Best practice นางละเอียด สุวรรณมณี

Page 1

Best Practice กิจกรรม การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น

โดย นางละเอียด สุวรรณมณี ตาแหน่ง ครูโรงเรียนวัดกร่างทองราษฎร์บูรณะ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต 1


Best Practice 1.

ชื่อผลงาน กิจกรรมการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ด้าน วิชาการ

2.

ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนาBest Practice 2.1 ชื่อผู้พัฒนา นางละเอียด สุวรรณมณี 2.2 โรงเรียนวัดกร่างทองราษฎร์บูรณะ เครือข่าย แม่กลอง 2.3 โทรศัพท์ 089-2578044

3.

เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา

E-mail laiat07@hotmail.com

BP

เพื่อศึกษาประสิทธิภาพและความพึงพอใจของการจัดการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์โดยใช้แหล่งเรียนรู้และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น 4. ระยะเวลาในการพัฒนา

BP

พฤษภาคม 2550 ถึง สิงหาคม 2556 5. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป./สพฐ/สถานศึกษา ครูผู้สอนสามารถจัดกิจกรรม และบรรยากาศการเรียนรูใ้ ห้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ มีการประสานความ ร่วมมือครู ผู้ปกครองและบุคคลในชุมชนเพื่อพัฒนาผูเ้ รียนตามศักยภาพ 6.

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีทนี่ ามาใช้ในการพัฒนา BP แนวคิด/หลักการ จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น

สนใจใฝ่รู้ รักการอ่านและเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง


ทฤษฎีทนี่ ามาใช้ในการพัฒนา BPThe

7. กระบวนการพัฒนา 7.1

Inquiry Method of teaching

BP

กลุ่มเป้าหมายในการนาBP ไปใช้ วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 เนื้อหาเกี่ยวกับพืชและสิ่งแวดล้อม


7.2 ขัน้ ตอนการพัฒนา BP 1) ศึกษาโครงสร้างหลักสูตรวิชาวิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่

1-6

2) ประชุมคณะทางานและผู้เกี่ยวข้อง 3) ประสานงานกับบุคลากรที่เกีย่ วข้อง 4) จัดทาแผนการเรียนรู้ 5) จัดหาสื่อ/อุปกรณ์ 6) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ 7) การวัดและประเมินผลการจัดกิจกรรม 8) ปรับปรุง ทบทวน พัฒนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ศึกษาโครงสร้างหลักสูตร - จัดทาแผนการเรียนรู้ - ประสานงานกับบุคลากรที่ เกี่ยวข้อง จัดกิจกรรมการเรียนรู้

- การปรับปรุง ทบทวน พัฒนา

- เน้นนักเรียนเป็นสาคัญ

แลกเปลี่ยนเรียนรู้

- บูรณาการกับภูมิปัญญา ท้องถิ่น - ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง -

ประเมินผลความพึงพอใจ

-

วัดประเมินผลตามสภาพจริง


7.3 การตรวจสอบคุณภาพ BP 1) ประเมินตามจุดประสงค์ที่กาหนดไว้ 2) ประเมินกระบวนการจัดกิจกรรมทีเ่ หมาะสม เนื้อหา จุดประสงค์การเรียนรู้ ขั้นตอนการดาเนิน กิจกรรม ผลการจัดกิจกรรม การใช้เวลาทีเ่ หมาะสม 3) ประเมินความพึงพอใจและพฤติกรรมในการร่วมกิจกรรม 7.4 แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ ประสานกับครูผู้สอนวิชาต่างๆ เช่น ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา คณิตศาสตร์ การงาน อาชีพ ฯเพื่อจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ เพื่อให้นักเรียนได้นาความรู้ที่ได้รับไปใช้ได้จริงในชีวิตประจาวันและ สามารถพัฒนาทักษะการปฏิบัติเบื้องต้นเป็นการคิดต่อยอดเป็นแนวทางให้นักเรียนได้ค้นพบความสามารถของตนเองและ เป็นแนวทางสู่อาชีพในอนาคต

8. ผลสาเร็จที่เกิดขึน้ จากการพัฒนา BP 8.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียน ร้อยละ 95 เรียนรู้ได้อย่างดี มีความสนใจและตั้งใจปฏิบัติกิจกรรม นักเรียน ร้อยละ 100 ต้องการให้จัดกิจกรรมเช่นนี้อีกในโอกาสต่อไป 8.2 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) นักเรียนปฏิบัติได้ตามจุดประสงค์ที่กาหนดไว้ทุกคน 2) นักเรียนมีพฤติกรรมให้ความสนใจ ใฝ่รู้ ในการปฏิบัตกิ ิจกรรมและสามารถอธิบาย แนวทางที่จะนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ 8.3 ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง ต่อ BP จากแบบประเมินความพึงพอใจพบว่า ร้อยละ 100 ของผู้เกีย่ วข้องพึงพอใจในการจัดกิจกรรม วิทยาศาสตร์ โดยใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น


8.4 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา BP ไปใช้ 1) ครูกาหนดแนวทางการจัดกิจกรรมชัดเจนเหมาะสม 2) มีการประสานงานกับบุคคลต่างๆเป็นอย่างดี 3) ผู้บริหารเข้าใจ ให้ความสาคัญ ส่งเสริมสนับสนุนเป็นอย่างดี 4) นักเรียนมีส่วนร่วมในการกาหนดแนวทางการจัดกิจกรรม 5) นาข้อเสนอแนะและข้อบกพร่องต่างๆ ของครูและนักเรียนมาร่วมพิจารณา ปรับปรุงและกาหนดเป็น แนวทางในครั้งต่อไป 9. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง 9.1 วิธกี ารตรวจสอบซ้า

BP

ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง

BP

1) จัดทาแบบสารวจความต้องการและข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมในครัง้ ต่อไป 2) ให้นกั เรียนและบุคลากรที่เกี่ยวข้องร่วมกันวางแผนการจัดกิจกรรมและการประเมินผล 9.2 ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP นักเรียน ร้อยละ 100 มีความต้องการให้จดั กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิ ปัญญาท้องถิ่นในโอกาสต่อไป

10. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ

BP

และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง

1) ให้ความรู้กับคณะครูที่มาศึกษาดูงานที่โรงเรียน 2) ให้ความรู้กับเพื่อนครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ระดับประถมเมื่อมีการประชุมสัมมนาหรือเป็นวิทยากรให้ความรู้ 3) ประชาสัมพันธ์ในสื่อ Internet/

Face Book


การพัฒนานวัตกรรมกิจกรรมการเรี ยนรู ้วิทยาสาสตร์ นางละเอียด สุ วรรณมณี ตาแหน่ง ครู โรงเรี ยนวัดกร่ างทองราษฎร์ บูรณะ วิทยฐานะ คศ. 3 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ วิทยาศาสตร์ ………………………. ปี พ.ศ. 2550

ชื่อนวัตกรรม “ บ้านแห่งการเรี ยนรู ้ ” วิชา วิทยาศาสตร์ เรื่ อง ประโยชน์ของพืช ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1

ปี พ.ศ.2552

โครงการศูนย์พฒั นาการเรี ยนรู้และอาชีพ กลุ่ม ขยายพันธุ์พืช กลุ่ม ปุ๋ ยชีวภาพคุณภาพสู ง กลุ่ม กลุ่มอาหารและงานประดิษฐ์

ปี พ.ศ.2554- ปัจจุบัน โครงการส่ งเสริ มการใช้แหล่งเรี ยนรู ้และภูมิปัญญาท้องถิ่น กิจกรรม ครู ภูมิปัญญา กิจกรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น กิจกรรม นักเรี ยนผูส้ ื บทอดภูมิปัญญา ปี 2556 -

กิจกรรมการเรี ยนรู ้วทิ ยาศาสตร์ โดยใช้แหล่งเรี ยนรู ้และภูมิปัญญาท้องถิ่น กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมพี่สอนน้อง กิจกรรมที่ 2 (Coaching)กิจกรรมบูรณาการวิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ การงานอาชีพ ศิลปะ การงานอาชีพ ภาษาไทยและสังคมศึกษา


กิจกรรมการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ โดยใช้ แหล่งเรียนรู้ และภูมปิ ัญญาท้ องถิ่น กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมพีส่ อนน้ อง 1) เรื่ อง ใบไม้นกั เรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 และชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 - นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 จับคู่กบั นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 - นักเรี ยนรุ่ นพี่ ป.5 สอนน้อง ป.1 ทาหนังสื อเล่มเล็ก พิมพ์ภาพใบไม้ และเขียน ชื่อต้นไม้ในโรงเรี ยนได้ถูกต้อง - นาเสนอผลงานทั้งของพี่และน้อง โดยนาเสนอหน้าชั้นและติดป้ ายนิเทศ ข้ อเสนอแนะ - กิจกรมนี้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ทุกวิชา - ใช้กิจกรรมนี้ได้ดีในกรณี ครู ไม่ครบชั้น เช่น ครู ไปอบรม สัมมนา ลา ฯ - ควรมีการเตรี ยมกิจกรรมล่วงหน้า - ควรมีการประเมินกิจกรรมทุกครั้ง - ตัวอย่างกิจกรรมพี่สอนน้อง เช่น ป.6 กับ ป.3 เรื่ อง สถานะของน้ า ป.4 กับ ป.1 เรื่ องสัตว์ ฯลฯ


กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมบูรณาการวิทยาศาสตร์ (ภาษาอังกฤษ การงานอาชีพ ศิลปะ การงานอาชีพ ภาษาไทยและสังคมศึกษา ) 1) กาหนดเนื้ อหาที่จะเรี ยนรู ้ คือ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 เรื่ องพืชในท้องถิ่นและการ ขยายพันธุ์พืช 2) ประสานงานกับครู ภาษาอังกฤษและวิชาอื่นๆ 3) จัดทาแบบบันทึกกิจกรรม 4) วางแผนการจัดกิจกรรมระหว่างครู นักเรี ยนและวิทยากรท้องถิ่น 5) ดาเนินการจัดกิจกรรม - การสารวจพืช ชื่อภาษาไทย ภาษาอังกฤษ - การทาน้ าดื่มจากพืชสมุนไพร มะนาว อัญชัน ใบเตย ฯ - การวาดภาพจากสี ธรรมชาติ 6) นาเสนอผลการจัดกิจกรรม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.