Best Practice การพัฒนากล้ามเนือ้ มัดเล็กสาหรับเด็กปฐมวัย โดยใช้ กจิ กรรมสร้ างสรรค์จากสิ่ งของเหลือใช้ เน้ นความพอเพียง เด็กปฐมวัย
กิจกรรมสร้างสรรค์
ปั้นดินกระดาษ
หน้ ากากวิเศษ
ปลาขวดนา้
ผล ประหยัด พอเพียง
กล้ามเนือ้ มัดเล็กแข็งแรง
โดย
นางสาวอารีย์ หลักศิลา ครู คศ.1 โรงเรียนบ้ านหนองหญ้ าปล้อง สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1
1. ชื่อผลงาน การพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก สาหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมสร้างสรรค์จาก สิ่ งของเหลือใช้เน้นความพอเพียง 2. ชื่อผู้นาเสนอผลงาน นางสาวอารี ย ์ หลักศิลา โรงเรี ยนบ้านหนองหญ้าปล้อง อาเภอด่านมะขามเตี้ย เครื อข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาจรเข้เผือก โทรศัพท์ 089-2549214 3. หลักการเหตุผล/ความเป็ นมา การจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยนั้นเป็ นการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนใน รู ปแบบบูรณาการผ่านการเล่นที่เน้นเด็กเป็ นศูนย์กลาง โดยให้เด็กได้เรี ยนรู ้โดยใช้ ประสาทสัมผัสทั้งห้า การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ เช่นการเขียนภาพ การปั้น การฉี กปะ การตัดปะ การพิมพ์ภาพ การร้อย การประดิษฐ์ เป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริ มและพัฒนาการ ทางานที่ประสานสัมพันธ์กนั ระหว่าง กล้ามเนื้อมัดเล็ก นิ้วมือ และประสาทตา ช่วยให้ เด็กเกิดความแข็งแรงของกล้ามเนื้อมัดเล็ก ในการฝึ กฝนความคล่องแคล่วของการใช้ กล้ามเนื้อมัดเล็กมีความสาคัญและจาเป็ นมากกับเด็กต่อการการดารงชีวิตประจาวันและ การเรี ยนในระดับชั้นที่สูงขึ้น ซึ่ งสามารถฝึ กฝนได้โดยการจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับ ความสามารถของเด็ก และในกิจกรรมการสร้างสรรค์จากสิ่ งของเหลือใช้เน้นความ พอเพียง เป็ นกิจกรรมหนึ่งที่ผจู ้ ดั ทาBP สนใจที่จะจัดขึ้นเพื่อต้องการพัฒนากล้ามมัดเล็ก ของเด็กให้แข็งแรงมากขึ้น และจากการนาสิ่ งของเหลือใช้ใกล้ตวั มาจัดกิจกรรมนี้ทาให้ เกิดความประหยัดแล้วยังเป็ นการส่ งเสริ มให้เด็กรู ้จกั ความพอเพียง และช่วยลดภาวะโลก ร้อนอีกด้วย
4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัย 4.2 เพื่อพัฒนาจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของเด็ก 4.3 เพื่อให้เด็กเรี ยนรู ้และปลูกฝังนิสัยให้มีความประหยัดและความพอเพียง 5. แนวคิด/ทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้ อง การจัดประสบการณ์ให้กบั เด็กปฐมวัยนั้น ประสบการณ์ตรงที่เป็ นรู ปธรรมจะ ช่วยให้เด็กเกิดการรับรู ้ การฝึ กการเขียนให้แก่เด็กในระยะเริ่ มเขียน ผูส้ อนควรจะได้พจิ ารณา เลือกสื่ อที่เหมาะสมกับความสนใจ ความต้องการ และธรรมชาติของเด็กด้วยผูส้ อนควรจะหาวิธี ส่ งเสริ มให้เด็กเกิดความพร้อมในการเขียนด้วย การให้เด็กฝึ กทักษะในการใช้มือ เป็ นต้นว่า กิจกรรมการวาดภาพระบายสี ดว้ ยนิ้วมือ การปั้นดินน้ ามัน การเล่นสี ฉี กกระดาษ เศษวัสดุ ฯลฯ ที่สามารถพัฒนาทักษะการใช้มือ กล้ามเนื้อ และความคิดสร้างสรรค์ (ลออ ชุติกร.2529 : 105) ความสามารถของเด็กในการใช้มือ นิ้วมือ และสายตา ซึ่ งเป็ นการประสานกันของกลไกทาง สมองและกายภาพนั้นมีความสาคัญอย่างยิง่ ต่อการเขียน เด็กจะสามารถเขียนสิ่ งใดได้กต็ ่อเมื่อมี ความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก และสายตาประสานสัมพันธ์กนั ได้ดี (เยาวพา เดชะ คุปต์, 2528) ทฤษฎีพฒั นาการของกีเซล (Gesell.1940:17)ซึ่ งเป็ นนักจิตวิทยาพัฒนาการได้ กล่าวว่าความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อเล็กของเด็กสามารถแบ่งออกเป็ นระยะและมีข้ นั ตอน พัฒนาการ กล้ามเนื้อมัดเล็กนั้นมีความสาคัญแก่ชีวิตเพราะเป็ นรากฐานของบุคคลเมื่อ เจริ ญเติบโตเป็ นผูใ้ หญ่ พฤติกรรมของบุคคลจะมีอิทธิพลมาจากสภาพความพร้อมทางร่ างกาย ได้แก่ กล้ามเนื้อ กระดูก และประสาทต่างๆ สิ่ งแวดล้อมเป็ นส่ วนประกอบของการเปลี่ยนแปลง แบ่งพัฒนาการเด็กออกเป็ น 4ด้านดังนี้ 1. พฤติกรรมด้านการเคลื่อนไหว (Motor Behavior) เป็ นความสามารถของร่ างกายที่ บังคับอวัยวะต่างๆ ของร่ างกายและความสัมพันธ์ทางด้านการเคลื่อนไหวทั้งหมด 2. พฤติกรรมด้านการปรับตัว(Adaptive Behavior) เป็ นความสามารถในการ
ประสานงานระหว่างระบบการเคลื่อนไหวกับระบบความรู ้สึก(Motor Sensory Co-ordination) เช่น ประสานงานระหว่างตากับมือ (Eye-hand Co-ordination) ซึ่ งดูได้จากความสามารถในการ ใช้มือของเด็ก เช่น การตอบสนองต่อสิ่ งที่เป็ นลูกบาศก์ การสั่นกระดิ่ง การแกว่งกาไร ฉะนั้น พฤติกรรมด้านการปรับตัวจึงสัมพันธ์กบั พฤติกรรมด้านการเคลื่อนไหว 3. พฤติกรรมด้านภาษา (Language Behavior) ประกอบด้วย วิธีสื่อสารทุกชนิด เช่นการ แสดงออกทางหน้าตา ท่าทาง การเคลื่อนไหวท่าทางของร่ างกาย ความสามารถในการเปล่งเสี ยง และภาษาพูด การเข้าใจในการสื่ อสารกับผูอ้ ื่น 4. พฤติกรรมทางด้านนิสัยส่ วนตัวและสังคม (Personal – Social Behavior) เป็ นความสามารถในการปรับตัวของเด็กระหว่างบุคคลและบุคคลกับกลุ่มภายใต้ภาวะแวดล้อม และสภาพความเป็ นจริ งนับเป็ นการปรับตัวที่ตอ้ งอาศัยความเจริ ญของสมอง และระบบการ เคลื่อนไหวประกอบ จากทฤษฎีเกี่ยวกับความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กนั้น แสดงให้เห็นว่า เด็กจะมีพฒั นาการของความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กนั้น เริ่ มการเคลื่อนไหวอวัยวะ ในส่ วนต่างๆ แล้วจึงค่อยๆ มาเป็ นการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ซึ่ งเป็ นไปตามวุฒิภาวะและการ เรี ยนรู ้ของเด็ก พระราชดารัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั "ขอให้ทุกคนมีความปรารถนาที่จะให้เมืองไทยพออยูพ่ อกิน มีความสงบและทางานตั้ง อธิษฐานตั้งปณิ ธาน ในทางนี้ ที่จะให้เมืองไทยอยูแ่ บบพออยูพ่ อกิน ไม่ใช่ว่าจะรุ่ งเรื องอย่างยอด แต่ว่ามีความพออยูพ่ อกิน มีความ สงบ เปรี ยบเทียบ กับประเทศอื่น ๆ ถ้าเรารักษาความพออยูพ่ อ กินนี้ได้ เราก็จะยอดยิง่ ยวดได้ ฉะนั้น ถ้าท่าน ซึ่ งถือว่าเป็ นผูม้ ีความคิด และมีอิทธิพลมีพลังที่จะ ทาให้ผอู ้ ื่น ซึ่ งมีความคิดเหมือนกัน ช่วยกันรักษาส่ วนรวม ให้อยูด่ ีกินดีพอสมควร ขอย้าพอควร พออยูพ่ อกิน มีความสงบ ไม่ให้คนอื่นมาแย่งคุณสมบัติน้ ีจากเราไปได้ ก็จะเป็ นของขวัญวันเกิด ที่ถาวรที่จะมีคุณค่าอยู่ ตลอดกาล"
น้อมนาเอาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการดาเนินงานครั้งนี้
ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่นอ้ ยเกินไปและไม่มากเกิน โดยไม่ เบียดเบียนตนเองและผูอ้ ื่น เช่น การผลิตและการบริ โภคที่อยูใ่ นระดับพอประมาณ ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสิ นใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้อง เป็ นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น จากการกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ ความมีเหตุผล การมีภมู คิ ้ มุ กันทีดใี นตัว หมายถึง การเตรี ยมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการ เปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงือ่ นไขความรู้ ประกอบด้วย ความรู ้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้อง อย่างรอบ ด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู ้เหล่านั้นมาพิจารณา ให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการ วางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏิบตั ิ เงือ่ นไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริ มสร้าง ประกอบด้วยมีความตระหนัก ในคุณธรรม มี ความซื่ อสัตย์สุจริ ต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติ ปัญญาในการ ดาเนินชีวิต "ความพอเพียง" หมายถึง ความพอประมาณอย่างมีเหตุผล โดยสร้างภูมิ คุม้ กันในตัวที่ดี พอสมควร เพื่อที่จะรองรับการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ ว กว้างขวาง ทั้ง ทางด้านวัตถุ สังคม สิ่ งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็ นอย่างดี โดย อาศัยความรอบ รู ้ รอบคอบ และความระมัดระวังในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ วางแผนและดาเนินการ ทุกขั้นตอน ควบคู่ไปกับการสร้างพื้นฐานจิตใจของคนใน ชาติทุกระดับ ให้สานึกใน คุณธรรม ความซื่ อสัตย์สุจริ ต ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร ความมีสติปัญญา และ ความรอบคอบ มีเหตุผล
6. การดาเนินงาน / กระบวนการ / วิธีปฏิบัติ การพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กสาหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมสร้างสรรค์จากสิ่ งของ เหลือใช้เน้นความพอเพียง ใช้กระบวนการ PDCA ในการดาเนินงานดังนี้
= Plan
P
= Do
D
ข้อมูล ย้อนกลับ
= Check
C
A
= Action
มีการวางแผนการดาเนินงานจากวัตถุประสงค์ และเป้ าหมายในการ พัฒนาเด็กและการบริ หารจัดการชั้นเรี ยน ลงมือปฏิบตั ิงานตามแผนที่วางไว้ สร้างกิจกรรม เตรี ยมวัสดุอุปกรณ์ ดาเนินการทากิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ตรวจสอบผลการดาเนินงาน ผลงานนักเรี ยน ตรวจสอบสิ่ งที่ ต้องเปลี่ยนแปลงแก้ไข ประเมินพัฒนาการ จากการตรวจสอบแล้วนามาปรับปรุ ง แก้ไขผลงาน จนเกิดผลสาเร็ จ
7. แผนการดาเนินงาน / ระยะเวลาในการดาเนินงาน ดาเนินการจัดกิจกรรม ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2555-2556 ดาเนินการในช่วง ทากิจกรรมสร้างสรรค์ แผนการดาเนินงาน
ปี การศึกษา 2555-2556 มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย.
1. กาหนดเป้ าหมาย 2. ค้นคว้าหาข้อมูล 3. สร้างกิจกรรมพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก 4. ทดลองทากิจกรรม 5. ประเมินผล 6. วิเคราะห์และสรุ ปข้อมูล
8. ผลการปฏิบัติงาน จากการทาBP ในครั้งนี้ สรุ ปผลได้ดงั นี้ - เด็กปฐมวัยโรงเรี ยนบ้านหนองหญ้าปล้อง มีพฒั นาการกล้ามเนื้อมัดเล็กที่แข็งแรง เพิ่มขึ้น สามารถควบคุมกล้ามเนื้อได้ดีข้ ึน จากการประเมินผล คิดเป็ นร้อยละ 91.17% - เด็กปฐมวัยเกิดจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ในการสร้างผลงานตามความคิด ของตนเอง คิดเป็ นร้อยละ 92.64% - เด็กปฐมวัยได้เรี ยนรู ้และมีนิสัยรักความประหยัดและความพอเพียง คิดเป็ นร้อยละ 82.35%
จึงอาจกล่าวได้วา่ การพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กสาหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรม สร้างสรรค์จากสิ่ งของเหลือใช้เน้นความพอเพียง สามารถพัฒนาเด็กให้มีความ พร้อม ทั้ง 4 ด้าน ดังนี้ ด้านร่ างกาย เด็กได้พฒั นากล้ามเนื้อมัดเล็กให้มีความแข็งแรง การประสานสัมพันธ์ ระหว่างมือกับตาดีข้ ึน ทางานคล่องแคล่วขึ้น ด้านอารมณ์ จิตใจ ขณะที่เด็กทากิจกรรมสร้างสรรค์ สังเกตได้ว่าเด็กมีสมาธิดี เอาใจ ใส่ ต่องานที่ทาเป็ นเวลานานๆได้ มีความสุ ขในการทากิจกรรม ชื่นชมต่อผลงานของตนเองและ ผูอ้ ื่น ด้านสังคม เด็กมีปฏิสัมพันธ์กบั เพื่อนในกลุ่มและนอกกลุ่มดี มีการสนทนาโต้ตอบ และให้ความช่วยเหลือซึ่ งกันและกัน รู ้จกั การรอคอย ด้านสติปัญญา จากการทากิจกรรมต่างๆ เด็กได้ใช้จินตนาการของตนในการ สร้างสรรค์ผลงาน เกิดการเรี ยนรู ้การทางานอย่างเป็ นระบบเป็ นขั้นตอน การทากิจกรรมต่างๆ ทาให้เด็กเกิดพัฒนาการในทุกๆด้านที่ดีข้ ึน เห็นคุณค่าของ สิ่ งของเหลือใช้รู้จกั ความประหยัดและความพอเพียง เด็กจึงมีพฒั นาการที่เหมาะสมตามวัย 9. ปัจจัยทีท่ าให้ วธิ ีการประสบผลสาเร็จ 9.1 ผูบ้ ริ หารเป็ นผูม้ ีวิสัยทัศน์ มีความรู ้ความสามารถ และให้การสนับสนุนในการ ทางานของครู 9.2 คณะครู นักเรี ยนให้การสนับสนุนและร่ วมแรงร่ วมใจในการทางาน 9.3 ผูป้ กครองให้การร่ วมมือสนับสนุนในการจัดหาสื่ ออุปกรณ์เพื่อใช้ในการจัด กิจกรรม 9.4 เด็กปฐมวัยมีความสนใจและกระตือรื อร้นในการทางาน ทางานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้ 9.5 มีการประเมินพัฒนาการและปรับปรุ งผลการทางานเพื่อให้บรรลุเป้ าหมายอย่าง ต่อเนื่ อง
10. บทเรียนทีไ่ ด้ รับ 10.1 เด็กปฐมวัยได้รับประสบการณ์ตรง และมีพฒั นาการกล้ามเนื้อมัดเล็กที่แข็งแรงมาก ขึ้นกว่าเดิม 10.2 เด็กเกิดความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง และชื่นชมผลงานของตนเองและผูอ้ ื่น รวมถึงการทากิจกรรมร่ วมกับเพื่อนได้อย่างมีความสุ ข 10.3 จากการใช้วสั ดุสิ่งของเหลือใช้ ทาให้เด็กปฐมวัยเกิดการเรี ยนรู ้ในเรื่ องของความ พอเพียงตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รู ้จกั ประหยัด ประยุกต์ใช้สิ่งของให้เกิด ความคุม้ ค่า และเด็กจะเกิดลักษณะนิสัยที่มีความประหยัด 10.4 ครู สามารถพัฒนาเด็กปฐมวัยในทุกๆ ด้าน และประเมินพัฒนาการของเด็กได้จาก การทากิจกรรมสร้างสรรค์ 10.5 ผูป้ กครองเห็นความสาคัญในการพัฒนาเด็กปฐมวัย และได้ประเมินโดยการกรอก แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก สาหรับ เด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมสร้างสรรค์จากสิ่ งของเหลือใช้เน้นความพอเพียงคิดเป็ น ร้อยละ97.65% เด็กปฐมวัย
กิจกรรมสร้างสรรค์
ปั้นดินกระดาษ
ปลาขวดนา้
หน้ ากากวิเศษ
ผล กล้ามเนือ้ มัดเล็กแข็งแรง
ประหยัด พอเพียง
ภาคผนวก
ประวัติส่วนตัว
ชื่อ-สกุล
นางสาวอารี ย ์ หลักศิลา
สั ญชาติ
ไทย เชื้อชาติ
ไทย ศาสนา พุทธ
วัน เดือน ปี เกิด
24 มิถุนายน 2527
อายุ 29 ปี
ปัจจุบันอยู่บ้านเลขที่ 49/2 หมู่ 3 ตาบลท่ามะขาม อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี รหัสไปรษณี ย ์ 71000 โทรศัพท์ 089-2549214 วุฒกิ ารศึกษา
ปริ ญญาตรี วิชาเอกการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ กาญจนบุรี ปริ ญญาโท บริ หารการศึกษา มหาวิทยาลัยกรุ งเทพธนบุรี
รับราชการ
โรงเรี ยนบ้านหนองหญ้าปล้อง วันที่ 27 กรกฎาคม 2552
ลงชื่อ......................................เจ้าของประวัติ (นางสาวอารี ย ์ หลักศิลา) ตาแหน่ง ครู คศ.1
หนังสื อรับรอง เขียนที่ โรงเรี ยนบ้านหนองหญ้าปล้อง วันที่..16..เดือน.....พฤษภาคม... พ.ศ..2556 เรื่ อง หนังสือรับรองผลงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในมาตรฐานที่ 5 ข้าพเจ้า นางอัจฉรา รอดภัย ผูอ้ านวยการโรงเรี ยนบ้านหนองหญ้าปล้อง ขอรับรอง ครู ผสู ้ อน นางสาวอารี ย ์ หลักศิลา ครู คศ.1 โรงเรี ยนบ้านหนองหญ้าปล้อง ได้ผา่ นการประเมินตามมาตรฐาน การศึกษาเพือ่ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ในมาตรฐานที่ 5 ครู ปฏิบตั ิงานตามบทบาทหน้าที่อย่าง มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ตามตัวชี้วดั ดังนี้ 1. ครู เข้าใจปรัชญา หลักการและธรรมชาติของการจัดการศึกษาปฐมวัยและสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการ จัดประสบการณ์ ร้อยละ 100 ระดับ ดีเยีย่ ม 2. ครู จ ัด ท าแผนการจัด ประสบการณ์ ที่ ส อดคล้อ งกับ หลัก สู ต รการศึ ก ษาปฐมวัย และสามารถจัด ประสบการณ์การเรี ยนรู ้ที่หลากหลายสอดคล้องของความแตกต่างระหว่างบุคคล ร้อยละ 100 ระดับ ดีเยีย่ ม 3. ครู บริ หารจัดการชั้นเรี ยนที่สร้างวินยั เชิงบวก ร้อยละ 100 ระดับ ดีเยีย่ ม 4. ครู ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมสอดคล้องกับพัฒนาการ ของเด็ก ร้อยละ 100 ระดับ ดีเยีย่ ม 5. ครู ใช้เครื่ องมือการวัดและประเมินพัฒนาการของเด็กอย่างหลากหลายและสรุ ปรายงานผลพัฒนาการของ เด็กแก่ผปู ้ กครอง ร้อยละ 100 ระดับ ดีเยีย่ ม 6. ครู วจิ ยั และพัฒนาการจัดการเรี ยนรู ้ที่ตนรับผิดชอบและใช้ผล ในการจัดการจัดประสบการณ์ ร้อยละ 100 ระดับ ดีมาก 7. ครู จดั สิ่งแวดล้อมให้เกิดการเรี ยนรู ้ได้ตลอดเวลา ร้อยละ 100 ระดับ ดีเยีย่ ม 8. ครู มีปฏิสมั พันธ์ที่ดีกบั เด็กและผูป้ กครอง ร้อยละ 100 ระดับ ดีเยีย่ ม 9. ครู มีวฒ ุ ิและความรู ้ความสามารถในด้านการศึกษาปฐมวัย ร้อยละ 100 ระดับ ดีเยีย่ ม 10. ครู จดั ทาสารนิทศั น์และนามาไตร่ ตรองเพือ่ ใช้ประโยชน์ ในการพัฒนาเด็ก ร้อยละ 100 ระดับ ดีเยีย่ ม สรุ ปผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ 5 ได้ร้อยละ 100 มีคุณภาพ ระดับ ดีเยีย่ ม ลงชื่อ........................................... (นางอัจฉรา รอดภัย) ผูอ้ านวยการโรงเรี ยนบ้านหนองหญ้าปล้อง
บันทึกการเผยแพร่ ผลงาน
Best Practice
ของ นางสาวอารีย์ หลักศิลา ครู คศ.1 โรงเรียนบ้ านหนองหญ้ าปล้อง สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1
แบบบันทึกการสังเกตการพัฒนากล้ามเนือ้ มัดเล็กสาหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้ กจิ กรรม สร้ างสรรค์จากสิ่งของเหลือใช้ เน้ นความพอเพียง ชั้นอนุบาล
โรงเรียนบ้ านหนองหญ้ าปล้อง สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1
\
ขั้นตอนการทากิจกรรมสร้ างสรรค์ กิจกรรมการปั้นดินกระดาษ วัสดุอุปกรณ์ในการทาดินกระดาษ 1. กระดาษใช้แล้ว หรื อกระดาษหนังสือพิมพ์ 2. กาว 3. ดินสอพอง 4. แป้ งข้าวโพด (ทาให้เนื้อดินมีความเหนียวนุ่มมือ) 5. น้ ามันมะกอก (ทาให้ดินนุ่ม ไม่ติดมือเวลานวดหรื อปั้ น และมีกลิ่นหอม) 6. สีผสมอาหาร หรื อสีโปสเตอร์
วิธีการทาดินกระดาษ 1. ฉีกกระดาษแช่ในน้ า ทิ้งไว้ 1 คืน
2. เทน้ าเก่าทิง้ ใส่น้ าใหม่เพือ่ ล้างกลิ่น
3. นากระดาษมาปั่ นจนละเอียด
โอ้โห...ละเอียดแล้วคะ
4. บีบน้ าออกจากกระดาษให้มากที่สุด อุ๊ย! เละเป็นโจ๊กเลย
วิธีการผสมดินกระดาษ 1. นากระดาษ 1ส่วน 2. กาว 1 ส่วน 3. ดินสอพอง 1ส่วน 4. แป้ งข้าวโพด 1 ส่วน ผสมนวดให้เข้ากัน
5. หยดน้ ามันมะกอก ขยาจนเป็ นเนื้อเดียวกัน
6. ผสมสีโดยใช้สีผสมอาหาร สีต่างๆ
หลังจากได้ ดินกระดาษแล้ ว เด็กๆพากันปั้นอย่ างสนุกสนาน
โอ้โห! สนุกจังเลยคะ
คุณครู ชวนเด็กๆ ปั้นธงอาเซียน
กิจกรรมต่ อยอดจากการปั้นดินกระดาษ
ปั้นเป็ นรูปต่ างๆ แล้ วระบายสี
หลังจากปัน้ แล้ว ผึ่งจน แห้งพวกหนูกเ็ อามา ระบายสีคะ
ปั้นแล้ ว เอาที่แห้ งแล้ วมาพิมพ์ ภาพคะ ผลงานที่หนูปัน้ ยังเอา มาพิ มพ์ภาพได้ด้วยนะ คะ/ครับ
เอาผลงานปั้น มาร้ อยเชือกแทนลูกปัด บางชิ้ นที่พวกหนูปัน้ ก็เจาะรูไว้ ร้อยกับลูกปัดสวยไหมคะ
ผลงานของพวกหนูสวยไหมคะ
คุณครู จัดทาสื่ อการเรียนรู้ ให้ กับเด็กโดยใช้ ดนิ กระดาษ ทาเป็ นแม่ เหล็ก
กิจกรรมปลาสวยจากขวดนา้
วัสดุอปุ กรณ์ 1. ขวดน้ าเปล่า 2. กระดาษสีต่างๆ 3. กรรไกร 4. เส้นเอ็น 5. กระดาษสีขาว ดา (สาหรับติดตา) 6. กรรไกร 7. แม็คเย็บกระดาษ 8. ตระกร้าเล็กๆ พวกเราเอาขวดมาจาก ธนาคารขยะคะ
วิธีการทา 1. ล้างขวดให้สะอาด
2. 3. 4. 5.
บีบขวดน้ าส่วนตรงกลางจนถึงปลายขวด ใช้แม็คเย็บตรงกลลางขวดที่ถูกบีบ ใช้กรรไกรตัดเป็ นรู ปปลา ใช้มีดคัดเตอร์กรี ดจุกขวดน้ าออกให้เป็ นรู ปปากปลา ใช้กระดาษสีต่างๆ ฉีกปะที่ขวด และเติมตา
ขั้นตอนที่ตอ้ งใช้ของมีคม คุณครู ช่วยทาให้เด็กๆได้คะ
เมื่อตัดขวดเป็ นรู ปปลาเสร็จเรี ยบร้อยแล้ว ให้เด็กๆ ช่วยกันฉีกปะปลาให้สวยงามได้เลยคะ
และแล้วเด็กๆ ก็พยายามแปะปลาจนเสร็จ พร้อมจะเอาปลามาติดตากันคะ
จากกิจกรรมเด็กๆ ได้ปลาแล้ว คิดกันว่าจะทาอะไรต่อ สุดท้ายออกมาเป็ นโมบายปลาแสนสวย ที่แสนประหยัดด้วยคะ
ผลงานของหนูสวยไหมคะ
กิจกรรมหน้ ากากของฉัน วัสดุอุปกรณ์ 1. กระดาษใช้แล้ว
2. 3. 4. 5.
กาว หน้ากาก สีโปสเตอร์ ยางวง
วิธีการทา 1. ฉีกกระดาษแช่น้ าทิ้งไว้ 1 วัน
2. นากระดาษมาติดที่หน้ากากต้นแบบให้ทวั่ แล้วทากาว ทาแบบเดิมซ้ าประมาณ 3-4 รอบ 3. ทิ้งไว้ประมาณ 1 วัน เมื่อหน้ากากแห้งแล้ว ให้เด็กๆ ทาสีตามความชอบ 4. เจาะรู และร้อยยางวางข้างๆ หน้ากากเพือ่ เป็ นที่ยดึ เวลาสวมใส่หน้ากาก
เมื่อแห้ งแล้ วจึงค่อยๆ แกะออกจากแบบ
นามาระบายสี ตามใจชอบ
ในกิจกรรมเคลือ่ นไหว คุณครู ให้ นักเรียนใช้ หน้ ากากเป็ นอุปกรณ์ประกอบ เพิ่มความน่ าสนใจและทาให้ เด็กๆ สนุกสนาน
กิจกรรมต่ างๆ ที่เด็กๆ ได้ ทานั้น ในงานวิชาการหนองหญ้ าปล้องสั มพันธ์ Open House ได้ นามาเผยแพร่ ให้ กับผู้ปกครอง คณะครู โรงเรียนใกล้ เคียงและเด็กนักเรียนมาร่ วมชม ในงานนี้ด้วย
ทั้งเด็กๆ ผู้ปกครอง และคณะครู โรงเรียนใกล้ ๆ ต่ างให้ ความสนใจเข้ าร่ วมงาน
ได้ นาผลงาน Best Practice เผยแพร่ ในงานการแข่ งขันศิลปะหัตกรรมนักเรียนระดับเขต ณ โรงเรียนเทพศิรินทร์ ลาดหญ้าฯ เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2555