Best practice นางอุษณีย์ ศรีนวล

Page 1

1. ชื่อผลงาน Best Practice กลุ่มสาระการเรียนรู้..................กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน.............................................................................. ด้าน ( ) วิชาการ ( ) บริหารจัดการศึกษา () นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน 2. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา Best Practice 2.1 ชื่อผู้พัฒนา Best Practice ..........นางอุษณีย์ ศรีนวล..................................................... 2.2 โรงเรียน โรงเรียนบ้านพุประดู่ เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ระดับประถมศึกษา 2.3 โทรศัพท์ 081-1979569 E-mail : ausanee_pom@windowslive.com 3. เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา Best Practice - เพื่อพัฒนาทักษะทางนาฏศิลป์ - เพื่อให้นักเรียนตระหนัก เห็นคุณค่าและภาคภูมิใจในนาฏศิลป์ - เพื่อให้เกิดค่านิยมในการร่วมกันอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย - เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชานาฏศิลป์สูงขึ้น 4. ระยะเวลาในการพัฒนา Best Practice (ระบุช่วงเริ่มต้นการพัฒนา และระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา BP) ขั้นตอน วิธีการ ระยะเวลา ขั้นเริ่มต้น 1. ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา ความต้องการในการเรียนวิชานาฏศิลป์ 2 สัปดาห์ 2. สารวจความสนใจและรับสมัครนักเรียนชุมนุมนาฏศิลป์ 3. ศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา 1 สัปดาห์ 4. กาหนดแผนการเรียนรู้ตามหลักสูตร 2 สัปดาห์ 5. หาสื่อวีดีทัศน์นาฏยศัพท์และภาษาท่านาฏศิลป์มาให้นักเรียนศึกษา และ 2 สัปดาห์ ปฏิบัติท่าราเบื้องต้นและท่านาฏยศัพท์เบื้องต้น 1 เดือน ขั้นพัฒนา ฝึกปฏิบัติท่ารานาฏศิลป์ ราวงมาตรฐาน นาวิธีการมาใช้กับนักเรียน 1 ปีการศึกษา ขั้นหลังการ วิเคราะห์และสรุปผล 2 เดือน พัฒนา 1. ประเมินผลความรู้ความเข้าใจโดยการทดสอบภาคปฏิบัติและนานักเรียน ออกแสดงตามงานต่างๆ ส่งนักเรียนเข้าแข่งขันในงานศิลปหัตถกรรม 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนรู้สูงขึ้น 3. นักเรียนประสบผลสาเร็จในการแข่งขันทักษะทางวิชาการได้เป็นตัวแทน ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาไปแข่งขันในระดับสานักงานเขตพื้นที่ 5. ความเชื่อมโยง / สัมพันธ์ระหว่าง Best Practice กับเป้าหมาย / จุดเน้นของ สพป. / สพฐ. / สถานศึกษา การพัฒนาทักษะนาฏศิลป์ด้วยราวงมาตรฐาน ช่วยให้นักเรียนเข้าใจและศึกษาทบทวนด้วยตนเองได้ในเวลาว่าง โดยมี ค รู เ ป็ น ผู้ ส าธิ ต ท่ า ร าเป็ น ต้ น แบบที่ ถู ก ต้ อ งให้ เมื่ อ ฝึ ก ฝนบ่ อ ยๆเข้ า จะเกิ ด ทั ก ษะร าได้ อ ย่ า งสวยงาม การพั ฒ นาทั ก ษะนาฏศิ ลป์ จึ ง สั มพั น ธ์ กั บ เป้ า หมาย จุ ด เน้ น ของสพป. / สพฐ.และหลั ก สู ต รสถาน ศึ ก ษาที่ ว่ า กลุ่ ม สาระนี้ จ ะช่ ว ยพั ฒ นาให้ ผู้ เ รี ย นมี ค วามคิ ด ริ เ ริ่ ม สร้ า งสรรค์ มี จิ น ตนาการทางศิ ล ปะ ชื่ น ชมความงาม มีสุนทรียภาพความมีคุณค่าซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ รู้และเข้าใจความสัมพันธ์และประโยชน์ของนาฏศิลป์ และการละคร สามารถเปรียบเทียบการแสดงประเภทต่างๆของไทยในแต่ละท้องถิ่น และสิ่งที่การแสดงสะท้อน วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญา เห็นคุณค่าการรักษาและสืบทอดการแสดงนาฏศิลป์ไทย


2 6. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา Best Practice การพัฒนา ในการนาไปใช้ในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทัก ษะนาฏศิลป์นั้น ผู้สอนได้ใช้ทฤษฎีรูปแบบการเรียน การสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (โมเดลซิปปา : CIPPA Model) เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่ช่วยให้ผู้เรียน รู้จักการปฏิสัมพันธ์กับบุคคลและสิ่งแวดล้อมรอบตัว ผ่านกิจกรรมหลากหลายทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ควบคู่ ไปกับกระบวนการ จนเกิดความสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้การพัฒนารูปแบบนี้เกิดขึ้นจากประสบการณ์ ที่ได้ใช้แนวคิดทางการศึกษา นอกจากนั้น ครูต้องมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการหานวัตกรรมและวิธีใ หม่ ๆ ในการสอน จัดหาเวทีให้นั กเรียนได้แสดงออกเพื่อสร้ างประสบการณ์ให้แก่นักเรี ยน ตามธรรมชาติของวิช า นาฏศิลป์ ครูจะต้องเป็นแบบอย่างสาธิตท่าราให้นักเรียนดู เรียกว่าการสอนแบบอธิบายและสาธิตการสอน แบบให้นักเรียนปฏิบัติและฝึกด้วยตนเอง การสร้างเอกสารประกอบการเรียนการสอนพร้อมวีดีทัศน์ การหาสื่อ การเรียนการสอนวิชานาฏศิลป์ การสร้างค่านิยมให้รักและภูมิใจในนาฏศิลป์ไทย 7. กระบวนการพัฒนา Best Practice 7.1 กลุ่มเป้าหมายในการนา Best Practice ไปใช้ (ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจานวน กลุ่มเป้าหมาย) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ในชุมนุมนาฏศิลป์ โรงเรียนบ้านพุประดู่ จานวน 22 คน 7.2 ขั้นตอนการพัฒนา Best Practice (อาจระบุเป็นแผนภาพ/แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา) 1) ศึกษาวิเคราะห์เนื้อหาในหลักสูตร 2) กาหนดแผนการเรียนรู้ตามหลักสูตร 3) จัดการเรียนการสอนตามแบบซิปปาโมเดล 4) ฝึกปฏิบัติกับนักเรียนจนเกิดทักษะที่สวยงาม 5) ประเมินผลการเรียนโดยใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับวิธีการสอน 7.3 การตรวจสอบคุณภาพ Best Practice (ระบุวิธีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้) 1) ครูผู้สอนสร้างความตระหนักให้เกิดขึ้นแก่นักเรียนต้องทางานให้ตรงตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ 2) ผู้บริหารกากับติดตาม นิเทศ ส่งเสริมสนับสนุนให้ขวัญและกาลังใจในการทางาน 3) ประยุกต์ความรู้ให้ใช้ได้ทุกสถานการณ์เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิดสร้างสรรค์อยู่เสมอและ สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ 4) มีการประเมินผลการเรียนโดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรียนของนักเรียนและ ผู้ปกครอง ผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้ 1) นักเรียนปฏิบัติท่าราราวงมาตรฐานได้อย่างถูกต้องสวยงาม 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในวิชานาฏศิลป์สูงขึ้น 7.4 แนวทางการนา Best Practice ไปใช้ประโยชน์ ใช้ในการพัฒนาทักษะนาฏศิลป์และปลูกฝังให้เกิดความรักภาคภูมิใจในนาฏศิลป์ไทย 8. ผลสาเร็จที่เกิดจากการพัฒนา Best Practice (เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ BP) 8.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 80 ปฏิบัติได้ถูกต้องสวยงาม 8.2 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนปฏิบัติทักษะนาฏศิลป์ได้ถูกต้องครบถ้วน และสามารถสรุปองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง 8.3 ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ Best Practice


3 นักเรียนร้อยละ 80 มีความพึงพอใจในระดับมาก – มากที่สุด 8.4 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา Best Practice / ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา Best Practice ไปใช้ นักเรียนเกิดความพึงพอใจในการที่จะรับการพัฒนา ผู้บริหาร คณะครูให้ความร่วมมือในการทางานและ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ เพื่อนช่วยเพื่อนและพี่ช่วยน้องช่วยให้นักเรียน เรียนรู้ได้เร็วและดีขึ้น สามารถทบทวนศึกษาบทเรียนด้วยตัวเองได้ 9. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง Best Practice ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง 9.1 วิธีการตรวจสอบซ้า Best Practice ตรวจสอบปัญหาเพื่อหาสาเหตุข้อบกพร่องแต่ละขั้นตอนแล้วนามาปรับปรุงแก้ไข ได้แก่การพัฒนาสือ่ การ เรียนการสอนทักษะนาฏศิลป์ให้มีรูปแบบใหม่ๆเสมอ น่าสนใจ เหมาะสมกับวัยของผู้เรียนแล้วดาเนินการซ้า 9.2 ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง Best Practice นักเรียนสามารถพัฒนาการใช้ทักษะนาฏศิลป์ในการเรียนรู้ได้ดีขึ้น 10. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ Best Practice และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง (ระบุวัน เวลา และรูปแบบ/วิธีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล) ส่ ง เสริ ม นั ก เรี ย นออกแสดงใน งานขึ้ น บ้ า นใหม่ ข องคณะกรรมการสถานศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน (นายประดิษฐ์ ลาไย) แสดงต้อนรับคณะกรรมการติดตามการดาเนินงานตามนโยบายสานักงานคณะกรรมการ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน แสดงในงานกิ จ กรรมวั น ส าคั ญ ต่ า ง ๆ ขององค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบลหนองบั ว งานแจกประกาศนี ย บั ต รนั ก เรี ย น(บั ณ ฑิ ต น้ อ ย) แสดงในงานกิ จ กรรมต่ า ง ๆ ของโรงเรี ย น เพื่ อ เผยแพร่ ให้ประชาชนได้ชม ส่งเข้าประกวดทักษะงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต 1 ครั้งที่ 61 ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง ส่งเข้าประกวดทักษะงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ครั้งที่ 62 ได้รับรางวัลเหรียญเงิน และได้เผยแพร่ ผลงานให้แก่ครู คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้ปกครอง ดังนี้ 1. ประชาสัมพันธ์ในที่ประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน(ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 5) 2. ประชาสัมพันธ์ในที่ประชุมผู้ปกครองนักเรียนของโรงเรียน 3. วารสารประดู่สัมพันธ์ 4. จัดนิทรรศการมีชีวิตในงานนิทรรศการวิชาการ ปีการศึกษา 2555 หมายเหตุ 1. อาจมีภาพถ่าย เอกสาร หลักฐาน หรือผลงานประกอบ 2. กรุณาส่งทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ poopiyanard@gmail.com


4

ภาพกิจกรรม


5


6 CIPPA MODEL รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง : โมเดลซิปปา (Cippa Model) หรือรูปแบบ การประสานห้าแนวคิด ได้พัฒนาขึ้นโดย ทิศนา แขมมณี รองศาสตราจารย์ประจาคณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ซึ่งได้พฒ ั นารูปแบบจากประสบการณ์ในการสอนมากว่า 30 ปี และพบว่าแนวคิดจานวนหนึ่ง สามารถใช้ได้ผลดีตลอดมา จึงได้นาแนวคิดเหล่านั้นมาประสานกันเกิดเป็นแบบแผนขึ้น แนวคิดดังกล่าวได้แก่ แนวคิดการสร้างความรู้ แนวคิดกระบวนการกลุม่ และการเรียนรู้แบบร่วมมือ แนวคิดเกี่ยวกับความพร้อมในการ เรียนรู้ แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้และแนวคิดเกี่ยวกับการถ่ายโอนความรู้ เมื่อนาแนวคิดดังกล่าวมา จัดการเรียนการสอนพบว่าสามารถพัฒนาผู้เรียนได้ครบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย อารมณ์ สติปัญญาและ สังคม โดยหลักการของโมเดลซิปปา ได้ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ในตัวหลักการคือการ ช่วยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ ช่วยให้ผู้เรียนมีบทบาทและมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ให้ มากที่สุด มีปฏิสัมพันธ์ต่อกันและได้เรียนรู้จากกันและกัน มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ ความคิดเห็นและ ประสบการณ์ ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการต่าง ๆ ร่วมกับการผลิตผลงานซึ่งมีความคิดสร้างสรรค์ที่หลากหลาย และสามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ให้นักเรียนเป็นผู้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองตาม แนวคิด Constructivism (ทิศนา แขมมณี, 2542 ) ความหมายของ CIPPA C มาจากคาว่า Construct หมายถึง การสร้างความรู้ตามแนวคิด ของ Constructiviism กล่าวคือ เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ ช่วยให้ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยตนเอง ทาความ เข้าใจ เกิดการเรียนรู้ที่มีความหมายแก่ตนเอง และค้นพบความรู้ด้วยตนเอง เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ทางสติปัญญา I มาจากคาว่า Interaction หมายถึง การช่วยให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นและ สิ่งแวดล้อม กิจกรรมการเรียนรู้ที่ดีจะต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคล และแหล่งความรู้ที่ หลากหลาย ได้รู้จักกันและกัน ได้แลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ ความคิดประสบการณ์ แก่กันและกันให้มากที่สุด เท่าที่จะมากได้ ช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนทางสังคม P มาจากคาว่า Physical Participation หมายถึง การช่วยให้ผู้เรียนมีบทบาท มีส่วนร่วม ทางด้านร่างกาย ให้ผู้เรียนมีโอกาสเคลื่อนไหวร่างกาย โดยการทากิจกรรมในลักษณะต่างๆ ช่วยให้ผู้เรียนมีส่วน ร่วมทางด้านร่างกาย P มาจากคาว่า Process Learning หมายถึง การเรียนรู้ กระบวนการ ต่างๆ ของกิจกรรม การเรียนรู้ที่ดี ควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการต่างๆ ซึ่งเป็นทักษะที่จาเป็นต่อการ ดารงชีวิต A มาจากคาว่า Application การนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนได้รับ ประโยชน์จากการเรียน เป็นการช่วยผู้เรียนนาความรู้ไปใช้ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งในสังคม และ ชีวิตประจาวัน ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เพิ่มเติมขึ้นเรื่อยๆจากแนวคิดในการจัดการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของทิศนา แขมมณี (2542) หรือเรียกอีกอย่างหนึง่ ว่า หลักของโมเดลซิป ปา (CIPPA MODEL) ซึ่งได้รูปแบบการเรียนการสอนซึ่งสามารถประยุกต์ใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนมี ขั้นตอนสาคัญดังนี้ 1.ขั้นทบทวนความรู้เดิม ขั้นนี้เป็นการดึงความรู้ของผู้เรียนในเรื่องที่เรียนเพื่อช่วยให้ผู้เรียนมี ความพร้อมในการเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิมของตน


7 2. ขั้นแสวงหาความรู้ใหม่ ขั้นนี้เป็นการแสวงหาข้อมูล ความรู้ใหม่ที่ผู้เรียนยังไม่มีจาก แหล่งข้อมูลหรือแหล่งความรู้ต่างๆ ซี่งครูอาจเตรียมมาให้ผู้เรียนหรือให้คาแนะนาเกี่ยวกับแหล่งข้อมูล ต่างๆ เพือ่ ให้ผู้เรียนไปแสวงหาก็ได้ 3. ขั้นการศึกษาทาความเข้าใจข้อมูล/ความรู้ใหม่ และเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม ขั้นนี้ เป็นขั้นที่ผู้เรียนเผชิญปัญหา และทาความเข้าใจกับข้อมูล ผู้เรียนจะต้องสร้างความหมายของ ข้อมูล ประสบการณ์ใหม่ๆ โดยใช้กระบวนการต่างๆ ด้วยตนเอง เช่นใช้กระบวนการคิด และกระบวนการกลุ่ม ในการอภิปรายและสรุปผลความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลนั้น ซึ่งอาจจาเป็นต้องอาศัยการเชื่อมโยงความรู้เดิม มีการ ตรวจสอบความเข้าใจต่อตนเองหรือกลุ่ม โดยครูใช้สื่อและย้ามโนมติในการเรียนรู้ 4. ขั้นการแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม ขั้นนี้เป็นขั้นที่ผู้เรียนอาศัยกลุ่มเป็นเครื่องมือ ใน การตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของตนเอง รวมทั้งขยายความรู้ความเข้าใจของตนให้กว้างขึ้น ซึ่งจะช่วยให้ ผู้เรียนได้แบ่งปันความรู้ความเข้าใจของตนเองแก่ผู้อื่นและได้รับประโยชน์จากความรู้ ความเข้าใจของผู้อื่นไป พร้อมๆกัน 5. ขั้นการสรุปและจัดระเบียบความรู้ ขั้นนี้เป็นขั้นของการสรุปความรู้ที่ได้รับทั้งหมด ทั้งความรู้ เดิมและความรู้ใหม่ และจัดสิ่งที่เรียนรู้ให้เป็นระบบระเบียบ เพื่อช่วยให้จดจาสิ่งที่เรียนรู้ได้ง่าย 6. ขั้นการแสดงผลงาน ขั้นนี้เป็นขั้นที่ช่วยให้ผู้เรียนได้มีโอกาสได้แสดงผลงานการสร้างความรู้ของ ตนเองให้ผู้อื่นรับรู้ เป็นการช่วยให้ผู้เรียนตอกย้า หรือตรวจสอบ เพื่อช่วยให้จดจาสิ่งที่เรียนรู้ได้ง่าย 7. ขั้นประยุกต์ใช้ความรู้ ขั้นนี้เป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนการนาความรู้ ความเข้าใจของ ตนเองไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆที่หลากหลายเพื่อเพิ่มความชานาญ ความเข้าใจ ความสามารถในการแก้ปัญหา และความจาในเรื่องนั้น ๆ ……………………………………… เอกสารอ้างอิง ทิศนา แขมมณี. (2542). ศาสตร์การสอน. กรุงเทพ ฯ : ไทยวัฒนาพาณิช.


8 การจัดการเรียนการการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางนั้นก็คือ การจัด กิจกรรมการเรียนการสอนที่ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมนั้นทั้งทางร่างกาย สติปัญญา สังคมและอารมณ์ แผนภาพแสดงแนวการดาเนินการของครูผู้สอนในการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสาคัญที่สุด 1. ขั้นเตรียมการ ……………………………………………………………………... 1.1 เตรียมตนเอง 1.2 เตรียมแหล่งข้อมูล 1.3 จัดทาแผนการสอน - เตรียมกิจกรรม - เตรียมวัสดุอุปกรณ์ - เตรียมการวัดผลและประเมินผล

2. ขั้นดาเนินการ ………………………………………………………………………………………. จัดกิจกรรมการเรียนโดยให้ผู้เรียน 1. สร้าง ค้นพบความรู้ด้วยตนเอง (C = Construct) 2. มีปฏิสัมพันธ์กับแหล่งความรู้หลากหลาย (I = Interaction) 3. มีกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายอย่างเหมาะสมกับวัยและความสนใจ (P = Physical Participation) 4. ได้เรียนรู้กระบวนการต่าง ๆ (P = Process Learning) 5. นาความรู้ไปประยุกต์ใช้ (A = Application)

3. ขั้นประเมินผล ……………………………………………………………………... วัดและประเมินผลตามสภาพจริง 1. วิธีการที่หลาหลาย 2. จากการปฏิบัติ 3. จากแฟ้มสะสมงาน


9


10


11

เกียรติบัตร


12


13


14


15


16


17


18


19


20


21


22


23


24


25


26


27


28


29


30


31


32


33


34


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.