1
แบบสรุปผลงานการปฏิบตั ทิ ่เี ป็ นเลิศ กลุม่ สาระการงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี
นางมลราตรี อยู่เย็น ตาแหน่ ง ครู วิทยฐานะชานาญการพิเศษ โรงเรียนวัดหนองเสือ อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑
2
คานา แบบบัน ทึก ข้อมูล ของผู้รับรางวัล ผลงานกการปฏิบัติหน้าที่เป็นเลิศ (Best Practice) ประจาปี 2556 เล่มนี้ ได้รวบรวมผลงาน ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของ การพัฒนา Best Practice ระยะเวลาในการพัฒนา ความเชื่อมโยง/ความสัมพัน ธ์ระหว่าง Best
Practice กั บ เป้ า หมายแนวคิ ด หลั ก การ ทฤษฎี ที่ น ามาใช้ ใ นกระบวนการพั ฒ นา
Best Practice ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง และการประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ Best Practice และ ความคิดเห็นของผู้บังคับบัญชาเบื้องต้นเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณสมบัติ และผลงานที่โดดเด่นของ ผู้ขอรับรางวัล ของ นางมลราตรี อยู่เย็น ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการงาน พื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี (งานบ้าน) โรงเรียนวัดหนองเสือ ขอขอบพระคุณ นายปัญญา เที่ยงธรรม ผู้อานวยการโรงเรียนวัดหนองเสือ คณะครู ผู้ป กครอง นั ก เรี ยน และศิ ษ ย์ทุ ก รุ่ น ที่มี ส่ว นเกี่ ย วข้ องท าให้ก ารปฏิบั ติ ง านในหน้ าที่ ข องครู ประสบผลสาเร็จด้วยดี
มลราตรี อยูเ่ ย็น
3
สารบัญ
คานา ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่
1 2 3 4 5 6 7 8 9
ชื่อผลงาน ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา Best Practice ระยะเวลาในการพัฒนา ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง Best Practice กับเป้าหมาย แนวคิด หลักการ ทฤษฎีทน่ี ามาใช้ กระบวนการพัฒนา Best Practice ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา Best Practice กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง Best Practice ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ตอนที่ 10 การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ Best Practice และการเผยแพร่ขยายผลในวงกว้าง ภาคผนวก - ภาพประกอบ - คารับรองสาเนาเอกสาร - ประวัติผู้รายงาน
หน้า 1 1 1 2 2 3 6 9 10 11
13
4
ผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) 1. ชื่อผลงาน เรื่อง การพัฒนาเอกสารประกอบการเรียนการสอน กลุ่มสาระการงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี (งานบ้าน) ชุด น้าพริกในท้องถิ่นและน้าพริกสมุนไพร สาหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ด้าน นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน
2. ข้อมูลทั่วไปของผูพ ้ ัฒนา BP 2.1 ชื่อผู้พัฒนา BP นางมลราตรี
อยูเ่ ย็น
2.2 โรงเรียนวัดหนองเสือ ตาบลวังศาลา อาเภอท่าม่วง สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาระดับ ประถมศึกษา 2.3 โทรศัพท์ 082-6326286 e-mail Krupa 2504 @ hotmail.com
3. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา Best Practice (BP) 1. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียนการสอน กลุ่มสาระการงานอาชีพ และเทคโนโลยี (งานบ้าน) สาระที่ 1 การด ารงชีวิต และครอบครัว ชุด น้าพริกในท้องถิ่น และ น้าพริกสมุนไพร สาหรับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 โดยเทียบกับเกณฑ์ 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่ มสาระการเรียนรู้ ก ารงานอาชีพและ เทคโนโลยี (งานบ้าน) สาระที่ 1 การดารงชีวิตและครอบครัว ชุด น้าพริกในท้องถิ่นและน้าพริก สมุนไพร สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้เอกสาร ประกอบการเรียนการสอน
5
3. เพื่อศึ กษาความพึงพอใจของนัก เรียนที่ ผ่านการเรียนด้วยเอกสารประกอบการเรียน การสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานบ้าน) สาระที่ 1 การดารงชีวิต และครอบครัว) ชุด น้าพริกในท้องถิ่นและน้าพริกสมุนไพร สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 4. เพื่อพัฒนาทักษะการทางานสู่อาชีพในอนาคต 5. เพื่อปลูกฝังเจตคติที่ดีต่อการทางาน เห็ นคุณค่าของการทางาน สนุกกับการทางาน มีนิสัยรักการทางาน ปรับปรุงงานให้ดีข้นึ และได้เรียนรู้ขั้นตอนต่างๆในการประกอบน้าพริก 6. นักเรียนมีคุณธรรมในด้านความสามัคคี มีความสุข รู้จักการแก้ปัญหาด้วยตนเอง 7. เพื่อปลูกฝังความอุตตสาหะ ความอดทน และความรับผิดชอบให้แก่ผู้เรียน
4. ระยะเวลาในการพัฒนา Best Practice (BP) ทาการพัฒนานัก เรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัด หนองเสือ จ านวน 24 คน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึก ษา 2551 ใช้เวลาในการพัฒนา 20 ช.ม. โดยใช้เอกสารประกอบ การเรียนการสอนจานวน 5 เล่ม ดังนี้ 1. เอกสารประกอบการเรียน เรื่องที่ 1 ประวัติและความเป็นมาของน้าพริก 2. เอกสารประกอบการเรียน เรื่องที่ 2 อุปกรณ์ทใี่ ช้ในการประกอบน้าพริก 3. เอกสารประกอบการเรียน เรื่องที่ 3 ประโยชน์และเคล็ดลับในการประกอบน้าพริก 4. เอกสารประกอบการเรียน เรื่องที่ 4 น้าพริกในท้องถิ่นของเรา 5. เอกสารประกอบการเรียน เรื่องที่ 5 น้าพริกสมุนไพร
5. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนซึ่งเป็นกาลังของชาติให้ เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทย และเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการศึ กษาตลอดชีวิต โดยมุ่ง เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถ เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มศั กยภาพ การพัฒนาที่สาคัญคือ การพัฒนาที่ส มดุล อย่างเป็น
6
องค์รวมทุกด้าน เพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีพ้ืนฐานทางด้านจริยศาสตร์ ความเป็นคนดี ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม กลุ่มการงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี เป็นสาระที่มุ่งพัฒนาผู้ เรียนให้มีความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับงานอาชีพ เทคโนโลยี มีทัก ษะการทางาน สามารถการจั ด การ น าเทคโน โลยี สารสนเทศและเทคโนโลยีต่างๆ มาใช้ในการทางานอย่างถูกต้อง เหมาะสม คุม้ ค่าและมีคุณธรรม สร้างและพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือวิธีการใหม่ๆ สามารถทางานเป็นหมู่คณะ มีนิสัยรักการทางาน เห็ นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่องาน ตลอดจนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่เป็น พื้น ฐาน ได้แก่ ความขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด และ อดทน อันจะนาไปสู่ผู้เรียนให้สามารถช่วยเหลือตนเอง และพึ่ง ตนเองได้ต ามพระราชด าริเศรษฐกิจพอเพียง สามารถดารงชีวิต อยู่ได้อย่างมีความสุข ร่วมมือและแข่งขันในระดับสากลในบริบทของสังคมไทย รายงานการพัฒนาการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน กลุ่มสาระ การเรียนรู้ก ารงานอาชีพและเทคโนโลยี (สาระที่ 1 การดารงชีวิตและครอบครัว) ชุด น้าพริก ในท้ องถิ่ น และน้ าพริ ก สมุ น ไพร ส าหรับ นั ก เรียนชั้น ประถมศึ ก ษาปีที่ 4 ฉบั บนี้ เป็น เอกสาร ที่จั ด ทาขึ้น เพื่อรายงานให้ ทราบถึง การด าเนิน การพัฒนาการเรียนการสอน และผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนที่เกิดขึน้ กับนักเรียน โดยผู้รายงานมุ่งหวังให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถทั้งด้าน วิ ช าการ วิ ช างานและวิ ช าชี วิ ต โดยเฉพาะในกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ก ารงานอาชี พ และ เทคโนโลยี เป็นสาระการเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนาผู้ เรียนให้มีทักษะในการทางาน ทางานเป็น รักการ ทางาน ทางานร่วมกับผู้อื่น ได้ และมีความสามารถในการจัด การ อันจะน าไปสู่การช่วยเหลือ ตนเองและพึ่ง พาตนเองได้ต ามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้สามารถดาเนินชีวิต อยูใ่ นสังคมได้อย่างมีความสุข
6. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP ในการสอนวิชา งานบ้าน ข้าพเจ้าใช้แนวคิดของ Frederick Herzberg
ทฤษฏีเกี่ยวกับการสร้างแรงจูงใจ ทฤษฎีแรงจูงใจของ Herzberg
7
Frederick Herzberg ได้คิด ค้น ทฤษฎีก ารจูง ใจในการทางาน ซึ่งเป็น ที่ยอมรับกัน อย่าง กว้ า งขวางในวงการบริ ห าร ชื่อ ทฤษฎี ของ Herzberg มี ชื่ อ เรีย กแตกต่า งกั บ ออกไป คื อ “motivation-maintenance theory” หรือ “dual factor theory”หรือ “the motivation-hygiene theory” 1. ปัจจัยจูงใจ (Motivation Factor) 2. ปัจจัยค้าจุน (Maintenance Factor) ปัจจัยจูงใจ เป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับงานโดยตรง เพื่อจูงใจให้คนชอบและรักงานปฏิบัติ เป็นการกระตุ้น ให้เกิดความพึงพอใจให้แก่บุคคลในองค์การให้ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพมากขึ้น เพราะ ปัจจัยที่สามารถสนองตอบความต้องการภายในบุคคลได้ด้วยกัน ได้แก่ 1. ความสาเร็จในการทางานของบุคคล หมายถึง การที่บุคคลสามารถทางานได้เสร็จสิ้น และประสบความส าเร็จอย่างดี เป็นความสามารถในการแก้ไขปัญหาต่างๆ การรู้จักป้องกัน ปัญหาที่จะเกิดขึน้ เมื่อผลงานสาเร็จจึงเกิดความรู้สึกพึงพอใจและปลาบปลืม้ ในผลสาเร็จของงาน นั้น ๆ 2. การได้ รั บ การยอมรั บ นั บ ถื อ หมายถึ ง
การได้ รั บ การยอมรั บ นั บ ถื อ ไม่ ว่ า จาก
ผู้บังคับบัญชา การยอมรับนีอ้ าจจะอยูใ่ นการยกย่องชมเชย แสดงความยินดี การให้กาลังใจหรือ การแสดงออกอื่นใดที่ส่อให้เห็นถึงการยอมรับในความสามารถ เมื่อได้ทางานอย่างหนึ่งอย่างใด บรรลุผลสาเร็จ การยอมรับนับถือจะแฝงอยูก่ ับความสาเร็จในงานด้วย 3. ลัก ษณะของงานที่ปฏิบัติ หมายถึง งานที่น่าสนใจ งานที่ต้องอาศั ยความคิด ริเริ่ ม สร้างสรรค์ ท้าทายให้ต้องลงมือทา หรือ เป็นงานที่มีลักษณะสามารถกระทาได้ตั้งแต่ต้นจนจบ โดยลาพังแต่ผู้เดียว 4. ความรับผิดชอบ หมายถึง ความพึงพอใจที่เกิดขึน้ จากการได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ งานใหม่ ๆ และมีอานาจในการรับผิดชอบได้อย่างดี ไม่มีการตรวจหรือควบคุมอย่างใกล้ชิด 5. ความก้าวหน้า หมายถึง ได้รับการเลื่อนตาแหน่งสูงขึ้นของบุคคลในองค์การ การมี โอกาสได้ศึกษาเพื่อหาความรู้เพิ่มเติมหรือได้รับการฝึกอบรม
8
ปัจจัยค้าจุน หรืออาจเรียกว่า ปัจจัยสุขอนามัย หมายถึง ปัจจัยที่จะค้าจุนให้แรงจูงใจในการทางานของ บุคคลมีอยู่ต ลอดเวลา ถ้าไม่มีหรือมีในลัก ษณะไม่สอดคล้องกับบุคคลในองค์การ บุคคลใน องค์การจะเกิดความไม่ชอบงานขึ้นและปัจจัยที่มาจากภายนอกบุคคล ได้แก่ 1. เงินเดือน หมายถึง เงินเดือนและการเลื่อนขัน้ เงินเดือนในหน่วยงานนัน้ ๆ เป็นที่พอใจของ บุคลากรในการทางาน 2. โอกาสที่จะได้รับความก้าวหน้าในอนาคต นอกจากจะหมายถึง การที่บุคคลได้รับการ แต่ง ตั้ง เลื่อนต าแหน่ง ภายในหน่วยงานแล้ว ยัง หมายถึง สถานการณ์ที่บุคคลสามารถได้รั บ ความก้าวหน้าในทักษะวิชาชีพด้วย 3. ความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน หมายถึง การติดต่อไป ไม่ว่าเป็นกิริยาหรือวาจาที่แสดงถึงความสัมพันธ์อันดีต่อกันสามารถทางานร่วมกันมีความเข้าใจ ต่อกัน 4. สถานะของอาชีพ หมายถึง อาชีพนั้น เป็นที่ยอมรับนับถือของสังคมที่มีเกียรติ และ ศักดิ์ศรี 5. นโยบายและการบริ ห ารงาน หมายถึง การจั ด การและการบริ ห ารองค์ ก าร การ ติดต่อสื่อสารภายในองค์กร 6. สภาพการทางาน หมายถึง สภาพทางกายภาพของงาน เช่น แสงเสียง อากาศ ชั่วโมง การทางาน รวมทั้งลักษณะของสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ เช่น อุปกรณ์หรือเครื่องมือต่าง ๆ อีกด้วย 7. ความเป็นอยูส่ ่วนตัว หมายถึง ความรู้สึกที่ดีหรือไม่ดีอันเป็นผลที่ได้รับจากงานในหน้าที่ ของเขาไม่มีความสุข และพอใจกับการทางานในแห่งใหม่ 8. ความมั่น คงในการทางาน หมายถึง ความรู้สึกของบุคคลที่มีต่อความมั่น คงในการ ทางาน ความยั่งยืนของอาชีพ หรือความมั่นคงขององค์การ 9. วิธีการปกครองของผู้บังคับบัญชา หมายถึง ความสามารถของผู้บังคับบัญชาในการ ดาเนินงานหรือความยุติธรรมในการบริหาร ที่มา : http://www.allianceth.com/travian/index.php?topic=2884
9
7. กระบวนการพัฒนา Best Practice (BP) 7.1 กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนวัดหนองเสือที่เรียนวิชาการงานพื้นฐานอาชีพ (งานบ้าน) ปีการศึกษา 2551 จานวน 24 คน 7.2 ขั้นตอนการพัฒนา BP ขั้นเตรียมการ/ขั้นวางแผน 1. ส ารวจความสนใจของนั ก เรี ย นในเรื่ อ งการฝึ ก ปฏิ บั ติ งานบ้ า นงานครั ว (การประกอบน้าพริก) 2. ศึกษาหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระวิชาการงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี (งานบ้าน) 3. สร้างความตระหนักในการปฏิบัติงานบ้านงานครัว 4. ทดสอบทักษะพื้นฐานด้านการประกอบน้าพริก (วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้, ส่วนประกอบ ของน้าพริกแต่ละชนิด ,การปฏิบัติ) ขั้นดาเนินการตามแผน 1. วิเคราะห์เนื้อหาในหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานพื้นฐาน อาชีพและเทคโนโลยี (งานบ้าน) 2. กาหนดแผนการเรียนรู้ต ามหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้ การงาน พื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี (งานบ้าน) 3. สร้างเอกสารประกอบการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานพื้นฐาน อาชีพและเทคโนโลยี (งานบ้าน) เรื่อง น้าพริกในท้องถิ่นและน้าพริกสมุนไพร 4. จัด ทาคู่มือประกอบการใช้ เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องน้าพริก ใน ท้องถิ่นและน้าพริกสมุนไพร 5. จั ด กิจ กรรมฝึ ก ทัก ษะ โดยน าเอกสารประกอบการเรี ยนการสอนกลุ่ มสาระ การเรียนรู้การงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี (งานบ้าน) เรื่อง น้าพริกในท้องถิ่นและน้าพริก สมุนไพร
10
6. นักเรียนศึกษาเนือ้ หาในเอกสารประกอบการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานพื้น ฐานอาชีพและเทคโนโลยี (งานบ้าน) เรื่ องน้าพริกในท้องถิ่น และน้าพริกสมุนไพร โดยครูผู้สอนเป็นผู้สาธิตวิธีปฏิบัติที่ถูกต้องเป็นต้นแบบให้ดูและใช้เอกสารประกอบด้วย 7. นักเรียนทบทวนแบบฝึกหัดจากเอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง น้าพริก ในท้องถิ่นและน้าพริกสมุนไพร 8. ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติโดยครูคอยดูแลการปฏิบัติงานของนักเรียนอย่างใกล้ชิด และเสริมกาลังใจ และให้นักเรียนนาผลงานที่ประกอบเสร็จแล้วกลับไปบ้านเพื่อให้ผู้ปกครองได้มี ส่วนร่วมในการฝึกปฏิบัติของนักเรียน โดยให้ผู้ปกครองเป็นกรรมการร่วมให้คะแนนด้วย
11
ขั้นตอนการพัฒนา BP
น้าพริกในท้องถิ่นและน้าพริกสมุนไพร
เตรียมการ/วางแผน
สารวจความสนใจ
P
สร้างความตระหนัก
ดาเนินงานตามแผน
D
-วิเคราะห็เนื้อหาในหลักสูตรสถานศึกษา -กาหนดแผนการจัดการเรียนรู้ -สร้างเอกสารประกอบการเรียนการสอน -จัดทาคู่มือ/เอกสารประกอบการเรียนการสอน -ทดสอบความรู้พืน้ ฐาน -จัดกิจกรรมฝึกทักษะ(นักเรียนชั้นป.4)
นาผลงานของนักเรียนให้คณะครูในโรงเรียนและผู้ปกครองชิมเพื่อ ขอคาแนะนาและนามาปรับปรุง
เผยแพร่สู่บคุ คลภายนอกโดยการทาต้อนรับผู้มาตรวจเยี่ยมโรงเรียน
C
A
12
7.3 การตรวจสอบคุณภาพ BP 7.3.1 วิธีการตรวจสอบคุณภาพ 1. ทดสอบก่อนเรียนกับนักเรียนโดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. ด าเนิน การสอนโดยใช้ เ อกสารประกอบการเรีย นการสอนกลุ่ม สาระ การงานพื้น ฐานอาชีพและเทคโนโลยี (งานบ้าน) เรื่อง น้าพริกในท้องถิ่นและน้าพริกสมุน ไพร ทั้ง 5 เรื่อง 3. ทดสอบหลัง เรียนกับนัก เรียนที่ใช้ เอกสารประกอบการเรียนการสอน กลุ่มสาระการงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี (งานบ้าน) เรื่อง น้าพริกในท้องถิ่นและน้าพริก สมุนไพร โดยการทดสอบปฏิบัติทักษะพื้นฐานด้านงานบ้านงานครัว (ปฏิบัติการตาน้าพริก) แต่ละ ประเภทตามใบงาน และใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 7.3.2 ผลการตรวจสอบคุณภาพ 1. ผลจากการประเมิน ความรู้ความเข้าใจของนัก เรียนโดยการหาผลการ ประเมิน ประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียนการสอนกลุ่มสาระการงานพื้นฐานอาชีพ และเทคโนโลยี (งานบ้าน) เรื่องน้าพริ ก ในท้องถิ่น และน้าพริก สมุน ไพรในชุด ที่ส ร้างขึ้นนี้มีค่า เท่ากับ 81.82 / 84.03 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ท่ตี ั้งไว้คือ 80 / 80 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 7.4 แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ กิจกรรมกลุ่มสาระการงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี (งานบ้าน) ในระดับประถม ศึกษานั้น นับว่าเป็นกิจกรรมในการวางรากฐานโดยแท้จ ริง และถ้าผู้เรียนมีโอกาสเรียนรู้และ ปฏิบัติไ ด้อย่างถูกต้องนั้น จะสามารถพัฒนาการเรียนรู้ไปสู่การปฏิบัติได้โดยง่าย และช่วยให้ ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้งานบ้านงานครัว และสามารถนาไปประยุกต์ประกอบเป็นอาชีพ ได้ในภายหน้า และนอกจากนั้น ยังเป็น การส่ง เสริมให้นัก เรียนร่วมกันอนุรัก ษ์อาหารไทยและ อาหารพื้นบ้านให้คงอยูต่ ลอดไป 7.4.1 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชางานบ้าน (การประกอบน้าพริก)
13
- ควรมีการเตรียมความพร้อมก่อนสอน - ในการสอนเรื่องการประกอบอาหารควรเน้นเรื่องความสะอาดเป็นหลัก - คุณภาพของวัตถุดิบที่จะนามาประกอบอาหาร (น้าพริก) - การจัดกิจกรรม โดยให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติทักษะต่างๆ โดยตรง - ครูผู้สอนควรดูแลนักเรียนในขณะที่ปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิดเพื่อให้คาแนะนา ได้อย่างถูกต้อง 7.4.2 แนวทางในการสอนวิชาการงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี (งานบ้าน) 1. ผู้เรียนทุกคนควรได้ลงมือปฏิบัติในการประกอบกิจกรรม 2. เครื่องครัวทุกชิน้ ควรอยูใ่ นสภาพดี พร้อมใช้งานอยูเ่ สมอ 3. การเก็ บ รั ก ษาเครื่ อ งครั ว ผู้ ส อนควรปลู ก ฝั ง นิ สั ย การเก็ บ รั ก ษา เครื่องครัวหลังการปฏิบัติงานเสร็จแล้ว เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเคยชินกระทาจนเป็นนิสัย 4. การใช้เครื่องครัว ผู้ส อนควรสอนวิธีก ารใช้เครื่องครัว ที่ถูก วิธี ให้กับ ผู้เรียน นอกจากนีก้ ารใช้เครื่องครัวอย่างถูกวิธีก็เป็นสิ่งหนึ่งที่ช่วยให้เครื่องครัวทนทานไม่ชารุด เสียหายและมีอายุการใช้งานได้นานยิ่งขึ้น
8. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP 8.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 1. ผลจาการประเมิ น ความรู้ ความเข้ าใจของนัก เรียน โดยการหาผลการประเมิ น ประสิทธิ ภาพของเอกสารประกอบการเรียนการสอนกลุ่ มสาระการงานพื้ น ฐานอาชีพ และ เทคโนโลยี (งานบ้าน) เรื่อง น้าพริกในท้องถิ่นและน้าพริกกสมุนไพรในชุดที่สร้างขึ้นนี้มีค่าเท่ากั บ 81.82 / 84.03 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ท่ตี ั้งไว้คือ 80 / 80 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลัง เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.01 3. ผลจากการใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาการงานพื้น ฐานอาชีพและ เทคโนโลยี (งานบ้าน) เรื่อง น้าพริกในท้องถิ่นและน้าพริกสมุนไพร ทาให้นักเรียนมีพ้ืนฐานเรื่อง การใช้อุปกรณ์เครื่องครัว และการประกอบน้าพริกชนิดต่างๆ และสามารถต่อยอดความรู้ในการ ปฏิบัติการประกอบอาหารอื่นๆต่อไปได้
14
8.2 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ - เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาการงานพื้นฐานอาชีพ (งานบ้าน) สามารถ ช่วยให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ หรือ ทักษะทางการเรียนสูงขึ้นมีประสิทธิภาพ 81.82 / 84.03 ซึ่งสูง กว่าเกณฑ์ท่ตี ั้งไว้คือ 80 / 80 - ได้รับรางวัล เกียรติบัต รเหรียญทองในระดับกลุ่มและระดับเขตในการประกอบ อาหารที่ทาจากวัสดุในท้องถิ่น (น้าพริกสมุนไพร) - ได้เลื่อนวิทยฐานะเป็น ครู ชานาญการพิเศษกลุ่มสาระการงานพื้นฐานอาชีพและ เทคโนโลยี (งานบ้าน) 8.3 ความพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP - นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการนาเอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง น้าพริก ในท้องถิ่นและน้าพริกสมุน ไพรมาใช้ส อน มีความเหมาะสมและมีประโยชน์โดยภาพรวมอยู่ใน ระดับมากที่สุด
( x = 4.72)
8.4 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP / ประสบการร์เรียนรู้จากการนา BP ไปใช้ 1. ผู้บริหารสถานศึกษาให้การสนับสนุนและให้คาปรึกษาในการจัดทาและส่งนักเรียน เข้าแข่งขันการประกวดทักษะทางวิชาการ 2. คณะครูในโรงเรียนให้ความร่วมมือและให้กาลังใจในการทางานและส่ง นักเรียน ไปร่วมแข่งขันทักษะทางวิชาการ 3. นักเรียนเกิดความพึงพอใจในการที่จะรับการพัฒนาทักษะด้านงานบ้านงานครัว (การประกอบน้าพริก) และการประกอบอาหารประเภทอื่นๆ
9. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง 9.1 วิธีการตรวจสอบซ้า BP จากการทดลองใช้ เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาการงานพื้น ฐานอาชี พ (งานบ้าน) เรื่องน้าพริกในท้องถิ่นและน้าพริกสมุนไพรกับนักเรียนกลุ่มตัวอย่างในเบื้องต้น พบว่า มีนักเรียนจานวน 19 คน อยู่ในระดับ 4 คิดเป็นร้อยละ 79.17 ระดับ 3.5 จานวน 4 คน คิดเป็น ร้อยละ 16.67 ระดับ 3 จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 4.16 พบว่านักเรียนส่วนใหญ่มีความรู้อยู่ใน
15
ระดับที่ดี และมีนัก เรียน จ านวน 1 คนมีความรู้แ ละทัก ษะอยู่ในระดับปานกลาง จึง ทาการ ปรับปรุงวิธีการสอน โดยปรับปรุงใบงานและเขียนอธิบายขั้นตอนให้ง่ายขึน้ และฝึกปฏิบัติซ้า 9.2 ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ผลจากการพัฒนาและปรับปรุงเขียนอธิบายใบงานและทาการปฏิบัติซ้าพบว่านักเรียน มีความเข้าใจและให้ความสนใจปฏิบัติงานมากขึ้น และสามารถประกอบน้าพริกอื่นๆได้อีก หลาย อย่าง
10. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BPและการเผยแพร่ขยายผลในวงกว้าง หลังจากที่นักเรียนได้รับการพัฒนาแล้ว ข้าพเจ้าและนักเรียนได้มีโอกาสทาต้อนรับ คณะผู้ท่มี าตรวจเยี่ยมโรงเรียนและงานกิจกรรมของโรงเรียนดังนี้ 1. เจ้าหน้าและคณะกรรมการประเมิน สมศ. รอบ 3 ปีการศึกษา 2556 2. เจ้าหน้าที่และคระกรรมการการประเมินโรงเรียนดีศรีตาบล ปีการศึกษา 2556 (วันที่ 3 กรกฎาคม 2556) 3. เจ้าหน้าที่และคณะกรรมการการประเมินโรงเรียนดีเด่นด้านคุณธรรมจริยธรรม ปีการศึกษา 2556 (วันที่ 26 มิถุนายน 2556) 4. ต้อนรับคณะผู้บริหารและครูจากเครือข่ายโรงเรียนชุมพลบุรี จาก สพป.สุรินทร์ เขต 3 (วันที่ 5 กรกฎาคม 2556) 5. เจ้ าหน้ าที่ แ ละคระกรรมการวัด ตั วนั ก กีฬ าและกรีฑ ากลุ่ มเครือ ข่า ยชาววั ง ปีการศึกษา 2556 (วันที่ 30 กรกฎาคม 2556) 6. เลี้ ย งพระ ผู้ น าชุ ม ชน คณะครู แ ละผู้ ป กครองนั ก เรี ย น เนื่ อ งในงานแจก ประกาศนียบัตรนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี3, นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 และรับบัณฑิตน้อย นักเรียนอนุบาลปีท่ี 2 ปีการศึกษา 2555 (วันที่ 27มีนาคม 2556) 7. เจ้ าหน้าที่แ ละคณะกรรมการตัดสิน กีฬาและกรีฑาสี นัก เรียน คณะผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา ปีการศึกษา 2556 (วันที่ 26 กรกฎาคม 2556) 8. คณะกรรมการและเจ้าหน้าที่จัดงานวันสงกรานต์ (วันที่ 13-15 เมษายน 2556) 9. พิธไี หว้ครู ปีการศึกษา 2556 (วันที่ 13 มิถุนายน 2556) 10. เนื่องในโอกาสต้อนรับพนักงานโรงงานวังศาลา (SCG) (วันที่ 20 สิงหาคม 2556)
16
11. ต้อนรับคณะกรรมการจาก สพป. เขต 1 กาญจนบุรี มาตรวจผลงานผู้บริหาร (วันที่ 27 สิงหาคม 2556)
ลงชือ่ มลราตรี อยูเ่ ย็น ผู้ขอรับการประเมิน (นางมลราตรี
อยูเ่ ย็น)
17
คารับรองสาเนาเอกสาร
เอกสารที่นามาประกอบการอ้างอิง ในการเสนอขอรับการคัดเลือกรางวัล ผลงานการ ปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ประจาปี 2556 ให้เป็นผู้มีผลงานการปฏิบัติหน้าที่เป็นเลิศ เป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ นั้น ข้ า พเจ้ า ขอรั บ รองว่ า เป็ น ความจริง และได้ ถ่ า ยส าเนาจากต้ น ฉบั บ จริ ง ทุกประการ
( นายปัญญา เที่ยงธรรม ) ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนวัดหนองเสือ
18
ประวัติผู้รายงาน ชื่อ
นางมลราตรี อยูเ่ ย็น เกิดวันที่ 24 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2504
การศึกษา
ปริญญาตรี ศศ.บ การพัฒนาชุมชน สถาบันราชภัฏกาญจนบุรี ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิชาเอก เกษตรศาสตร์ วิชาโท ดนตรี วิทยาลัยครูกาญจนบุรี
ที่อยู่
บ้านเลขที่ 9/3 หมูท่ ี่ 7 ต.วังศาลา อ. ท่าม่วง จ. กาญจนบุรี
ที่ทางาน
โรงเรียนวัดหนองเสือ ต.วังศาลา อ. ท่าม่วง จ. กาญจนบุรี สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1
ผลงาน
ครูวิทยฐานะชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการงานพื้นฐานอาชีพ (งานบ้าน)
19
ภาคผนวก
20
ภาพประกอบ
น้าพริกกะปิครับ
21
กลุ่มนี้น้าพริกข่าสดค่ะ
กลุ่มผมน้าพริกตะไคร้ครับ
22
กลุ่มหนูน้าพริกมะขามค่ะ
กลุ่มผมน้าพริกขมิ้นชันครับ
23
หนูกาลังคั่วเครื่องปรุงน้าพริกหนุ่มปลาร้าสมุนไพรค่ะ
น้าพริกกะปิที่ปรุงสาเร็จแล้ว
24
น้าพริกเผาที่ปรุงสาเร็จแล้ว
น้าพริกปลาทูท่ปี รุงสาเร็จแล้ว
25
น้าพริกมะขามสดที่ปรุงสาเร็จแล้ว
น้าพริกตะไคร้ท่ปี รุงสาเร็จแล้ว
26
น้าพริกหนุ่มปลาร้าสมุนไพรที่ปรุงสาเร็จแล้ว
น้าพริกขมิ้นชันที่ปรุงสาเร็จแล้ว
27
น้าพริกตะไคร้ใบมะกรูดที่ปรุงสาเร็จแล้ว
น้าพริกข่าสดที่ปรุงสาเร็จแล้ว
28