แนวทางการใช้ การวิจัยเชิงปฏิบัตกิ ารในชัน้ เรียน ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ โดย ดร.ศศิเทพ ปิ ติพรเทพิน สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ ศกึ ษา ภาควิชาการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ทำไมต้ องใช้ กำรวิจยั เชิงปฏิบัตกิ ำรในชั้นเรียน
http:www.guardian.co.uk
http:www. rustymunson.com
การวิจัยเชิงปฏิบัตกิ ารในชัน้ เรี ยนเป็ นอย่ างไร
ลงมือปฎิบตั ิ
วางแผน
สะท้ อนความคิด
4
ตัวอย่ ำงงำนวิจยั กำรส่ งเสริมควำมเข้ ำใจแนวคิดวิทยำศำสตร์ เรื่อง กำรแบ่ งเซลล์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ 4 โดยกำรสร้ ำงภำพเคลือ่ นไหว Enhancing Grade 10 Students’ Understanding of the Scientific Concepts of Cell Division by Generating Animations
ศศิเทพ ปิ ติพรเทพิน1*, สุรเดช ศรี ทา2, กฤษณา โภคพันธ์ 2, และกฤษณา ชินสิ ญจน์ 2 Sasithep Pitiporntapin1 Suradet Sritha2 Krissana Pokpun2 and Krissana Shinnasin2
5
ควำมเป็ นมำของปัญหำ
6
วัตถุประสงค์ของกำรวิจยั • ส่ งเสริ มความเข้าใจแนวคิดวิทยาศาสตร์ เรื่ อง การแบ่งเซลล์ ในวิชาชีววิทยา 1 ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โดยการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์ • ศึกษาปั จจัยที่ส่งผลต่อความเข้าใจแนวคิดวิทยาศาสตร์ เรื่ อง การแบ่งเซลล์ ใน วิชาชีววิทยา 1 ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ที่เรี ยนรู ้โดยการสร้าง ภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์
7
วิธีดำเนินกำรวิจัย รู ปแบบกำรวิจยั • การวิจยั ครั้งนี้เป็ นการวิจยั แบบผสมผสาน (mixed-method study) ที่ ดาเนินการกับนักเรี ยน 1 ห้องเรี ยน โดยใช้วธิ ีการเก็บข้อมูลทั้งเชิงปริ มาณ และเชิงคุณภาพ ภายใต้การตีความหมายของคณะผูว้ จิ ยั ที่รับผิดชอบการ สอนวิชา ชีววิทยา 1 ของโรงเรี ยนสาธิตสังกัดสานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษาแห่งหนึ่งในกรุ งเทพมหานคร ในภาคต้น ปี การศึกษา 2554
8
กลุ่มทีศ่ ึกษำ • กลุ่มที่ศึกษาในครั้งนี้เป็ นนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 แผนการเรี ยน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของโรงเรี ยนสาธิตสังกัดสานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาแห่งหนึ่งในกรุ งเทพมหานคร ได้มาจากการสุ่ม แบบเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) จานวน 4 ห้องเรี ยน ประกอบด้วย นักเรี ยนทั้งสิ้น 115 คน ในภาคต้น ปี การศึกษา 2554
9
เครื่องมือทีใ่ ช้ ในกำรวิจัย • แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ เรื่อง กำรแบ่ งเซลล์ -ประกอบด้วยหัวข้อ การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส (mitosis) จานวน 4 คาบ และ หัวข้อการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส (meiosis) จานวน 4 คาบ -ใช้เวลาเรี ยนจานวน 3 คาบต่อสัปดาห์ รวมทั้งสิ้นจานวน 8 คาบ (คาบละ 50 นาที)
10
เครื่องมือที่ใช้ ในกำรวิจยั (ต่ อ) • รู ปแบบการทากิจกรรมเน้นการสร้างความรู ้ดว้ ยตนเอง ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นนำเข้ ำสู่ บทเรียน ขั้นวำงแผนและสำรวจ
ขั้นปฏิบัตแิ ละสะท้อนควำมคิด
ขั้นนำควำมรู้ ไปใช้ จริง
11
เครื่องมือทีใ่ ช้ ในกำรวิจัย (ต่ อ) • แบบทดสอบก่ อนและหลังกำรจัดกำรเรียนรู้ เรื่อง กำรแบ่ งเซลล์ • บันทึกกำรเรียนรู้ (journal) * เครื่ องมือทั้งหมดได้ รับการตรวจสอบความตรงตามเนือ้ หาและภาษาที่ ใช้ โดยผู้เชี่ ยวชาญ และลองใช้ ก่อนเก็บข้ อมูลจริ ง
12
กำรเก็บรวบรวมข้ อมูล • นักเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนการจัดการเรี ยนรู ้ เรื่ อง การแบ่งเซลล์ จานวน 7 ข้อ ใช้ เวลาทั้งสิ้น 30 นาที และนาผลการสอบมาใช้ในการแบ่งกลุ่มนักเรี ยน กลุ่มละ 5-6 คน โดยคละเพศและความสามารถ
13
กำรเก็บรวบรวมข้ อมูล (ต่ อ) • จัดการเรี ยนรู้ตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่พฒั นาขึ้นในแต่ละคาบเรี ยน
• นักเรี ยนแต่ละคนเขียนบันทึกการเรี ยนรู้และนามาส่ งในคาบเรี ยนถัดไป หากข้อมูลที่ ได้รับยังไม่ชดั เจน คณะผูว้ จิ ยั จะสัมภาษณ์นกั เรี ยนอย่างไม่เป็ นทางการเพิม่ เติม
14
กำรเก็บรวบรวมข้ อมูล (ต่ อ) • เมื่อจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ครบทุกหัวข้อ นักเรี ยนทาแบบทดสอบหลังการจัดการ เรี ยนรู ้ เรื่ อง การแบ่งเซลล์ ซึ่งเป็ นข้อสอบชุดเดียวกับข้อสอบก่อนเรี ยนอีกครั้ง โดย ใช้เวลา 1 คาบเรี ยน
15
กำรวิเครำะห์ ข้อมูล วิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) Haidar (1997) ซึ่งแบ่ง เป็ น 5 ระดับ ดังนี้ 1) กลุ่มแนวคิดวิทยำศำสตร์ (sound understanding) หมายถึง นักเรี ยนมีแนวคิด สอดคล้องกับแนวคิดของนักวิทยาศาสตร์ ทุกองค์ประกอบ 2) กลุ่มแนวคิดวิทยำศำสตร์ แบบไม่ สมบูรณ์ (partially understanding) หมายถึง นักเรี ยนมีแนวคิดสอดคล้องกับแนวคิดของนักวิทยาศาสตร์ อย่างน้อย 1 องค์ประกอบ 3) กลุ่มแนวคิดวิทยำศำสตร์ บำงส่ วนและคลำดเคลื่อนบำงส่ วน (partially understanding with specific misconception) หมายถึง นักเรี ยนมีแนวคิดสอดคล้อง กับแนวคิดทางวิทยาศาสตร์อย่างน้อย 1 องค์ประกอบ และมีบางแนวคิดคลาดเคลื่อน จากแนวคิดวิทยาศาสตร์ดว้ ย 4) กลุ่มแนวคิดคลำดเคลื่อนจำกแนวคิดวิทยำศำสตร์ (specific misconception) หมายถึง นักเรี ยนมีแนวคิดที่ไม่สอดคล้องกับแนวคิดวิทยาศาสตร์ที่ปรากฏในคาถาม นั้น ๆ 5) กลุ่มที่ไม่ เข้ ำใจ (no understanding) หมายถึง นักเรี ยนไม่ได้ตอบคาถามนักเรี ยน หรื อเขียนคาตอบในลักษณะทวนคาถามและไม่ได้ใช้แนวคิดวิทยาศาสตร์ ใด ๆ ในการ ตอบคาถาม
16
กำรวิเครำะห์ ข้อมูล (ต่อ) • นาข้อมูลที่ได้จากการจัดกลุ่มคาตอบจากแบบทดสอบทั้งก่อนและหลังการ จัดการเรี ยนรู ้ไปนาเสนอต่อผูเ้ ชี่ยวชาญด้านเนื้อหา • หากผูเ้ ชี่ยวชาญมีความคิดเห็นไม่ตรงกับคณะผูว้ จิ ยั คณะผูว้ จิ ยั และ ผูเ้ ชี่ยวชาญจะอภิปรายเพื่อหาข้อสรุ ปของการจัดกลุ่มคาตอบ ก่อน คานวณหาค่าร้อยละของความถี่ของคาตอบในแต่ละกลุ่มเพื่อเปรี ยบเทียบ กับจานวนนักเรี ยนทั้งหมดที่เป็ นกลุ่มศึกษา
17
กำรวิเครำะห์ ข้อมูล (ต่อ) • พิจารณาข้อความในบันทึกการเรี ยนรู ้ และการสัมภาษณ์ โดยอ่านและจัดกลุ่ม ข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กนั และนับค่าความถี่ของข้อมูลแต่ละกลุ่มพร้อมทั้งหาค่า ร้อยละ ส่วนชื่อนักเรี ยนที่ใช้ในงานวิจยั นี้เป็ นนามสมมติเพื่อรักษาสิ ทธิ์ของกลุ่มที่ ศึกษา
18
ผลกำรวิจยั จำนวนนั กเรียน (ร้ อยละ)
แนวคิดที่วดั
แนวคิดวิทยำศำสตร์ แนวคิดวิทยำศำสตร์ แบบไม่สมบูรณ์ Pre
Post
1. ความสามารถในการเพิ่ม จานวนของเซลล์
4 (3.48)
9 (7.82)
2. วัฏจักรของเซลล์
0 (0.00) 0 (0.00)
3. จุดประสงค์ของการแบ่ง เซลล์แบบ ไมโทซิส
4. ขั้นตอนการแบ่งเซลล์แบบ ไมโทซิส 5. จุดประสงค์ของการแบ่ง เซลล์แบบ ไมโอซิส 6. ขั้นตอนการแบ่งเซลล์แบบ ไมโอซิส 7. การแบ่ง ไซโทพลาซึม
Pre
Post
แนวคิดวิทยำศำสตร์ แนวคิดคลำดเคลือ่ น บำงส่ วนและ จำกแนวคิด คลำดเคลือ่ นบำงส่ วน วิทยำศำสตร์ Pre
Post
Pre
Post
ไม่เข้ำใจ
Pre
Post
10 (8.70)
1 (0.86)
66 (57.39)
95 (82.60)
12 (10.43)
8 (6.95)
23 (20.00)
36 (31.31) 43 (37.39)
18 (15.65) 33 (28.69)
41 (35.65) 55 (47.83)
7 (6.09) 3 (2.60)
11 (9.56) 4 (3.48)
54 (46.95) 17 (14.79)
20 (17.39) 6 (5.21)
36 (31.31) 62 (53.92)
7 (6.09) 7 (6.09)
1 (0.86) 8 (6.95)
76 (66.09) 45 (39.14)
9 (7.82) 15 (13.05)
21 (18.27) 32 (27.83)
10 (8.70) 4 (3.48)
8 (6.95) 19 (16.52)
17 (14.79) 26 (22.66)
4 (3.48) 13 (11.30)
78 (67.82) 62 (53.92)
6 (5.21) 6 (5.21)
-
57 (49.57) 48 (41.74)
6 (5.21) 3 (2.60)
22 (19.14) 26 (22.61)
7 (6.09) 4 (3.48)
16 (13.91) 8 (6.95)
18 (15.66) 36 (31.31)
8 (6.95) 22 (19.14)
84 (73.04) 69 (60.00)
12 (10.43) 11 (9.56)
3 (2.60)
2 (1.73)
19
ผลการวิจัย (ต่ อ)
นักเรียนจำนวนเพิม่ ขึน้ เข้ ำใจว่ ำเซลล์ บำงชนิดสำมำรถเพิม่ จำนวนได้ ตลอดชั่วอำยุของเซลล์ “เซลล์ ทุกเซลล์ ในร่ างกายสามารถเพิ่มจานวนได้ เพื่อการเจริ ญเติบโต หรื อซ่ อมแซมส่ วนที่สึก หรอ” “แม้ ว่าเซลล์ ส่วนใหญ่สามารถเพิ่มจานวนได้ แต่ มีเซลล์ บางชนิดไม่ สามารถแบ่ งเซลล์ ได้ อีก เช่ น เซลล์กล้ ามเนือ้ หั วใจ”
นักเรียนจำนวนมำกเปลีย่ นควำมเข้ ำใจจำกเดิมที่เข้ ำใจว่ ำวัฏจักรของเซลล์ มีกระบวนกำร เช่ นเดียวกับกำรเวียนว่ ำยตำยเกิดของมนุษย์ในวัฏสงสำร “วัฏจักรของเซลล์ เป็ นการเกิดของเซลล์ ขึน้ ใหม่ ซึ่งมาจากการแบ่ งเซลล์ ของเซลล์ เดิม คล้ ายกับ การเวียนว่ ายตายเกิดของมนุษย์ ” “เป็ นวงจรที่เซลล์ แบ่ งเซลล์ อย่างต่ อเนื่องจนเกิดเซลล์ใหม่ ขึน้ และเซลล์ ใหม่ ที่ได้ สามารถแบ่ ง เซลล์ ต่อไปได้ อีก”
20
ผลกำรวิจยั (ต่ อ) นักเรียนทรำบจุดประสงค์ ของกำรแบ่ งเซลล์ แบบไมโทซิสมำกขึน้ “เป็ นการแบ่ งเซลล์ ร่างกาย” “เป็ นการแบ่ งเซลล์เพื่อเพิ่มจานวนเซลล์ ร่างกายในการเจริ ญเติบโต ในสิ่ งมีชีวิตหลายเซลล์ หรื อในการแบ่ งเซลล์ เพื่อการสื บพันธุ์ในสิ่ งมีชีวิตเซลล์เดียวและในสิ่ งมีชีวิตหลายเซลล์ บาง ชนิด โดยไม่ มีการลดจานวนโครโมโซม”
ไม่ มนี กั เรียนคนใดทีย่ งั คงมีควำมเข้ ำใจว่ ำกำรเพิม่ จำนวนเซลล์ แบบเท่ ำตัว หรือ ทวีคูณเป็ นกำรแบ่ งเซลล์ แบบไมโทซิส “เป็ นการแบ่ งเซลล์ แบบทวีคูณ จาก 1 เป็ น 2 จาก 2 เป็ น 4 ไปเรื่ อย ๆ” “การแบ่ งเซลล์ แบบนีป้ ระกอบด้ วยระยะอินเตอร์ เฟส โพรเฟส เมทาเฟส แอนาเฟส และเทโล เฟส”
21
22
ผลกำรวิจยั (ต่ อ) • นักเรียนเข้ ำใจชัดเจนขึน้ ว่ ำกำรแบ่ งเซลล์ แบบไมโอซิ สเป็ นกำรแบ่ งเซลล์ เพือ่ กำร สื บพันธุ์ ไม่ ใช่ กำรแบ่ งเซลล์ของเซลล์สืบพันธุ์ “เป็ นการแบ่ งเซลล์ ของเซลล์ ไข่ และอสุจิ เพื่อให้ มีไข่ และอสุจิเพิ่มมากขึน้ ” “เป็ นการแบ่ งเซลล์ เพื่อสร้ างเซลล์ สืบพันธุ์ มีการลดจานวนโครโมโซมลงครึ่ งหนึ่งจากเซลล์ ตั้งต้ น ไม่ พบในเซลล์ ร่างกาย”
นักเรียนส่ วนใหญ่ ทรำบขั้นตอนกำรแบ่ งเซลล์ แบบไมโอซิ สมำกขึน้ แต่ ยังคงมีควำม เข้ ำใจที่คลำดเคลือ่ นเกีย่ วกับโครโมโซม “ช่ วงแอนาเฟส 1 มีการแยกซิ สเตอร์ โครมาติด (sister chromatid) ออกจากกัน” “การแบ่ งเซลล์ แบบไมโอซิ สประกอบด้ วยระยะอินเตอร์ เฟส 1 โพรเฟส 1 เมทาเฟส 1 แอนา เฟส 1 เทโลเฟส 1 และมีระยะอินเตอร์ เฟส 2 สั้นมาก ก่ อนเข้ าสู่ระยะโพรเฟส 2 เมทาเฟส 2 แอนาเฟส 2 และเทโลเฟส 2”
23
ผลกำรวิจยั (ต่ อ) • นักเรียนส่ วนใหญ่ สำมำรถระบุควำมแตกต่ ำงของกำรแบ่ งไซโทพลำซึมของเซลล์ พืชและสัตว์ ได้มำกขึน้ “เซลล์ พืชมีเยือ้ หุ้มเซลล์ คอดเข้ าหากัน” “เซลล์ พืชมีการแบ่ งไซโทพลาซึ มโดยสร้ างแผ่ นกั้นเซลล์คั่นตรงกลางระหว่ างนิ วเคลียสใหม่ ทั้ง สอง แล้ วขยายไปสู่ผนังเซลล์ เดิมทั้งสองด้ าน แต่ เซลล์สัตว์ เยื่อหุ้มเซลล์ จะคอดเข้ าหากัน จนกระทั่งเซลล์ หลุดออกจากกัน”
24
ผลกำรวิจยั (ต่ อ) ปั จจัยสาคัญที่มีผลต่อความเข้าใจแนวคิดวิทยาศาสตร์ ของนักเรี ยน ได้แก่
• เวลาที่นกั เรี ยนใช้ในการสร้างภาพเคลื่อนไหว • การลงมือปฏิบตั ิดว้ ยตนเองในห้องเรี ยน • ความกระตือรื อร้นของนักเรี ยนในการหาความรู ้เพิ่มเติม • และข้อเสนอแนะจากการอภิปรายในชั้นเรี ยน
25
สรุ ปและอภิปราย • ส่งเสริ มควำมสำมำรถในกำรเรียนรู้ และกำรจดจำในระยะยำวของนักเรี ยนได้เป็ น อย่างดี (Hays,1996) • ส่งเสริ มให้นกั เรี ยนเข้ ำใจเนือ้ หำเกีย่ วกับกำรแบ่ งเซลล์ มีทกั ษะในกำรนำเสนอสิ่ งที่ เรี ยนรู ้ให้ผอู ้ ื่นเข้าใจ และมีกำรร่ วมมือกันในแสวงหำควำมรู้ เพื่อสร้างสรรค์ผลงาน เพิ่มมากขึ้น (Bogiages & Hitt, 2008) • ส่งเสริ มให้นกั เรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนทีส่ ู งขึน้ แล้วยังส่งเสริ มให้นกั เรี ยนมี เจตคติทดี่ ตี ่ อทำงกำรเรียนรู้ (Poohkay & Szabo,1995)
26
กำรสร้ ำงภำพเคลือ่ นไหว แบบกำรเคลือ่ นที่หยุดด้ วยดินนำ้ มัน แนวทำงในกำรส่ งเสริมควำมเข้ ำใจแนวคิดวิทยำศำสตร์
27
ภาพเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่หยุด คืออะไร • การสร้างชิ้นงานโดยใช้กล้องบันทึกภาพหุ่นจาลองที่สร้างขึ้นจากวัสดุต่าง ๆ ได้แก่ ดินน้ ามัน ทุกขณะที่ขยับหรื อเปลี่ยนตาแหน่ง โดยใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์ช่วยในการสร้างภาพเคลื่อนไหว
28
กระบวนการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่หยุด 1. วัสดุและอุปกรณ์ ทใี่ ช้ มดี งั ต่ อไปนี้
• กระดาษ ดินสอ ยางลบ และเครื่ องเขียนต่าง ๆ • กล้องดิจิทลั ขาตั้ง (tripod) โคมไฟ และ อุปกรณ์เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ • คอมพิวเตอร์ (ถ้าเป็ นโน๊ตบุค๊ จะสะดวกใน การใช้งาน) และโปรแกรมทาภาพยนต์ เช่น Windows Movie Maker เป็ นต้น • ดินน้ ามันและวัสดุอื่น ๆ ตามความคิด สร้างสรรค์ของนักเรี ยน
29
กระบวนการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่หยุด (ต่อ) 2. เทคนิคสาคัญในการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบการเคลื่อนที่หยุด มีดงั นี้ 2.1 ศึกษำเนือ้ หำและรำยละเอียดเกีย่ วกับเรื่องทีจ่ ะทำ
30
กระบวนการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่หยุด (ต่อ) 2.2 เขียนโครงร่ างเรื่ องราว (story board)
31
กระบวนการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่หยุด (ต่อ) 2.3 สร้างหุ่นจาลอง
32
กระบวนการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่หยุด (ต่อ) 2.4 ถ่ายภาพด้วยกล้องดิจิทลั
33
กระบวนการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่หยุด (ต่อ) 2.5 สร้างภาพเคลื่อนไหว
34
ลักษณะสาคัญของการเรี ยนรู ้ดว้ ยการสร้างภาพเคลื่อนไหว แบบเคลื่อนที่หยุด 1. ถ่ายทอดจินตนาการจากสิ่ งที่ยากเป็ นสิ่ งที่ง่ายต่อการรับรู ้
35
ลักษณะสาคัญของการเรี ยนรู ้ดว้ ยการสร้างภาพเคลื่อนไหว แบบเคลื่อนที่หยุด (ต่อ) 2. นักรี ยนเป็ นผูล้ งมือปฏิบตั ิ
36
ลักษณะสาคัญของการเรี ยนรู ้ดว้ ยการสร้างภาพเคลื่อนไหว แบบเคลื่อนที่หยุด (ต่อ) 3. ส่งเสริ มปฏิสมั พันธ์ของนักเรี ยนและนักเรี ยน และนักเรี ยนกับครู ผสู ้ อน
37
ลักษณะสาคัญของการเรี ยนรู ้ดว้ ยการสร้างภาพเคลื่อนไหว แบบเคลื่อนที่หยุด (ต่อ) 4. ส่งเสริ มการตัดสิ นใจและการแก้ไขปั ญหาของนักเรี ยน
38
ลักษณะสาคัญของการเรี ยนรู ้ดว้ ยการสร้างภาพเคลื่อนไหว แบบเคลื่อนที่หยุด (ต่อ) 5. เน้นกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้
39
ลักษณะสาคัญของการเรี ยนรู ้ดว้ ยการสร้างภาพเคลื่อนไหว แบบเคลื่อนที่หยุด (ต่อ) 6. การเรี ยนรู ้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องไปถึงนอกเวลาเรี ยน
40
ลักษณะสาคัญของการเรี ยนรู ้ดว้ ยการสร้างภาพเคลื่อนไหว แบบเคลื่อนที่หยุด (ต่อ) 7. ส่งเสริมทักษะตาง ๆ เช่น ทักษะการ ่ สื่ อสาร ทักษะการทางานกลุม ่
41
ลักษณะสาคัญของการเรี ยนรู ้ดว้ ยการสร้างภาพเคลื่อนไหว แบบเคลื่อนที่หยุด (ต่อ) 8. ส่งเสริ มเจตคติที่ดีต่อการเรี ยนรู ้วทิ ยาศาสตร์
42
ตัวอย่างผลงานของนักเรี ยนที่เรี ยนรู ้ดว้ ยการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ เคลื่อนที่หยุด เรื่ อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิ ส
43
ตัวอย่างผลงานของนักเรี ยนที่เรี ยนรู ้ดว้ ยการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ เคลื่อนที่หยุด เรื่ อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิ ส
ตัวอย่ างงานวิจัย ผลการปฏิบัตกิ ารสอนของครู ผ้ ูสอนชีววิทยาตามแนวการสร้ าง องค์ ความรู้ ด้วยตนเอง ผ่ านการศึกษาบทเรี ยน The Outcomes of Biology Teachers’ Teaching Practices according to Constructivist Approach through Lesson Study ศศิเทพ ปิติพรเทพิน สุรเดช ศรีทา กฤษณา โภคพันธ์ และกฤษณา ชินสิญจน์
46
คาถามของการวิจัย การปฏิบตั ิการสอนตามแนวการสร้ างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ผ่านการศึกษาบทเรี ยนส่งผลอย่างไรกับ ครูผ้ สู อนชีววิทยาและนักเรี ยน
บริบทที่ศึกษา • กลุ่มที่ศกึ ษา ประกอบด้ วย ครูสมชาย ครูกานดา และครูดรุณี • โรงเรียนที่ศึกษา โรงเรี ยนสาธิตสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา แห่งหนึง่ ในกรุงเทพมหานคร • เนือ้ หาที่ศึกษา โครงสร้ างและหน้ าที่ของพืชดอก เนือ่ งจากลักษณะของเนื ้อหา ส่งเสริ มให้ นกั เรียนเรี ยนรู้ผา่ นกระบวนการสืบเสาะหาความรู้โดยเลียนแบบการ ทางานของนักวิทยาศาสตร์ ซงึ่ สอดคล้ องกับทฤษฎีการสร้ างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
48
วิธีดำเนินกำรวิจัย รู ปแบบกำรวิจยั • งานวิจยั นี ้เป็ นงานวิจยั เชิงคุณภาพ (Qualitative research) ภายใต้ การ ตีความ เพื่อนาเสนอผลที่เกิดขึ ้นกับครูผ้ สู อนชีววิทยาที่ปฏิบตั ิการสอน เรื่ อง โครงสร้ างและหน้ าทีข่ องพืชดอก ตามแนวการสร้ างองค์ความรู้ด้วย ตนเองผ่านการศึกษาบทเรีที่มยาภาพ นของครู ผ้ สู mixergy.com อนวิชาชีววิทยา รวมทังผลที ้ ่เกิด http:www. ขึ ้นกับนักเรี ยนทีเ่ รี ยนรู้ด้วยบทเรียนดังกล่าว ในภาคปลาย ปี การศึกษา 2554
http:www. mixergy.com
การเก็บรวบรวมข้ อมูล
50
สิ่งที่ครู ทงั ้ สามพัฒนาขึน้ ร่ วมกัน • แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ • แบบทดสอบก่ อนและหลังกำรจัดกำรเรียนรู้ เรื่อง กำรแบ่ งเซลล์ • บันทึกกำรเรียนรู้ (journal)
51
กำรวิเครำะห์ ข้อมูล • การวิเคราะห์เนื ้อหา เนื่องจากกลุม่ ที่ศกึ ษามีขนาดเล็ก • การตรวจสอบข้ อมูลแบบสามเส้ า (Triangulation) • การนาผลการวิเคราะห์ให้ ครูผ้ สู อนทัง้ 3 คน อ่านเพื่อตรวจสอบความ ถูกต้ องของการตีความข้ อมูล
http:www. bharathuniv.com
52
ผลกำรวิจยั 1. ผลที่เกิดขึน้ กับครูผ้ สู อนชีววิทยาจากการปฏิบัติการสอนตาม แนวการสร้ างองค์ ความรู้ด้วยตนเองผ่ านบทเรียนศึกษา 1.1 ครูผ้ สู อนได้ เรียนรู้เกี่ยวกับการสอนชีววิทยาเพิ่มมากขึน้ ครูกานดากล่าวว่า “หลังจากทีต่ นเองได้ลองนาวิ ธีดงั กล่าว ไปใช้ ทาให้ครูเห็นพัฒนาการของนักเรี ยนได้ดีมากขึ้น” 1.2 ครู ผ้ สู อนเปลี่ยนแปลงบทบาทมาเป็ นผู้ให้ คาแนะนาการเรียนรู้ให้ กับนักเรี ยน
ข้ อความจากบันทึกหลังสอนของครูดรุณี ที่ระบุวา่ “นักเรี ยนยังขาดทักษะในการใช้ เครื ่องมื อ เช่นขาดทักษะในการใช้ใบมี ดเพือ่ เตรี ยมตัวอย่างให้บาง ครู จึงให้คาแนะนาและสาธิ ตให้นกั เรี ยนดู และให้นกั เรี ยนได้ฝึกฝนจนนักเรี ยน สามารถทาได้”
1.3 ครู ผ้ สู อนเปิ ดใจเรียนรู้ เนือ้ หาใหม่ ๆ ที่พบไปพร้ อมกับนักเรี ยน ครูสมชายกล่าวว่า “... นักเรี ยนแต่ละกลุ่มวาดรู ป เซลล์ คมุ (guard cell) แตกต่าง ผม จึ งหาข้อมูลเพิ่มเติ มจากอิ นเตอร์ เน็ต ทาให้ทราบว่าเซลล์ คมุ ที ่อยู่ในชัน้ เอพิเดอร์ มิส (epidermis) มี ลกั ษณะที ่แตกต่างกันไปในพืชแต่ละชนิ ด”
53
ผลกำรวิจยั 2. ผลที่เกิดขึน้ กับนักเรียนจากการปฏิบัติการสอนตามแนวการสร้ างองค์ ความรู้ด้วยตนเอง ผ่ านบทเรียนศึกษา 1.1นักเรียนใช้ กระบวนกำรสืบเสำะหำควำมรู้ด้วยตนเองเพิม่ มำกขึน้ 1.2ทักษะด้ำนต่ ำง ๆ ของนักเรียนได้รับกำร พัฒนำมำกขึน้ อย่ ำงต่ อเนื่อง
1.3 นักเรียนมีเจตคติ ที่ดตี ่ อวิชำชีววิทยำเพิม่ มำกขึน้
54
สรุ ปและอภิปราย • ครูผ้ สู อนพัฒนาตนเองจากการปฏิบตั ิการสอนตามแนวการสร้ างองค์ความรู้ด้วย ตนเองผ่านการศึกษาบทเรี ยน (Stigler and Hiebert,1999; Lawis, 2000) • บทเรี ยนศึกษาเป็ นประโยชน์กบั ครูผ้ สู อนในการพัฒนานักเรี ยนได้ อย่างมี ประสิทธิภาพ (Fernandez and Yoshida, 2004)
สิ่งที่เกิดขึน้ กับครู ผ้ ูสอนท่ านอื่น ๆ เรี ยนรู้วธิ ีการประเมินผลระหว่างเรี ยน
การสะท้ อนความคิด
เรี ยนรู้วธิ ีการสร้ างเครื องมือ /แบบฝึ กหัด
การพัฒนาวิชาชีพครูต้อง มีความต่อเนื่อง
การทางานร่วมกัน ที่มาภาพ http:www. xtremeheights.com
สิ่ งที่เกิดขึ้นกับนักเรี ยนของครู ท่านอื่นที่ใช้บทเรี ยนศึกษา เข้ าใจแนวคิดวิทยาศาสตร์ จากตัวอย่างจริ ง เกิดการเรี ยนรู้อย่างมีความหมาย
มีทกั ษะการทางานกลุม่ เกิดเจคติทดี่ ีตอ่ การเรี ยนรู้
มีทกั ษะการนาเสนอและสือ่ ความหมาย
ที่มาภาพ http:www. mixergy.com
มีทกั ษะกระบวนการสืบเสาะหา ความรู้ด้วยตนเอง
ตัวอย่ างผลงานของนักเรี ยน