Best Practice กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน (กิจกรรมชุมนุม)
ชุมนุมส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
นางนัยนา เจียมอยู่ ครูชานาญการพิเศษโรงเรียนวัดจรเข้เผือก สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรเี ขต๑
1. ชื่อหน่วยงาน โรงเรียนวัดจรเข้เผือก อาเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี ผู้เสนอผลงาน นางนัยนา เจียมอยู่ ครูชานาญการพิเศษ 2. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน “ชุมนุมส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน” 3. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา Best Practices 3.1 เป้าหมาย - นักเรียนกลุ่มสนใจสร้างรายได้ระหว่างเรียน - นักเรียนขาดแคลน ยากจน - กลุ่มสนใจแนวทางในการประกอบอาชีพ 3.2 วัตถุประสงค์ 1. นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทางาน 2. นักเรียนสามารถใช้ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทางาน 3. นักเรียนมีจิตสานึกในการทางานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างประหยัดและคุ้มค่า 4. นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียน 5. นักเรียนที่ร่วมกิจกรรมมีรายได้สามารถแก้ปัญหาการขาดแคลน ยากจน 6. นักเรียนเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ หรืออาชีพเสริม 4. ระยะเวลาในการพัฒนา BP (ระบุช่วงเริ่มต้นการพัฒนา และระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา BP) หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเรื่องชุมนุมส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียนเป็นกิจกรรมที่พัฒนาขึ้นเพื่อ มุ่งแก้ปัญหานักเรียนขาดแคลนในด้านปัจจัยในการดารงชีวิตเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานให้ มี คุ ณ ภาพด้ า นความรู้ แ ละทั ก ษะที่ จ าเป็ น ส าหรั บ การด ารงชี วิ ต ในสั งคมที่ มี ก าร เปลี่ ย นแปลงและแสวงหาความรู้ เพื่ อ พั ฒ นาตนเองอย่ า งต่ อ เนื่ อ งตลอดชี วิ ต สะท้ อ นคุ ณ ภาพผู้ เ รี ย นตาม มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชุมนุมส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียนจัดตั้งมาตั้งแต่ปีการศึกษา 2548 แต่ชื่อที่ใช้ครั้งนั้นเป็นชุมนุม อาหารในท้องถิ่นต่อมาก็ปรับให้เข้ากับวัตถุประสงค์เรื่อยมา จนนักเรียนเกิดความชานาญและมีการพัฒนา ผลงานมาอย่างต่อเนื่องจนเป็นที่ยอมรับของชุมชน ผู้ปกครองและบุคคลทั่วไปจึงปรับชื่อเพื่อมีความสอดคล้อง กับกิจกรรมที่ทาคือเมื่อนักเรียนทารับประทานเอง และเพื่อนบ้านมั่นใจว่าผลงานของตนเองระดับมืออาชีพจึง เริ่มทาจาหน่ายโดยจัดตั้งเป็นบริษัทขนาดย่อม รับสมัครสมาชิกตั้งแต่ระดับประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษา ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันทาหน้าที่ 5. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป./สพม./สพฐ./สถานศึกษา ชุมนุมส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน จัดตั้งขึ้นเพื่อแก้ปัญหาความยากจน ขาดแคลนในด้านปัจจัยใน การดารงชีวิตเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีคุณภาพด้านความรู้และ ทักษะที่จาเป็นสาหรับการดารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงและแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนื่องตลอดชีวิตซึ่งสอดคล้องกับวิสัยทัศน์และจุดเน้นของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาดังนี้คือ
1. นักเรียนทุกคนมีความสานึกในความเป็นไทย จิตสาธารณะ อยู่อย่างพอเพียง (Sufficiency & Public Mind) 2. สร้างทางเลือกในการเรียนรู้ที่เน้นให้ประชากรวัยเรียนทุกคนเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง ลดอัตราการออกกลางคัน ศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ (Alternative Access) 3. นักเรียน ครู ผู้บริหาร และบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาเตรียมความพร้อมสู่ประชาคม อาเซียน มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงและสังคมพหุวัฒนธรรม (ASEAN Community) 4. สถานศึกษาทุกแห่งมีระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็ง และได้รับการรับรองจากการประเมิน คุณภาพภายนอก ตลอดจนการพัฒนาสถานศึกษาในพื้นที่ชนบท โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา และ โรงเรียนสู่มาตรฐานสากล (Quality Schools) 6. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP โรงเรียนวัดจรเข้เผือก ตาบลจรเข้เผือก อาเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี สานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ นักเรียนมีฐานะค่อนข้างยากจนเนื่องจากผู้ปกครองนักเรียน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างและ เกษตรกรรม สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มติดแม่น้าแควน้อย เป็นชุมชน เก่าแก่ มีวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นหลายอย่างโดยเฉพาะขนมไทยและการแปรรูปอาหาร เช่น การแปร รูปมะขาม กล้วย พุทรา มะม่วง ดังนั้นเมื่อถึงฤดูผลไม้ที่สามารถนามาแปรรูปได้ก็ จะรวมกลุ่มกันทาการแปร รูปโดยเฉพาะมะขามแช่อิ่ม มะม่วงกวน ไข่เค็ม เป็นต้น จากนั้นจะมีกลุ่มแม่บ้านมารับผลิตภัณฑ์ของหมู่บ้านไป จาหน่าย หรือจัดเป็นของฝากเป็นประจา ซึ่งเป็นงานที่สามารถเป็นรายได้เสริมให้กับ ครอบครัว ตามแนวคิด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางการดาเนินชีวิตและวิถีปฏิบัติที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมี พระราชดารัสชี้แนะแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๓๐ ปี และได้ทรงเน้นย้าแนวทางพัฒนาที่ตั้งอยู่ บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้าง ภูมิคุ้มกันในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ และคุณธรรม เป็นพื้นฐานในการดารงชีวิต การป้องกันให้รอดพ้นจากวิกฤต และให้สามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ โรงเรียนจึงได้น้อมนาแนวทางการดาเนินชีวิตและวิถีปฏิบัติที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระ ราชดารัสมาใช้กับนักเรียนโดยรวบรวมภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีความรู้ความสามารถตรงกับความต้องการของ นักเรียนมาจัดกิจกรรม หากกิจกรรมใดที่ผู้เรียนมีความต้องเรียนรู้แต่ไม่มีผู้มีความรู้ความสามารถอยู่ในชุมชน จึงเชิญวิทยากรมาจากภายนอก และสารวจวัตถุที่หาง่ายในชุมชนมาเพิ่มมูลค่า โดยการนามาแปรรูป หรือ ประกอบอาหารที่แปลกใหม่ซึ่งนักเรียนจะเป็นผู้คิดโดยการจัดทาโครงงานต่างๆ เมื่อนักเรียนเกิดทักษะแล้วจึง มีการผลิตเพื่อจาหน่ายเป็นการสร้างรายได้เสริมระหว่างเรียนให้แก่นักเรียนโดยการจัดตั้งชุมนุมส่งเสริมรายได้ ระหว่างเรียน โดยยึดหลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 โรงเรียนจัดให้นักเรียนทุกคนได้เข้าร่วมกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัย วุฒิภาวะ ความต้องการ และ ความแตกต่างระหว่างบุคคล ตามความสนใจ ความถนัด ความสามารถของนักเรียนส่งเสริมผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ค้นพบตัวเองในการศึกษาต่อและเห็นแนวทางประกอบอาชีพในอนาคต 7. กระบวนการพัฒนา BP 7.1 กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ (ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจานวนกลุ่มเป้าหมาย) - นักเรียนฐานะยากจน ด้อยโอกาสในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่4 ถึงมัธยมศึกษาตอนต้น
- นักเรียนที่สนใจอยากมีรายได้ระหว่างเรียน - นักเรียนต้องการหาแนวทางในการประกอบอาชีพหรืออาชีพเสริมเมื่อจบการศึกษา 7.2 ขั้นตอนการพัฒนา BP (อาจระบุเป็นแผนภาพ/แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา) 1) ศึกษาดูงานจากภูมิปัญญาท้องถิ่น 2) จัดเตรียมสถานที่ อุปกรณ์ 3) จัดตั้งชุมนุมส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน 4) รับสมัครสมาชิก 5) แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงาน 6) ติดต่อประสานงานกับวิทยากรภูมิปัญญาท้องถิ่น 7) เชิญวิทยากรภูมิปัญญาท้องถิ่นมาให้ความรู้เพื่อพัฒนางาน 8) ดาเนินกิจกรรมในชั่วโมงชุมนุมหรือชั่วโมงว่าง 9) ประเมินผลการดาเนินงาน 10) รายงานผลการดาเนินงาน 7.3 การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวิธีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้) 1. ผลงานนักเรียนที่ได้ทาจาหน่ายได้รับความสนใจจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับดีมาก 2. ดูจากเงินปันผลที่ปันให้กับสมาชิกเมื่อสิ้นปีการศึกษา ได้รับเงินปันผลร้อยละ 120 3. ร้อยละความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง ครู ผู้ปกครอง นักเรียนอยู่ในระดับดีมาก 7.4 แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ 1. นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน 2. เป็นอาชีพเสริมหรืออาชีพต่อไปในอนาคต 3. เผยแพร่ผลงานสู่ชุมชน 8. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP (เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ BP) 8.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 1. นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมชุมนุมส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียนร้อยละ 100 มีรายได้ระหว่างเรียน 2. นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมชุมนุมส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียนร้อยละ 90 เห็นแนวทางในการ ประกอบอาชีพ 3. นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมชุมนุมส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียนร้อยละ 90 สามารถปฏิบัติกิจกรรม ตามแผนที่วางที่ไว้ 8.2 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1. นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมชุมนุมส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียนสามารถสร้างรายได้ระหว่างเรียน ให้กับสมาชิกในกลุ่มได้ 2. นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมชุมนุมส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียนเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ และสามารถเลือกอาชีพได้อย่างหลากหลาย 3. นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมชุมนุมส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมตามแผนที่วาง ไว้ 8.3 ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP (ระบุค่าร้อยละของความพึงพอใจจากผู้เกี่ยวข้องและวิธีการได้มา เกี่ยวกับข้อมูลความพึงพอใจ)
1. จากการตอบแบบสอบถามครูในโรงเรียนวัดจรเข้เผือก 16 คน มีความพึงพอใจในระดับดีมาก 15 คน คิดเป็นร้อยละ 93.75 2. จากการตอบแบบสอบถามผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนวัดจรเข้เผือก 30 คน มีความพึงพอใจใน ระดับดีมาก 24 คน คิดเป็นร้อยละ 80 3. จากการตอบแบบสอบถามนักเรียนโรงเรียนวัดจรเข้เผือก 60 คน มีความพึงพอใจในระดับดีมาก 52 คน คิดเป็นร้อยละ 86.66 8.4 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP/ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา BP ไปใช้ - ได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มบริหารงบประมาณจัดสรรงบประมาเป็นทุนดาเนินการ - ผู้ปกครองและกรรมการสถานศึกษาสนับสนุนเรื่องการวิทยากรท้องถิ่น - ได้รับการสนับสนุนจากร้านค้าในชุมชนในการรับจาหน่ายสินค้าและอุดหนุนสินค้าของ นักเรียน - ได้รับความสนใจจากสมาชิกชุมนุมส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียนที่ยอมสละเวลามาทางานนอก เวลา 9. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง 9.1 วิธีการตรวจสอบซ้า BP 1) ผลงานนักเรียนที่ได้ทาจาหน่าย 2) ดูจากเงินปันผลที่ปันให้กับสมาชิกเมื่อสิ้นปีการศึกษา 3) ร้อยละความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง 9.2 ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP 1. ผลงานนักเรียนที่ได้ทาจาหน่ายได้รับความสนใจจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับดีมาก 2. ดูจากเงินปันผลที่ปันให้กับสมาชิกเมื่อสิ้นปีการศึกษา ได้รับเงินปันผลร้อยละ 120 3. ร้อยละความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง ครู ผู้ปกครอง นักเรียนอยู่ในระดับดีมาก 10. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง (ระบุวันเวลา และรูปแบบ/ วิธีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล) 1. งานศิลปหัตถกรรมครั้งที่ 61 ที่โรงเรียนลาดหญ้าเทพศิรินทร์ 2. ขายตลาดนัดในชุมชนทุกวันศุกร์ 3. ให้ความรู้กับชุมชนกลุ่มสนใจตามหนังสือเชิญ 4. ส่งร้านค้าในชุมชน
กิจกรรมการดาเนินการชุมนุมส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
ครูผสู้ อนศึกษาดูงานจากภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่
นักเรียนศึกษาข้อมูลจากภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่
กิจกรรมการดาเนินการชุมนุมส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
นักเรียนสรุปผลการสารวจข้อมูลจากภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่
จัดตัง้ บริษทั ขนาดย่อมจากสมาชิกชุมนุมและนักเรียนทีส่ นใจ ขาดแคลน
กิจกรรมการดาเนินการชุมนุมส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
นักเรียนไปศึกษาหาความรูจ้ ากภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่
เลือกประธาน เลขา เหรัญญิกและกรรมการชุมนุม
กิจกรรมการดาเนินการชุมนุมส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
เชิญวิทยากรท้องถิน่ มาให้ความรู้
ส้มตานักเรียนให้ความสาคัญมาก
กิจกรรมการดาเนินการชุมนุมส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
น้าปัน่ นักเรียนก็ให้ความสนใจ...ลองทาดู
ทาสายรัดข้อมือนักเรียนสาธิตกันเอง
กิจกรรมการดาเนินการชุมนุมส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
นักเรียนไปศึกษาการแปรรูปอาหารจากบ้านนางพยูร ธรรมสร
อยากทาบ้าง......ช่วยยายหน่อย
เรียนรูจ้ ากภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่
นาความรูม้ าทาทีโ่ รงเรียนบ้าง
แห้งแล้วเก็บเลือกรกมะขามออกตามทีย่ ายบอก
เรียนรูจ้ ากภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่
บรรจุใส่กล่อง เตรียมจาหน่าย
เสร็จแล้วค่ะไม่ยากเลย...หนูทาได้
เรียนรูจ้ ากภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่
สมาชิกของบริษทั ผลัดกันมาช่วยงาน
เตรียมบรรจุไข่เค็มออกจาหน่าย
เรียนรูจ้ ากภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่
ร่วมมือกันอย่างแข็งขัน
บรรจุภณ ั ฑ์หลายชนิดให้เลือก
ส่งผลงานประกวดการแปรรูปอาหารได้รางวัลยอดเยีย่ ม
นาผลิตภัณฑ์ออกจาหน่าย
ประกวดโครงงานอาชีพได้รางวัลชนะเลิศ ระดับเขตพืน้ ที่
นักเรียนได้รับเหรียญทองการแปรรูปอาหารระดับภาค
ผลงานประสบความสาเร็จ