โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

Page 1

0

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาแนวคิดวิทยาศาสตร

โดย คณาจารยสาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ณ โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ หอวัง นนทบุรี วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2554


1

คํานํา ครูวิทยาศาสตรเปนบุคคลที่มีความสําคัญยิ่งตอการจัดการเรียนรูวิทยาศาสตร เพื่อใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจที่สอดคลองกับแนวคิดวิทยาศาสตร ดังนั้นครูวิทยาศาสตรควรไดรับการสงเสริมใหมีการพัฒนา ตนเองอยางตอเนื่องเพื่อใหสามารถจัดการเรียนการสอนที่สงเสริมใหนักเรียนสรางองคความรูที่สอดคลองกับ แนวคิดวิทยาศาสตรดวยตนเอง คณาจารยสาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และโรงเรียนนวมินทราชินูทิศหอวัง นนทบุรี จึงไดรวมกันจัดโครงการอบรมเชิง ปฏิบัติการเรื่อง “การจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาแนวคิดวิทยาศาสตร ” ขึ้น เพื่อใหครูผูสอนวิทยาศาสตรได แลกเปลี่ยนประสบการณ ความเขาใจความรูความเขาใจ และลงมือ ปฏิบัติ การจัดการเรียนรูเพื่อใหนักเรียนมี แนวคิดวิทยาศาสตร อันจะเปนประโยชนตอการพัฒนากิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตรในเรื่องอื่นๆ ตอไป คณาจารยสาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา มก.


2

กําหนดการโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาแนวคิดวิทยาศาสตร วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 เวลา

กิจกรรม

07.30 - 08.00 น. 08.00 - 08.30 น. 08.30 - 10.00 น.

ลงทะเบียน พิธีเปด การจัดการเรียนรูเรื่อง “สวนประกอบของดอก” โดย ดร.ศศิเทพ ปติพรเทพิน และ ดร.พงศประพันธ พงษโสภณ รับประทานอาหารวาง การจัดการเรียนรูเรื่อง “ขางขึ้นขางแรม” โดย ดร.เอกรัตน ศรีตัญู และ ดร.จีระวรรณ เกษสิงห พักรับประทานอาหารกลางวัน การจัดการเรียนรูเรื่อง “วงจรไฟฟา” โดย ดร.เอกภูมิ จันทรขันตี รับประทานอาหารวาง การจัดการเรียนรูเรื่อง “การละลายของสาร” โดย ดร.อภิษฐา จันทรประเสริฐ

10.30 - 10.45 น. 10.45 - 12.00 น. 12.00 - 13.00 น. 13.00 - 14.30 น. 14.30 - 14.45 น. 14.45 - 16.00 น.


3

สารบัญ หนา การจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาแนวคิดวิทยาศาสตร

4

การจัดการเรียนรูเรื่อง “สวนประกอบของดอก”

7

การจัดการเรียนรูเรื่อง “ขางขึ้นขางแรม”

14

การจัดการเรียนรูเรื่อง “วงจรไฟฟา”

19

การจัดการเรียนรูเรื่อง “การละลายของสาร”

26

ภาคผนวก: รายการอุปกรณ

34


4

การจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาแนวคิดวิทยาศาสตร ดร.ศศิเทพ ปติพรเทพิน แนวคิดวิทยาศาสตรของนักเรียน เกิดขึ้นจากการรับรูของนักเรียนที่มีตอโลกที่เขาอาศัยอยู ทําให เขาแสดงออกมาเปนภาษาหรือขอความ แนวคิดทางวิทยาศาสตรจะไดรับการพัฒนาขึ้นขณะที่นักเรียน พยายามอธิบายหรือเขาใจปรากฏการณตาง ๆรอบตัว โดยอาศัยความรูเดิม ( Prior knowledge) ของนักเรียน ที่มีอยูซึ่งไดรับอิทธิพลจาก ประสบการณ บริบททางสังคม และวัฒนธรรม ความรูเดิมที่นักเรียนมีอยูนี้อาจตรง กับแนวคิดของ นักวิทยาศาสตรหรือไมก็ได เรียกวา แนวคิดทางเลือก (Alternative conceptions) หาก ความรูเดิมของนักเรียนไมตรงกับแนวคิดของนักวิทยาศาสตร เรียกวา แนวคิดคลาดเคลื่อน (Misconceptions) (ชาตรี ฝายคําตา , 2554) เมื่อนักเรียนมีแนวคิดทางเลือกที่ไมสอดคลองกับแนวคิดของ นักวิทยาศาสตร ก็จะทําใหการสรางองคความรูเกิดขึ้นไดยาก ( Tyler, 2002) ดังนั้นครูผูสอนจึงจําเปนตอง พิจารณาแนวคิดทางเลือกดังกลาวและออกแบบกิจกรรมที่สามารถสงเสริมใหนักเรียนเกิดการเรียนรู วิทยาศาสตรและสามารถเขาใจแนวคิดทางวิทยาศาสตรที่ถูกตองไดเปนอยางดี การจัดการเรียนรูตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (พ.ศ. 2545) ระบุไววานักเรียนทุกคนควรไดรับการสงเสริมใหสรางสรรคองคความรู โดยยึดหลักวานักเรียนทุกคน สามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (สกศ.), 2545) ซึ่งสอดคลอง กับทฤษฎีการสรางความรูดวยตนเอง (Constructivism) มีรากฐานมาจากทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญาของ พีอาเจต ( Piaget) ที่เชื่อวา นักเรียนมีความรูเดิมมากอนที่จะเรียน เมื่อไดรับความรูใหมสงตอการรับรูและ กระบวนการในการเรียนรูของแตละบุคคล ผลลัพธของการเรียนรูจะเกิดจากการผสมผสานระหวางความรูเดิม และความรูใหมเขาดวยกันเรียกวาการดูดซับ (Assimilation ) หากความรูใหมที่รับไมสอดคลองกับความรูเดิม ที่มีอยูก็จะมีกระบวนการ ปรับโครงสรางทางปญญา

(Accomodation) เปนกระบวนการเปลี่ยนแปลง

โครงสรางทางสติปญญาที่มีอยูเดิม ใหเขาสูสภาพสมดุล

(Equilibrium)

หรือเกิดการเรียนรูนั่นเอง

(Bettencourt, 1993) อยางไรก็ตามวีก็อทสกี้ (

Vygotsky) เชื่อวานักเรียนสามารถสรางความรูดวยการมีปฏิสัมพันธทาง

สังคมกับผูอื่นไดอีกดวย โดยนักเรียนจะมีระยะหางระหวางระดับพัฒนาการทางสติปญญาที่เปนอยู หรือความรู ความสามารถเดิมกับระดับศักยภาพของพัฒนาการทางสติปญญา ซึ่งเรียกระยะหางนี้วา ขอบเขตของการ เรียนรู (Zone of Proximal Development) ระบุวาเปนระยะหางระหวางสิ่งที่แตละบุคคลสามารถทําให


5

สําเร็จ (Accomplish) ไดดวยความสามารถของตัวเองลําพังโดยไมไดรับความชวยเหลือ จากผูอื่น เชน ผูปกครอง เพื่อน ครูผูสอน เปนตน (Vygotsky, 1978) ดังนั้นสมาชิก ในกลุมของนักเรียน ที่มีประสบการณมาก มีความสําคัญในการชวยเหลือผูเรียนแตละคนในการสรางความรูและทักษะ (Driver และคณะ, 1994) โดยการ กระตุน การสาธิต การอธิบาย การถามคําถาม การใชคําถามนํา การอภิปรายความคิด การสภาวะแวดลอมให เหมาะสมในการเรียนรู โดยปฏิสัมพันธทางสังคมดังกลาวจะทําใหผูเรียนสรางความรูดวยการเปลี่ยนแปลง ความเขาใจเดิมใหถูกตองหรือซับซอนกวางขวางขึ้น (Vygotsky, 1978) ทฤษฏีการสรางความรูดวยตนเอง จึงเปนทฤษฏีการเรียนรูที่นักเรียนไมไดเปนผูคอยรับขอมูลโดยการ เลียนแบบคําและขอสรุปของผูอื่น แตเปนผูสรางความรูบนพื้นฐานของประสบการณเดิมและจากการมี ปฏิสัมพันธกับผูอื่น (Richardson, 2003) เนื่องจากครูผูสอนเปนผูนําทฤษฎีไปสูการปฏิบัติในหองเรียน ดังนั้น ครูผูสอนตามทฤษฎีนี้จึงมีควรมีลักษณะดังตอไปนี้ (Brooks and Brooks, 2001) 1. ครูผูสอนสํารวจความรูเดิมของผูเรียนมีเกี่ยวกับเรื่องที่เรียนเพื่อที่จะไดเขาใจแนวคิดที่นักเรียนมี ในปจจุบันเพื่อใชในการดําเนินบทเรียน 2. ครูผูสอนจัดกิจกรรมโดยใชแหลงขอมูลที่หลากหลาย เชน หนังสือ เว็บไซด และแหลงความรู อื่นๆ มากกวาขึ้นอยูกับหนังสือหรือใบงาน 3. ครูผูสอนสงเสริมและใหอิสระในการตัดสินใจของผูเรียน ในการเลือกบทเรียน เลือกเนื้อหาและ ยุทธวิธีในการจัดการเรียนการสอน 4. ครูผูสอนสงเสริมความอยากรูอยากเห็นของนักเรียนโดยจัดประสบการณใหผูเรียน ซึ่งประสบการณนั้นอาจกอใหเกิดความขัดแยงกับสมมติฐานของผูเรียนแลวครูจึงกระตุนให ผูเรียนรวมอภิปราย แสดงความคิดเห็นทั้งระหวางครูและผูอื่น 5. ครูผูสอนจะเปนผู อํานวยความสะดวกใหกับนักเรียนเปรียบเสมือนนั่งราน (Scaffolder) ที่คอย แนะนําและการกระตุนใหนักเรียนสามารถเรียนรู และมีความมั่นใจและเคารพตัวเองเพิ่มขึ้น 6. ครูผูสอนใหผูเรียนหาความสัมพันธหรือเปรียบเทียบเพื่อสรางความเขาใจกับสิ่งที่เรียน รวมทัง้ จัดหาเวลาใหเพียงพอสําหรับนักเรียนในการสะทอนและวิเคราะหขอมูล 7. ครูผูสอนสงเสริมใหนักเรียนถามคําถามที่ใหคิด คําถามปลายเปด และสงเสริมใหนักเรียนถาม คําถามซึ่งกันและกัน 8. ครูผูสอนใหเวลากับการรอคําตอบหลังจากการตั้งคําถาม 9. ครูผูสอนประเมินผลการเรียนรูของนักเรียนโดยเชื่อมโยงกับการสอนและสิ่งที่เกิดจากการ สังเกตการทํางาน การจัดนิทรรศการ หรือแฟมสะสมผลงานของนักเรียน เปนตน


6

จากที่กลาวมาขางตน การจัดกิจกรรมการเรียนรูเพื่อไมใหผูเรียนมีแนวคิดที่คลาดเคลื่อน หรือ เชื่อมโยงหรือปรับเปลี่ยนแนวคิดทางเลือกของผูเรียน เปนสิ่งสําคัญตอกระบวนการจัดการเรียนรู ครูผูสอนจึง ใชในการอบรมเชิงปฏิบัติการครั้งนี้มุงที่จะนําเสนอแนวทางการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาแนวคิดวิทยาศาสตรตาม แนวทฤษฎีการสรางความรูดวยตนเอง ดังตอไปนี้ 1. แนวคิดวิทยาศาสตรเรื่อง “สวนประกอบของดอก” 2. แนวคิดวิทยาศาสตรเรื่อง “ขางขึ้นขางแรม” 3. แนวคิดวิทยาศาสตรเรื่อง “วงจรไฟฟา” 4. แนวคิดวิทยาศาสตรเรื่อง “การละลายของสาร” เอกสารอางอิง ชาตรี ฝายคําตา. 2554. วิธีสอนวิทยาศาสตรระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: บริษัท เอพริล พริ้นติ้ง จํากัด. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (สกศ.). 2545. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (พ.ศ. 2545) Bettencourt, A. 1993. The Construction of Knowledge: A Radical Constructivist View. In Tobin, K. (Ed.). The Practice of Constructivism in Science Education. Washington, D.C: American Association for the Advancement of Science Press, Chapter 3. Brooks, J. G. and Brooks, M. G. 2001. In Search of Understanding; the Case for Constructivist Classrooms. Alexandria, Virginia, USA: Association for Supervision and Curriculum Development. Driver, R., Asoko, H., Leach, J., Mortimer, E., and Scott, P. 1994. “Constructing Scientific Knowledge in the Classroom”. Educational Researcher. 23 (7): 5-12. Richardson V. 2003. Constructivism Pedagogy. Teacher college Record. 105(9): 1623-1640. Tyler, R. 2002. “Learning for Understanding in Science: Constructivism/Conceptual change Model in Science Teacher Education”. Science Education. 80 (May 1996): 317-341. Vygotsky, L.1978. Mind in Society: The Development of Higher Psychological Processes. Harvard University Press.


7

การจัดการเรียนรูเรื่อง สวนประกอบของดอก โดย ดร.ศศิเทพ ปติพรเทพิน และดร.พงศประพันธ พงษโสภณ

แนวความคิดหลัก ดอกประกอบดวยกลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู เกสรเพศเมีย ซึ่งทําหนาที่แตกตางกัน สวนประกอบของดอกใชใน การจําแนกประเภทของดอกเปนดอกสมบูรณ ดอกไมสมบูรณ ดอกสมบูรณเพศ และดอกไมสมบูรณเพศ

ความเขาใจคลาดเคลื่อน 1. ดอกหนาวัวและดอกเฟองฟามีใบเปลี่ยนแปลงไปคลายกลีบดอก ทําใหเขาใจผิดวาเปนกลีบดอก (แนวคิดที่ถูกตอง คือ ดอกหนาวัวไมมีกลีบดอก สวนดอกเฟองฟามีกลีบดอกขนาดเล็ก (สสวท., 2548)) 2. ดอกพุทธรักษามีเกสรเพศผูที่เปลี่ยนแปลงไปมีสีสวยงามคลายกลีบดอก ทําใหเขาใจผิดวาเปนกลีบดอก (แนวคิดที่ถูกตอง คือ กลีบสีสวย ๆ ของพุทธรักษาเปนเกสรเพศผูที่เปนหมัน เกสรเพศผูที่ใชสืบพันธุไดจะมีอับเรณู ยาว ๆ ติดอยู (สสวท., 2548)) 3. ดอกเฟองฟาเปนดอกสมบูรณ (แนวคิดที่ถูกตอง คือ ดอกเฟองฟาเปนดอกไมสมบูรณ ขาดกลีบดอก (สํานักงานหอ พรรณไม, 2554)) 4. ดอกบานเย็นมีกลีบดอกสีสวยงาม (แนวคิดที่ถูกตอง คือ ดอกบานเย็นไมมีกลีบดอกแตมีกลีบเลี้ยงที่พัฒนาไปเหมือน กลีบดอก ทําใหเขาใจผิดวาเปนกลีบดอก (Floridata, 2010))

ที่มา: 1. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.), กระทรวงศึกษาธิการ. 2548. คูมือ ครูสาระการเรียนรูพ น้ื ฐานและเพิม่ เติม ชีววิทยา เลม 4 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ชั้น มัธยมศึกษาปท่ี 5. โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. กรุงเทพมหานคร. 2. สํานักหอพรรณไม. 2554. สารานุกรมพืชในประเทศไทย. [ออนไลน] เขาถึงไดจาก http://web3.dnp.go.th/botany/detail.aspx?words=เฟอ งฟา&typeword=group (วันที่คนขอมูล 29 มี.ค. 2554) 3. Floridata. 2010. Mirabilis jalapa. [ออนไลน] เขาถึงไดจาก http://www.floridata.com/ ref/m/mira_jal.cfm (วันที่คนขอมูล 4 มี.ค. 2554)


8

ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง รูอะไรบางเกี่ยวกับดอก คําชี้แจง 1. สังเกตสวนประกอบตางๆของดอกชบาที่วิทยากรแจกให โดยใชแวนขยาย 2. วาดภาพดอกชบาลงบนชองวางที่กําหนดใหและระบุสวนประกอบของดอก 3. ตอบคําถามหลังทํากิจกรรม

ภาพสวนประกอบของดอกชบา

คําบรรยายภาพ ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... 


9

คําถามหลังทํากิจกรรม 1. ดอกชบามีสว นประกอบอะไรบาง

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. สวนประกอบแตละสวนของดอกชบาทําหนาที่เหมือนหรือแตกตางกันหรือไม อยางไร

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ดอกชบาเปนดอกสมบูรณ ดอกไมสมบูรณ ดอกสมบูรณเพศ หรือดอกไมสมบูรณเพศ เพราะเหตุใด

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ทานคิดวาดอกไมชนิดอื่นมีสวนประกอบเหมือนหรือแตกตางกับดอกชบา เพราะเหตุใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………




10

ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง สวนประกอบของดอก คําชี้แจง 1. สังเกตลักษณะของกลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู และเกสรเพศเมียของดอกที่กําหนดใหจํานวน 8 ชนิด เชน ดอกมะเขือพวง ดอกบัวหลวง ดอกตําลึง ดอกกลวยไม ดอกเฟองฟา ดอกบานเย็น ดอกพุทธรักษา และดอกกุหลาบโดยใชแวนขยาย และวาดภาพหรือนําสวนประกอบแตละสวนที่พบติดลงในตารางบันทึก สวนประกอบของดอกในตารางการจําแนกสวนประกอบของดอกไม 2. กรณีที่ดอกมีเกสรเพศผูเปนสวนประกอบใหผูเขารับการอบรมใชเข็มหมุดเขี่ยอับเรณูลงบนกระจกปดสไลด หยดน้ําลงไป 1หยดใชแทงแกวคนสารขยี้อับเรณูใหแตกออก ปดทับดวยกระจกปดสไลด นําไปสองดูดวย กลองจุลทรรศน แลววาดรูปเรณูลงในชองเกสรเพศผู ของตารางบันทึกสวนประกอบของดอก 3. กรณีที่ดอกมีเกสรเพศเมียเปนสวนประกอบ ใหผูเขารับการอบรม แกะสวนของกลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสร เพศผูออกใหหมด ใชใบมีดโกนผาเกสรเพศเมียตามยาว สังเกตรังไขและออวุล จากนั้นวาดรูปลงในชองเกสร เพศเมียของตารางบันทึกสวนประกอบของดอก 4. ตอบคําถามหลังทํากิจกรรม ตาราง การจําแนกสวนประกอบของดอกไม ชือ่ ดอก 1.

2.

3.

รูปแสดงสวนประกอบของดอก กลีบเลี้ยง

กลีบดอก

เกสรเพศผู

เกสรเพศเมีย


11 ชือ่ ดอก 4.

5.

6.

7.

8.

รูปแสดงสวนประกอบของดอก กลีบเลี้ยง

กลีบดอก

เกสรเพศผู

เกสรเพศเมีย


12

คําถามหลังทํากิจกรรม 1. หากทานใชการมีสวนประกอบของดอกครบทั้ง 4 สวน เปนเกณฑ สามารถจําแนกดอกที่กําหนดใหเปนกี่กลุม อะไรบาง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. ดอกทีม่ สี ว นประกอบครบ 4 สวนในหนึ่งดอก เรียกวาอะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3. ดอกทีม่ สี ว นประกอบไมครบ 4 สวนในหนึ่งดอก เรียกวาอะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. สวนประกอบแตละสวนของดอกมีความสําคัญตอดอกอยางไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………........................ 5. หากทานใชการมีเกสรเพศผูและเกสรเพศเมียเปนเกณฑ สามารถจําแนกดอกเปนกี่กลุม อะไรบาง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 6. ทานพบอะไรในอับเรณูของเกสรเพศผูและในรังไขของเกสรเพศเมีย และสิ่งที่พบมีประโยชนกับพืชหรือไม อยางไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 7. ดอกที่มีเกสรเพศผูและเกสรเพศเมียภายในดอกเดียวกัน เรียกวาอะไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 8. ดอกที่มีเกสรเพศผูหรือเกสรเพศเมีย อยางใดอยางหนึ่งในดอก เรียกวาอะไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 9. ดอกที่มีแตเกสรเพศผู เรียกวาอะไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 10. ดอกที่มีแตเกสรเพศเมีย เรียกวาอะไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 11. ดอกไมสมบูรณสามารถเปนดอกสมบูรณเพศไดหรือไม อยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..


13 12. ดอกไมสมบูรณเพศเปนดอกสมบูรณไดหรือไม อยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 13. กิจกรรมนี้สรุปไดวาอยางไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 


14

ใบบันทึกการเรียนรูของฉัน ตอบคําถามตอไปนี้ 1. ดอกไมมสี ว นประกอบหลักอะไรบาง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………................... 2. เกสรเพศผูและเกสรเพศเมียประกอบดวยสวนประกอบที่เหมือนหรือแตกตางกันหรือไม อยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………................... 3. สิ่งที่พบในอับเรณูของเกสรเพศผูและในรังไขของเกสรเพศเมียทําหนาที่เหมือนหรือแตกตางกัน หรือไม อยางไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………................... 4. สวนประกอบแตละอยางของดอกทําหนาที่เหมือนหรือแตกตางกันหรือไม อยางไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..................... 5. ดอกสมบูรณ มีสวนประกอบเหมือนหรือแตกตางจากดอกไมสมบูรณ อยางไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………........................ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..................... 6. ดอกสมบูรณเพศ มีสวนประกอบเหมือนหรือแตกตางจากดอกไมสมบูรณเพศ อยางไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………........................ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….....................


15 7. ดอกเพศผู สวนประกอบเหมือนหรือแตกตางจากดอกเพศเมีย อยางไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..................... .……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..................... 


16

การจัดการเรียนรูเรื่อง ขางขึ้นขางแรม โดย ดร.เอกรัตน ศรีตัญู และดร.จีระวรรณ เกษสิงห แนวความคิดหลัก ขางขึ้นขางแรมเปนปรากฏการณที่คนบนโลกมองเห็นดวงจันทรมีสวนมืด สวนสวาง ที่แตกตางกัน ซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากดวง จันทรไมมีแสงสวางในตัวเอง แตสะทอนแสงจากดวงอาทิตย เมื่อดวงจันทรโคจรรอบโลก ตําแหนงของดวงจันทรจะเปลี่ยนไป ทําใหคนบนโลกเห็นแสงสะทอนของดวงจันทรในแตละคืนแตกตางกัน โดยชวงเวลาที่ดวงจันทรมีสวนสวางขึ้นเรื่อยๆ จนสวาง เต็มดวง เรียกวา ขางขึ้น สวนชวงเวลาที่ดวงจันทรมีสวนสวางลดลงเรื่อยๆ จนมืดทั้งดวง เรียกวา ขางแรม ความเขาใจคลาดเคลือ่ น 1. ขางขึ้นขางแรมเกิดเนื่องจากเงาของโลกทอดไปบังดวงจันทร หรือ ดวงจันทรถูกบังดวยสิ่งอื่นๆ เชน เมฆ (แนวคิดที่ถูกตอง คือ ขางขึ้นขางแรมเกิดเนื่องจากดวงจันทรโคจรรอบโลก ทําใหคนบนโลกเห็นสวนสวางของดวงจันทร เปลี่ยนไปตามตําแหนงของดวงจันทรเมื่อเทียบกับตําแหนงของโลก) 2. ดวงจันทรมแี สงสวางในตัวเอง (แนวคิดที่ถูกตอง คือ ดวงจันทรเปนดาว (ไมแนใจตรงนี้วาดวงจันทรเปนดาวอะไร ดาวเคราะห หรือวาดาว อะไร?) ที่ไมมีแสงสวางในตัวเอง แตแสงที่เรามองเห็นเกิดจากแสงอาทิตยตกกระทบผิวดวงจันทรแลวสะทอน มายังโลก) 3. ดวงจันทรไมหมุนรอบตัวเองเพราะเราเห็นดวงจันทรดานเดียวตลอดเวลา (แนวคิดที่ถูกตอง คือ ดวงจันทรหมุนรอบตัวเองโดยใชเวลาเทากับที่ดวงจันทรโคจรรอบโลก จึงทําใหคนบนโลก เห็นดวงจันทรเพียงดานเดียว) 4. ดวงจันทรมีหลายดวง แตละดวงมีรูปรางแตกตางกัน ตามทีป่ รากฏเชน เปนเสี้ยว เปนครึ่งวงกลม อยูแตละ ตําแหนง เมื่อโลกหมนรอบตัวเองทําใหคนบนโลกเห็นดวงจันทรที่มีรปรางแตกตางกันในแตละคืน


17

ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง รูอะไรบางเกี่ยวกับดวงจันทร คําชี้แจง

1. วาดภาพดวงจันทรจากประสบการณของตนเองจํานวน 1 ภาพลงในชองวาง 2. จับกลุมกับเพื่อนที่วาดภาพดวงจันทรในลักษณะที่คลายคลึงกัน 3. อภิปรายรวมกันในกลุมเกี่ยวกับลักษณะของดวงจันทร จากนั้นจดสรุปขอสรุปของกลุมลงในขอที่ 1 ดานลาง 4 . ปนดินน้ํามันแสดงลักษณะของดวงจันทรของกลุมตนเอง 5. อภิปรายรวมกันในกลุม วานักเรียนมองเห็นแสงสวางของดวงจันทรไดอยางไร จากนั้นจดขอสรุปของกลุมลง ในขอที่ 2 ดานลาง

ภาพดวงจันทร

1. ดวงจันทรของกลุม ของนักเรียนมีลักษณะอยางไร ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... 2. นักเรียนมองเห็นแสงสวางของดวงจันทรไดอยางไร ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................


18

ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง แสงสวางบนดวงจันทรเกิดไดอยางไร 1. ใหนักเรียนวาดภาพวงกลมขนาดใหญลงบนกระดาษปรูฟ แลวแบงเปน 8 สวนเทาๆ กัน โดยกําหนด ใหเปนตําแหนงที่ 1 ถึง 8 ตามลําดับ และตําแหนงของโคมไฟ ดังภาพที่ 1 2. ปดไฟหรือปดหนาตางเพื่อทําใหหองมืด จากนั้นใหตัวแทนกลุม 1 คน ยืนอยูต รงตําแหนงที่เปนจุด ศูนยกลางวงกลม แลวยื่นไมเสียบลูกปงปองออกไปขางหนาสุดแขนระดับสูงกวาศรีษะ ใหลูกปงปองอยู ระหวางผูสังเกต และแหลงกําเนิดแสง (โคมไฟ) ณ ตําแหนงที่ 1 3. ผูสังเกตสังเกตตําแหนงและลักษณะของลูกปงปองในสวนมืด และสวนสวาง แลวแรเงาลักษณะของลูก ปงปองที่สังเกตเห็นลงในแผนภาพดานลางใหชัดเจน 4. ทําเชนเดียวกับขอ 2 และ ขอ 3 แตเปลี่ยนตําแหนงของลูกปงปองทวนเข็มนาฬิกา จากตําแหนงที่ 1 ไป ตําแหนงที่ 2 จนถึงตําแหนงที่ 8 ตามลําดับ

3

2

1 5 8 6 7

ตําแหนงของโคมไฟ

4

แสงจากโคมไฟ

คําชี้แจง


19

คําถามหลังทํากิจกรรม 1. จุดประสงคของกิจกรรมนี้คืออะไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. จากกิจกรรม ลูกปงปองแทนอะไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. จากกิจกรรม ผูส งั เกตแทนอะไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. จากกิจกรรม โคมไฟแทนอะไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. ลูกปงปองที่อยูในตําแหนงใดที่มองเห็นสวนที่ไดรับแสงมากที่สุด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. ลูกปงปองที่อยูในตําแหนงใดที่มองไมเห็นสวนที่ไดรับแสง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 7. ลูกปงปองที่อยูในตําแหนงใดบางที่เห็นดานที่รับแสงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 8. ลูกปงปองที่อยูในตําแหนงใดบางที่เห็นดานที่รับแสงลดลงเรื่อยๆ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 9. ณ ตําแหนงที่ 3 และตําแหนงที่ 7 ผูสังเกตจะเห็นดานที่ไดรับแสงของลูกปงปองแตกตางกันอยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 


20

ใบบันทึกการเรียนรูของฉัน ตอบคําถามตอไปนี้ 1. นักเรียนมองเห็นสวนสวางของดวงจันทรไดอยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………................... 2. ขณะที่ดวงจันทรโคจรรอบโลก ตําแหนงใดที่เห็นดวงจันทรมืดทั้งดวง และสวางเต็มดวง ตามลําดับ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………................... 3. จากการสังเกตดวงจันทรตั้งแตตําแหนงที่ 1 ถึงตําแหนงที่ 5 จะมองเห็นสวนสวางของดวงจันทรมีการเปลี่ยนแปลง อยางไร และเรียกชวงเวลาดังกลาววาอะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………................... 8. จากการสังเกตดวงจันทรตั้งแตตําแหนงที่ 5 ถึงตําแหนงที่ 8 จะมองเห็นสวนสวางของดวงจันทรมีการเปลี่ยนแปลง อยางไร และเรียกชวงเวลาดังกลาววาอะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..................... 9. เพราะเหตุใดเราจึงเห็นดวงจันทรมีสวนสวางแตกตางกันในแตละตําแหนง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………........................ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..................... 


21

การจัดการเรียนรูเรื่อง วงจรไฟฟา โดย ดร.เอกภูมิ จันทรขันตี

แนวความคิดหลัก หลอดไฟจะสวางตอเมื่อมีทางเดินปดที่เชื่อมโยงระหวางตําแหนง 2 ตําแหนงของหลอดไฟกับตําแหนง 2 ตําแหนง ของถานไฟฉาย ทางเดินปดที่ทําใหหลอดไฟสวางนี้เรียกวา วงจรไฟฟา วงจรไฟฟาที่สามารถทําใหหลอดไฟสวางไดเรียกวา วงจรปด วงจรปด หมายถึง วงจรไฟฟาที่มีกระแสไฟฟาไหลผานไดครบวงจร ทําใหหลอดไฟหรือเครื่องใชไฟฟาที่ตออยูในวงจร นั้นๆ ทํางาน วงจรเปด คือวงจรที่กระแสไฟฟาไมสามารถไหลไดครบวงจรเนื่องจากสวนใดสวนหนึ่งของวงจรไฟฟาขาด เปนผลทํา ใหหลอดไฟหรือเครื่องใชไฟฟาที่ตออยูในวงจรไมสามารถทํางานได ความเขาใจคลาดเคลือ่ น 1. การตอหลอดไฟฉายใหติดตองใชลวด 2 เสนเทานั้นในการตอจากขั้วทั้งสองขั้วของถานไฟฉายไปยังขั้วของ หลอดไฟ 2. วงจรเปด คือ การเปดวงจรไฟฟาทําใหกระแสไฟฟาไหลจากถานไฟฉายไปยังหลอดไฟและทําใหหลอดไฟสวาง ที่มา: 1. Gerard Chasseigne and Laurent Liegeois. 2003. Improving students’ understanding of simple electric circuits. International Journal of Science Education. 25(9): 1129-1145 2. Pattawan Narjaikaew. 2005. Model of improving students’ conceptual knowledge of electricity and magnetism using active learning. [ออนไลน] เขาถึงไดจาก www.mu.ac.th/scied/these1/html. (วันที่คน ขอมูล 4 ก.ค. 2554)


22

ใบกิจกรรมที่ 1 “วงจรไฟฟา” วัสดุอปุ กรณ 1. ถานไฟฉายขนาด D 1 กอน 2. หลอดไฟขนาด 3.8 V 1 ดวง 3. สายไฟยาวประมาณ 30 เซนติเมตร 1 เสน

คําถามกอนทํากิจกรรม 1. ทานคิดวาถานไฟฉาย 1 กอน หลอดไฟ 1 ดวง และสายไฟ 1 เสน ทําใหหลอดไฟสวางไดหรือไม เพราะเหตุใด --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------2. ถาทานคิดวาถานไฟฉาย 1 กอน หลอดไฟ 1 ดวง และสายไฟ 1 เสน ทําใหหลอดไฟสวางได ทานคิดวามีกี่วิธีที่ สามารถทําใหหลอดไฟสวางได --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------3. จงเขียนแผนภาพที่ทานคิดวาสามารถสามารถทําใหหลอดไฟในวงจรไฟฟาที่ประกอบดวยถานไฟฉาย 1 กอน หลอดไฟ 1 ดวง และสายไฟ 1 เสน สวางได




23

ใบกิจกรรมที่ 2 “หลอดไฟดวงไหนไหนจะสวางบางนะ” คําชี้แจง กรุณาเขียนเครื่องหมาย  ดานขางแผนภาพที่ทานคิดวาสามารถทําใหหลอดไฟสวาง และเขียนเครื่องหมาย  ดานขางแผนภาพที่ทานคิดวาไมสามารถทําใหหลอดไฟสวาง ลงในแผนภาพตอไปนี้


24

คําถามหลังทํากิจกรรม 1. ผลการทดลองเปนไปตามที่ทานคิดไวหรือไม อยางไร -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------2. จากการทดลองมีแผนภาพใดบางที่สามารถทําใหหลอดไฟสวาง --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------3. จากการทดลองมีแผนภาพใดบางที่ไมสามารถทําใหหลอดไฟสวาง --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------4. มีทั้งหมดกี่วิธีที่สามารถทําใหหลอดไฟในวงจรไฟฟาที่ประกอบดวยถานไฟฉาย

1 กอน หลอดไฟ 1 ดวง และ

สายไฟ 1 เสนสวางได ผลการทดลองสอดคลองกับสิ่งที่ทานเขียนไวในคําถามกอนทํากิจกรรมหรือไมอยางไร ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------5. ทานคิดวาสิ่งใดบางที่มีผลตอการทําใหหลอดไฟสวาง ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------6. การทําใหหลอดไฟสวาง สวนใดของถานไฟฉายที่ตองถูกสัมผัส ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------7. การทําใหหลอดไฟสวาง สวนใดของหลอดไฟที่ตองถูกสัมผัส -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


25 8. ทานจะสรุปผลการทํากิจกรรมนี้ไดวาอยางไร ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


26

ใบกิจกรรมที่ 3 “วงจรปดหรือวงจรเปด” คําถามกอนทํากิจกรรม 1. วงจรปด หมายถึงอะไร --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------2. วงจรเปด หมายถึงอะไร ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------วิธีทํากิจกรรม 1. ใหสมาชิกในกลุมทุกคนยืนจับมือกันเปนวงกลม กําหนดหมายเลขใหสมาชิกแตละคน เชน 1, 2, 3,... 2. ใหสมาชิกคนที่หนึ่งบีบมือคนที่อยูดานขวา เมื่อคนที่อยูดานถูกบีบมือก็ใหทานบีบมือของคนที่อยูดานขวาของทาน ตอไปเรือ่ ย ๆ จนครบวง 3. ขออาสาสมัคร 1 คนปลอยมือจากเพื่อนที่อยูทั้ง 2 ขางของตัวเอง 4. ใหสมาชิกทุกคนทําเชนเดียวกับขอ 2 5. สมาชิกทุกคนกลับไปนั่งที่และตอบคําถามหลังทํากิจกรรม

คําถามหลังทํากิจกรรม 1. เกิดอะไรขึ้นเมื่อทุกคนยืนจับมือกันเปนวงกลมและบีบมือตอกันไปเรื่อย ๆ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

2. เกิดอะไรขึ้นเมื่อเพื่อน 1 คนปลอยมือออกจากเพื่อนที่อยูทั้ง 2 ขางของตัวเองและเพื่อนคนอื่น ๆ บีบมือตอกันไปเรื่อย ๆ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


27 3. การบีบมือตอกันไปเรือ่ ย ๆ เปรียบไดกบั อะไรในวงจรไฟฟา --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------4. การที่ทุกคนยืนจับมือกันเปนวงกลมและบีบมือตอกันไปเรื่อย ๆ เปรียบไดกับวงจรปดหรือวงจรเปด --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------5. การที่เพื่อนคนหนึ่งปลอยมือออกจากเพื่อนที่อยู 2 ขางของตนเอง เปรียบไดกับวงจรปดหรือวงจรเปด --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------6. วงจรปด หมายถึงอะไร --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------7. วงจรเปด หมายถึงอะไร --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------8. การทําใหหลอดไฟสวาง ตองตอวงจรไฟฟาใหเปนวงจรปดหรือวงจรเปด เพราะเหตุใด --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


28

ใบกิจกรรมที่ 4 “สวางไหมหนอ” คําชี้แจง จงประยุกตใชความรูที่ไดเรียนไปทํานายวาแผนภาพใดตอไปนี้ที่สามารถทําใหหลอดไฟสวางและแผนภาพใดที่ไม สามารถทําใหหลอดไฟสวาง พรอมระบุเหตุผล

--------------------------------------- --------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------- -----------------------------------------

--------------------------------------- --------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------- ------------------------------------------

--------------------------------------- --------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------- ------------------------------------------


29

แนวคิดทางวิทยาศาสตร เรื่อง การละลายของสาร โดย ดร.อภิษฐา จันทรประเสริฐ แนวความคิดหลัก การละลาย คือ กระบวนการเกิดสารละลาย ซึ่งเกิดจากการที่สารชนิดหนึ่งกระจายอยูในสารอีกชนิดหนึ่ง โดยเรียก สารผสมนั้นวา สารละลาย กระบวนการละลายจะมีสารตัวหนึ่งเปน ตัวทําละลาย และสารอีกตัวหนึ่งเปน ตัวละลาย การละลายขึ้นอยูกับหลายปจจัย เชน ชนิดของตัวทําละลาย ปริมาณตัวทําละลาย อุณหภูมิของตัวทําละลาย ชนิด ของตัวถูกละลาย ปริมาณตัวถูกละลาย และความเขมขนของตัวทําละลาย ความเขาใจคลาดเคลือ่ น 1. ของแข็งจะละลายได ก็ตอเมื่อมีการคนของแข็งนั้นในตัวทําละลาย ถาไมคน ของแข็งก็จะไมละลายไมวาจะตั้งทิ้งไว นานเทาไร 2. เมื่อใสน้ําตาลลงในน้ํา น้ําตาลจะหายไป จะไมพบน้ําตาลในน้ํานั้นอีก 3. การละลายเปนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เมื่อเกลือละลายในน้ํา จะเกิดสารใหม ที่มา Valanides, N. 2000. Primary student teachers’ understanding of the particulate


30

ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สํารวจสมบัติทางกายภาพของ M&M คําชี้แจง

1. สํารวจสมบัติทางกายภาพของ M&M ดวยตนเอง โดยสังเกตลักษณะภายนอกของ M&M 2. พูดคุยแลกเปลี่ยนขอมูลกับเพื่อนในกลุมเกี่ยวกับสิ่งที่สังเกตไดจากการสํารวจ M&M 3. ผา M&M ใหแตกออก แลวสังเกตเนื้อภายใน บรรยายสิ่งที่สังเกตและวาดภาพแสดงสวนประกอบภายในของ M&M

บันทึกผลที่ไดจากการสังเกตลงในชองวางขางลาง ขนาด

รูปร่ าง

รส สี

เนื้อใน

ลักษณะอื่นๆที่สังเกตได้ ............................................




31

ใบกิจกรรมที่ 2

จงทํานายวาจะเกิดอะไรขึ้นเมื่อเราวาง M&M ลงในมือ

ใหทาํ การทดลองโดยวาง M&M ลงบนมือแลวสังเกตสิ่งที่เกิดขึ้น

จงทํานายวาจะเกิดอะไรขึ้นเมื่อวาง M&M ลงในน้ํา

บรรยายสิ่ งที่ทาํ นาย ……………………………………………………..……………………………………………… ……..……………………………………………………..……………………………………… ……………..……………………………………………………..………………………………


32

ทดลองดู จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อเราใส M&M ลงในน้ํา วิธกี ารทดลอง 1. เทน้ําที่อุณหภูมิหองลงในจานพลาสติกจนกระทั่งทวมกนของจาน 2. นํา M&M 1 อัน วางลงบนถาดที่มีน้ํา ระวังอยาเคลื่อนถาดหรือ M&M หลังจากที่วางลงในน้ําแลวสังเกตเปนเวลา 5 นาที 3. บันทึกสิ่งที่สังเกตไดลงในที่วางขางลางโดยการบรรยายและวาดภาพ

สีของ M&M……………………………………….. บริเวณที่วาง M&M...………………………………. …………………………………………………….. …………………………………………………….. …………………………………………………….. …………………………………………………….. บรรยายสิ่งที่สังเกตได ……………………………………………………..…………………………………………………….. ……………………………………………………..…………………………………………………….. ……………………………………………………..…………………………………………………….. ……………………………………………………..…………………………………………………….. ……………………………………………………..…………………………………………………….. 


33

ใบกิจกรรมที่ 3 คําถามที่สงสัยเกี่ยวกับการละลายของ M&M 1. คําถามการละลายในเรื่องอุณหภูมิของน้ํา

2. คําถามการละลายในเรื่องสขี อง M&M

3. คําถามการละลายในเรื่องของเหลวที่ใชละลาย M&M

4. คําถามการละลายในเรื่อง………………………………. …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… 5. คําถามการละลายในเรื่อง………………………………. …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………


34

ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่อง ................................................................................ สิ่งที่ตองการทําการทดสอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สิ่งที่ตองการติดตามดูผล ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สิ่งที่ตองควบคุมใหคงที่ในระหวางทําการทดลอง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… อุปกรณและสารเคมีในการทดลอง 1.…………………………………………………..

6.…………………………………………………..

2…………………………..………………………..

7.…………………………………………………..

3…………………………..………………………..

8.…………………………………………………..

4………………………….………………………...

9.…………………………………………………..

5…………………………..………………………..

10.…………………………………………………..

วิธีการทดลอง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


35

ใหทํานายผลที่จะเกิดขึ้นกอนทําการทดลอง (วาดภาพและบรรยาย)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใหบันทึกผลที่เกิดขึ้นจากการทําการทดลอง (วาดภาพและบรรยาย)

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


36

สรุปผลการทดลอง




37

ภาคผนวก


38

รายการอุปกรณ กิจกรรมการจัดการเรียนรูเรื่อง “สวนประกอบของดอก” ตอ 1 กลุม 1. แวนขยาย 2 อัน 2. เข็มหมุด 6 อัน 3. กระดาษทิชชู 1 มวน 4. จานเพาะเชื้อ 2 ใบ 5. แกวพลาสติกใส 6. ใบมีดโกน 7. กลองจุลทรรศน 8. สไลด และกระจกปดสไลด 9. น้ํากลั่น 10. ดอกชบา 2 ดอก หรือ ดอกเข็ม 1 ชอ 11. ดอกบัว 2 ดอก 12. ดอกพุทธรักษา 2 ดอก 13. ดอกกลวยไม 1 ชอ 14. ดอกเฟองฟา 1 ชอ 15. ดอกตําลึง 2 ดอก 16. ดอกตอยติ่ง2 ดอก 17. ดอกกุหลาบ2 ดอก 18. ดอกบานเย็น 2 ดอก กิจกรรมการจัดการเรียนรู เรื่อง “ขางขึ้นขางแรม” ตอ 1 กลุม 1. ดินน้ํามันขนาดใหญ 3 กอน/กลุม 2. กระดาษปรูฟจํานวน 1 แผน/กลุม 3. สีเมจิกจํานวน 1 แทง/กลุม 4. เชือกปานเสนเล็ก 1 มวน/หอง 5. ไมบรรทัด 1 อัน/กลุม 6. ลูกปงปองที่เสียบติดกับลวดจํานวน 1 ชุด/กลุม 7. โคมไฟ พรอมหลอดไฟ จํานวน 1 อัน/กลุม กิจกรรมการจัดการเรียนรู เรื่อง “วงจรไฟฟา” ตอ 1 กลุม 1. ถานไฟฉายขนาด 1.5 V จํานวน 3 กอน/กลุม


39

2. สายไฟที่ปลอกปลายดานขางใหเห็นลวดทองแดงยาวประมาณ 30 cm จํานวน 3 เสน/กลุม 3. หลอดไฟฉาย ขนาด 2.4-3.6V จํานวน 3 หลอด/กลุม กิจกรรมการจัดการเรียนรู เรื่อง “การละลายของสาร”ตอ 1 กลุม 1. จานพลาสติกสีขาว 6 ใบ /กลุม 2. M &M Milk Chocolate ไมเอาถั่วขางใน ขนาด 40 g จํานวน 1 ถุงเล็ก (40 g) /กลุม 3. สมารทตี้ 1 ถุงเล็ก/กลุม 4. เมนทอส rainbow 1 แทง/กลุม 5. ขวดน้ํา 1 ขวด/กลุม 6. แกวพลาสติก 5 ใบ/กลุม 7. ชอนตักสาร 2 คัน/กลุม 8. กระบอกตวง/ถวยตวง 1 ใบ/กลุม 9. นาฬิกาจับเวลา 1 เรือน /กลุม 10. กระดาษทิชชูอยางหนา paper towels 1 มวน/กลุม 11. สีเทียน หรือสีเมจิก 1 แพค/กลุม อุปกรณและสารเคมีที่ผูเขารับการอบรมทุกกลุมใชรวมกัน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

นํ ้าร้ อน 1 กระติก นํ ้าแข็ง 1 กระติก นํ ้าทีอ่ ณ ุ หภูมหิ ้ อง 20 ขวด (นํ ้าก๊ อก) เกลือ 1 ถุง นํ ้าตาล 1 ถุง นํ ้ามันพืช 1 ขวดใหญ่ นํ ้ายาล้ างจาน 1 ขวด นํ ้าส้ มสายชู 1 ขวด

__________________________________________________________________________________________________


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.