การส่งเสริมการรู้วิทยาศาสตร์โดยการสอน sts ผนวกเศรษฐกิจพอเพียง

Page 1

การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแหงชาติครั้งที่ 29 ณ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ระหวางวันที่ 24-25 ตุลาคม 2556

การสงเสริมการรูวิทยาศาสตร เรื่อง อาณาจักรสิ่งมีชีวิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ดวย การจัดการเรียนรูตามแนวคิดวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสังคม ผนวกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง Enhancing Grade 11 Students’ Scientific Literacy on Kingdom of Life according to Science, Technology, Society (STS) Approach and the Philosophy of Sufficiency Economy

มณีกานต จิตเอื้อเฟอ1* ศศิเทพ ปติพรเทพิน2 และกันทิมาณี ประเดิมวงศ3 1

สาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 50 ถ.พหลโยธิน เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 สาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 50 ถ.พหลโยธิน เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 3 ภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร50 ถ.พหลโยธิน เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 *ผูนําเสนอผลงาน E-mail: kangkok_471@hotmail.com

2

บทคัดยอ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมการรูวิทยาศาสตร เรื่อง อาณาจักรสิ่งมีชีวิต ดวยการจัดการเรียนรูตาม แนวคิดวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสังคม ผนวกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุมที่ศึกษาเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555 จํานวน 25 คน ของโรงเรียนมัธยมศึกษาแหงหนึ่งในจังหวัดระนอง เครื่องมือที่ใชใน การวิจัยครั้งนี้ ไดแก แผนการจัดการเรียนรูตามแนวคิดวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสังคม ผนวกปรัชญาของเ ศรษฐกิจ พอเพียง แบบวัดการรูวิทยาศาสตร บันทึกการสัมภาษณอยางไมเปนทางการ บันทึกหลังการจัดการเรียนรู วีดิทัศนการจัดการ เรียนรูของครูผูสอน และชิ้นงานนักเรียน ผูวิจัยวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยการหาคาความถี่ และคารอยละ วิเคราะหขอมูล เชิงคุณภาพดวยการวิเคราะหเนื้อหา ผลการวิจัยพบวาหลังการจัดการเรียนรูตามแนวคิดวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสังคม ผนวกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นักเรียนมีความเขาใจอยางสมบูรณในหัวขอเรื่อง การจัดหมวดหมูสิ่งมีชีวิต อาณาจักร โพรทิสตา อาณาจักรฟงไจ และอาณาจักรมอเนอรา เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 4.00, 4.00, 4.00 และ 8.00 ตามลําดับ และมีความ เขาใจบางสวนในแนวคิดชื่อวิทยาศาสตร อาณาจักรสัตว และอาณาจักรพืช เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 60.00, 80.00 และ 88.00 ตามลําดับ นอกจากนี้นักเรียนทั้งหมดมีสวนรวมในประเด็นเรื่องอาณาจักรสิ่งมีชีวิต ทั้งในระดับ ครอบครัว สังคม และชุมชน เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 15.38, 30.77 และ 53.85 ตามลําดับ Abstract The aims of this study were to enhance grade 11 students’ scientific literacy on kingdom of life according to Science, Technology, Society (STS) approach and the philosophy of sufficiency economy. The participants of this study were 25 grade 11 students studying in second semester of 2012 academic year. They were in a secondary school in Ranong province. The research instruments included the lesson plans, scientific literacy tests, informal interviews, teacher’s logs and videos and student tasks. The quantitative data was analyzed by finding frequency and percentages. The qualitative SS 698


การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแหงชาติครั้งที่ 29 ณ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ระหวางวันที่ 24-25 ตุลาคม 2556

data was analyzed using content analysis. The results showed that teaching according to STS approach and the philosophy of sufficiency economy could enhance the students, sound understanding in all topics: Classification; Kingdom Protista; Kingdom Fungi and Kingdom Monera at 4.00%, 4.00%, 4.00% and 8.00% respectively. However, they still had partial understanding in all topics: Scientific name; Kingdom Animalia and Kingdom Plantae at 60.00%, 80.00% and 88.00% respectively. In addition, all students took action in issues about the kingdom of life in family, society, and community level at 15.38%, 30.77 % and 58.85% respectively. คําสําคัญ การรูวิทยาศาสตร, อาณาจักรสิ่งมีชีวิต, การจัดการเรียนรูตามแนวคิดวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสังคม, ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง บทนํา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมีความสําคัญตอการ ดํา เนิ นชี วิต ประจํ าวั นของมนุษ ย ทั้ง ในดา นการพัฒ นา ทางดานเศรษฐกิจ ชีวิตความเปนอยูของคนในสังคม แต ในขณะเดียวกันความเจริญกาวหนาของวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี ก็ อ าจส ง ผลกระทบต อ สั ง คมได เ ช น กั น โดยเฉพาะอยางยิ่งการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมทาง ธรรมชาติ ที่ ข าดความสมดุ ล [1] เนื่ อ งจากความ หลากหลายทางชีวภาพถูกทําลายลงเปนจํานวนมาก [2] ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย เ ป น ป ร ะ เ ท ศ ห นึ่ ง ที่ มี ค ว า ม หลากหลายทางชีวภาพมากที่สุดของโลก ประชาชนของ ประเทศจึ ง สามารถพึ่ ง พาอาศั ย ประโยชน ข องความ หลากหลายทางชีวภาพทั้งทางตรงและทางออม [3] แต จากการดําเนินกิจกรรมในดานตาง ๆ ของมนุษยในอดีต จนถึงปจจุบัน มนุษยใชประโยชนจากความหลากหลาย ทางชีวภาพในทุกดานเกินความจําเปน สงผลใหธรรมชาติ ไมสามารถปรับตัวไดทัน [4] ดังนั้นความหลากหลายทาง ชีวภาพจึงไดรับการบรรจุเปนเนื้อหาหนึ่งของสาระการ เรียนรูวิทยาศาสตร เพื่อสรางความรูความเขาใจ การเห็น คุณคา และการมีจิตสํานึกในการอนุรักษความหลากหลาย ทางชี ว ภาพให เ กิ ด ขึ้ น กั บ นั ก เรี ย น [5] โดยมี เ ป า หมาย สู ง สุ ด ของการจั ด การเรี ย นรู วิ ท ยาศาสตร คื อ เพื่ อ ให นักเรียนเปนผูรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (Scientific and Technology Literacy) ซึ่งเปนผูมีความรูความเขาใจ ในแนวคิ ด หลั ก การพื้ น ฐานและกระบวนการทาง วิทยาศาสตร มีความตระหนักถึงความสําคัญของการมี

ส ว นร ว มในการแสดงความคิ ด เห็ น ประเด็ น ทาง วิทยาศาสตร และสื่อสารสูผูอื่นได [1]; [5]; [6]; [7] อย า งไรก็ ต ามจากประสบการณ ใ นการจั ด การ เรียนรูของผูวิจัย ผูวิจัยพบวานักเรียนสวนใหญมีแนวคิด คลาดเคลื่อน เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ เนื่องจาก เปนแนวคิดที่ยากและมีความสําคัญ [8] เชน แนวคิดการ จั ด กลุ ม สิ่ ง มี ชี วิ ต ของพื ช และสั ต ว ชื่ อ วิ ท ยาศาสตร อาณาจั ก รมอเนอรา อาณาจั ก รโพรทิ ส ตา เป น ต น [9]; [10]; [11] การมีแนวคิดคลาดเคลื่อนในเรื่องดังกลาวจึง อาจเปนอุปสรรคตอการเรียนรูแนวคิดวิทยาศาสตรอื่นที่ เกี่ ย วข อ งได [12]นอกจากนี้ ผู วิ จั ย ยั ง พบว า นั ก เรี ย น บางส ว นยั ง ขาดการมี ส ว นร ว มในประเด็ น ความ หลากหลายทางชีวภาพ การจั ด การเรี ย นรู ต ามแนวคิ ด วิ ท ยาศาสตร เทคโนโลยี และสังคม เปนแนวทางการจัดการเรียนรูหนึ่ง ที่ ส ง เสริ ม ให นั ก เรี ย นสามารถนํ า ความรู ที่ เ รี ย นไป ประยุกตใชในสถานการณจริงได [13] และมีสวนรวม รับผิดชอบตอสังคมในฐานะพลเมืองที่ดขี องประเทศ [14] ครูผูสอนสามารถใชสถานการณที่เปนปญหาทางสังคมที่ มีความเกี่ยวของกับวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีที่เกิดขึ้น จริงในชีวิตประจําวันของนักเรียนนําเขาสูบทเรียนแลวให นักเรียนหาคําตอบในสถานการณนั้น ๆ ทําใหนักเรียน สามารถเชื่ อ มโยงสิ่ ง ที่ ไ ด เ รี ย นรู ใ นห อ งเรี ย นกั บ สถานการณที่เกิดขึ้นในชีวิตจริงได [15] จากเอกสารและงานวิ จั ย ที่ ผ า นมา ผู วิ จั ย พบว า ลักษณะของการจัดการเรียนรูตามแนวคิด วิทยาศาสตร SS 699


การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแหงชาติครั้งที่ 29 ณ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ระหวางวันที่ 24-25 ตุลาคม 2556

เทคโนโลยี และสัง คม สอดคล อ งกั บ หลั กปรัช ญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในดานการเรียนรูที่เริ่มตนในทองถิ่น ของนักเรียนแลวเชื่อมโยงไปถึงระดับโลก และสามารถ เชื่ อ มโยงความเกี่ ย วข อ งของเหตุ ก ารณ จ ากในอดี ต ป จ จุ บั น และอนาคต ทํ า ให นั ก เรี ย นเข า ใจ ป ญ หาที่ เกี่ยวของกับวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อันนํามาสูการ ปฏิบัติตนในการแกปญหา และความตระหนักตอปญหาที่ เกิดขึ้น [16]; [17] ดังนั้นการจัดการเรียนรูที่ ผนวกหลักปรัชญาของ เศรษฐกิ จ พอเพี ย งจึ ง ได รั บ การพิ จ ารณาว า สามารถ ส ง เสริ ม การดํ า เนิ น ชี วิ ต ของนั ก เรี ย นท า มกลางการ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง สั ง ค ม ที่ ไ ด รั บ ผ ล กร ะ ท บ จ า ก วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ดวยความพอประมาณ บน พื้นฐานของความมีเหตุผล ทําใหนักเรียนเกิดภูมิคุมกันทีด่ ี โดยอาศัยเงื่อนไขของความรูคูคุณธรรม เพื่อเสริมสราง การมีจิตสํานึก มีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตดวย ความอดทน มีความเพียร มีสติปญญา และความรอบคอบ [18] ผูวิจัยในฐานะที่เปนครูผูสอนวิชาชีววิทยาจึงมี ความสนใจจั ด การเรี ย นรู ต ามแนวคิ ด วิ ท ยาศาสตร เทคโนโลยี และสั ง คม ผนวกปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพียง เพื่อสงเสริมการรูวิทยาศาสตรของนักเรียนใน ดานแนวคิด และการมีสวนรวมในสังคม เรื่อง อาณาจักร สิ่ง มีชี วิต ของนั กเรีย นชั้น มัธ ยมศึ กษาป ที่ 4 ดว ยการ จัดการเรียนรูตามแนวคิดวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และ สังคม ผนวกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระเบียบวิธีการศึกษาวิจัย [1] รูปแบบการวิจัย งานวิจัยนี้ใชรูปแบบการวิจัยปฏิบัติการในชั้น เรียน (Classroom Action Research) มีการเก็บขอมูลทั้ง เชิ ง ปริ ม าณและเชิ ง คุ ณ ภาพ เพื่ อ ทํ า ความเข า ใจการ สงเสริมการรูวิทยาศาสตร เรื่อง อาณาจักรสิ่งมีชีวิต ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โดยการจัดการเรียนรู ตาม แนวคิดวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสังคม ผนวกปรัชญา ของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ซึ่ ง มี วิ ธี ดํ า เนิ น การวิ จั ย เชิ ง

ปฏิ บัติ ก ารในชั้ น เรี ยน 4 ขั้น ตอน ตามแนวคิ ดของ Kemmis and McTaggart (1998) ไดแก 1) ขั้นวางแผน คือ ผูวิจัยวางแผนการจัดการเรียนรู เรื่อง อาณาจักรสิ่งมีชีวิต จํานวน 6 แผน โดยใชเวลาในการจัดการเรียนรู 7 สัปดาห 2) ขั้ น ปฏิ บั ติ คื อ ผู วิ จั ย ดํ า เนิ น การจั ด การเรี ย นรู ต าม แผนการจัดการเรียนรูที่ สรางขึ้น 3) ขั้นสังเกต คือ ผูวิจัย สั ง เกตผลที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู พฤติกรรมนักเรียน 4) ขั้นสะทอนการปฏิบัติ คือ ผูวิจัยนํา ข อ มู ล ที่ ไ ด บั น ทึ ก หลั ง การจั ด การเรี ย นรู วี ดิ ทั ศ น ก าร จั ด การเรี ย นรู ใ นแต ล ะแผน จากการจั ด การเรี ย นรู ม า วิเ คราะห เพื่ อหาสาเหตุ ข องปญ หา แนวทางการแก ไ ข แลวนําผลที่ไดมาปรับปรุง แกไขแผนการจัดการเรียนรู ตอไป [2] เครื่องมือที่ใชในการวิจัย [2.1] เครื่องมือที่ใชในการจัดการเรียนรู เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นการจั ด การเรี ย นรู ได แ ก แผนการจัดการเรียนรู เรื่อง อาณาจักรสิ่งมีชีวิต โดยการ จัดการเรียนรูตามแนวคิดวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และ สังคม ตามรูปแบบของ Yager (1996) สอดแทรกหลัก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งโดยการจั ด การเรี ย นรู ประกอบดวย 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นกระตุนความสนใจ โดยครูผูสอนนําขาวสถานการณที่เกิดขึ้นในปจจุบันเปน ปญหาทางสั งคมได รับ ผลกระทบจากจากวิ ทยาศาสตร และเทคโนโลยี ซึ่ ง เกี่ ย วข อ งกั บ ชี วิ ต ประจํ า วั น ของ นักเรียนนําเขาสูบทเรียน กระตุนความสนใจของนักเรียน เพื่อใหเกิดคําถามนําไปสูการคนควาหาคําตอบ 2) ขั้นการ สํ า รวจเรี ย นรู การค น คว า หาคํ า ตอบด ว ยกระบวนการ ทํางานเปนกลุมโดยการวางแผนดําเนินการคนหาคําตอบ ดวยวิธีการตาง ๆ เชน การสังเกต การสํารวจตรวจสอบ การทดลอง การสืบคนจากหนังสือหรือแหลงขอมูลตาง ๆ การถามผู รู ศึ กษานอกสถานที่ เป นต น 3) ขั้ นการ นําเสนอการอภิปรายและขอคนพบ โดยนักเรียนรวมกัน อภิปรายเพื่อสะทอนสิ่งที่ไดคนพบรวมกัน ทําใหนักเรียน สามารถแก ไขแนวคิด คลาดเคลื่ อนที่เกิดขึ้ นกอนไดรั บ การจัดการเรียนรู 4) ขั้นลงมือปฏิบัตินักเรียนสามารถนํา สิ่ ง ที่ ไ ด รั บ จากการจั ด การเรี ย นรู ไ ปเชื่ อ มโยงกั บ หลั ก SS 700


การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแหงชาติครั้งที่ 29 ณ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ระหวางวันที่ 24-25 ตุลาคม 2556

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยเขา ไปมีสวนรวมใน ชุมชนในฐานะพลเมืองที่ดีของสังคม [2.2] เครื่องมือที่ใชเก็บรวบรวมขอมูลวิจัย เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช เ ก็ บ รวบรวมข อ มู ล วิ จั ย ได แ ก แบบวัดการรูวิทยาศาสตร เรื่อง อาณาจักรสิ่งมีชีวิต แบบ คําถามปลายเปด (Open – ended questions) ซึ่งผูวิจัยสราง ขึ้นเองตามกรอบการรูวิทยาศาสตรจากการศึกษาเอกสาร และงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข อ งพบว า องค ป ระกอบของการรู วิทยาศาสตรที่นักการศึกษาและองคกรวิทยาศาสตรศึกษา ใหความสําคัญที่สุด ประกอบดวย 2 ดาน ไดแก 1) ดาน แนวคิดวิทยาศาสตร [1]; [5]; [7]; [19]; [20] และ 2) ดาน การมีสวนรวมในประเด็นวิทยาศาสตร[1]; [7]; [19]; [20] หลังจากนั้นไดมีการตรวจสอบความถูกตองของแบบวัด การรูวิทยาศาสตรในดานเนื้อหา ภาษา ความเหมาะสม และความสอดคล อ งของข อ คํ า ถามและคํ า ตอบจาก ผู เ ชี่ ย วชาญจํ า นวน 3 ท า น จากนั้ น นํ า แบบวั ด การรู วิทยาศาสตรมาวิเคราะหหาความตรงเชิงเนื้อหาเปนราย ขอ จากนั้น ผู วิจั ยได นํ า แบบวั ด การคื อ ผูเ ชี่ ยวชาญด า น วิท ยาศาสตร ศึ ก ษา เป น อาจารย จ ากคณะศึ ก ษาศาสตร มหาวิ ทยาลั ยเกษตรศาสตร จํา นวน 2 ท าน ผูเชี่ย วชาญ ดานเนื้อหา และการสอนวิทยาศาสตร เปนอาจารยที่สอน วิช าชี ว วิท ยา จํ านวน 1 ท า น เป น อาจารย จากโรงเรี ย น สาธิตแหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จากนั้นนําแบบวัด การรูวิทยาศาสตรมาวิเคราะหหาความตรงเชิงเนื้อหาเปน รายขอ แลวผูวิจัยไดนําแบบวัดการรูวิทยาศาสตรไปใชกับ นักเรียนที่มีลักษณะใกลเคียงกับกลุมที่ศึกษา จํานวน 10 คน เพื่อตรวจสอบความเขาใจของภาษาที่ใชในการสื่อ ความหมายของข อ คํ า ถาม และนํ า แบบวั ด มาปรั บ ปรุ ง แก ไ ขในด า นเนื้ อ หา และภาษาแล ว ก อ นไปใช จ ริ ง นอกจากผูวิ จั ยไดใ ชบั น ทึก หลั งการจั ดการเรีย นรู และ วี ดี ทั ศ น ก ารจั ด การเรี ย นรู เ พื่ อ ตรวจสอบลั ก ษณะการ จัดการเรียนรูตามแนวคิดวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และ สังคม ผนวกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เหมาะสมกับ กลุมที่ศึกษา [3] การเก็บรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูล

ผูวิจัยไดเก็บรวบรวมขอมูลโดยใหนักเรียนทําแบบวัด การรูวิทยาศาสตรกอนการจัดการเรียนรู เพื่อตรวจสอบ การรูวิทยาศาสตรของนักเรียนกอนการจัดการเรียนรูใน ดา นแนวคิด วิ ท ยาศาสตร เรื่ อง อาณาจัก รสิ่ งมี ชี วิต ซึ่ ง ประกอบดวย 3 แนวคิด หลั ก ไดแก การจัดหมวดหมู สิ่ ง มี ชี วิ ต ชื่ อ วิ ท ยาศาสตร และอาณาจั ก รสิ่ ง มี ชี วิ ต ประกอบดวย 5 แนวคิดยอย ไดแก อาณาจักรมอเนอรา อาณาจักรโพรทิสตา อาณาจักรฟงไจ อาณาจักรพืช และ อาณาจั ก รสั ต ว และด า นการมี ส ว นร ว มในประเด็ น ที่ เกี่ ย วข อ งอาณาจั ก รสิ่ ง มี ชี วิ ต เพื่ อ นํ า ผลที่ ไ ด ม าเป น แนวทางในการออกแบบกิ จ กรรมสํ า หรั บ การจั ด การ เรียนรู เรื่อง อาณาจักรสิ่งมีชีวิต จากนั้นผูวิจัยดําเนินการ จัดการเรียนรูตามแนวคิดวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และ สังคม ผนวกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามแผนการ จัดการเรียนรู เรื่อง อาณาจักรสิ่งมีชีวิต ในแตละแผนการ จัดการเรียนรูเริ่มตนโดยครูผูสอนนําขาวหรือสถานการณ ที่เกิดขึ้นในปจจุบันเปนปญหาทางสังคมไดรับผลกระทบ จากวิ ท ยาศาสตร และเทคโนโลยี ซึ่ ง เกี่ ย วข อ งกั บ การ ดําเนินชีวิตประจําวันของนักเรียนนําเขาสูบทเรียน เพื่อ กระตุนความสนใจ หรือนํานักเรียนศึกษานอกสถานที่ ซึ่ง เปนแหลงทรัพยากรที่มีความสําคัญในชุมชนของนักเรียน ทําใหนักเรี ยนเกิดคํา ถามนําไปสู การคนคว าหาคําตอบ โ ด ย การ วาง แ ผ น ดํ าเ นิ น การ ค น ห าคํ า ต อ บ ด ว ย กระบวนการทํางานเปนกลุม แลวนําเสนอคําตอบดวยการ อภิ ป รายร ว มกั น ทํ าให นั กเรี ย นได ส ะทอ นสิ่ งที่ ค น พบ สามารถแก ไขแนวคิด คลาดเคลื่ อนที่เกิดขึ้ นกอนไดรั บ การจัดการเรียนรู หลังจากนั้นเขาสูขั้น การลงมือปฏิบัติ โดยให นั ก เรี ย นนํ า หลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งมา เชื่ อ มโยงกั บ สิ่ ง ที่ ไ ด รั บ จากการจั ด การเรี ย นรู ทํ า ให นักเรียนคนพบแนวทางในการแกไขปญหาจากขาวหรือ สถานการณ ที่ นํ า เข า สู บ ทเรี ย น ซึ่ ง หลั ก ปรั ช ญาของ เศรษฐกิจที่พอเพียงที่ผูวิจัยนํามาใชในการจัดการเรียนรู ประกอบดวย 3 หวง คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสรางภูมิคุมกันที่ดีใหกับตนเอง ควบคูไปกับ 2 เงื่อนไข คือ ความรูคูคุณธรรม ซึ่งในระหวางการจัดการ เรียนรูผูวิจัยไดบันทึกวี ดิทัศนการจัดการเรียนรู เพื่อชวย SS 701


การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแหงชาติครั้งที่ 29 ณ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ระหวางวันที่ 24-25 ตุลาคม 2556

ใหผูวิจัยสามารถสังเกตการปฏิบัติการจัดการเรียนรูของ ตนเองไดอยางชัดเจน และผูวิจัยบันทึกหลังการจัดการ เรียนรูในประเด็นปญหา อุปสรรค แนวทางแกไข และสิ่ง ที่ ไ ด เ รี ย นรู จ ากการจั ด การเรี ย นรู นอกจากนี้ ผู วิ จั ย ได สัมภาษณนักเรียนอยางไมเปนทางการเพิ่มเติมในประเด็น ที่ผูวิจั ยสงสัย หรือต องการขอ มูลเพิ่ มเติ ม เมื่ อผูวิ จัยจั ด กิจ กรรมการเรี ย นรู ครบทุ ก แผนการจั ด การเรี ย นรู แ ล ว ผูวิจัยใหนักเรียนทําแบบวัดการรูวิทยาศาสตร เรื่อง อาณา จักรสิ่งมีชีวิต และสัมภาษณนักเรียนอยางไมเปนทางการ อีกครั้ง หลังจากเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยวิเคราะหแบบ วัดการรูวิทยาศาสตร เรื่อง อาณาจักรสิ่งมีชีวิต ทั้งกอน และหลั ง การจั ด การเรี ย นรู ต ามแนวคิ ด วิ ท ยาศาสตร เทคโนโลยี และสั ง คม ผนวกปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพียง รวมกับการวิเคราะหจากบันทึกหลังการจัดการ เรียนรู วีดิทัศนการจัดการเรียนรู และบันทึกการสัมภาษณ อยางไมเปนทางการ ซึ่งแบงการวิเคราะหคําตอบเปน 2 ดาน ตามกรอบของการรูวิ ทยาศาสตร คือ ดานแนวคิ ด วิ ท ยาศาสตร โ ดยผู วิ จั ย อ า นแล ว วิ เ คราะห คํ า ตอบของ นักเรียนเปนรายขอ โดยการจัดกลุมคําตอบของนักเรียน ตามกรอบแนวคิดของ Abraham et al. (1994, p.105-120)

ซึ่งจําแนกประเภทแนวคิด 5 ประเภท ดังนี้ ความเขาใจ อย างสมบู รณ (Sound understanding: SU) ความเข าใจ บางสวน (Partial understanding: PU) ความเขาใจบางสวน และมีแนวคิดคลาดเคลื่อน (Partial understanding with a specific misconception: PU/SM) แนวคิดคลาดเคลื่อน (Specific misconception: SM) และไม เ ข า ใจ (No understanding: NU) จากนั้นผูวิจัยนับจํานวนนักเรียนใน แตละประเภทแนวคิด หาคารอยละของจํานวนนักเรียน ในแตละประเภทแนวคิด และผูวิจัยวิเคราะหขอมูลดาน การมี ส ว นร ว มในประเด็ น ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ อาณาจั ก ร สิ่ง มี ชี วิ ต โดยผู วิ จั ย อ า นวิ เคราะห คํ า ตอบของนั ก เรี ย น แลวจัดกลุมคําตอบ นับจํานวนนักเรียนในแตละกลุม คําตอบ หาคารอยละ ผลการศึกษาวิจัย ผลการจัดการเรียนรู ตามแนวคิด วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสั ง คม ผนวกปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เรื่ อ ง อาณาจั ก รสิ่ ง มี ชี วิ ต ของนั ก เรี ย นชั้ น มัธยมศึกษาปที่ 4 มีจํานวน 2 ดาน ดังนี้ [1] ดานแนวคิดวิทยาศาสตร เรื่อง อาณาจักร สิ่งมีชีวิต

ตารางที่ 1 แนวคิดของนักเรียน เรือ่ ง อาณาจักรสิ่งมีชีวิตที่มีแนวคิดแบบตาง ๆ กอนและหลังการจัดการเรียนรูตามแนวคิด วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสังคม ผนวกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (N = 25)

แนวคิด

กอน

1. การจัดหมวดหมู สิ่งมีชีวิต 2. ชื่อวิทยาศาสตร 3. อาณาจักรสิ่งมีชีวิต 3.1 อาณาจักรมอเนอรา 3.2 อาณาจักรโพรทิสตา 3.3 อาณาจักรฟงไจ 3.4 อาณาจักรพืช 3.5 อาณาจักรสัตว

SU

หลัง

กอน

0

1(4.00)

5(20.00)

0

0

0

0 0 0 0 0

2(8.00) 1(4.00) 1(4.00) 0 0

3(12.00) 4(16.00) 0 0 3(12.00)

PU

หลัง

PU/SM กอน หลัง

14(56.00) 8(32.00)

กอน

SM

หลัง

NU กอน หลัง

7(28.00)

9(36.00)

3(12.00)

3(12.00)

0

15(60.00) 9(36.00) 10(40.00)

13(52.00)

0

3(12.00)

0

22(88.00) 17(68.00) 19(76.00) 22(88.00) 20(80.00)

13(52.00) 12(48.00) 15(60.00) 13(52.00) 12(48.00)

1(4.00) 5(20.00) 1(4.00) 1(4.00) 2(8.00)

9(36.00) 8(32.00) 9(36.00) 8(32.00) 9(36.00) SS 702

0 0 0 0 0

0 1(4.00) 1(4.00) 1(4.00) 1(4.00)

0 2(8.00) 4(16.00) 2(8.00) 3(12.00)


การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแหงชาติครั้งที่ 29 ณ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ระหวางวันที่ 24-25 ตุลาคม 2556

จากตารางที่ 1 พบว า การจั ด การเรี ยนรู ต าม แนวคิดวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสังคม ผนวกปรัชญา ของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งพั ฒ นาแนวคิ ด เรื่ อ ง อาณาจั ก ร สิ่งมีชีวิต ดังนี้ [1] แนวคิด เรื่อง การจัดหมวดหมูสิ่งมีชีวิต โดย ใชคําถามดังนี้ “หากนักเรียนตองการจัดหมวดหมูของ สิ่งมีชีวิตจากภาพที่กําหนดให ไดแก งู ปรง ปลา ลิ เ วอร เ วิ ร ต เหงื อ กปลาหมอ มด ไส เ ดื อ น และเต า นักเรียนสามารถจัดไดอยางไร และใชเกณฑใดบาง” จากการวิ เ คราะห ข อ มู ล ผู วิ จั ย พบว า ก อ นการ จัดการเรียนรูไมมีนักเรียนที่มีความเขาใจอยางสมบูรณ (SU) แต ห ลั ง การจั ด การเรี ย นรู มี นั ก เรี ย นส ว นน อ ย (4.00%) ที่มีความเขาใจอยางสมบูรณ (SU) ดังตัวอยาง คําตอบ “จากภาพจัดไดเปน 2 กลุม คือ กลุมพืชเปน สิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ ส ามารถสร า งอาหารเองได เพราะสามารถ สังเคราะหแสงได ไดแก ปรง ลิเวอรเวิรต เหงือกปลาหมอ และกลุมสัตวเปนสิ่งมีชีวิตที่ไมสามารถสราง อาหารเองได จึงกินผูอื่นเปนอาหาร ไดแก งู ปลา มด ไสเดือน เตา (นร.23)” อยางไรก็ตามผูวิจัยพบวานักเรียน เกิ น ครึ่ ง (56.00%) มี ค วามเข า ใจบางส ว น (PU) โดย สามารถจัดหมวดหมูสิ่งมีชีวิตที่กําหนดใหแบงออกเปน 2 กลุ ม ได แ ก พื ช และสั ต ว เ ท า นั้ น แต ไ ม ไ ด บ อกเกณฑ ใด ๆ ในการจัดจําแนกประเภท ดังตัวอยางคําตอบ “จาก ภาพที่กําหนดใหแบงออกเปนพืชและสัตว พืช ไดแก พืช ไมมีทอลําลียง ลิเวอรเวิรต พืชมีทอลําเลียง แบงเปนพืช เมล็ ด เปลื อ ย คื อ ปรง และพื ช ดอก เป น ใบเลี้ ย งคู คื อ เหงือกปลาหมอ สัตว ไดแก มีกระดูกสันหลัง คือ งู ปลา เต า และไม มี ก ระดู ก สั น หลั ง คื อ มด และไส เ ดื อ น (นร.22)” ซึ่งมีเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับกอนการจัดการ เรียนรู (20.00%) นอกจากนี้นักเรียนบางสวนทั้งกอนการ จั ด การเรี ย นรู ( 28.00%) และหลั ง การจั ด การเรี ย นรู นักเรียนบางสวน (32.00%) มีความเขาใจบางสวนและมี แนวคิดคลาดเคลื่อน (PU/SM) ดังตัวอยางคําตอบ “จาก ภาพจัดไดเปน 2 กลุม คือ สัตว ไดแก งู ปลา มด ไสเดือน เตา และพืช ไดแก ปรง ลิเวอรเวิรต เหงือกปลาหมอ ใน กลุมสัตวแบงออกเปน สัตวมีกระดูกสันหลัง ไดแก เตา

และสัตวไมมีกระดูกสันหลัง ไดแก งู ปลา ไสเดือน มด (นร.12)” จากตัวอยางคําตอบจะพบวานักเรียนมี แนวคิด คลาดเคลื่อน (SM) เนื่องจากนักเรียนเขาใจวางูและปลา จัดอยูในกลุม สัตวที่ไมมีกระดูกสันหลัง โดยใชลักษณะ ของการเคลื่อนที่มาเปนเกณฑในการ จัดกลุม และนักเรียน (12.00%) มีแนวคิดคลาดเคลื่อน (SM) โดยไม ส ามารถระบุ เ กณฑ ที่ ชั ด เจนในการจั ด ประเภท และไมไดจัดประเภทของสิ่งมี ชีวิตจากภาพที่ กําหนดให ดังตัวอยางคําตอบ “จัดตามหมวดหมูตาม ลักษณะ ที่อยูอาศัย การดํารงชีวิต การเจริญเติบโต และ ชนิ ด ของสิ่ ง มี ชี วิ ต (นร.11)” ซึ่ ง มี จํ า นวนลดลงเมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ ก อ นการจั ด การเรี ย นรู ( 36.00%) นอกจากนี้หลังการจัดการเรียนรูผูวิจัยพบวาไมมีนักเรียน ที่ไมเขาใจ (NU) [2] แนวคิด เรื่อง ชื่อวิทยาศาสตร โดยใชคําถาม ดั ง นี้ “นั ก เรี ย นคิ ด ว า มี ห ลั ก ในการตั้ ง ชื่ อ วิ ท ยาศาสตร อยางไร” จากการวิเคราะหขอมูลผูวิจัยพบวานักเรียนสวน ใหญ (60.00%) มีความเขาใจบางสวน (PU) ดังตัวอยาง คําตอบ “เพราะวาทุกคนไมวาจะพูดคนละภาษากัน แตถา มีชื่อวิทยาศาสตรสามารถทําใหทุก ๆ คน สามารถเขาใจ ในสิ่งนั้นตรงกันได และชื่อวิ ทยาศาสตรเปนชื่อจําเพาะ เจาะจง ซึ่งมีหลักการเขียน คือ ชื่อแรกขึ้นดวยจีนัส ชื่อที่ สองขึ้นดวยสปชีส คําแรกเริ่มตนดวยตัวพิมพใหญและ ตามดวยตัวพิมพเล็ก (นร.23)” จากตัวอยางคําตอบจะ พบวาสามารถระบุความสําคัญของชื่อวิทยาศาสตร คือ ใช เรียกชื่อสิ่งมีชีวิตเพื่อใหทุกคนเขาใจตรงกัน แตนักเรียน สวนใหญไมสามารถอธิบายหลักการตั้งชื่อไดครอบคลุม แนวคิ ด โดยไม ก ล า วถึ ง กํ า หนดชื่ อ วิ ท ยาศาสตร ข อง สิ่งมีชีวิตแบบทวินาม และการเขียนชื่อวิทยาศาสตรใชตัว เอียงหรือขีดเสนใต ซึ่งมีจํานวนเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบ กับกอนการจัดการเรียนรูที่ไมมีนักเรียนใดที่มีความเขาใน บางสวน นอกจากนี้นักเรียนบางสวนทั้งกอนการจัดการ เรียนรู (36.00%) และหลังการจัดการเรียนรู (40.00%) มี ความเขาใจบางสวนและมีแนวคิดคลาดเคลื่อน (PU/SM) ดังตัวอยางคําตอบ “ตั้งชื่อใหความหมายสอดคลองกับ SS 703


การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแหงชาติครั้งที่ 29 ณ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ระหวางวันที่ 24-25 ตุลาคม 2556

สิ่งมีชีวิต นําคําแตละคํามาประสมกัน คําแรกขึ้นตนดวย ตัวพิมพใหญรองลงมาก็จะเปนตัวพิมพเล็กทุกตัว เพราะ จะช ว ยแยกแยะสิ่ ง มี ชี วิ ต ได และชื่ อ วิ ท ยาศาสตร เ ป น ภาษาอังกฤษและภาษาอังกฤษก็เปนภาษาของโลก เราก็ ไดรูชื่อวิทยาศาสตรทั่วทุกประเทศ และใหทุกคนเขาใจใน สิ่ง เดี ยวกัน (นร.13)” จากตัว อย างคํา ตอบจะพบว า สามารถระบุความสําคัญของชื่อวิทยาศาสตรได แตไ ม สามารถอธิบายหลักการตั้งชื่อไดครอบคลุมแนวคิด และ การระบุวา ชื่อวิทยาศาสตรมาจากการนําคํา แตละคํามา ประสมกั น และชื่อวิ ทยาศาสตร เป นภาษาอั งกฤษ เป น แนวคิดคลาดเคลื่อน (SM) เพราะชื่อวิทยาศาสตรใชภาษา ละติน อยางไรก็ตามหลังการจัดการเรียนรูผูวิจัยพบวาไม มีนักเรียนที่ไมเขาใจ (NU) และมีแนวคิดคลาดเคลื่อน (SM) ซึ่ ง มี จํ า นวนลดลงเมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ ก อ นการ จัดการเรียนรู (52.00%) และ (12.00%) ตามลําดับ [ 3] แ น ว คิ ด เ รื่ อ ง อ า ณ า จั ก ร สิ่ ง มี ชี วิ ต ประกอบดวย 5 แนวคิดยอย ไดแก อาณาจักรมอเนอรา อาณาจักรโพรทิสตา อาณาจักรฟงไจ อาณาจักรพืช และ อาณาจั ก รสั ต ว ใช คํ า ถาม ดั ง นี้ “จากภาพสิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ กําหนดให ไดแก A คือ อะมีบา B คือ แบคทีเรีย C คือ เห็ด D คือ มอส E คือ ผีเสื้อ F คือ พะยูน G คือ พลับพลึง ธาร และ H คือ ดาวทะเล นักเรียนคิดวาอยูในอาณาจักร ใดบาง เพราะเหตุใดจึงคิดเชนนั้น” [3.1] แนวคิ ด วิ ท ยาศาสตร เรื่ อ ง อาณาจั ก ร มอเนอรา จากการวิ เคราะหข อมู ล ผูวิ จัย พบว า นั ก เรี ย น สวนนอย (8.00%) มีความเขาใจอยางสมบูรณ (SU) ดัง ตัวอยางคําตอบ “ภาพ B คือ แบคทีเรีย อยูในอาณาจักรมอ เนอรา เป นโพรคาริโ อตเซลล เดี ยว สรา งอาหารเองได และสรางอาหารเองไมได เปนผูยอยสลาย (นร.08)” ซึ่งมี จํานวนเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับกอนการจัดการเรียนรูที่ ไมมีนักเรียนคนใดสามารถตอบไดครอบคลุมแนวคิดนี้ นักเรียนสวนใหญ (88.00%) มีความเขาใจบางสวน (PU) ดังตัวอยางคําตอบ “ภาพ B เปนสิ่งมีชีวิตในอาณาจักร มอ เนอรา เพราะเปนสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมาก ๆ เปนโพรคาริ โอตเซลลเดียว (นร.10)” จากตัวอยางคําตอบจะพบวา สามารถระบุสิ่งมีชีวิตที่กําหนดใหอยูในอาณาจักรมอเนอ

รา มีลักษณะสําคัญเปนโพรคาริโอตซึ่งจัดเปนสิ่งมี ชีวิต เซลล เ ดี ย ว แต นั ก เรี ย นไม ไ ด ร ะบุ ไ ด ว า สิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ กําหนดใหเปนแบคทีเรีย และไมไดอธิบายถึงบทบาทของ สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรมอเนอรา และมีนักเรียนเพียงคน เดียวเทานั้น (4.00%) ที่มีแนวความคิดคลาดเคลื่อน (SM) ตัวอยางคําตอบ “ภาพ B คือ สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว (นร.12)” ซึ่งมีจํานวนลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับกอนการ จัดการเรียนรู (52.00%) นอกจากนี้ทั้งกอนการจัดการ เรียนรูและหลังการจัดการเรียนรูผูวิจัยพบวาไมมีนักเรียน ที่ ค วามเข า ใจบางส ว นและมี แ นวคิ ด คลาดเคลื่ อ น (PU/SM) และหลั ง การจั ด การเรี ย นรู ไม มี นั ก เรี ย นที่ ไ ม เขาใจ (NU) ซึ่งมีจํานวนลดลงเมื่อเปรียบเที ยบกับกอน การจัดการเรียนรู (36.00%) [3.2] แนวคิดวิทยาศาสตร เรื่อง อาณาจัก ร โพรทิสตา จากการวิเคราะหขอมูลผูวิจัยพบวานักเรียน เพียงคนเดียวเทานั้น (4.00%) มีความเขาใจอยางสมบูรณ (SU) ดังตัวอยางคําตอบ “ภาพ A คือ อะมีบาอยูในอาณา โพรทิสตา ลักษณะสําคัญของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักร โพ รทิสตา คือ เปนยูคาริโอตมีเซลลเดียวและหลายเซลล แต ไมไดพัฒนาเปนเยื้อเยื่อ มีการดํารงชีวิตเปนผูผลิต และ ผูบริโภค ตัวอยางสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรโพรทิสตา เชน พารามี เ ซี ย ม (นร.08)” ซึ่ ง มี จํ า นวนเพิ่ ม ขึ้ น เมื่ อ เปรียบเทียบกับกอนการจัดการเรียนรูที่ไมมีนักเรียนคน ใดมี แ นวคิ ด นี้ เ ลย และนั ก เรี ย นส ว นใหญ (68.00%) มี ความเขาใจบางสวน (PU) ดังตัวอยางคําตอบ “ภาพ A คือ อะมี บ า อยู ใ นอาณาจั ก รโพรทิ ส ตา ทํ า ให เ กิ ด โทษ สิ่งมีชีวิตอื่นตาย (นร.06)” จากตัวอยางคําตอบจะพบวา นั ก เรี ย นตอบคํ า ถามไม ค รอบคลุ ม แนวคิ ด โดยไม ไ ด อธิบายวาเปนยูคาริโอตมีเซลลเดียวและหลายเซลล และ ไม ไ ด มี ก ารพั ฒ นาเป น เยื้ อ เยื่ อ ซึ่ ง มี จํ า นวนเพิ่ ม ขึ้ น เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ ก อ นการจั ด การเรี ย นรู ( 16.00%) นอกจากนี้ นั ก เรี ย นสว นน อ ยทั้ ง ก อนการจัด การเรี ย นรู (4.00%) และหลังการจัดการเรียนรู (8.00%) มีความเขาใจ บางสวนและมีแนวคิดคลาดเคลื่อน (PU/SM) โดยระบุ อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตจากภาพที่กําหนดใหไมถูกตอง และตอบคําถามไมครอบคลุมแนวคิด ดังตัวอยางคําตอบ SS 704


การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแหงชาติครั้งที่ 29 ณ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ระหวางวันที่ 24-25 ตุลาคม 2556

“ภาพ A คือ อะมีบาจัดอยูในอาณาจักรมอเนอรา สราง อาหารเองไมได (นร.11)” และนักเรียนบางสว น (20.00%) มีแนวคิดคลาดเคลื่อน (SM) โดยไมสามารถ ระบุอาณาจักรของสิ่งมีชีวิตจากภาพที่กําหนดใหได ดัง ตั ว อย า งคํ า ตอบ“ภาพ A คื อ สิ่ ง มี ชี วิ ต ในอาณาจั ก ร มอเนอรา (นร.25) ซึ่งมีจํานวนลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับ กอนการจัดการเรียนรู (48.00%) อยางไรก็ตามหลังการ จัดการเรียนรูผูวิจัยพบวาไมมีนักเรียนที่ไมเขาใจ (NU) เมื่อเปรียบเทียบกับกอนการจัดการเรียนรู (32.00%) [3.3] แนวคิดวิทยาศาสตร เรื่อง อาณาจักร ฟง ไจ จากการวิเคราะหขอมูลผูวิจัยพบวา กอนการจัดการ เรี ยนรูไ ม มีนั กเรี ยนที่มี มี ความเขาใจอยางสมบูรณ (SU) และมีความเขาใจบางสวน (PU) แตหลังการจัดการเรียนรู นักเรียนสวนนอย(4.00%) มีความเขาใจอยางสมบูรณ (SU) ดังตัวอยางคําตอบ“ภาพ C คือ เห็ด อยูในอาณาจักรฟงไจ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนี้ คือ เปนยูคาริโอต เซลลเดียวและหลายเซลล ไมเปนเนื้อเยื่อ เปนผูยอยสลาย สรางอาหารเองไมได ตัว อยางสิ่งมี ชีวิต ในอาณาจักรนี้ เชน รา (นร.08)” และนัก เรียนส วนใหญ (76.00%) มี ความเขาใจบางสวน (PU) ดังตัวอยางคําตอบ “ภาพ C คือ เ ห็ ด อ ยู ใ น อ า ณ า จั ก ร ฟ ง ไ จ ลั ก ษ ณ ะ เ ป น ยูคาริโอต และสรางอาหารเองไมได นอกจากนี้สิ่งมีชีวิต ในอาณาจักรนี้มี รา และยีสตดวย (นร.14)” จากตัวอยาง คําตอบจะพบวานักเรียนไมสามารถอธิบายลักษณะของ สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรฟงไจไดครอบคลุมแนวคิด วาเปน สิ่ง มี ชี วิต เซลล เ ดี ยวหรื อหลายเซลลที่ ไ ม ได พั ฒ นาเป น เนื้อเยื่อ พรอมทั้งไมไดบอกถึงบทบาทหนาที่ นอกจากนี้ นักเรียนบางสวนทั้งกอนการจัดการเรียนรู (4.00%) และ หลังการจัดการเรียนรู (16.00%) มีความเขาใจบางสวน และมีแนวคิดคลาดเคลื่อน (PU/SM) ดังตัวอยางคําตอบ “ภาพ C คื อ สิ่ง มีชี วิ ตที่ อยู ใ นอาณาจั ก รฟ งไจ เพราะ อาณาจักรฟงไจอยูในพืช จําพวกเห็ดราตาง ๆ เปนผูยอย สลาย (นร.10)” อยางไรก็ตามนักเรียนสวนนอย (4.00%) มีแนวคิดคลาดเคลื่อน (SM) โดยนักเรียนมีความเขาใจวา เห็ ด เป น พื ช โดยสั ง เกตจากลั กษณะภายนอกที่ มี ลํ า ต น คลายพืชดังตัวอยางคําตอบ “ภาพ C เปนสิ่งมีชีวิตที่อยูใน

อาณาจักรพืช (นร.19)” ซึ่งมีจํานวนลดลงเมื่อเปรียบเทียบ กับกอนการจัดการเรียนรู (60.00%) และหลังการจัดการ เรี ย นรู ผู วิ จั ย พบว า ไม มี นั ก เรี ย นที่ ไ ม เ ข า ใจ (NU) เมื่ อ เปรียบเทียบกับกอนการจัดการเรียนรู (36.00%) [3.4] แนวคิดวิทยาศาสตร เรื่อง อาณาจักรพืช จากการวิเคราะหขอมูลผูวิจัยพบวา นักเรียนสวนใหญ (88.00%) มีความเขาใจบางสวน (PU) โดยไมสามารถ ตอบคําถามไดครอบคลุมแนวคิด โดยไมไดระบุวาภาพ D คือ มอส และภาพ G คือ พลับพลึงธาร และไมได อธิ บ ายว า เป น สิ่ ง มี ชี วิ ต หลายเซลล ดั ง ตั ว อย า งคํ า ตอบ “ภาพ D และ G อยูในอาณาจักรพืช สามารถสราง อาหารเองได พั ฒนาเปนเนื้ อเยื่อ แลว (นร.11)” ซึ่ง มี จํานวนเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับกอนการจัดการเรียนรูที่ ไม มี นั ก เรี ย นที่ มี คํ า ตอบอยู ใ นกลุ ม แนวคิ ด นี้ เ ลย นอกจากนี้ นั ก เรี ย นบางส ว นทั้ ง ก อ นการจั ด การเรี ย นรู (4.00%) และหลังการจัดการเรียนรู (8.00%) มีความเขาใจ บางสวนและมีแนวคิดคลาดเคลื่อน (PU/SM) โดยระบุ อาณาจั ก รสิ่ ง มี ชี วิ ต ของภาพ D ไม ถู ก ต อ งดั ง ตั ว อย า ง คําตอบ “ภาพ G อยูอาณาจักรพืช เพราะสรางอาหารเอง ได เปนยูคาริโอต ภาพ D อยูในอาณาจักรฟงไจ เพราะ จั ด เป น ยู ค าริ โ อต เป น ผู ย อ ยสลาย (นร.09)” และมี นักเรียนเพียงคนเดียวเทานั้น (4.00%) เทานั้นที่มีแนวคิด คลาดเคลื่อน (SM) ดังตัวอยางคําตอบ “ภาพ D และ G เปน สิ่งมีชีวิตที่อยูตามธรรมชาติ (นร.16)” จากตัวอยาง คําตอบพบวานักเรียนไมไดระบุวาสิ่งมีชีวิตที่กําหนดให คืออะไร อยูในอาณาจักรใด และไมไดบรรยายลักษณะ ของสิ่ ง มี ชี วิ ต ในอาณาจั ก รพื ช อย า งไรก็ ต ามหลั ง การ จัดการเรียนรูผูวิจัยพบวาไมมีนักเรียนที่ไมเขาใจ (NU) เมื่อเปรียบเทียบกับกอนการจัดการเรียนรู (32.00%) [3.5] แนวคิดวิทยาศาสตร เรื่อง อาณาจักรสัตว จากการวิ เคราะหข อมูล ผูวิ จัย พบวา นัก เรีย นส วนใหญ (80.00%) มีความเขาใจบางสวน (PU) โดยสามารถระบุ ได ว า สิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ กํ า หนดให อ ยู ใ นอาณาจั ก รสั ต ว และ สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตวมีลักษณะสําคัญ คือ เปนยูคาริ โอต พัฒนาเปนเนื้อเยื่อ มีบทบาทเปนผูบริโภค แตไมได ระบุวาภาพ E คือ ผีเสื้อ ภาพ F คือ พะยูน และภาพ H คือ SS 705


การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแหงชาติครั้งที่ 29 ณ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ระหวางวันที่ 24-25 ตุลาคม 2556

ดาวทะเล และไมไดอธิบายวาเปนสิ่งมีชีวิตหลายเซลล ดัง ตัวอยางคําตอบ “ภาพ E, F และ H เปนสิ่งมีชีวิตที่อยูใน อาณาจักรสัตว เปนยูคาริโอต มีเนื้อเยื่อ และผูกินผูอื่นเปน อาหาร (นร.01)” ซึ่งมีจํานวนเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับ ก อ นการจั ด การเรี ย นรู (12.00%) นอกจากนี้ นั ก เรี ย น บางสวนทั้งกอนการจัดการเรียนรู (4.00%) และหลังการ จั ด การเรี ย นรู (12.00%) มี ค วามเข า ใจบางส ว นและมี แนวคิดคลาดเคลื่อน (PU/SM) ดังตัวอยางคําตอบ “ภาพ E F และ H อยูในอาณาจักรสัตว (ยูคาริโอตสรางอาหาร เองได) (นร.04) และนักเรียนสวนนอย (8.00%) มี แนวคิดคลาดเคลื่อน (SM) โดยมีความเขาใจวาสิ่งมีชีวิต ในอาณาจักรสัตวสามารถสรางอาหารเองได ดังตัวอยาง คําตอบ “ภาพ E F และ H เปนสิ่งมีชีวิตที่สรางอาหารเอง ได (นร.24)” ซึ่งมีจํานวนลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับกอน การจัดการเรียนรู (48.00%) อยางไรก็ตามหลังการจัดการ เรี ย นรู ผู วิ จั ย พบว า ไม มี นั ก เรี ย นที่ ไ ม เ ข า ใจ (NU) เมื่ อ เปรียบเทียบกับกอนการจัดการเรียนรู (36.00%) [2] การมี สว นรว มในประเด็ นที่ เกี่ ย วข องกั บ อาณาจักรสิ่งมีชีวิต ผูวิจัยพบวากอนการจัดการเรียนรู ตามแนวคิด วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสังคม ผนวกปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง นักเรียนจํานวน 72% มีสวนรวมใน ประเด็นอาณาจักรสิ่งมีชีวิต แตหลังการจัดการเรียนรู ตาม แนวคิดวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสังคม ผนวกปรัชญา ของเศรษฐกิจ พอเพี ย ง นั ก เรีย นมี สว นร วมในประเด็ น อาณาจักรสิ่งมีชีวิตเพิ่มขึ้นเปน 100% นักเรียนมีสวนรวม ในประเด็นที่เกี่ยวของกับ อาณาจักรสิ่งมีชีวิตเพิ่มขึ้น ดัง ตารางที่ 2 ตารางที่ 2 การมีสวนรวมของนักเรียน เรื่อง อาณาจักรสิ่งมีชีวิต กอนและหลังการจัด การเรียนรู ตาม แนวคิดวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสังคม ผนวกปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ประเด็น อาณาจักรสิ่งมีชีวิต

การมีสวนรวม กอน หลัง 18(72.00) 25(100.00)

นอกจากนี้ เ มื่ อ วิ เ คราะห ก ารมี ส ว นร ว มของ นั ก เรี ย น ผู วิ จั ย พบว า นั ก เรี ย นมี ส ว นร ว มในประเด็ น ดังกลาว ในระดับที่แตกตางกัน ดังตารางที่ 3 ตารางที่ 3 การมีสวนรวมของนักเรียน เรื่อง อาณาจั ก รสิ่ ง มี ชี วิ ต ในระดั บ ต า ง ๆ ก อ นและหลั ง การ จัดการเรียนรูตามแนวคิดวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และ สังคม ผนวกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระดับการ มีสวนรวม ครอบครัว ชุมชน สังคม

จํานวนความถี่ (รอยละ) กอน หลัง 1(4.00) 4(15.38) 13(52.00) 14(53.85) 4(16.00) 8(30.77)

จากตารางที่ 3 พบวาหลังการจัดการเรียนรูตาม แนวคิดวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสังคม ผนวกปรัชญา ของเศรษฐกิจ พอเพี ย ง นั ก เรีย นมี สว นร วมในประเด็ น อาณาจั ก รสิ่ ง มี ชี วิ ต โดยนั ก เรี ย นมี ส ว นร ว มในระดั บ ครอบครัวจํานวน 15.38% ดังตัวอยางคําตอบของนักเรียน วา “ถาเราเรียนแลวไมนําไปใชก็นาเสียดาย เพราะถาเกิด เราไมนําความรูที่ศึกษามาใชในทางที่ถูกตอง ดังนั้น เรา ควรนําความรูที่เรียนมาไปบอกผูปกครองเพื่อที่ผูปกครอง จะไดชวยกันดูแล (นร.16)” และนักเรียนมีสวนรวมใน ระดับสังคม จํานวน 30.77% ตัวอยางคําตอบของนักเรียน วา “ควรชวยกันขยายพันธุโดยการเพาะปลูกต นกลา คน ในชุ ม ชนควรช ว ยกั น ดู แ ลรั ก ษาและปกป อ ง (นร.22)” และมีสวนรวมในระดับชุมชน จํานวน 53.85% ตัวอยาง คํา ตอบของนัก เรี ย นว า “บอกทุ กคนในจัง หวั ดระนอง พังงา รูถึงสาเหตุวาพลับพลึงธารเปนพืชที่ถูกคุกคามและ ใกลสูญพันธุ วาควรจะทําอยางไร หรือปลูกฝงจิตใจใหรู ถึงการรักษาพืชที่หาอยากที่สุด (นร.03)” อภิปรายผลการวิจัย จากผลการวิจัยพบวาหลังการจัดการเรียนรู ตาม แนวคิดวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสังคม ผนวกปรัชญา

SS 706


การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแหงชาติครั้งที่ 29 ณ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ระหวางวันที่ 24-25 ตุลาคม 2556

ของเศรษฐกิจ พอเพี ย ง ส ง เสริม การรู วิ ท ยาศาสตร ข อง นักเรียน ใน 2 ดาน ดังนี้ [1] ดา นแนวคิด วิ ทยาศาสตร หลั ง การจัด การ เรียนรูตามแนวคิด วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสังคม ผนวกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สงเสริมนักเรียนใหมี การพั ฒ นาในทุ ก แนวคิ ด เรื่อ ง อาณาจั ก รสิ่ ง มี ชี วิ ต แต อยางไรก็ต ามในแนวคิดชื่อ วิทยาศาสตร อาณาจั กรพื ช และอาณาจั ก รสั ต ว ไม มี นั ก เรี ย นที่ มี ค วามเข า ใจอย า ง สมบูรณ สอดคลองกับงานวิจัยของ ศรวณีย ลาเต (2553) เนื่องมาจากแนวคิด เรื่อง อาณาจักรสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะ แนวคิดชื่อวิทยาศาสตรสิ่งมีชีวิตเปนแนวคิดที่มีคําศัพท ทางวิทยาศาสตรที่นักเรียนไมคุนเคย และอาจจะมาจาก การขาดความรูพื้นฐานและการขาดความรอบคอบในการ ตอบคําถามนักเรียน รวมทั้งจากการจัดการเรียนรูที่ผานมา ของผูวิจัยพบวานักเรียนทั้งหมดมีปญหาเกี่ยวกับทักษะ การอานภาษาอังกฤษ แตนักเรียนสวนใหญมีความเขาใจ บางสวนในทุกแนวคิด และไมพบนักเรียนที่อยูในกลุมที่ ไม เ ข า ใจแนวคิ ด จากผลการวิ จั ย แสดงให เ ห็ น ว า การ จัดการเรียนรูตามแนวคิดวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และ สั ง คม ส ง เสริ ม การพั ฒ นาแนวคิ ด วิ ท ยาศาสตร ข อง นักเรียน [13]; [14]; [21] ดวยลักษณะการจัดการเรียนรูที่ เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง สงเสริมใหนักเรียนมีสวนรวม ทุกขั้น ตอนของการจัดการเรียนรู เริ่ม จากการพิจ ารณา ประเด็ น ป ญ หาทางสั ง คม หรื อ สิ่ ง ที่ น า สนใจเกี่ ย วกั บ วิท ยาศาสตร และเทคโนโลยีที่ สง ผลกระทบตอ คนใน สังคมนําเขาสูบทเรียน [14] เปนการกระตุนความสงสัย ของนักเรียนทําใหเกิดความอยากเรียนรูอยากเห็น โดย การตั้งคําถามเพื่อใชสํารวจคนควาหาคําตอบแลวนําเสนอ สิ่งที่ไดจากการคนพบนําไปสูการลงมือปฏิบัติ [22] ทําให นักเรียนเกิดจึงพฤติกรรมการเรียนรูสอดคลองกับทฤษฎี การสรางองคความรูดวยตนเอง (Constructivis Theory) ทําใหนักเรียนเกิดความทาทาย อยากรูอยากเห็น สนใจใน การจะติดตามขอมูลตาง ๆ เพื่อประกอบการพิจารณา ตั ด สิ น ใจในเรื่ อ งราวที่ เ กิ ด ขึ้ น ในชี วิ ต ประจํ า วั น [23]ทํ า ให นั ก เรี ย นสามารถปรั บ เปลี่ ย นแนวคิ ด ที่

คลาดเคลื่อนใหถูกตอง นําไปสูสรุปและเชื่อมโยงสิ่งที่ได เรียนรู และความคิดกอนขั้นนําไปใชจริง [21] [2] ดานการมีสวนรวมในประเด็นวิทยาศาสตร พบว า หลั ง การจั ด การเรี ย นรู ตามแนวคิ ด วิ ท ยาศาสตร เทคโนโลยี และสั ง คม ผนวกปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง นั ก เรี ย นทั้ ง หมดมี ส ว นร ว มในประเด็ น ที่ เกี่ ยวขอ งกั บ อาณาจัก รสิ่ ง มีชี วิต ทั้ง ในระดั บครอบครั ว ชุมชน และสั งคม ทั้ งนี้ เนื่ องจากการจั ดการเรีย นรู ตาม แนวคิดวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสังคม ผนวกปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ไดนําประเด็น ปญหาทางสังคมที่ เกิดจากวิท ยาศาสตร และเทคโนโลยี นํ าเข าสูบทเรีย น [21] เปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงและแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นโดยเขาไปมีสวนรวมทําใหไดรับประสบการณ ที่ เกิดจากการเรียนรู ดวยกระบวนการกลุม [24] ประกอบ กั บ ผู ป กครองของนั ก เรี ย นส ว นใหญ ป ระกอบอาชี พ การเกษตร และทําประมง นอกจากนี้การจัดการเรียนรูใน ครั้ ง นี้ นั ก เรี ย นได ไ ปเรี ย นรู น อกสถานที่ ซึ่ ง เป น แหล ง ทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญในชุมชนของนักเรียน รวมถึง จากการสั ม ภาษณ อ ย า งไม เ ป น ทางการพบว า บ า นของ นักเรียนสวนใหญอยูใกลกับปาชายเลนจึงทําใหนักเรียนมี โอกาสเขารวมกิจกรรมที่เกี่ยวของกับปาชายเลน เปนการ ส ง เสริ ม ให นั ก เรี ย นได เ ข า ไปมี ส ว นร ว มในการให ขอเสนอแนะ รณรงคเกี่ยวกับอาณาจักรสิ่งมีชีวิตใหกับ ผูอื่นทั้งในระดับครอบครัวชุมชน และสังคม กิตติกรรมประกาศ งานวิ จั ย นี้ สํ า เร็ จ ได อ ย า งเรี ย บร อ ยและสมบู ร ณ ขอขอบพระคุณผูเชี่ยวชาญทุกทานที่ใหคําแนะนําในการ ตรวจ แก ไ ขเครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นงานวิ จั ย ขอบพระคุ ณ อาจารย นักเรียนและผูที่เกี่ยวของที่ใหความรวมมือ และ ขอขอขอบพระคุณมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรที่สนับสนุน ทุ น อุ ด หนุ น การค น คว า และวิ จั ย ประเภทวิ ท ยานิ พ นธ ระดับบัณฑิตศึกษา ประจําปงบประมาณ 2556

SS 707


การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแหงชาติครั้งที่ 29 ณ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ระหวางวันที่ 24-25 ตุลาคม 2556

เอกสารอางอิง [1] American Association for the Advancement of Science. 1990. Science for all American. New York : Oxford University Press. [2] สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม . 2 5 5 1 . ม า ต ร ก า ร ป อ ง กั น ควบคุม และกําจัดชนิดพันธุตางถิ่น. กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. [3] กีรติ กิ่งแกว. 2555. ภาวะเสี่ยงความหลากหลายทาง ชีวภาพในประเทศไทย. คนเมื่อ 7 สิงหาคม 2555, จาก http://wqm.pcd.go.th. [4] นงลักษณ สกุลญานนทวิทยา 2544. พัฒนาตามแนว พระราชดําริ ชุดที่ 1. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : บริษัท พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.). [5] สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.). 2554. คูมือครูสาระการเรียนรู พื้นฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา เลม 5 ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4-6. กรุงเทพฯ : คุรุสภา ลาดพราว. [6] โครงการ PISA ประเทศไทย, สถาบันสงเสริมการ สอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. 2551. ตัวอยางการประเมินผลวิทยาศาสตรนานาชาติ: PISA และ TIMSS. กรุงเทพมหานคร : หาง หุนสวนจํากัด อรุณการพิมพ. [7] National Research Council (NRC). 1996. National Science Education Standards. Washington D.C. : National Academy Press. [8] Chris, D.F. 2006. Biodiversity for Beginneers. Teaching Statistics. 28(3), 66-70.

[9] สายใจ ทิพพิชัย. 2550. การเปรียบเทียบผลการ เรียนรูแบบวัฏจักรการเรียนรูแ บบ 7 ขั้นโดยพหุ ปญญากับการสืบเสาะแบบ สสวท. ที่มีตอ แนวคิดเลือกเกี่ยวกับมโนมติชีววิทยา : พืช หรือ สัตว และการจัดจําแนกสัตว และการคิดเชิง วิพากษวิจารณของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 5. วิทยานิพนธมหาบัณฑิตศึกษา สาขา วิทยาศาสตรศึกษา. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. [10] ญาณพัฒน พรมประสิทธิ์และคณะ. 2551. “การ รับรูของครูและนักเรียนเกี่ยวกับสภาพการ จัดการเรียนการสอนเรื่องความหลากหลายของ สิ่งมีชีวิต”. วารสารวิทยาศาสตรเกษตรศาสตร สาขาสังคมศาสตร, (29), 1-10. [11] ศรวณีย ลาเต. 2553. การพัฒนาแนวคิด วิทยาศาสตรเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพ ของนักเรียนชั้นมธยมศึกษาปที่ 4 โดยการ จัดการเรียนรูตามแนวทฤษฎีสรรคนิยมและการ ใชแหลงการเรียนรูในทองถิ่น. วิทยานิพนธ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร ศึกษา. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. [12] พันธ ทองชุมนุม. 2547. การสอนวิทยาศาสตร ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โอ เดียนสโตร. [13] NSTA. 1993. “Science/Technology/Society : A New Effort for Providing Appropriate Science for all”. pp. 3-5. In R.E.Yager(ed.). What Research Says to the Science Teacher Volume Seven. The Science, Technology, Society Movement. Washngton, DC : The National Science Teacher Association. [14] นฤมล ยุตาคม. 2542. การจัดประสบการณการ เรียนรูวิชาวิทยาศาสตรโดยใชโมเดลการสอน วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสังคม (Science, Technology and Society-STS Model). ศึกษา ศาตรปริทัศน, 14(3), 29-48. SS 708


การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแหงชาติครั้งที่ 29 ณ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ระหวางวันที่ 24-25 ตุลาคม 2556

[15] Wilson, J. and S. Livingston. 1996. “Process Skills Enhancement in the STS Classroom.” Pp. 59-67. in R.E. Yager(ed.). Science/Technology/Society As Reform in Science Education. New York : States United of America of New York. [16] เกียรติศักดิ์ ชิณวงศ. 2544. การสอนแนวคิด วิทยาศาสตร-เทคโนโลยี-สังคม(STS)โดยใช หองเรียนธรรมชาติ. วารสารวิชาการ, 4 (11), 13-27. [17] ปรียานุช พิบูลสราวุธ. 2549. เศรษฐกิจพอเพียง และการประยุกตใชทางการศึกษา. คนเมื่อ 7 สิงหาคม 2555, จาก http: // www.sufficiencyeconomy.org. [18] สํานักงานคณะกรรมการการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ. 2550. ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ 21 เซ็นจูรี่. [19] Murcia, K. 2006. An evidenced based framework for developing scientific Literacy. April 5, 2012. http://www. waier.org.au/forums/2006/ muecia.html, [20] Organisation for Economic Cooperation and Development. 2007. Assessing scientific, reading and mathematical literacy: A framework for PISA 2006. February 2, 2012. http://www.oecd.org/dataoecd/63/ 35/37464175.pdf [21] ณัฐวิทย พจนตันติ. 2546. การจัดการเรียนการสอน วิชาวิธีสอนชีววิทยาตามแนวคิดวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสังคม. ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎี บัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรศึกษา. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. [22] Yager, R. E. 1996. Science/Technology/Society As Reform in Science Education. United States of America : University of New York.

[23] วราวรรณ ศิริอุเทน และโชคชัย ยืนยง. 2552. การ พัฒนากระบวนการเรียนรูแ ละยุทธศาสตรเมตา คอกนิชันของนักเรียน เกี่ยวกับพลังงาน นิวเคลียรตามแนวคิดวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสังคม. คนเมื่อ 7 สิงหาคม 2555, จาก http: // www.nst.or.th/nstconf/nst/nst11/ED/ED01.pdf. [24] Lutz, M. 1996. “The Congruency of the STS Approach and Constructivism”. pp. 39-49 in R.E. Yager (ed.).Science/Technology/Society As Reform in Science Education. New York : State University of New York Press.

SS 709


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.