ” จากพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรชายาทินดั ดามาตุ เมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๔ ๘.๓ ความพึงพอใจของผูเ้ กี่ยวข้องต่อ BP จากการประเมินด้วยแบบสอบถามความพึงพอใจ นักเรี ยนร้อยละ ๙๒ มีความพึงพอใจต่อการทา โครงงานวิทยาศาสตร์ โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
๘.๔ ปัจจัยความสาเร็ จของการพัฒนาBP /ประสบการณ์เรี ยนรู้จากการนาBP ไปใช้ ๑) ครู และนักเรี ยน เข้าใจปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๒) ครู และนักเรี ยน เข้าใจขั้นตอนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ๓) ครู คอยกากับ ติดตาม ให้คาปรึ กษา แนะนาการทางานของนักเรี ยนอย่างต่อเนื่ อง ๔) นักเรี ยนมีความรับผิดชอบต่อตนเองและกระบวนการทางานกลุ่ม ๙. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุ งBP ให้ เกิดผลอย่างต่ อเนื่อง ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้ า รวบรวมปั ญหาจากการสอน วิเคราะห์หาสาเหตุและศึกษาเพิ่มเติมเพื่อหาแนวทางแก้ไข แล้วนามา พัฒนาการสอน ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้ าเพื่อพัฒนาและปรับปรุ งBP การสอนโครงงานวิทยาศาสตร์ โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอพียง มีประสิ ทธิ ภาพมากยิง่ ขึ้น สมดังที่กล่าวว่า “ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สร้างสรรค์โครงงานวิทยาศาสตร์ ” ๑๐. การประชาสั มพันธ์ ผลสาเร็จของBP และการเผยแพร่ ในวงกว้าง(ระบุวนั เวลา และรู ปแบบ/วิธี ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล) “ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสร้างสรรค์โครงงานวิทยาศาสตร์ ” เป็ นการสอนโครงงานวิทยาศาสตร์โดย ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทาให้นกั เรี ยนสามารถเรี ยนรู้การทาโครงงานวิทยาศาสตร์ได้ดีและมี ประสิ ทธิภาพ ทาให้นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ที่แท้จริ ง เกิดความภาคภูมิใจในตนเอง เห็นคุณค่าและความสาคัญ ของทรัพยากรที่มีในท้องถิ่น สามารถนาหลักการ ขั้นตอนของโครงงานวิทยาศาสตร์ ไปประยุกต์ใช้ในกลุ่มสาระ อื่นหรื อแก้ปัญหาในชี วติ ประจาวันได้ มีการเผยแพร่ ผลงานดังนี้ ครั้งที่ วัน/เดิอน/ปี ผูร้ ับการเผยแพร่ จานวนคน หมายเหตุ ๑ ๘ ตุลาคม ๒๕๕๕ คณะครู กลุ่มสถานศึกษาที่ ๑๗ ๕๐ คน ลงนาม ๑๖คน กิจกรรมศึกษาดูงาน อ. พระยืน สพป. ขอนแก่น เขต ๑ ที่ร.ร.วัดหนองเสื อ อ. ท่าม่วง จ. กาญจนบุรี ๒ ๑๒-๑๓ พฤศจิกายน๒๕๕๖ คณะครู ในสพป. กาญจนบุรี เขต๑ ๖๐ คน ลงนาม ๒๗ คน งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน ครั้งที่ ๖๒ ที่ ร.ร.เทพศิรินทร์ฯ อ. ลาดหญ้า จ. กาญจนบุรี
ครั้งที่ ๓
๔
๕
วัน/เดิอน/ปี ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๖ กิจกรรมศึกษาดูงาน ที่ร.ร.วัดหนองเสื อ อ. ท่าม่วง จ. กาญจนบุรี ๕ กรกฎาคม ๒๕๕๖ กิจกรรมตามโครงการ โรงเรี ยนดีศรี ตาบล ที่ ร.ร.วัดหนองเสื อ อ. ท่าม่วง จ. กาญจนบุรี ๒๔ ตุลาคม ๒๕๕๖ เผยแพร่ ทางอินเตอร์ เน็ต เว็ปไซต์ของสพป.กจ๑ www.kan๑.go.th
ผูร้ ับการเผยแพร่ คณะครู จากร.ร.วัดบางกระเจ้า สพป.สมุทรสาคร
คณะครู จากอ. ชุมพวาปี สพป. สุ รินทร์
ผูเ้ ข้าชมเว็ปไซต์
จานวนคน หมายเหตุ ๒๐ คน ลงนาม ๘ คน
๕๐ คน
ลงนาม ๒๓ คน
ภาคผนวก - แผนภูมิ แสดงการวิเคราะห์หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับโครงงานวิทยาศาสตร์ - แบบประเมินความพึงพอใจ - เค้าโครงการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ - ภาพถ่าย - แผนผังการบริ หารจัดการชั้นเรี ยน
แผนภูมิ แสดงการวิเคราะห์ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง............................................................................................................................... พอประมาณ -พอประมาณกับ................................................................... -พอประมาณกับ............................................................................... พอประมาณกับ.................................................................... มีเหตุผล ๑....................................................... ......................................................... ......................................................... ......................................................... ......................................................... ......................................................... ......................................................... ......................................................... ......................................................... ......................................................... .....................................................
การวิเคราะห์ หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง กับโครงงานวืทยาศาสตร์
เงือ่ นไขความรู้ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ .
นาไปสู่
เงือ่ นไขคุณธรรม ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... . ...................................................... ...
ภูมิค้ มุ กันในตัวที่ดี ๑................................................ .................................................. ๒............................................... .................................................. .๓.............................................. .................................................. ..๔............................................. .................................................. ...๕............................................ .................................................. .................................................. .......... -
- เศรษฐกิจ : ........................................................................................................................................................ - สังคม : ........................................................................................................................................................ - วัฒนธรรม ........................................................................................................................................................ - สิ่ งแวดล้อม:......................................................................................................................................................
แบบประเมินความพึงพอใจ เรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสร้ างสรรค์ โครงงานวิทยาศาสตร์ คาชี้แจง ให้ใส่ เครื่ องหมาย / ลงในช่อง ให้ตรงกับระดับความคิดเห็นของท่าน
ที่
รายการประเมิน
มากที่สุด (๕)
ระดับความคิดเห็น มาก ปานกลาง น้อย (๔) (๓) (๒)
น้อยที่สุด (๑)
๑ วิธีการสอนของครู ทาให้เข้าใจขั้นตอนการ ทาโครงงานวิทยาศาสตร์ได้ดี ๒ วิธีการสอนของครู ทาให้สามารถ ทาโครงงานวิทยาศาสตร์ได้สาเร็ จ ๓ วิธีการสอนทาให้เข้าใจปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ๔ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสอดคล้องกับ โครงงานวิทยาศาสตร์ ๕ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีประโยชน์ต่อ โครงงานวิทยาศาสตร์ ๖ สามารถนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการทาโครงงานไปประยุกต์ใช้ในวิชา อื่นๆและในชีวติ ประจาวันได้ ความคิดเห็น / ข้อเสนอแนะอื่นๆ ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. ขอขอบคุณที่ร่วมแสดงความคิดเห็น
จัดทาโดย ๑........................................................................................ ๒....................................................................................... ๓.......................................................................................
หัวหน้ ากลุ่ม รองหัวหน้ ากลุ่ม เลขานุการ
โรงเรียน......................................................... สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา...........................................................
ขั้นตอนที่ ๑ ตั้งปัญหา ปัญหาของโครงงานวิทยาศาสตร์ คือข้ อสงสัยที่ เรายังไม่ ทราบคาตอบ เราสามารถ ทราบคาตอบได้ ด้วยการทดลองนะคะ ปัญหาของสมาชิ กในกลุ่ม ชื่อสมาชิก......................................................................................................................................... ปัญหาคือ.........................................................................................................................................................
ชื่อสมาชิก......................................................................................................................................... ปัญหาคือ.........................................................................................................................................................
ชื่อสมาชิก......................................................................................................................................... ปัญหาคือ.........................................................................................................................................................
การเลือกปัญหาในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ควรคานึงถึง หลักปรั ชญา เศรษฐกิจพอเพียงคือ ความพอประมาณ (เวลา,วัสดุอุปกรณ์ , ทุน ) ความมีเหตุผลและ ภูมิค้มุ กันในตัวทีด่ ี จะทาให้ เราทาโครงงานได้ ประสบความสาเร็จและมีประโยชน์ นะคะ ปัญหาของกลุ่ม ........................................................................................................................................................................
ขั้นตอนที่ ๒ ตั้งสมมติฐาน สมมติฐานคือการคาดเดาคาตอบของปั ญหาก่ อนทาการทดลอง อาจจะถูกหรื อผิดก็ได้ สมมติฐาน ...................................................................................................................................................................
การกาหนดตัวแปรต้ นคือการเลือกสิ่ งที่เป็ นสาเหตุทาให้ เกิดผลของ การทดลอง แตกต่ างกันเพื่อเปรี ยบเทียบผลการทดลองว่ าสอดคล้ องกับ สมมติฐานหรื อไม่ ควรเลือก ตัวแปรต้ นประมาณ ๓-๕ อย่ างโดยคานึงถึงสิ่ งที่เรามีอยู่หรื อหาได้ ง่ายเพื่อประหยัด ค่ าใช้ จ่ายและเป็ นการใช้ ทรั พยากรให้ เกิดประโยชน์ ตัวแปรต้ น ๑................................................................................................................................................................ ๒................................................................................................................................................................ ๓................................................................................................................................................................ ๔................................................................................................................................................................ ๕................................................................................................................................................................
ตัวแปรตามคือผลของการทดลองที่สอดคล้ องกับสมมติฐาน ตัวแปรตาม ................................................................................................................................................................
ตัวแปรควบคุมคือสิ่ งที่เราต้ องกาหนดให้ เหมือนกันหรื อเท่ ากันในการปฎิบัติการ ทดลองเพื่อเปรี ยบเทียบผลการทดลองในแต่ ละครั้ ง ตัวแปรควบคุม ๑...............................................................................๒.............................................................................. ๓................................................................................๔............................................................................. ๕................................................................................๖.............................................................................
วัสดุ –อุปกรณ์ คือสิ่ งที่เราต้ องใช้ ในการทดลองทุกอย่ าง ควรบอกจานวนหรื อ ปริ มาณที่ใช้ ด้วย วัสดุ – อุปกรณ์ ๑................................................................................................................................................................. ๒................................................................................................................................................................ ๓................................................................................................................................................................ ๔................................................................................................................................................................ ๕................................................................................................................................................................ ๖................................................................................................................................................................. ๗.............................................................................................................................................................. ๘................................................................................................................................................................ ๙............................................................................................................................................................... ๑๐..............................................................................................................................................................
ขั้นตอนที่ ๓ ออกแบบการทดลอง ออกแบบการทดลอง คือการเขียนขัน้ ตอนวิธีการทดลองทีละขัน้ ตามลาดับ โดยใช้ ตัวแปรต้ นที ละชนิดจนครบเพื่อตรวจสอบสมมติฐานที่ตงั้ ไว้ วิธีการทดลอง ๑................................................................................................................................................................. ๒................................................................................................................................................................ ๓................................................................................................................................................................ ๔................................................................................................................................................................ ๕................................................................................................................................................................ ๖.................................................................................................................................................................
ออกแบบตารางบันทึกผลการทดลอง คือการสร้ างตารางเพื่อใช้ บันทึกผลการทดลองให้ ครบถ้ วน ชัดเจน เปรี ยบเทียบผลการทดลองได้ ง่าย เรามักให้ ตัวแปรต้ นอยู่ในแนวตั้ง และ ให้ ตัวแปรตามอยู่ในแนวนอน ตารางบันทึกผลการทดลอง
ขั้นตอนที่ ๔ ขั้นปฏิบัตกิ ารทดลอง รวบรวมข้ อมูลและสรุปผล ปฏิบัติการทดลอง คือทาการทดลองตามขัน้ ตอนอย่ างละเอียด จนครบถ้ วน และบันทึก ผลการทดลองแต่ ละครั้ งในตารางบันทึกผล ตามความเป็ นจริ ง ควรคานึงถึงตัวแปรต้ น ตัวแปรตามและตัวแปรควบคุมเพื่อนาผลการทดลองมาเปรี ยบเที ยบกันแล้ ววิเคราะห์ ผลการทดลองเพื่อสรุ ปผลการทดลอง สรุ ปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………….
เอกสารที่เกีย่ วข้ อง คือสื บค้ นหาข้ อมูล ความรู้ ของสิ่ งที่เกี่ยวข้ องในการปฏิบัติโครงงาน ได้ แก่ ตัวแปรต้ นแต่ ละชนิด เพื่อเป็ นประโยชน์ ในการออกแบบการทดลอง สรุ ปผล การทดลอง เอกสารที่เกีย่ วข้ อง ๑.............................................................................. ๒........................................................................... ๓.............................................................................. ๔........................................................................... ๕.............................................................................. ๖...........................................................................
ที่มาและความสาคัญ คือการบอกสาเหตุที่เลือกทาโครงงานเรื่ องนี ้ ที่มาและความสาคัญ ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………….
บทคัดย่ อ คือการเขียนเล่ าเรื่ องในการทาโครงงานโดยย่ อ ตั้งแต่ สาเหตุที่ทา วิธีการทาอย่ างไร ได้ ผลอย่ างไร สรุ ปผลอย่ างไร บทคัดย่อ ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………….
กิติกรรมประกาศ คือการเขียนขอบคุณผู้ที่ให้ คาปรึ กษา ช่ วยเหลือด้ านต่ างๆการทา โครงงานจนสาเร็จ กิติกรรมประกาศ ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………….
ขั้นตอนที่ ๕ เขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ประกอบด้ วย ปกหน้ า ปกรอง บทคัดย่ อ กิติกรรมประกาศ สารบัญ บทที่ ๑ ที่มาและความสาคัญ ปั ญหา สมมติฐาน ตัวแปรต้ น ตัวแปรตาม ตัวแปรควบคุม บทที่ ๒ เอกสารที่เกี่ยวข้ อง บทที่ ๓ วัสดุ-อุปกรณ์ และวิธีการทดลอง บทที่ ๔ ผลการทดลอง บทที่ ๕ อภิปรายและสรุ ปผลการทดลอง บรรณานุกรม ภาคผนวก ภาพถ่าย ปกหลัง
ความภาคภูมิใจ
ได้ รับพระราชทานโล่รางวัล และเกียรติบัตรจาก สพฐ.
ผลที่เกิดขึน้
นักเรียนได้ รับคัดเลือกนักเรียนดีเด่ นด้ านคุณธรรมจริยธรรมระดับประเทศ และได้ รับทุนการศึกษาจากธนาคารออมสิน
นักเรียนได้ รับทุนการศึกษาจนจบปริญญาตรีและ เผยแพร่ ออกอากาศทางททบ.ช่ อง ๕ รายการสานรักคนเก่งหัวใจแกร่ ง
การเผยแพร่ ผลงาน
ได้ รับคัดเลือกเป็ นผู้นาเสนอ BEST PRACTICE ของสพป.กจ1
การเผยแพร่ ผลงาน BEST PRACTICE ระดับประเทศที่เมืองทองธานี ระดับเขตและในระดับศูนย์ เครือข่ ายแก่ครูผ้สู อน
การจัดกิจกรรมการสอน
เป็ นวิทยากรค่ายวิทยาศาสตร์ นักเรียน
เป็ นผู้ฝึกสอนการแสดงทางวิทยาศาสตร์
เผยแพร่ โครงงานของตนเอง
นาโครงงานวิทยาศาสตร์ เข้ าร่ วมแข่ งขัน ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน
การเรียนรู้ ด้วยตนเอง
นักเรียนนาเสนอโครงงานทุกขั้นตอน ให้ นักเรียนชั้นอืน่ ๆและผู้สนใจได้ ฟัง
เน้ นการเรียนรู้ด้วยการปฏิบัตจิ ริง
นักเรียนนาเสนอโครงงานแก่ คณะกรรมการ ประเมินโรงเรียนดีศรีตาบลและผ่านเกณฑ์
มีการจัดทาสื่อ/นวัตกรรมการสอน เพือ่ เรียนรู้อย่างหลากหลาย
การบริหารจัดการชั้นเรียน
มีการสารวจข้ อมูล เยีย่ มบ้ านนักเรียน
มีการจัดทาบัญชีออมทรัพย์ ทุกวัน
ดูแลการรับประทานอาหารกลางวัน
จัดกิจกรรมเรื่องเล่าข่ าวเด่ นทุกวัน
ให้ คาปรึกษา ช่ วยเหลือ แก้ปัญหา แนะแนว ให้ แก่นักเรียนทั้งด้ านการเรียน ความประพฤติ ระเบียบวินัย และทุนการศึกษา
สอนดนตรีไทยให้ ฟรีหลังเลิกเรียน เพือ่ ส่ งเสริมความสามารถพิเศษ ใช้ เวลาว่างให้ เป็ นประโยชน์ และ หารายได้ ระหว่างเรียน
ส่ งเสริมกีฬา นันทนาการกับกลุ่มโรงเรียน ทุกปี
ประสานร่ วมมือกับผู้ปกครองนักเรียน ทุกภาคเรียน
ั้ ยน การบริหารจ ัดการชนเรี ครูมล ี ักษณะ ประชาธิปไตย
ครูใชเ้ ทคนิควางต ัว บุคคลให้เหมาะก ับงาน สารวจข้อมูล ผูเ้ รียน
คุณล ักษณะของครู ั้ ยน และการจ ัดการชนเรี
คัดกรอง ั้ ยน ปกครองชนเรี ด้วยความยุตธ ิ รรม
วิเคราะห์หล ักสูตร ึ ษา สถานศก เยีย ่ มบ้าน จ ัดหาทุน
่ ยเหลือ ระบบดูแลชว น ักเรียน
จัดหาทุน
ครูและน ักเรียน ั ันธ์ มีความสมพ อ ันดีตอ ่ ก ัน
ประสานความร่วมมือก ับ ผูป ้ กครองเพือ ่ การพ ัฒนา
จ ัดกระบวนการ เรียนรูท ้ เี่ น้นผูเ้ รียน เป็นสาค ัญอย่าง หลากหลาย
การจ ัดกิจกรรม การเรียนรู ้
้ อ ื่ การเรียนรู ้ ใชส เหมาะสม
ให้คาปรึกษา และแก้ปัญหา
่ เสริมความสามารถ สง ด้านต่างๆ
แนะแนวศึกษาต่อ
ใชเ้ ครือ ่ งมือ ประเมินผล เหมาะสม หลากหลาย วิธ ี
นาผลการประเมินมา ั้ ยน พ ัฒนาการจ ัดการชนเรี