สิ่ งทีส่ ่ งมาด้ วย ๕. แบบฟอร์ ม Best Practice ๑. ชื่อผลงาน BP การใช้ รูปแบบการบริ หารแบบ ๕ D เพือ่ พัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กสู่ มาตรฐาน ด้ าน ( )วิชาการ ( )บริหารจัดการศึกษา ( )นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพือ่ การเรียนการสอน ๒. ข้ อมูลทัว่ ไปของผู้พฒ ั นา BP ๒.๑ ชื่ อผู้พฒ ั นา BP นางจิตติมา เสมอตระกูล ๒.๒ โรงเรียนบ้ านช่ องกระทิง เครือข่ าย วังด้ ง - ช่ องสะเดา ๒.๓ โทรศัพท์ ๐๘๙-๘๓๐๒๑๙๒ e-mail: jittima6929@gmail.com ๓. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ ของการพัฒนา BP ๓.๑ เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรี ยนบ้านช่องกระทิง ๓.๒ เพื่อพัฒนาโรงเรี ยนบ้านช่องกระทิงเป็ นโรงเรี ยนขนาดเล็กที่ได้มาตรฐาน ๔. ระยะเวลาในการพัฒนา BP (ระบุช่วงเริ่ มต้นการพัฒนา และระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา BP) ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๔ – ๓๐ สิ งหาคม ๒๕๕๖ รวมระยะเวลา ๒ ปี ๓ เดือน ๑๔ วัน ๕. ความเชื่อมโยง/สั มพันธ์ ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้ นของ สพป./สพม./สพฐ./สถานศึกษา สิ่ งที่จะทาให้โรงเรี ยนขนาดเล็กที่อยูใ่ นสภาวะข้อจากัดด้านต่างๆให้สามารถยกระดับความสามารถของโรงเรี ยน สู่ ความเป็ นเลิศได้น้ นั จาเป็ นต้องอาศัยกรอบแนวคิด/ทฤษฎีในหลายด้านมาปรับและประยุกต์ใช้ การบริ หารงาน แบบ ๕ D ถูกพัฒนามากจาก ๔ D เหตุเนื่ องมาจาก การพัฒนาโรงเรี ยนขนาดเล็กนั้น ต้อง มุ่งเน้นความคิดสร้างสรรค์ เหนือความคาดหมายยกระดับความสาเร็ จการเจริ ญเติบโตและความก้าวหน้าขององค์การแบบก้าวกระโดด (Dramatic Improvement) โดยเน้นการใช้ความคิดใหม่ๆ ดังนั้นต้องอาศัยวิธีการที่พยายามไม่ให้เหมือนใคร ไม่ให้ ใครเหมือน แปลกแหวกแนว ไม่มีใครคาดคิด ดังนั้นความสัมพันธ์ ระหว่าง BP กับ จุดเน้นของ สพป./สพฐ. ดังนี้คือ จุดเน้นที่ ๑ นักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้หลักเพิ่มขึ้น โดยผลการทดสอบ ระดับชาติ (O-Net)เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 3 (Student Achievement) จุดเน้นที่ ๒เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการเตรี ยมความพร้อมด้านร่ างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ตาม หลักสู ตรการศึกษาปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ (EQ :Emotion Quotient) จุดเน้นที่ ๓ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ทุกคนอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็ น และนักเรี ยนชั้นประถม ศึกษาปี ที่ ๖ ทุกคนอ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง และมีทกั ษะการคิดขั้นพื้นฐาน (Literacy, Numeracy & Reasoning Abilities) จุดเน้นที่ ๔ นักเรี ยนทุกคนมีความสานึกในความเป็ นไทยมีจิตสาธารณะและอยูอ่ ย่างพอเพียง (Sufficiency & Public Mind)
จุดเน้นที่ ๕ นักเรี ยนที่มีความสามารถด้านคณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศิลปศาสตร์ทุกคน ได้รับการส่ งเสริ มให้มีความเป็ นเลิศ (Excel to Excellence)
สพฐ. มีจุดเน้น ๑๐ จุด แต่ที่ยกมาเพียง ๕ จุดเน้น ก้อแสดงให้เห็นว่า ทั้ง ๕ จุดเน้นเป็ นความคาดหวังและ ต้องการให้เกิดขึ้นกับโรงเรี ยนและนักเรี ยน นัน่ เอง ซึ่ งวิธีที่จะทาให้จุดเน้นทั้งหมดนี้ ประสบความสาเร็ จ ทาง โรงเรี ยนบ้านช่องกระทิง จึงใช้ Best Practice การใช้รูปแบบการบริ หารแบบ ๕ D เพื่อพัฒนาโรงเรี ยนขนาดเล็กสู่ มาตรฐานสากล ๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ ในการพัฒนา BP การบริ หารจัดการศึกษาแนวใหม่ กล่าวโดยสรุ ปคือ 1) สร้างจุดเด่น 2) เน้นเครื อข่าย 3) ใช้ ICT 4)มีแหล่งเรี ยนรู ้ 5) บูรณาการ 6) ประสานสิ บทิศ7) คิดนอกกรอบ ธนสาร บัลลังก์ปัทมา (2552, หน้า 56) ได้กล่าวไว้วา่ การบริ หารจัดการโรงเรี ยนขนาดเล็กนับว่าเป็ น ประเด็นที่น่าสนใจในปั จจุบนั ทั้งนี้เพราะจากการประเมินภายนอกของ สมศ. จะพบว่าโรงเรี ยนขนาดเล็ก จานวนมาก ยังไม่ผา่ นการประเมินมาตรฐาน ทั้งนี้ เพราะโรงเรี ยนขนาดเล็กได้รับงบประมาณน้อย ขาดแคลน อัตรากาลัง และบางครั้งกลายเป็ นโรงเรี ยนฝึ กการบริ หารของผูบ้ ริ หารมือใหม่ป้ายแดง หลักและทฤษฎีที่จะนามาบริ หารจัดการกับสถานศึกษาใดๆ นั้นก็ข้ ึนอยูก่ บั ปั จจัยความต้องการพื้นฐาน ตามที่มาสโลว์ แบ่งความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ออกเป็ น 5 ระดับด้วยกัน ได้แก่ ๑. ความต้องการทางกายภาพ (Physiological Needs) หมายถึงความต้องการพื้นฐานของร่ างกายซึ่ งจาเป็ นในการ ดารงชีวิต ได้แก่ความต้องการอาหาร น้ า อากาศ เสื้ อผ้า ๒.ความต้องการความปลอดภัย (Safety Needs) หมายถึง ความต้องการมัน่ คงปลอดภัยด้านร่ างกายและจิตใจ ๓. ความต้องการทางสังคม (Social Needs) หมายถึง ความต้องการที่จะเป็ นที่รักของผูอ้ ื่น และต้องการมี สัมพันธภาพที่ดีกบั บุคคลอื่น ๔. ความต้องการยกย่องชื่อเสี ยง (Esteem Needs) หมาย ถึง ความปรารถนาที่จะมองตนเองว่ามีคุณค่าสู ง เป็ นที่ น่าเคารพยกย่องจากทั้งตนเองและผูอ้ ื่น ต้องการที่จะให้ผอู ้ ื่นเห็นตนมีความสามารถ มีคุณค่า มีเกียรติ มีตาแหน่ง ฐานะ บุคคลที่มีความต้องการประเภทนี้จะเป็ นผูท้ ี่มีความมัน่ ใจในตนเอง ๕. ความต้องการที่จะรู้จกั ตนเองตามสภาพที่แท้จริ งและความสาเร็ จของชีวติ (Self–ActualizationNeeds) หมายถึง ความต้องการที่จะรู้จกั และเข้าใจตนเองตามสภาพที่แท้จริ งเพื่อพัฒนาชีวติ ของตนเองให้สมบูรณ์( Selffulfillment) รู ้จกั ค่านิยม ดังนั้นในการในการบริ หารจัดการจะต้องยึดหลักของ Henry Fayol : บิดาทฤษฎีการบริ หารจัดการสมัยใหม่เชื่อ ว่าการบริ หารนั้นเป็ นเรื่ องของทักษะและเขาสนใจที่จะศึกษาองค์การโดยรวมและมุ่งเน้นที่กิจกรรมการจัดการ (Managerial activities) ซึ่ งประกอบด้วยกิจกรรมห้าอย่างคือ 1. การวางแผน(Planning) 2. การจัดองค์การ(Organizing) 3. การบังคับบัญชา หรื อการสัง่ การ (Commanding) 4. การประสานงาน (Coordinating) 5. การควบคุม (Controlling)
มาช่วยในการตอบสนองความต้องการพื้นฐานทั้ง 5 ระดับของมาสโลว์ ในส่ วนของรู ปแบบในการจัดการ บริ หารสามารถจัดได้หลายรู ปแบบตามปั จจัยพื้นฐานตามแต่สถานศึกษานั้นๆ พึงมี รู ปแบบการบริ หารแบบ ๕D คือ ๑. Decentralization หมายถึง การกระจายอานาจในการบริ หารไปสู่ บุคลากรหลัก เพื่อการดาเนิ นงานตาม ขอบข่ายงานที่ได้รับมอบหมายตามหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) จนเกิดเป็ นทีมงาน(Team) ที่มีความ เข้าอกเข้าใจซึ่ งกันและกัน สามารถทางานร่ วมกันได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ๒. Development หมายถึง การพัฒนาทีมงานด้วยกระบวนการและเครื่ องมือต่าง ๆ ได้แก่ สื่ อเทคโนโลยี ICT การอบรมสัมมนา ศึกษาดูงาน กระบวนการบริ หารจัดการความรู้ (Knowledge Management :KM) เพื่อให้เป็ น ทีมงานที่มีคุณภาพและประสิ ทธิสูงในการปฏิบตั ิงานที่ได้รับมอบหมาย และบรรลุเป้ าหมายของงานได้ ๓. Do หมายถึง การปฏิบตั ิอย่างมีส่วนร่ วมด้วยกระบวนการตามวงจรของ Deming (P – D – C – A) คือ ร่ วม วางแผนการดาเนิ นงาน ลงมือปฏิบตั ิตามแผน ตรวจสอบติดตามผลการดาเนิ นงานเป็ นระยะอย่างต่อเนื่อง นาผล การตรวจสอบมาปรับปรุ งพัฒนาให้มีประสิ ทธิ มากยิง่ ขึ้น ๔. Dramatic Improvement หมายถึง การมุง่ เน้นความคิดสร้างสรรค์เหนือความคาดหมาย ยกระดับ ความสาเร็ จการเจริ ญเติบโตและ ความก้าวหน้าขององค์การแบบก้าวกระโดด โดยเน้นการใช้นวัตกรรม (Innovation) หรื อความคิดใหม่ๆ ดังนั้น กระบวนการจึงมักจะต้องอาศัยวิธีการที่พยายามไม่ให้เหมือนใคร ไม่ให้ใครเหมือน แปลกแหวกแนว ไม่มีใครคาดคิด ๕. Direction หมายถึง การติดตาม การนิ เทศ ดูแลช่วยเหลือบุคลากรเมื่อประสบปั ญหาในการปฏิบตั ิงานตามที่ ได้รับมอบหมาย ด้วยกระบวนการนิ เทศอย่างกัลยาณมิตร พร้อมทั้งประเมินผลการดาเนินงานตามที่ได้รับจาก การรายงาน และจัดทาเป็ นรายงานผลการดาเนิ นงานเผยแพร่ ทางสื่ อต่าง ๆ
๗. กระบวนการพัฒนา BP ๗.๑ กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ (ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจานวนกลุ่มเป้ าหมาย) กลุ่มเป้ าหมาย ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา นักเรี ยน โรงเรี ยนบ้านช่องกระทิง จานวน ๕๐ คน
รู ปแบบโมเดล ทีพ่ ฒ ั นาไปสู่ Best Practice การใช้ รูปแบบการบริ หารแบบ ๕ D เพือ่ พัฒนาโรงเรี ยนขนาดเล็กสู่ มาตรฐาน
๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา BP (อาจระบุเป็ นแผนภาพ/แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา) GOOD GOVERNANCE & SBM
D1 D5 D4
KM. – ICT & Supervision
D2
5D
D3
๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ BP(ระบุวธิ ีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้) ๑. การกระจายอานาจ (Decentralization : D1) มอบอานาจให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชาปฏิบตั ิหน้าที่ ตามภาระงาน เป็ นการกระจายอานาจตามลาดับความรับผิดชอบไปสู่ บุคลากรเป้ าหมาย โดยอาศัยหลักธรรมาภิบาล (Good governance) ได้แก่ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่ งใส หลักการมีส่วนร่ วม หลักความรับผิดชอบหลัก ความคุม้ ค่า และหลักการของการใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน (School Base Management : SBM) ซึ่งผลผลิตที่ได้รับคือ ได้ ทีมงาน (Team) ที่มีหลักในการรักษาความคงทนของทีม คือ T : Trust คือ ความไว้วางใจซึ่ งกันและกันในการ ปฏิบตั ิงาน E : Empathy คือ ความเข้าอกเข้าใจซึ่งกันและกัน A : Agreement คือ มีขอ้ ตกลงร่ วมกัน M : Mutual Benefit คือ ผลประโยชน์รับร่ วมกันหรื อมีความรับผิดชอบร่ วมกัน ๒. การพัฒนา (Development : D2) พัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการดาเนินกิจกรรมตามแผนที่ กาหนดไว้ให้แก่คณะกรรมการแต่ละชุดด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การสัมมนา การศึกษาดูงาน โดยอาศัย หลักการและกระบวนการการจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM.) 7 ขั้นตอน ได้แก่ ๒.๑ การบ่งชี้ความรู ้ คือ การวิเคราะห์ความรู ้ที่มีอยูใ่ นตัวบุคลากรของโรงเรี ยนว่า ต้องการรู ้อะไร ไม่รู้ อะไร รู้อะไรบ้างแล้ว แล้วนามาจาแนกออกเป็ นกลุ่มส่ งเสริ ม และกลุ่มพัฒนา ๒.๒ การสร้างและแสวงหาความรู ้ คือ การที่แสวงความรู ้จากแหล่งต่างๆ ทั้งที่เป็ นทรัพยากรบุคคล และ เอกสารความรู้ที่บุคลากรของโรงเรี ยนต้องการรู้ อยากเรี ยนรู้ ๒.๓. การประมวลและกลัน่ กรองความรู ้ คือ การนาความรู ้ที่แสวงหามานั้นกลัน่ กรองเลือกสรรความรู ้ที่ ทันสมัยไม่เก่าเกินไป และสามารถนามาเรี ยนรู ้ได้จริ งมีแหล่งอ้างอิงที่เชื่อถือได้ ๒.๔ การจัดหมวดหมู่ความรู ้ คือ การนาความรู ้ที่ประมวลกลัน่ กรองแล้วมาจัดเป็ นหมวดหมู่เพื่อสะดวก ต่อการค้นคว้าของบุคลกร ๒.๕. การเข้าถึงความรู ้ คือ การประชาสัมพันธ์ถึงแหล่งเรี ยนรู ้ที่จดั เก็บเข้าหมวดหมู่แล้ว หรื อบอกแหล่งที่ จะศึกษาค้นคว้าให้สามารถเข้าศึกษาได้ง่ายและรวดเร็ ว เช่น การใช้อินเตอร์ เน็ต ระบบ ICT หรื อศูนย์วทิ ยาการ และ ห้องสมุด เป็ นต้น ๒.๖. การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ คือ การจัดเวทีให้บุคลากรได้มีโอกาสพูดคุยถึงเรื่ องที่ได้เรี ยนรู้ซ่ ึงเป็ นการ แลกเปลี่ยนความรู ้ และเรี ยนรู ้ไปด้วยกัน เพื่อเป็ นข้อมูลในการดาเนินงาน ๒.๗. การเรี ยนรู ้ คือ การลงมือปฏิบตั ิตามโครงการหรื อกิจกรรมที่ตนเองและคณะรับผิดชอบบนพื้นฐาน ของความรู้ที่ได้รับ การพัฒนาบุคลากรนี้ ให้เป็ นไปตามความต้องการของบุคลากร และที่สาคัญต้องมีการพัฒนาสื่ อเทคโนโลยี ด้าน ICT ให้มีสมรรถนะที่สามารถเป็ นเครื่ องมือสาหรับบุคลากรในการสื บค้นข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาระงาน ที่ปฏิบตั ิ ซึ่งฝ่ ายบริ หารต้องจัดให้มีและนับว่าเป็ นสิ่ งจาเป็ นอย่างยิง่ ในการส่ งเสริ มสนับสนุนให้มีการพัฒนาบุคลากร จนมีความรู ้ความสามารถในการที่จะนาไปพัฒนาภาระงานของตนตลอดจนทีมงานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ผลผลิต ที่ได้ คือ ทีมงานที่มีคุณภาพสู ง (High Quality Team)
๓. การปฏิบตั ิ (Do : D3) เป็ นการที่ทีมงานในแต่ละทีมลงมือปฏิบตั ิตามโครงการหรื อกิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย โดยจะต้องอาศัยหลักการปฏิบตั ิเชิงคุณภาพตามวงจรคุณภาพของเดมมิ่ง (Deming Circle : PDCA) กระบวนการที่ สาคัญคือกระบวนการวางแผน (P : Plan) ๔. ความคิดสร้างสรรค์เหนือความคาดหมาย (Dramatic Improvement : D4) ยกระดับความสาเร็ จการเจริ ญเติบโต และความก้าวหน้าขององค์การแบบก้าวกระโดด โดยเน้นการใช้นวัตกรรม (Innovation) สิ่ งประดิษฐ์หรื อความคิด ใหม่ ๆ ดังนั้น กลยุทธ์จึงมักจะต้องอาศัยวิธีการที่พยายามไม่ให้เหมือนใคร ไม่ให้ใครเหมือน แปลกแหวกแนว ไม่มีใครคาดคิด ๕. การกากับติดตาม (Direction : D5) ประเมินเพื่อการปรับปรุ งและพัฒนาให้ภาระงานที่ทีมงานดาเนิ นการอยูม่ ี ประสิ ทธิ ภาพ และเกิดประสิ ทธิ ผลสู งสุ ดโดยอาศัยหลักการและกระบวนการของ ระบบวงจรคุณภาพ P-D-C-A (Deming Circle) กระบวนการนิเทศ (Supervision) โดยใช้หลักการการนิเทศแบบกัลยาณมิตร รู ปแบบการบริ หารแบบ ๕ D นี้สามารถนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ได้อย่างหลากหลาย เช่น กิจกรรม ส่ งเสริ มงานวิชาการ กิจกรรมเสริ มหลักสู ตรต่าง ๆ กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน การพัฒนาสิ่ งแวดล้อมภายในโรงเรี ยน ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน เป็ นต้น จากการประเมินโดยผูป้ กครองมีความพึงพอใจ ในระดับมาก เนื่องจาก โรงเรี ยน และนักเรี ยน มีการพัฒนาทุกด้านอย่างต่อเนื่ อง นักเรี ยนเรี ยนอย่างมีความสุ ข ๗.๔ แนวทางการนา BP ไปใช้ ประโยชน์ สาหรับโรงเรี ยนขนาดเล็ก ๕D เป็ นแนวทางที่จะสามารถนาไปสู่ การพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ ได้ มาตรฐาน ไม่แพ้โรงเรี ยนขนาดใหญ่ เทคนิคของการบริ หารแบบนี้ ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาต้อง มีภาวะผูน้ าสู งมาก และพร้อมที่จะเสี ยสละ อุทิศเวลา เพื่องานเต็มศักยภาพ “ กล้าคิด กล้าทา กล้าเปลีย่ น ” ๘. ผลสาเร็จทีเ่ กิดขึน้ จากการพัฒนา BP (เปรี ยบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ BP) ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณ โรงเรี ยนบ้านช่องกระทิงผ่านเกณฑ์ประเมินประกันคุณภาพภายในและภายนอก ตามตัวชี้วดั มาตรฐาน คิด เป็ นร้อยละ ๙๐ ๘.๒ ผลสาเร็จเชิ งคุณภาพ โรงเรี ยนบ้านช่องกระทิง จัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพมาตรฐาน เป็ นที่ยอมรับของชุมชน การจัดการเรี ยน การสอนนาพานักเรี ยนสู่ ความเป็ นเลิศ ดังนี้ จากการที่โรงเรี ยนบ้านช่องกระทิง ได้นารู ปแบบการบริ หารแบบ ๕ D มาใช้ในการบริ หารจัดการศึกษาของ โรงเรี ยน ส่ งผลให้การดาเนิ นงานตามโครงการหรื อกิจกรรมตามแผนปฏิบตั ิการประจาปี การศึกษา ๒๕๕๔-๒๕๕๖ ประสบความสาเร็ จ และยังส่ งผลต่อผูเ้ รี ยนดังต่อไปนี้
- ผลการทดสอบระดับชาติข้ นั พื้นฐาน NT ป.3 สู งกว่าปี การศึกษาที่ผา่ นมา - ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนโดยเฉลี่ยสู งกว่าปี การศึกษา 2553 - ผลการประเมินสมรรถนะที่สาคัญตามหลักสู ตรสถานศึกษา นักเรี ยนผ่านเกณฑ์การประเมิน คิดเป็ น ร้อยละ 100 - ผลการประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสู ตร นักเรี ยนผ่านเกณฑ์การประเมิน คิดเป็ นร้อยละ 100 - การดาเนินงานตามโครงการหรื อกิจกรรมตามแผนปฏิบตั ิการประจาปี การศึกษา 2555 บรรลุวตั ถุประสงค์ คิด เป็ นร้อยละ 100 โครงการที่โรงเรี ยนจัดขึ้นในปี การศึกษา 2555 ได้แก่ - โครงการส่ งเสริ มและพัฒนาคุณธรรมจริ ยธรรมและค่านิ ยมที่พึงประสงค์ - โครงการจัดกิจกรรม “พุทธชยันตี พื้นวิถีพุทธ์ วันพระ” - โครงการจัดกิจกรรมลูกเสื อ – เนตรนารี สารอง และสามัญ - โครงการส่ งเสริ มประชาธิ ปไตยในโรงเรี ยน - โครงการจัดหาอาหารกลางวันสาหรับนักเรี ยน ปฐมวัย ถึง ประถมศึกษาปี ที่ ๖ - โครงการโรงเรี ยนส่ งเสริ มสุ ขภาพ - โครงการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน - โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปั ญหายาเสพติด - โครงการพัฒนาการจัดการเรี ยนการสอนกลุ่มสาระ (ภาษาไทย คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม สุ ขศึกษาและพละศึกษา ศิลปะ การงานพื้นฐานอาชีพ และภาษาอังกฤษ) - โครงการส่ งเสริ มการศึกษาจากแหล่งเรี ยนรู ้ - โครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน - โครงการพัฒนาบุคลากรให้เป็ นบุคคลแห่งการเรี ยนรู ้ - โครงการสวัสดิการสร้างขวัญกาลังใจและสร้างความสามัคคี - โครงการผลิตสื่ อนวัตกรรมในการจัดการเรี ยนรู้ - โครงการนิเทศภายใน - โครงการจัดมุทิตาจิตผูป้ ระสบความสาเร็ จ - โครงการพัฒนาครู และผูบ้ ริ หารในกลุ่มเครื อข่ายส่ งเสริ มประสิ ทธิ ภาพ - โครงการพัฒนาแหล่งเรี ยนรู ้หอ้ งสมุดเพื่อส่ งเสริ มนิสัยรักการอ่านของนักเรี ยน - โครงการพัฒนาสื่ อวัสดุ เทคโนโลยีทางการบริ หารและการจัดการศึกษา - โครงการสนับสนุนการมีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการสถานศึกษา - โครงการประชุมปฏิบตั ิจดั ทาแผนปฏิบตั ิการประจาปี และเตรี ยมความพร้อมก่อนเปิ ดเรี ยน - โครงการปรับปรุ งทัศนียภาพในโรงเรี ยน ๘.๓ ความพึงพอใจของผู้เกีย่ วข้ องต่ อ BP(ระบุค่าร้อยละของความพึงพอใจจากผูเ้ กี่ยวข้องและวิธีการได้มา เกี่ยวกับข้อมูลความพึงพอใจ) ความพึงพอใจของผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง คิดเป็ นร้อยละ ๙๕ ใช้วธิ ีการตอบ แบบสอบถามความพึงพอใจ และคิดเป็ นค่าเฉลี่ยร้อยละ
๘.๔ ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP/ประสบการณ์ เรียนรู้ จากการนา BP ไปใช้ ๘.๔.๑ ภาวะผูน้ า บุคลิกลักษณะ ความรู้ความสามารถของผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน ๘.๔.๒ ศักยภาพ และทัศนคติของครู ๘.๔.๓ การประชาสัมพันธ์ชุมชน ๘.๔.๔ TEAMWORK ๙. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุ ง BP ให้ เกิดผลดีอย่างต่ อเนื่อง ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้า BP วิธีการตรวจสอบซ้ า โดย วงจร PDCA
๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุ ง BP รู ปแบบการบริ หาร ๕D เมื่อมีการตรวจสอบซ้ า พบว่าสามารถใช้ได้กบั โรงเรี ยนขนาดเล็กได้อย่างมี ประสิ ทธิ ผลและประสิ ทธิ ภาพ ส่ วนการพัฒนาและปรับปรุ งนั้น ควรสร้างเป็ นภาคีเครื อข่ายการพัฒนาโรงเรี ยน ขนาดเล็ก ร่ วมกัน และควรมีการ นิเทศ ติดตาม จาก หน่วยงานต้นสังกัด อย่างต่อเนื่อง เป็ น ระยะ ๑๐. การประชาสั มพันธ์ ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง (ระบุวนั เวลา และรู ปแบบ/วิธีการ ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล) ๑๐.๑ ขยายผลกับโรงเรี ยนขนาดเล็กด้วยกันในกลุ่มเครื อข่าย วังด้ง – ช่องสะเดา ๑๐.๒ วารสารโรงเรี ยน “ช่องกระทิงสาร” ฉบับที่ ๑ ปี ที่ ๒ ๑๐.๓ เว็บไซด์โรงเรี ยน ๑๐.๔ Facebook โรงเรี ยนบ้านช่องกระทิง ๑๐.๕ www.sobkru.net ๑๐.๖ www.kruthai.info.th
----------------------------------------------
ภาพถ่ าย เอกสาร หลักฐานประกอบ