คำนิยำม ข้าพเจ้านางสาวสุปราณี ทองดอนน้อย ตาแหน่ง ครู คศ.๑ โรงเรียนบ้านไทรทอง ได้ศึกษาค้นคว้าทดลองการ ใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry ประถมศึกษา (Best
Based
Learning) ในระดับชั้น
Practice) เรื่อง ทักษะกระบวนการคิด สู่ความเป็นเลิศทางวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่มุ่งเน้นกระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์ ข้าพเจ้าได้นากระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Based Learning) พร้อมด้วย กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Based Learning) มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนจริงในระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนบ้านไทรทอง ตาบลจรเข้เผือก อาเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี ได้ผลดีเป็นที่น่า พอใจ นักเรีย นได้มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สู่กระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์ที่น้อมนาหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ข้าพเจ้าขอขอบพระคุณ นายสาเนาว์ นาคพิรุณ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านไทรทอง และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่านที่ ให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือ พร้อมกับให้ข้อคิดและข้อเสนอแนะในการจัดทา Best Practice ให้สาเร็จลุล่วงได้เป็นอย่าง ดี ผู้จัดทาหวังว่าเอกสารฉบับนี้ที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ในระดับประถมศึกษา (Best
Practice)
เรื่อง ทักษะกระบวนการคิด สู่ความเป็นเลิศทางวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่มุ่งเน้น กระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์ ได้เป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอนและผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องตลอดจนผู้ที่สนใจทั่วไป
นางสาวสุปราณี ทองดอนน้อย ครู คศ.๑ โรงเรียนบ้านไทรทอง
แบบรำยงำนกำรจัดกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ประถมศึกษำ (Best Practice) ๑. ชื่อผลงำน ทักษะกระบวนการคิด สู่ความเป็นเลิศทางวิทยาศาสตร์ ด้าน (วิชาการ/บริหำรจัดกำรศึกษำ/นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน) ๒. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนำ ๒.๑ ชื่อผู้พัฒนา Best Practice นางสาวสุปราณี ทองดอนน้อย ๒.๒ โรงเรียน บ้านไทรทอง เครือข่ายพัฒนาการศึกษาจรเข้เผือก ๒.๓ โทรศัพท์ ๐๘๑-๑๙๖๘๔๙๘ e-mail nea_supranee@hotmail.com ๓. เป้ำหมำย/วัตถุประสงค์ของกำรพัฒนำ ๓.๑ เพื่อเป็นการพัฒนาการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในเรื่องการสืบพันธุ์ของพืช และสัตว์โดยใช้กระบวนการการจัดการเรียนรู้แบบแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Based Learning) พร้อมด้วย กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Based Learning) ๓.๒ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ในเรื่องการสืบพันธุ์ของพืช และสัตว์ให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนพัฒนาสูงขึ้น พร้อมทั้งสอดคล้องกับแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดังนี้
หลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง หลักพอประมำณ ๑. วิเคราะห์ผู้เรียนตามลาดับ ๒. เนื้อหาและกิจกรรมเหมาะสม กับผู้เรียน ๓. เลือกใช้สื่อ/การวัดผล ประเมินผล/เวลา ให้เหมาะสม กับผู้เรียน
หลักมีเหตุผล ๑. เข้าใจความแตกต่างระหว่าง บุคคล ๒. ศักยภาพในการเรียนที่ต่างกัน ๓. ส่งเสริมการทางานเป็นกลุ่ม และเดี่ยว ๔. ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น/ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม/วัฒนธรรม
หลักสร้ำงภูมิคุ้มกันที่ดี ๑. มีความรู้ในการเรียนการสอน ๒. ปลูกฝังให้นักเรียนแต่ละคน สามารถนาความรู้ไปสร้าง ภูมิคุ้มกันให้ตนเองในด้านการ รู้จักและเข้าใจตนเอง การ แสวงหาและใช้ข้อมูล สารสนเทศ การตัดสินใจและ การแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล สามารถปรับตัวและดารงชีวิต ในสังคมได้อย่างมีความสุข ควำมรู้ คุณธรรม มีความรู้เกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ใน ครูมีความขยันเตรียมการสอน ใฝ่เรียนรู้เพื่อพัฒนา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ตนเอง รักเมตตาต่อศิษย์ รอบคอบ และ ประหยัด นำไปสู่ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม เป็นแบบอย่างที่ดีในการ เป็นแบบอย่างที่ดีในการอยู่ ร่วมดูและเผยแผ่ อนุรักษ์ ร่วมอนุรักษ์และเผยแผ่ ดาเนินชีวิต สอนให้ ร่วมกันในสังคม สร้างสังคม สิ่งแวดล้อมให้อยู่กับ วัฒนธรรมที่ดีในสังคม นักเรียนรู้จักใช้สิ่งของ ให้เป็นสังคมที่น่าอยู่ สังคมไทยสืบไป อย่างรู้คุณค่า
๔. ระยะเวลำในกำรพัฒนำ เริ่ม ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๖ – ๙ กันยายน ๒๕๕๖ ๕. ควำมเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่ำง Best Practice กับเป้ำหมำย/จุดเน้นของ สพป./สพม./สพฐ./ สถำนศึกษำ ข้าพเจ้าดาเนินการวิเคราะห์จุดเน้นและเป้าหมายของสถานศึกษา และนามากาหนดการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบกระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Based Learning) พร้อมด้วย กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Based Learning) โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการ จั ดการเรี ย นรู้ ตลอดจนการบู ร ณาการการจัด การเรีย นรู้ สู่ ห ลั กปรั ช ญาของเศรษฐกิ จพอเพี ยง โดยการวางแผนการ ดาเนินการจัดการเรียนรู้ ดังนี้ ๑. วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางปีการศึกษา ๒๕๕๑ ๒. วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา ๓. วิเคราะห์ผู้เรียน ๔. จัดทาหน่วยการเรียนรู้ ๔. จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ นอกจากการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ( Inquiry Based Learning ) พร้อมด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน ( Project Based Learning ) พร้อมกับ การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการคิดทางวิทยาศาสตร์อย่างต่อเนื่อง และสนับสนุนส่งเสริม การเรียนรู้ของนักเรียนสู่การแข่งขันทักษะความเป็นเลิศกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ในงานศิลปหัตถกรรม นักเรียน ระดับเขต ระดับภาค และระดับชาติ ๖. แนวคิด หลักกำร ทฤษฎีที่นำมำใช้ในกำรพัฒนำ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้มาด้วยความพยายามของมนุษย์ที่ใช้กระบวนการวิทยาศาสตร์ (scientific process) ในการสื บ เสาะความความรู้ (scientific inquiry) การแก้ปั ญ หา โดยผ่ านการสั ง เกตการณ์ ส ารวจตรวจสอบ (investigation) การศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบและการสืบค้นข้อมูล ทาให้เกิดองค์ความรู้ใหม่เพิ่มพูนตลอดเวลา ความรู้ และกระบวนการดังกล่าวมีการถ่ายทอดต่อเนื่องกันเป็นเวลายาวนานแนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา Best Practice ความรู้วิทยาศาสตร์ต้องสามารถอธิบายและตรวจสอบได้ เพื่อนามาใช้อ้างอิงใน การสนับสนุนหรือโต้แย้งเมื่อการ ค้น พบข้อ มู ล หรื อ หลั กฐานใหม่ หรื อแม้ แ ต่ข้ อ มู ล เดิ ม เดี ยวกั น ก็ อาจเกิ ดความขั ด แย้ งขึ้ น ได้ ถ้า นั ก วิ ทยาศาสตร์ แ ปล ความหมายด้วยวิธีการหรือแนวคิดที่แตกต่างกัน ความรู้วิทยาศาสตร์จึงเปลี่ยนแปลงได้ วิทยาศาสตร์เป็นเรื่ องที่ทุกคน สามารถที่ส่วนร่วมได้ไม่ว่าจะอยู่ในส่วนใดของโลกวิทยาศาสตร์ จึงเป็นผลจากการสร้างเสริมความรู้ของบุคคล การสื่อสาร
และการเผยแพร่ข้อมูลเพื่อให้เกิดความคิดในเชิงวิเคราะห์วิจารณ์ มีผลให้ความรู้วิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้นอย่างไม่หยุดยั้งและ ส่งผลต่อคนในสังคมและสิ่ งแวดล้อม การศึกษาค้นคว้าและการใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ จึงต้องอยู่ภายในขอบเขต คุณธรรมจริยธรรม เป็นที่ยอมรับของสังคมและเป็นการรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ความรู้วิทยาศาสตร์เป็นพื้นฐานที่สาคัญในการพัฒนาเทคโนโลยี เทคโนโลยีเป็นกระบวนการในงานต่าง ๆ หรือ กระบวนการพั ฒ นา ปรั บ ปรุ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ โดยอาศั ย ความรู้ วิ ท ยาศาสตร์ ร่ ว มกั บ ศาสตร์ อื่ น ๆ ทั ก ษะ ประสบการณ์ จินตนาการ และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของมนุษย์ โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะให้ได้ผลิตภัณฑ์ ที่ตอบสนองความต้องการและ แก้ปัญหาของมวลมนุษย์ เทคโนโลยีเกี่ยวกับทรัพยากร กระบวนการและระบบการจัดการ จึงต้องใช้เทคโนโลยีในทาง สร้างสรรค์ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม (กรมวิชาการ. ๒๕๔๕:๑) กระบวนกำรสืบเสำะหำควำมรู้ (inquiry process) วีรยุทธ วิเชียรโชติ (๒๕๔๖ : ๓๖) กล่าวว่า การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้เป็นการสอนที่ครูมุ่งพัฒนา ความสามารถในการคิดของนักเรียน โดยส่งเสริมให้นักเรียนได้มีการค้นพบด้วยตนเอง โดยครูจะใช้คาถามเป็นสื่อกระตุ้นให้ นักเรียนได้ใช้ความคิดอยู่ ตลอดเวลา การสอนลักษณะนี้จะยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ครูจะมีบทบาทเป็นเพียงผู้ชี้แนะ แนวทางเท่านั้น สถาบั น ส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท. ๒๕๔๘:๑๔-๑๕) ได้แบ่ง ขั้นตอนของ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ไว้ ๕ ขั้นตอน ดังนี้ ๑.) ขั้นสร้างความสนใจ (engagement) เป็นการนาเข้าสู่บทเรียนหรือเรื่องที่น่าสนใจอาจเกิดจากความ สงสัยหรือเริ่มจากความสนใจของนักเรียนเอง หรือเริ่มจากการอภิปรายในกลุ่มเป็นตัวกระตุ้นให้นักเรียนสร้างคาถาม กาหนดประเด็นที่จะศึกษา มีแนวทางที่ใช้ในการสารวจตรวจสอบอย่างหลากหลาย ๒.) ขั้นสารวจและค้นหา (explanation) เมื่อทาความเข้าในประเด็นปัญหาหรือคาถามที่สนใจจะศึกษา แล้ว มีการวางแผนกาหนดแนวทางการสารวจตรวจสอบ ตั้งสมมติฐาน กาหนดทางเลือกที่เป็นไปได้ ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บ รวบรวมข้อมูล วิธีการตรวจสอบอาจทาได้หลายวิธี เช่น ทาการทดลอง ทากิจกรรมภาคสนาม ๓.) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (explanation) เมื่อได้ข้อมูลอย่างเพียงพอจากการสารวจตรวจสอบแล้ว จึงนาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์แปลผล สรุปผลและนาเสนอในรูปต่าง ๆ เช่น บรรยาย สรุป วาดรูป สร้างตาราง การค้นพบ อาจเป็นไปได้หลายทาง เช่นสนับสนุนหรือโต้แย้งกับสมมติฐานที่ตั้งไว้และช่วยให้เกิดการเรียนรู้ ๔.) ขั้นขยายความรู้ (elaboration) เป็นการนาความรู้ที่สร้างขึ้นไปเชื่อมโยงกับความรู้เดิมหรือแนวคิดที่ ได้ค้นคว้าเพิ่มเติม หรือนาแบบจาลองหรือข้อสรุปที่ได้ไปใช้อธิบายสถานการณ์หรือเหตุการณ์อื่น ๆ ถ้าใช้อธิบายเรื่องต่าง ๆ ได้มากก็แสดงว่าข้อจากัดน้อย จะช่วยเชื่อมโยงกับเรื่องต่าง ๆ ทาให้เกิดความรู้กว้างขวางขึ้น ๕.) ขั้นประเมินผล (evaluation) เป็นการประเมินการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่าง ๆ ว่านักเรียนมีความรู้ อะไรบ้าง อย่างไร และมากน้อยเพียงใด จากขั้นนี้จะนาไปสู่การนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในเรื่องอื่น ๆ
กระบวนกำรเรียนรู้แบบโครงงำน การเรียนรู้แบบโครงงาน เป็นการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงหลักการพัฒนาการคิดของบลูม (Bloom) ทั้ง ๖ ขั้น กล่าวคือ ความรู้ความจา (Knowledge) ความเข้าใจ (Comprehension) การนาไปใช้ (Application) การวิเคราะห์ (Analysis) การสังเคราะห์ (Synthesis) การประเมินค่า (Evaluation) และยังเป็นการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญในทุก ขั้นตอนของกระบวนการเรียนรู้ ตั้งแต่การวางแผนการเรียนรู้ การออกแบบการเรียนรู้ การสร้างสรรค์ประยุกต์ใช้ผลผลิต และการประเมินผลงาน โดยผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้จัดการเรียนรู้ กระบวนการสาคัญของการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน กระบวนการจั ดการเรียนรู้แบ่งเป็น ๓ ระยะ ใหญ่ๆ ด้วยกันคือ ระยะที่ ๑ การเริ่มต้นโครงงาน เป็นระยะที่ผู้สอนต้องสังเกต/สร้างความสนใจ ให้เกิดขึ้นในตัวผู้เรียน จากนั้นตกลงร่วมกันในการเลือกเรื่องที่ ต้องการศึกษาอย่างละเอียด ผู้สอนสร้างความสนใจให้เกิดกับผู้เรียนซึ่งมีหลายวิธี โดยอาจศึกษาเรื่องจากการบอกเล่าของ ผู้ใหญ่หรือผู้รู้ จากประสบการณ์ของผู้เรียน/ผู้สอน จากเอกสาร สื่อสิ่งพิมพ์ หรือสื่อต่างๆ จากการเล่นของผู้เรียน จาก ความคิดที่เกิดขึ้น จากวัตถุสิ่งของที่ผู้สอนนามาในห้องเรียน หรือจากตัวอย่างโครงงานที่ผู้อื่นทาไว้แล้ว เป็นต้น เมื่อผู้เรียนเกิดความสนใจก็จะถึงกระบวนการกาหนดหัวข้อโครงงาน โดยนาเรื่องที่ผู้เรียนสนใจมาอภิปรายร่วมกัน แล้วกาหนดเรื่องนั้นเป็นหัวข้อโครงงาน ทั้งนี้จะต้องคานึงว่าการกาหนดหัวข้อโครงงานนั้นจะกระทาหลังจากการตรวจสอบ สมมติฐานเสร็จสิ้นแล้ว ระยะที่ ๒ ขั้นพัฒนาโครงงาน เป็นขั้นที่ผู้เรียนกาหนดหัวข้อคาถาม หรือประเด็นปัญหา ที่ผู้เรียนสนใจอยากรู้ แล้วตั้งสมมติฐานมาตอบ คาถามเหล่านั้น ทดสอบสมมติฐานด้วยการลงมือปฏิบัติ จนค้นพบคาตอบด้วยตนเอง ตามขั้นตอนดังนี้ ๑. ผู้เรียนกาหนดปัญหาที่จะศึกษา ๒. ผู้เรียนตั้งสมมติฐานเบื้องต้น ๓. ผู้เรียนตรวจสอบสมมติฐานเบื้องต้น ๔. ผู้เรียนสรุปข้อความรู้จากผลการตรวจสอบสมมติฐาน ในกรณีที่ผลการตรวจสอบไม่เป็นไปตามสมมติฐาน ผู้สอนควรให้กาลังใจผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนไปแสวงหาความรู้ เพิ่มเติม สิ่งที่ไม่ควรกระทาคือการตาหนิหรือกล่าวโทษ ผู้สอนควรกระตุ้นให้ ผู้เรียนมีกาลังใจจนสามารถตั้งสมมติฐานใหม่ ได้ในกรณีที่ผลการตรวจสอบเป็นไปตามสมมติฐาน ให้ผู้เรียนสรุปองค์ความรู้จากการค้นพบด้วยการลงมือปฏิบัติของผู้เรียน เองเมื่อได้องค์ความรู้ใหม่แล้ว ผู้เรียนจะนาองค์ความรู้นั้นไปใช้ในการทากิจกรรมตามความสนใจต่อไปได้ ผู้เรียน อาจใช้ ความรู้ที่ค้นพบเป็นพื้นฐานของการกาหนดประเด็น ปัญหาขึ้นมาใหม่เพื่อกาหนดเป็นโครงงานย่อย และศึกษารายละเอียด ในเรื่องนั้นต่อไปอีก
ระยะที่ 3 ขั้นสรุป เป็นระยะสุดท้ายของโครงงานที่ผู้เรียนค้นพบคาตอบของปัญหาแล้ว และได้แสดงให้ผู้สอนเห็นว่าได้ สิ้นสุดความสนใจในหัวข้อโครงงานเดิม และเริ่มหันเหความสนใจไปสู่เรื่องใหม่ ระยะนี้เป็นระยะที่ผู้สอนและผู้เรียนจะได้ แบ่งปันประสบการณ์การทางานและแสดงให้เห็นถึงความสาเร็จของการทางานตลอดโครงงานแก่คนอื่นๆ มีกิจกรรมที่ ผู้สอนให้ผู้เรียนดาเนินการในขั้นตอนนี้ ดังนี้ ๑. ผู้เรียนเขียนรายงานเป็นรูปแบบงานวิจัยเล็กๆ ๒. ผู้เรียนนาเสนอผลงาน (แสดงเป็นแผงโครงงาน) ให้ผู้ที่สนใจรับรู้ สรุปและนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบโครงงานมีดังนี้ ๑. ขั้นนาเสนอ หมายถึงขั้นที่ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาใบความรู้ กาหนดสถานการณ์ ศึกษาสถานการณ์ เล่นเกม ดูรูปภาพ หรือผู้สอนใช้เทคนิคการตั้งคาถามเกี่ยวกับสาระการเรียนรู้ที่กาหนดในแผนการจัดการเรียนรู้แต่ละแผน เช่น สาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรและสาระการเรียนรู้ที่เป็นขั้นตอนของโครงงาน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการเรียนรู้ ๒. ขั้นวางแผน หมายถึง ขั้นที่ผู้เรียนร่วมกันวางแผน โดยการระดมความคิด อภิปรายหารือข้อสรุปของกลุ่ม เพื่อ ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ ๓. ขั้นปฏิบัติ หมายถึง ขั้นที่ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรม เขียนสรุปรายงานผลที่เกิดขึ้นจากการวางแผนร่วมกัน ๔. ขั้นประเมินผล หมายถึง ขั้นการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง โดยให้บรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้ที่กาหนด ไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ โดยมีครู ผู้เรียนและเพื่อนร่วมกันประเมิน ๕. แนวทางการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน มี ๒ แนวทาง ดังนี้ ๑.) การจัดกิจกรรมตามความสนใจของผู้เรียน เป็นการจัดกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนเลือกศึกษาโครงงานจากสิ่งที่สนใจอยากรู้ที่มีอยู่ในชีวิตประจาวัน สิ่งแวดล้อมใน สังคม หรือจากประสบการณ์ต่างๆ ที่ยังต้องการคาตอบ ข้อสรุป ซึ่งอาจจะอยู่นอกเหนือจากสาระการเรียนรู้ในบทเรียน ของหลักสูตร มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ ๑) ตรวจสอบ วิเคราะห์ พิจารณา รวบรวมความสนใจแก่ผู้เรียน ๒) กาหนดประเด็นปัญหา/หัวข้อเรื่อง ๓) กาหนดวัตถุประสงค์ ๔) ตั้งสมมติฐาน ๕) กาหนดวิธีการศึกษาและแหล่งความรู้ ๖) กาหนดเค้าโครงของโครงงาน ๗) ตรวจสอบสมมติฐาน ๘) สรุปผลการศึกษาและการนาไปใช้ ๙) เขียนรายงานเชิงวิจัยแบบง่ายๆ 10) จัดแสดงผลงาน
๗. กระบวนกำรพัฒนำ Best Practice ไปใช้ ๗.๑ กลุ่มเป้าหมายในการนา Best Practice ไปใช้ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ – ๒๕๕๖ จานวนนักเรียน ๖๙ คน ๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา Best Practice การจัดระบวนการจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่มุ่งเน้นการพัฒนาในรูปแบบสืบเสาะหา ความรู้ (Inquiry Based Learning) พร้อมด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Based Learning) ที่ดาเนินการอธิบายเป็นขั้นตอนตามที่ได้กระทาจริงกับนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ในกระบวนการเรียนรู้ของ ผู้เรียนอย่างมีความสุข
ขั้นตอนการพัฒนา Best Practice ผู้พฒ ั นาได้ ดาเนินการพัฒนาการปฏิบัติงานโดยใช้ กระบวนการ ๔ ร. มาประยุกต์ ใช้ ในการดาเนินการ ดังนี้
รับฟัง รับรู ้
- ความรู้เดิม - ความรู ้ใหม่ - พร้อมรับการเรี ยนรู้
* ทบทวนความรู ้เดิม เสริ มความรู ้ใหม่ เพื่อให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่อง
- กระตุน้ - ระดมความคิด - ร่ วมดาเนินการวางแผน
* สร้างความสนใจให้กบั ผูเ้ รี ยนเกิดความกระตือรื อร้นโดยใช้ปัญหาในการหาคาตอบด้วย กระบวนการคิดแบบวิทยาศาสตร์ * แบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน จานวน 4 กลุ่ม ในการระดมความคิดในการวาง แผนการดาเนินการเรี ยนรู ้ดว้ ยวิธีการ Out door ให้เกิดองค์ความรู ้ใหม่ในกระบวนการเรี ยนรู ้
เร่ งรัด เร่ งปฏิบตั ิ
- ลงมือปฏิบตั ิ - เกิดทักษะการคิด (กระบวนการทางวิทยาศาสตร์) 5 E 1. ขั้นสร้างความสนใจ Engagement 2. ขั้นสารวจและค้นหา Explanation 3. ขั้นอธิ บายและลงข้อสรุ ป Explanation 4. ขั้นขยายความรู ้ Elaboration 5. ขั้นประเมินผล Evaluation
* กระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้แบบวิทยาศาสตร์ดว้ ยกระบวนการเรี ยนรู ้แบบสื บเสาะหาความรู ้ พร้อมบูรณาการการเรี ยนรู ้แบบโครงงานวิทยาศาสตร์
รู ้จา รู ้คิด รู ้ใช้
- เกิดความรู ้ใหม่ - ประยุกต์ความรู ้ใหม่ - นาเสนอผลงานที่ หลากหลายวิธีอย่างสร้างสรรค์ แผนผังความคิด/โครงงานวิทยาศาสตร์ /โมเดล วงจรชีวิต /หนังสื อเล่มเล็ก/Power point
ผู้คิดโมเดล : นางสาวสุปราณี ทองดอนน้ อย
* น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในกระบวนการเรี ยนรู ้ให้กบั ผูเ้ รี ยนในการสร้าง องค์ความรู ้ใหม่สู่ ผลงานอย่างสร้างสรรค์
๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ Best Practice วิธีการที่ใช้สอนนักเรียน และผลสาเร็จที่นักเรียนได้กระทาจริง ๗.๔ แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ นาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้กับทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้แบบบรูณาการ ๘. ผลสำเร็จที่เกิดขึ้นจำกกำรพัฒนำ Best Practice ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณ จานวนนักเรียน ๖๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๕ ๘.๒ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่สูงขึ้น พร้อมด้วยผลงานทางด้านวิชาการ ในระดับเครือข่ายและระดับภาค ๘.๓ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ Best Practice ในการจัดกระบวนการจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้ประเมินความพึงพอใจต่อ การจัดการเรียนรู้แบบรูปแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Based Learning) พร้อมด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ โครงงาน (Project Based Learning) โดยใช้กระบวนการ PDCA จากผู้ปกครองนักเรียน ครู คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน และนักเรียน จานวน ๑๐๐ คน จากการรวบรวมข้อมูลด้วยเครื่องมือที่ได้จัดทาขึ้น ได้แก่ แบบสอบถามความพึง พอใจ มีผลสรุป ดังนี้ - คณะครู บุคลากรและนักเรียน มีความพึงพอใจ คิดเป็นร้อยละ ๙๕ - คณะกรรมการสถานศึกษา ตัวแทนผู้ปกครองและชุมชน มีความพึงพอใจ คิดเป็นร้อนละ ๙๒ ๘.๔ ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา Best Practice /ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา Best Practice ไปใช้ ในการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Based Learning) พร้อมด้ว ย กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Based Learning) ส่งผลให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายในสถานศึกษา พร้อม ด้วยคณะกรรมการสถานศึกษามีความพอใจ ที่เห็นการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงการจัดการศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เกิดความภูมิใจในความสาเร็จ ดังผลงานที่ปรากฏ ดังนี้ ๑. รางวัลชนะเลิศเหรียญทองการแข่งขันวิชาการกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กิจกรรมอัจฉริย ภาพทาง วิทยาศาสตร์ ในระดับชั้นประถมศึกษา ระดับเครือข่ายคุณภาพการศึกษาจรเข้เผือก ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๔ ๒. รางวั ล ชมเชยการเข้า ร่ ว มแข่ง ขัน วิช าการกลุ่ มสาระการเรี ยนรู้วิ ทยาศาสตร์ กิจ กรรมอัจ ฉริ ยภาพทาง วิทยาศาสตร์ในระดับชั้นประถมศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษางานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๔
๓. รางวัลเหรียญทองการแข่งขันวิชาการกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กิจกรรมผลงานสิ่งประดิษฐ์ทาง วิทยาศาสตร์ ไม้ถูมหัศจรรย์และเสื้อชูชีพรีไซเคิลจากขวดน้า ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับเขตพื้นที่การศึกษา งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๔ ๔. รางวัลชนะเลิศเหรียญทองการแข่งขันวิชาการกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กิจกรรมอัจฉริยภาพทาง วิทยาศาสตร์ในระดับชั้นประถมศึกษา ระดับเครือข่ายคุณภาพการศึกษาจรเข้เผือก ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๕ ๕. รางวัลชนะเลิศเหรียญทองการแข่งขันวิชาการกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กิจกรรมอัจฉริยภาพทาง วิทยาศาสตร์ในระดับชั้นมัธยมศึกษา ระดับเครือข่ายคุณภาพการศึกษาจรเข้เผือก ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๕ ๖. รางวัลชนะเลิศเหรียญทองการแข่งขันวิชาการกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กิจกรรมผลงานสิ่งประดิษฐ์ ทางวิทยาศาสตร์ในระดับชั้นประถมศึกษา ระดับเครือข่ายคุณภาพการศึกษาจรเข้เผือก ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๕ ๗. รางวัลชนะเลิศเหรียญทองการแข่งขันวิชาการกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กิจกรรมผลงานสิ่งประดิษฐ์ ทางวิทยาศาสตร์ในระดับชั้นมัธยมศึกษา ระดับเครือข่ายคุณภาพการศึกษาจรเข้เผือก ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๕ ๘. รางวั ล ชมเชยการเข้า ร่ ว มแข่ง ขัน วิช าการกลุ่ มสาระการเรี ยนรู้วิ ทยาศาสตร์ กิจ กรรมอัจ ฉริ ยภาพทาง วิทยาศาสตร์ในระดับชั้นประถมศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษางานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๕ ๙. รางวัลเหรียญเงินการเข้าร่วมแข่งขันวิชาการกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กิจกรรมอัจฉริยภาพทาง วิทยาศาสตร์ในระดับชั้นมัธยมศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษางานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๕ ๑๐. รางวัลเหรียญเงินการเข้าร่วมแข่งขันวิชาการกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กิจกรรมผลงานสิ่งประดิษฐ์ ทางวิทยาศาสตร์ในระดับชั้นมัธยมศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษางานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๕ ๑๑. รางวัลชนะเลิศเหรียญทองการเข้าร่วมแข่งขันวิชาการกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กิจกรรมผลงาน สิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ในระดับชั้นประถมศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษางานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ประจาปี การศึกษา ๒๕๕๕ ๑๒. ได้ เ ป็ น ตั ว แทนของส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษากาญจนบุ รี เขต ๑ ในการเข้ า ร่ ว มการแข่ ง ขั น งาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับภาคกลางและภาคตะวันออก ครั้งที่ ๖๒ ณ จังหวัดระยอง ได้รับรางวัลเหรียญเงิน ๙. กระบวนกำรตรวจสอบซ้ำเพื่อพัฒนำปรับปรุง Best Practice ให้เกิดผลดีอย่ำงต่อเนื่อง ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้า Best Practice ในการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Based Learning) พร้อมด้วยกระบวนการ จัดการเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Based Learning) โดยการทาซ้ากับนักเรียนจานวน ๓ ครั้ง ดั้งนี้ ครั้งที่ ๑ จานวนนักเรียนที่ทาได้ตามเกณฑ์ จานวน ๑๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๑.๗๓ ครั้งที่ ๒ จานวนนักเรียนที่ทาได้ตามเกณฑ์ จานวน ๒๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๑.๘๘ ครั้งที่ ๓ จานวนนักเรียนที่ทาได้ตามเกณฑ์ จานวน ๓๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๖.๓๗
๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง Best Practice นักเรียนมีการพัฒนาการเรียนรู้สูงขึ้น และมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สู่การคิดอย่างสร้างสรรค์ ๑๐. กำรประชำสัมพันธ์ผลสำเร็จของ Best Practice และกำรเผยแพร่ ขยำยผล ในวงกว้ำง ๑. คณะครูในโรงเรียน ๒. ในระดับเครือข่ายการศึกษาจรเข้เผือก ๓. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความสาเร็จของ Best Practice งานวิชาการของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา กาญจนบุรี เขต ๑
ลงชื่อ.............................................................ผู้จดั ทา ( นางสาวสุปราณี ทองดอนน้อย ) ครู คศ.๑ โรงเรียนบ้านไทรทอง ลงชื่อ........................................................... ผู้ให้ความเห็นชอบ ( นายสาเนาว์ นาคพิรุณ ) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านไทรทอง ประธานเครือข่ายพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาเครือข่ายจรเข้เผือก
ประวัติผู้จัดทำ
ชื่อ – สกุล
นางสาวสุปราณี ทองดอนน้อย
เกิดเมื่อวันที่
๑๙ พฤษภาคม ๒๕๒๔
คุณวุฒิ
ปริญญาตรี ครุศาสตรบัณฑิต เอก วิทยาศาสตร์ทั่วไป สถาบันราชภัฏกาญจนบุรี กาลังศึกษาปริญญาโท คณะศึกษาศาสตร์ สาขานวัตกรรมหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
เริ่มปฏิบัติงำน วันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ตาแหน่งครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านไทรทอง สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ที่อยู่ปัจจุบัน
บ้านเลขที่ ๑/๒ หมู่ ๔ ต.หนองลาน อ.ท่ามะกา จ.กาญจนบุรี ๗๑๑๓๐ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๑ – ๑๙๖ – ๘๔๙๘
รำยชื่อผู้เชี่ยวชำญที่ให้คำปรึกษำ ๑. นางละเอียด
สุวรรณมณี
ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดกลางทองราษฎร์บูรณะ
๒. นางณภาภัช
ภุมภารินทร์
ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดท่าน้าตื้น
รำยชื่อผู้ให้คำแนะนำและช่วยเหลือในกำรจัดทำ Best Practice ๑. นายสาเนาว์
นาคพิรุณ
ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านไทรทอง
๒. นางมะลิวัลย์
เพิ่มวงศ์
ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านจันทร์ลาดวิทยา
๓. นางสาวนนทยา
เพิ่มยศ
ครู คศ.๑ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา