J. Res. Unit Sci. Technol. Environ. Learning Vol. 5 No. 1 (2014)
ฉันใช้แหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียนเพื่อส่งเสริ มให้นิสิตครูวิทยาศาสตร์ เชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามแนวคิ ดวิ ทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม สู่การปฏิ บตั ิ ศศิ เทพ ปิ ติ พรเทพิ น สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศกี ษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพมหานคร 19000 E-mail: fedustp@ku.ac.th รับบทความ: 1 มีนาคม 2557 ยอมรับตีพิมพ์: 17 เมษายน 2557
บทคัดย่อ ฉันมีความเชือ่ ว่าประสบการณ์การเรียนรูใ้ นแหล่งการเรียนรูน้ อกห้องเรียนเป็ นการเปิ ดโอกาสให้นสิ ติ ของฉันได้เรียนรูใ้ น ห้องเรียนอันกว้างใหญ่ผา่ นประสบการณ์ตรงจากสภาพจริงในวิถชี วี ติ รับรูถ้ งึ สภาพปญั หาทีเ่ กิดขึน้ ในสังคมและตระหนักถึงความ สัมพันธ์ของตนเองทีม่ ตี ่อสังคม การวิจยั เชิงปฏิบตั กิ ารในชัน้ เรียนของฉันมีวตั ถุประสงค์เพือ่ พัฒนาการจัดการเรียนรูข้ องฉันในด้าน การส่งเสริมให้นิสติ ครูวทิ ยาศาสตร์เชื่อมโยงความรูเ้ กีย่ วกับการจัดการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ สังคม สูก่ ารปฏิบตั โิ ดยใช้แหล่งเรียนรูน้ อกห้องเรียน ฉันจัดการเรียนรูใ้ ห้นสิ ติ ของฉัน จํานวน 17 คน ทีล่ งทะเบียนในรายวิชาดัง กล่าวในภาคต้น ปี การศึกษา 2556 ฉันพัฒนาและจัดการเรียนรูต้ ามแผนการจัดการเรียนรูจ้ าํ นวน 9 แผน โดยเน้นการใช้แหล่ง เรียนรูน้ อกห้องเรียน ฉันเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการให้นสิ ติ เขียนแผนการจัดการเรียนรูต้ ามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ สังคม ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ ให้นสิ ติ บันทึ กการเรียนรูใ้ นแต่ละคาบเรียน และสัมภาษณ์นสิ ติ อย่างไม่เป็ นทางการ ฉัน วิเคราะห์ขอ้ มูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจยั พบว่า การให้นสิ ติ ของฉันเผชิญหน้ากับประเด็นทีเ่ กีย่ วเนื่องกับวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในแหล่งเรียนรู้ การทําแผนผังความคิดเกีย่ วกับแนวคิดทีเ่ กีย่ วข้องกับปญั หาทีพ่ บในแหล่งเรียนรู้ การนําเสนอตัวอย่าง การจัดการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคมทีช่ ดั เจนและเข้าใจง่าย การแลกเปลีย่ นประสบการณ์ เกีย่ วกับการใช้สอ่ื และแหล่งเรียนรูน้ อกห้องเรียน และการจัดประสบการณ์ให้นสิ ติ สืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ ส่งผลให้นสิ ติ กําหนด จุดประสงค์ แนวคิดหลัก กิจกรรมการเรียนรู้ สือ่ และอุปกรณ์การเรียนรู้ และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ สอดคล้องตามการ จัดการเรียนรูต้ ามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคมมากขึน้ คําสําคัญ: นิสติ ครูวทิ ยาศาสตร์ การจัดการเรียนรูต้ ามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม การใช้แหล่งเรียนรูน้ อกห้องเรียน
1
วารสารหน่วยวิจยั วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิง่ แวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 (2557)
I Used Outside Classroom Learning Resources for Enhancing Pre-Service Science Teachers’ Linking Their Knowledge about Teaching Science Based on Science, Technology and Society (STS) Approach into Practice Sasithep Pitiporntapin Division of Science Education, Department of Education, Faculty of Education, Kasetsart University, Bangkhen, Bangkok 19000, Thailand E-mail: fedustp@ku.ac.th
Abstract
I believe that learning experience in outside classroom learning resources is the opportunity for my students to learn from their direct experience in real life, perceiving the state of the problem in society, and being aware of them to society. My classroom action research aimed to develop my teaching for enhancing pre-service science teachers’ linking their knowledge about teaching science based on Science, Technology, and Society (STS) approach into practice. I developed and implemented 9 lesson plans focusing on using outside classroom learning resources for my 17 students in the first semester of academic year 2013. I collected data from assigning them to develop lesson plans both before starting the course and after finishing the course, to write journal entries of each learning period, and informally interviewed them. Data were analyzed using content analysis. The findings showed that providing students with direct experience about Scientifically and Technological (ST) issues; constructing mind mapping about concept behind ST issues; presenting of the clear and easy understanding of science teaching based on STS approach; discussion about experience of using outside classroom learning media and resources; and providing students’ experience about searching information from outside classroom learning resources are affected to their planning of learning objectives, concepts, activities, media and learning resources, and measurement and evaluation to be more corresponded with teaching science based on STS approach. Keywords: Pre-service science teachers, Teaching science based on STS approach, Using outside classroom learning resources บทนํา
ตัง้ แต่เริม่ ชีวติ การทํางานในฐานะอาจารย์ผสู้ อน ฉัน ได้รบั มอบหมายให้จดั การเรียนรูใ้ นรายวิชาทีเ่ กีย่ วข้องกับการ จัดการเรียนรูต้ ามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม (Science, Technology, and Society, STS) เนื่องจากวิชาดังกล่าวสอดคล้องกับประสบการณ์ทฉ่ี นั ทําวิจยั ในระดับปริญญา เอก และก่อนทีฉ่ นั ได้รบั ผิดชอบจัดการเรียนรูใ้ นรายวิชานี้ ฉัน มีโอกาสสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรูข้ องอาจารย์ผสู้ อน ในรายวิชานี้จาํ นวน 3 ปี การศึกษา ประกอบกับความสนใจ 2
ส่วนตัวของฉันทีต่ อ้ งการเป็ นส่วนหนึ่งในการผลักดันสังคม ไทยให้ตระหนักเกีย่ วกับการนําความรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโน ั โลยีไปใช้ในทางทีผ่ ดิ อันก่อให้เกิดปญหาทางสังคมทีเ่ กีเนื ย่ ว่องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตามมาอย่างมากมาย(ONEP, 2004) ด้วยเหตุน้ฉี นั จึงมีความมุง่ มันในการจั ่ ดกิจกรรมการเรียนรู้ ในรายวิชานี้ให้เกิดประโยชน์กบั ผูเ้ รียนอย่างสูงสุด จากการศึกษาเอกสารทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดการ เรียนรูต้ ามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม ทําให้ ฉันเรียนรูว้ า่ ปจั จุบนั การจัดการเรียนรูต้ ามแนวคิดนี้มเี ป้า -
J. Res. Unit Sci. Technol. Environ. Learning Vol. 5 No. 1 (2014) หมายหลัก คือ การส่งเสริมให้นกั เรียนเป็ นผูร้ วู้ ทิ ยาศาสตร์ (scientific literate person) (NSTA, 1990) ซึง่ เป็ นผูท้ ม่ี คี วามรู้ ความเข้าใจแนวคิดและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเป็ น ทีต่ อ้ งการสําหรับบุคคลเพือ่ ช่วยในการตัดสินใจ ผูร้ วู้ ทิ ยาศาสตร์ สามารถถาม ค้นคว้า หรือระบุคาํ ตอบ จากคําถามทีม่ าจาก ประสบการณ์ในชีวติ ประจําวันได้และมีสว่ นร่วมในการสนทนา อภิปรายเกีย่ วกับความน่าเชื่อถือของข้อสรุปทางวิทยาศาสตร์ ต่าง ๆ ได้ (NRC, 1996) ซึง่ เป้าหมายดังกล่าวถือว่าเป็ นเป้าหมายหลักของการจัดการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ของประเทศ ไทยด้วยเช่นกัน ส( าํ นักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา , 2551) นอกจากนี้ยงั มีนกั การศึกษาระบุวา่ การจัดการเรียนรู้ ตามแนวคิดนี้สอดคล้องกับแนวปฏิรปู การศึกษาของประเทศ ไทยทีเ่ น้นนักเรียนเป็ นศูนย์กลาง (นฤมล ยุตาคม, 2542) โดย มีลกั ษณะสําคัญ คือ เปิ ดโอกาสให้นกั เรียนมีสว่ นร่วมในกระบวน การเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง จากการตัง้ คําถามทีส่ นใจในประเด็น ทางสังคมทีเ่ กีย่ วข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใช้ประสบการณ์ของนักเรียนนําเข้าสูบ่ ทเรียน มีการส่งเสริมให้นกั เรียน ใช้ทกั ษะกระบวนการต่าง ๆ ในการแสวงหาคําตอบจากคําถาม ทีต่ งั ้ ไว้ มีการใช้แหล่งเรียนรูน้ อกห้องเรียนทีม่ อี ยูใ่ นท้องถิน่ และขยายขอบเขตของการเรียนรูอ้ อกไปนอกชัวโมงเรี ่ ยน นอกห้องเรียนและนอกโรงเรียน โดยพิจารณาว่าเนื้อหาวิชา วิทยาศาสตร์วา่ มีมากกว่าแนวคิดทีต่ อ้ งการให้นกั เรียนสอบ ผ่าน นักเรียนจึงมีโอกาสในการแสดงบทบาทในฐานะพลเมือง ทีม่ คี วามรับผิดชอบ (NSTA, 1990) ด้วยเหตุน้ี การจัดการ เรียนรูต้ ามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม จึงได้ รับการบรรจุไว้เป็ นเนื้อหาของรายวิชาของสถาบันทีฉ่ นั สังกัด ทัง้ นีจ้ ากการศึกษาเอกสารฉันยังพบว่าความสําเร็จ ในการจัดการเรียนรูต้ ามแนวคิดนี้ในชัน้ เรียนขึน้ อยูก่ บั ความรู้ และประสบการณ์ของครูผสู้ อนทีม่ อี ยูเ่ ดิม (Loucks-Horseley et al., 2003) จากประสบการณ์การจัดการเรียนรูข้ องฉันในราย วิชานี้ ปญั หาทีฉ่ นั พบในรายวิชานี้มาตลอด คือ เมือ่ จบภาค เรียนนิสติ ส่วนใหญ่ยงั ไม่สามารถนําความรูท้ เ่ี รียนมาเกีย่ วกับ การสอนวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ สังคม มาใช้ในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรูไ้ ด้อย่าง เหมาะสม จากการสอบถามนิสติ อย่างไม่เป็ นทางการ ฉันพบว่า สาเหตุมาจากการทีน่ สิ ติ ยังมองไม่เห็นความแตกต่างของการ จัดการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคมกับการจัดการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ดว้ ยการสืบเสาะ หาความรูอ้ น่ื ๆ มากนัก ด้วยเหตุนฉั้นี จึงจําเป็ นต้องหาวิธกี าร
ทีท่ าํ ให้นสิ ติ ทีฉ่ นั จัดการเรียนรูส้ ามารถเชือ่ มโยงความรูท้ เ่ี รียน มากับการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ ให้ได้ดว้ ยตนเอง มากขึน้ วิธกี ารหนึ่งทีฉ่ นั พบว่าสามารถส่งเสริมให้ผเู้ รียน ได้คดิ เอง ปฏิบตั เิ อง และสร้างความรูด้ ว้ ยตนเองตามอัธยาศัย และต่อเนื่อง คือ การใช้แหล่งเรียนรูน้ อกห้องเรียนในการจัดการเรียนรู้ (ดําริ บุญชู , 2548) โดยแหล่งเรียนรูท้ ร่ี ฐั บาลให้ การสนับสนุนไว้อย่างเพียงพอมีหลายรูปแบบ ได้แก่ ห้องสมุด ประชาชน พิพธิ ภัณฑ์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤษ ศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สํานักงานคณะ กรรมการศึกษาแห่งชาติ (สกศ.), 2545) สําหรับแหล่งเรียนรู้ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นอกจากมีความสําคัญเช่นเดียวกับแหล่งเรียนรูป้ ระเภทอื่น ๆ แล้ว แต่ยงั สามารถส่งเสริม ให้ประชาชนเป็ นผูร้ วู้ ทิ ยาศาสตร์ ด้วยการจัดหาข้อมูลทาง วิทยาศาสตร์ซง่ึ มีหลายประเภทให้บุคคลทัวไปสื ่ บค้นข้อมูล เพือ่ ทําความเข้าใจเกีย่ วกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในเรือ่ ง ทีส่ นใจได้ตามความต้องการ (NRC, 1996) จากข้อมูลทีก่ ล่าว มาข้างต้นทําให้ฉนั มีความเชือ่ ว่กา ารจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ในแหล่งการเรียนรูน้ อกห้องเรียนเป็ นการเปิ ดโอกาสให้นสิ ติ ของฉันได้เรียนรูใ้ นห้องเรียนอันกว้างใหญ่ผา่ นประสบการณ์ ตรงจากสภาพจริงในวิถชี วี ติ รับรูถ้ งึ สภาพปญั หาทีเ่ กิดขึน้ ใน สังคมและตระหนักถึงความสัมพันธ์ของตนเองทีม่ ตี ่อสังคม ด้วยเหตุน้ฉี นั จึงสนใจทีจ่ ะส่งเสริมให้นิสติ ครูวทิ ยาศาสตร์ ที่ ฉันรับผิดชอบจัดการเรียนรูเ้ ชื่อมโยงความรูเ้ กีย่ วกับการจัด การเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม สูก่ ารปฏิบตั โิ ดยใช้แหล่งเรียนรูน้ อกห้องเรียน ผลการวิจยั นี้จะเป็ นแนวทางให้สถาบันการศึกษา และมหาวิทยาลัยทีเ่ กีย่ วข้องกับการพัฒนานิสติ ครูวทิ ยา ศาสตร์ให้มคี วามรูค้ วามสามารถในการจัดการเรียนรูต้ าม แนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคมได้อย่างเหมาะสม รวมทัง้ เป็ นแนวทางในการพัฒนากิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้ แหล่งเรียนรูน้ อกห้องเรียนในรายวิชาต่าง ๆ ต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิ จยั เพือ่ พัฒนาการจัดการเรียนรูข้ องฉันในด้านการส่งเสริมให้นิสติ ครูวทิ ยาศาสตร์เชื่อมโยงความรูเ้ กีย่ วกับการจัด การเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม สูก่ ารปฏิบตั โิ ดยใช้แหล่งเรียนรูน้ อกห้องเรียน
3
วารสารหน่วยวิจยั วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิง่ แวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 (2557) ขอบเขตการวิ จยั ฉันกําหนดขอบเขตการวิจยั ครัง้ นี้ไว้ ดังนี้ 1. นิสติ ครูวทิ ยาศาสตร์ทฉ่ี นั รับผิดชอบจัดการ เรียนรูใ้ นรายวิชาทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดการเรียนรูต้ ามแนวคิด วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม ซึง่ เป็ นรายวิชาทีฉ่ นั ทําวิจยั คือ นิสติ ครูหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต (ศษ.บ.) ระดับ ปริญญาตรีชนั ้ ปี ท่ี 3 สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์ คณะศึ-กษา ศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ ซึง่ ลงทะเบียนใน รายวิชาทีฉ่ นั รับผิดชอบจัดการเรียนรู้ ในภาคต้น ปี การศึกษา 2556 จํานวน 17 คน 2. ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการวิจยั ฉันจัดการเรียนรูใ้ น รายวิชาทีฉ่ นั ทําวิจยั ใช้ระยะเวลาทัง้ สิน้ 30 ชัวโมง ่ โดยแบ่ง ออกเป็ น 15 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 ชัวโมง ่ ในภาคต้น ปี การศึกษา 2556 (ตัง้ แต่เดือนมิถุนายน ถึง กันยายน 2556) 3. เนื้อหาทีใ่ ช้ในการวิจยั ฉันกําหนดขอบเขตไว้ ครอบคลุมเนื้อหาเกีย่ วกับ จุดประสงค์ แนวคิดหลัก กิจกรรม การเรียนรู้ สือ่ และแหล่งเรียนรู้ และการวัดและประเมินผล การเรียนรูต้ ามการจัดการเรียนรูต้ ามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม นิ ยามศัพท์เฉพาะ ในการวิจยั ครัง้ นี้ฉนั ให้นยิ ามคําว่า การปฏิบตั ิ คือ การออกแบบแผนการจัดการเรียนรูท้ เ่ี กีย่ วกับการจัดการ เรียนรูต้ ามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม โดย สามารถกําหนดกิจกรรมการเรียนรูอ้ ย่างสอดคล้องกับปญั หา ทีพ่ บในแหล่งเรียนรูน้ อกห้องเรียนและแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม ส่วนการเชือ่ มโยงความรูเ้ กีย่ วกับการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม สูก่ ารปฏิบตั ไิ ว้ คือ ความสามารถของนิสติ ในการออกแบบ แผนการจัดการเรียนรูท้ เ่ี กีย่ วกับการจัดการเรียนรูต้ ามแนวคิด วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม โดยระบุจุดประสงค์การ เรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์เกีย่ วกับความตระหนักถึงผลกระทบซึง่ กันและกันของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม สร้างแนวคิด หลักทีม่ ลี กั ษณะบูรณาการแนวคิดทีพ่ บจากปญั หาทีพ่ บใน แหล่งเรียนรู้ ลักษณะของกิจกรรมการเรียนรูท้ น่ี สิ ติ ออกแบบ สอดคล้องตามการจัดการเรียนรูต้ ามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม ใช้สอ่ื และแหล่งเรียนรูท้ ม่ี อี ยูใ่ นห้องเรียน การวัดและประเมินผลการเรียนรูค้ รอบคลุมทัง้ ด้านพุทธิพสิ ยั 4
ทักษะพิสยั และจิตพิสยั สามารถวัดได้จากผลงานของนิสติ และการสัมภาษณ์อย่างไม่เป็ นทางการ วิ ธีการวิ จยั การวิจยั ครัง้ นี้ ฉันใช้รปู แบบการวิจยั ปฏิบตั กิ ารใน ชัน้ เรียน (classroom action research) ทีม่ กี ารเก็บข้อมูลเชิง คุณภาพ โดยใช้กรอบแนวคิดจากการตีความ(interpretivism) ข้อมูลเกีย่ วกับการเชื่อมโยงความรูข้ องนิสติ ครูวทิ ยาศาสตร์ เกีย่ วกับการจัดการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคิดวิทยา ศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม สูก่ ารปฏิบตั ิ โดยใช้แหล่งเรียนรู้ นอกห้องเรียน โดยฉันดําเนินการตามหลักการและขัน้ ตอน ของการวิจยั เชิงปฏิบตั กิ ารตามแนวคิดของ Kemmis and McTaggart (1998) ซึง่ มีขนั ้ ตอนดังนี้ 1) การวางแผน 2) การ ปฏิบตั ติ ามแผนทีว่ างไว้3) การสังเกต4) การสะท้อนการปฏิบตั ิ และฉันนําสิง่ ทีพ่ บจากการสะท้อนมาปรับปรุงและพัฒนาแผน การจัดกิจกรรมการเรียนรูข้ องฉันในขัน้ ที่ 1 ในลักษณะวงจร อย่างนี้ไปเรือ่ ย ๆ ในการจัดการเรียนรูข้ องฉันแต่ละแผน เครือ่ งมือทีฉ่ นั ใช้ในการวิจยั ครัง้ นีมี้ 2 ประเภท ได้แก่ 1) เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการจัดกิจกรรม และ 2) เครือ่ งมือทีใ่ ช้ใน การเก็บรวบรวมข้อมูลสําหรับเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการจัดกิจกรรม ฉันออกแบบแผนการจัดการเรียนรูท้ เ่ี น้นการสร้างความรู้ ด้วยตนเองและการใช้แหล่งเรียนรูน้ อกห้องเรียน จํานวน 9 แผน ประกอบด้วย 1) วิทยาศาสตร์และธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ 2) เทคโนโลยีและธรรมชาติของเทคโนโลยี 3) ปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสังคม4) บทบาท ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีศกึ ษาในการแก้ปญั หาสังคม และสิง่ แวดล้อม 5) แนวคิดของหลักสูตรวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม 6) กลวิธกี ารสอนตามแนวความคิดของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม7) หน่วยการจัดการเรียนรูต้ าม แนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม 8) แนวคิดเกีย่ วกับ เทคโนโลยีศกึ ษา และ 9) โครงงานตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคมสําหรับลักษณะการจัดการเรียนรูใ้ นแต่ละ แผนการจัดการเรียนรู้ ฉัเน้นนให้นิสติ สังเกตปญั หาและใช้คาํ ถาม เป็ นตัวนําเข้าสูก่ ารวางแผนหาแนวทางการแก้ปญั หา ลงมือ ปฏิบตั เิ พือ่ แก้ปญั หามีการเก็บรวบรวมข้อมูลและตีความหมาย ข้อมูล มีการสังเคราะห์สง่ิ ทีไ่ ด้เรียนรูจ้ ากการปฏิบตั ิ และมีการ นําเสนองานหน้าชัน้ เรียนและอภิปรายเพือ่ สะท้อนความคิด อย่างชัดแจ้ง ทัง้ นี้กอ่ นนําแผนการจัดการเรียนรูไ้ ปใช้ ฉันนํา แผนการจัดการเรียนรูท้ พ่ี ฒ ั นาขึน้ ไปให้ผเู้ ชีย่ วชาญตรวจสอบ
J. Res. Unit Sci. Technol. Environ. Learning Vol. 5 No. 1 (2014) ความตรงตามเนื้อหาเพือ่ ทีฉ่ นั จะได้นํามาปรับปรุงแผนการ จัดกิจกรรมให้มปี ระสิทธิภาพยิ่งขึน้ สําหรับเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ฉัน ใช้เครือ่ งมือทีห่ ลากหลาย ได้แก่ บันทึกการเรียนรูแบบบั ้ นทึก การสัมภาษณ์อย่างไม่เป็ นทางการและแผนการจัดการเรียนรู้ ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม ทีน่ ิสติ พัฒขึน้ นา โดยฉันพิจารณาแผนการจัดการเรียนรูท้ น่ี สิ ติ ออกแบบ ตาม แนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม ก่อนและหลังเรียน ตามความสนใจ สําหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลฉันชีแ้ จงรายละเอียด เกีย่ วกับการวิจยั รวมทัง้ ถามความสมัครใจของนิสติ ในการให้ ข้อมูลเพือ่ ใช้ในการวิจยั ในครัง้ นี้ หากมีนสิ ติ คนใดไม่สมัคร ใจในการให้ขอ้ มูล ฉันก็จะไม่นําข้อมูลของนิสติ คนดังกล่าวมา ใช้ในการวิจยั เมือ่ ฉันและนิสติ ตกลงเกีย่ วกับรูปแบบการวิจยั และแนวทางในการจัดการเรียนรูไ้ ด้แล้ว ฉันให้เวลานิจํสาติ นวน 1 ชัวโมง ่ เพื่อเขียนแผนการจัดการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ตาม แนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม เพือ่ จัดกิจกรรม การเรียนรูจ้ าํ นวน 3-4 คาบเรียน โดยมีขอบเขตของแผนการ จัดการเรียนรู้ ได้แก่ จุดประสงค์การเรียนรู้ แนวคิดหลัก กิจกรรมการเรียนรู้ สือ่ และแหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การเรียนรู้ จากนัน้ ฉันจัดกิจกรรมตามแผนการจัดกิจกรรมการ เรียนรูท้ พ่ี ฒ ั นาขึน้ จํานวน 9 แผน เป็ นระยะเวลา 15 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 ชัวโมง ่ เมือ่ ฉันจัดการเรียนรูเ้ สร็จสิน้ ในแต่ละคาบ ฉันให้นสิ ติ ของฉันเขียนบันทึกการเรียนรู้ ซึง่ มีหวั ข้อ ได้แก่ สิง่ ทีไ่ ด้เรียนรู้ ความคิดเห็นต่อกิจกรรมการเรียนรู รวมทั ้ ง้ ปญั หา และข้อเสนอแนะ และนํามาส่งฉันในคาบเรียนถัดไป ทัง้ นี้ฉนั ใช้บนั ทึกการเรียนรูข้ องนิสติ เป็ นเครือ่ งมือในการติดตามการ เชือ่ มโยงความรูเ้ กีย่ วกับการจัดการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ตาม แนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม สูก่ ารปฏิบตั ิ นอกจากนี้ฉนั ยังสัมภาษณ์อย่างไม่เป็ นทางการใน ประเด็นทีผ่ วู้ จิ ยั ต้องการข้อมูลเพิม่ เติม โดยการสัมภาษณ์แต่ละ ครัง้ ใช้เวลาประมาณ 15-20 นาที เมือ่ เสร็จสิน้ การจัดกิจกรรม การเรียนรูต้ ามแผนการจัดกิจกรรมทีพ่ ฒ ั นาขึน้ ฉันให้นสิ ติ ทําออกแบบแผนการจัดการเรียนรูต้ ามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคมตามความสนใจอีกครัง้ โดยใช้เวลาทัง้ สิน้ 1 ชัวโมง ่ การวิ เคราะห์ข้อมูล ฉันวิเคราะห์ขอ้ มูลทีไ่ ด้จากการเก็บรวบรวมข้อมูล
โดยการวิเคราะห์เนื้อหาจากแผนการจัดการเรียนรูท้ น่ี สิ ติ ของ ฉันออกแบบไว้ทงั ้ ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ รวมทัง้ ข้อมูล จากบันทึกการเรียนรูแ้ ละแบบบันทึกการสัมภาษณ์อย่างไม่ เป็ นทางการ ว่าสอดคล้องกับการจัดการเรียนรูต้ ามแนวคิด วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม มากน้อยเพียงใด โดยใช้ กรอบการพิจารณา ของ NSTA (1990) ทีร่ ะบุลกั ษณะของ การจัดการเรียนรูต้ ามแนวคิดนี้ การเปิ ดโอกาสให้นกั เรียนมี ส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรูด้ ว้ ยตนเองจากการตัง้ คําถาม ทีส่ นใจในประเด็นทางสังคมทีเ่ กีย่ วข้องกับวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี และใช้ประสบการณ์ของนักเรียนเป็ นตัวนําเข้าสู่ บทเรียน มีการส่งเสริมให้นกั เรียนใช้ทกั ษะกระบวนการต่าง ๆ ในการแสวงหาคําตอบจากคําถามทีต่ งั ้ ไว้ มีการใช้แหล่งเรียนรู้ นอกห้องเรียนทีม่ อี ยูใ่ นท้องถิน่ และขยายขอบเขตของการ เรียนรูอ้ อกไปนอกชัวโมงเรี ่ ยน นอกห้องเรียน และนอกโรง เรียน โดยพิจารณาว่าเนื้อหาวิชาวิทยาศาสตร์มมี ากกว่าแนวคิดทีต่ อ้ งการให้นกั เรียนสอบผ่าน นักเรียนจึงมีโอกาสในการ แสดงบทบาทในฐานะพลเมืองทีม่ คี วามรับผิดชอบ เมือ่ เสร็จสิน้ การวิเคราะห์ขอ้ มูลทีไ่ ด้จากเครือ่ งมือ แต่ละอย่าง สร้างความน่าเชือ่ ถือของข้อมูล โดยวิเคราะห์ ข้อมูลแบบสามเส้า (triangulation) นําคําตอบแต่ละกลุม่ ทีจ่ ดั จําแนกแล้วมาเปรียบเทียบกันว่ามีลกั ษณะทีส่ อดคล้องหรือ แตกต่างกันอย่างไร และสร้างข้อสรุปเกีย่ วกับการเชือ่ มโยง ความรูเ้ กีย่ วกับการจัดการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคิด วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม สูก่ ารปฏิบตั ิ เมื่อเสร็จ สิน้ การวิเคราะห์ขอ้ มูล ฉันนําผลการวิเคราะห์ให้นสิ ติ ทีฉ่ นั จัดการเรียนรู้ และเพือ่ นผูว้ พิ ากษ์ (critical friends) ของฉัน ซึง่ ประกอบด้วย คณาจารย์ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศกึ ษา อ่านเพือ่ ตรวจสอบความถูกต้องของการตีความขอ้ มูล ผลการวิ จยั จากการวิเคราะห์ขอ้ มูล ฉันขอนําเสนอผลการวิจยั เกีย่ วกับ การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ของฉันในด้าน การใช้ แหล่งเรียนรูน้ อกห้องเรียนในการส่งเสริมให้นสิ ติ ครูวทิ ยา ศาสตร์เชือ่ มโยงความรูเ้ กีย่ วกับการจัดการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม สูก่ ารปฏิบตั ิ ดังนี้ 1. การให้นิสิตเผชิ ญหน้ ากับสถานการณ์จริง ส่งผลให้นิสิตระบุจดุ ประสงค์การเรียนรูว้ ิ ทยาศาสตร์
5
วารสารหน่วยวิจยั วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิง่ แวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 (2557) เกี่ยวกับความตระหนักถึงผลกระทบซึ่งกันและกันของ วิ ทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม เพิ่ มมากขึน้ ในช่วงเริม่ ต้นการจัดการเรียนรู ฉัน้ ให้นิสติ ทีล่ งทะเบียน เรียนทุกคนออกแบบแผนการจัดการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ตาม แนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม ฉันพบว่า มีนสิ ติ ส่วนใหญ่จาํ นวน14 คน ระบุจดุ มุง่ หมายของการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์เน้นด้านพุทธิพสิ ยั และทักษะพิสยั เท่านัน้ และมี ส่วนน้อยทีร่ ะบุจดุ ประสงค์การเรียนรูด้ า้ นจิตพิสยั เมือ่ พิจารณา จุดประสงค์ในแต่ละด้านทีน่ ิสติ ระบุมา ฉันพบว่าจุดประสงค์ การเรียนรูส้ ว่ นใหญ่ยงั ไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม จากการสุม่ สัมภาษณ์นิสติ อย่างไม่เป็ นทางการ ฉันพบว่านิสติ ยังไม่ทราบ ว่าจุดประสงค์ของการจัดการเรียนรูต้ ามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม ดังทีน่ ิสติ ของฉันทีก่ ล่าวว่า “ไม่ทราบ จริง ๆ ค่ะ ว่าจุดประสงค์การเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ตามแนวคิดนี้ แตกต่างจากจุดประสงค์การเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ทวไปอย่ ั่ างไร ” ส่วนนิสติ ทีเ่ หลือจํานวน 3 คน สามารถระบุจดุ ประสงค์การ เรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ได้สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรูต้ าม แนวคิด วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม ในส่วนของการ ตระหนักถึงผลกระทบของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และ สิง่ แวดล้อม ดังตัวอย่างข้อความในบันทึกการเรียนรูข้ องนิสติ ทีร่ ะบุว่า “ตระหนักถึงผลกระทบจากการใช้ความรูท้ างวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในทางทีผ่ ดิ ทีม่ ตี ่อพฤติกรรมของสัตว์” ด้วยเหตุน้ฉี นั จึงพานิสติ ของฉันไปศึกษานอกสถานที่ ณ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ เพือ่ ให้นสิ ติ สังเกตปญั หาทีเ่ กีย่ -ว เนื่องจากวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึง่ ปญั หาทีน่ ิสติ ของ ฉันพบ เช่น การตัดถนนผ่านพืน้ ทีป่ า่ ทําให้สตั ว์ปา่ ถูกรถชน การตายของกวางจากการกินขยะทีน่ กั ท่องเทีย่ วทิง้ ไว้ การ ลักลอบตัดไม้ทาํ ลายปา่ และเมือ่ ให้นสิ ติ ของฉันเขียนแผนการ จัดการเรียนรูอ้ กี ครัง้ หลังการจัดการเรียนรู้ ฉันพบว่านิสติ ทุกคนไม่ลมื ทีจ่ ะระบุจุดประสงค์การเรียนรูด้ า้ นจิตพิสยั เช่น การ ตระหนักถึงผลกระทบซึง่ กันและกันของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคมการแสดงออกในฐานะพลเมืองดีของสังคม จาก การสัมภาษณ์นสิ ติ ของฉันอย่างไม่เป็ นทางการ ฉันพบว่า ประสบการณ์ตรงของนิสติ เกีย่ วกับปญั หาจริงในแหล่งเรียนรู้ ช่วยให้นิสติ ระบุจุดประสงค์การเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์เกีย่ วกับ ความตระหนักถึงผลกระทบซึง่ กันและกันของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม เพิม่ มากขึน้ ดังทีน่ ิสติ ของฉันกล่าวว่า “เมือ่ ก่อนหนูไม่ได้เห็นความสําคัญของการสอนแบบนี้ ตอนนี้ 6
หนูได้พบเห็นปญั หาจริงในเขาใหญ่ หนูจงึ อยากให้นกั เรียน ของหนูตระหนักถึงผลกระทบของการใช้วทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยีทมี ่ ตี ่อสังคมและสิง่ แวดล้อม” 2. การทําแผนผังความคิ ดเกี่ยวกับแนวคิ ดที่ เกี่ยวข้องกับปัญหาที่พบจากแหล่งเรียนรูช้ ่วยให้นิสิต ระบุแนวคิ ดหลักที่ต้องการจัดการเรียนรูใ้ นลักษณะบูรณาการมากขึน้ ฉันพบว่าก่อนการจัดการเรียนรูน้ สิ ติ ของฉันทุกคน ระบุแนวคิดหลักในแผนการจัดการเรียนรูม้ ลี กั ษณะทีย่ งั ไม่ม ี การบูรณาการทัง้ ในสาระเดียวกันหรือข้ามสาระการเรียนรู้ ดังทีน่ ิสติ ของฉันกล่าวว่า “อธิบายพฤติกรรมของสัตว์ทตี ่ อบสนองต่อสิง่ เร้าได้ ” และมีนิสติ คนหนึ่งให้เหตุผลว่า “ผมไม่ เคยเขียนแผน (การจัดการเรียนรู)้ แบบบูรณาการเนื้อหาต่าง ๆ เข้าด้วยกันมาก่อน ส่วนใหญ่จะให้เลือกเนื้อหาใดเนื้อหาหนึง่ มาเขียนแผนเท่านัน้ ” ด้วยเหตุน้ีฉนั จึงให้นสิ ติ ของฉันเชือ่ มโยงแนวคิดที่ สามารถจัดการเรียนรูจ้ ากประเด็นทางวิทยาศาสตร์และเทคโน โลยีทพ่ี บในหนังสือพิมพ์โดยการทําแผนผังความคิด ขณะที่ นิสติ ทํากิจกรรมนี้ฉนั สังเกตได้วา่ นิสติ เริม่ ตระหนักว่าประเด็น ทางวิทยาศาสตร์ทพ่ี บในแหล่งเรียนรูต้ ่าง ๆ สามารถจัดกิจ กรรมการเรียนรูใ้ ห้นกั เรียนเรียนรูแ้ นวคิดวิทยาศาสตร์ได้มาก มายเมือ่ เทียบกับนิสติ ทีเ่ รียนกับฉันในภาคการศึกษาทีผ่ า่ น มา ดังทีน่ ิสติ ของฉันกล่าวว่า “...ไม่ทราบมาก่อนเลยว่าข่าว ในหนังสือพิมพ์จะมีแนวคิดวิทยาศาสตร์สอดแทรกอยูม่ าก มาย” และเมือ่ ให้นสิ ติ ของฉันออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม อีกครัง้ ฉัน พบว่ามีนสิ ติ จํานวน 14 คน สามารถระบุแนวคิดทีต่ อ้ งการ จัดการเรียนรูใ้ นลักษณะบูรณาการในสาระการเรียนรูว้ ทิ ยา ศาสตร์ เช่น เรือ่ ง “ไม้กฤษณาหายไปไหน ” นิสติ ระบุแนวคิดทีจ่ ะจัดการเรียนรู้ได้แก่ โครงสร้างพืช ระบบนิเวศ วัฎจักร ของนํ้า และมีนสิ ติ จํานวน 3 คน ทีร่ ะบุแนวคิดทีต่ อ้ งการจัด การเรียนรูใ้ นลักษณะบูรณาการข้ามสาระการเรียนรู้ เช่น เรือ่ ง “ชีวติ ช้างน้อย” นิสติ ระบุแนวคิดทีจ่ ะจัดการเรียนรู้ ได้แก่ วัฎจักรชีวติ ของสัตว์ ประโยคภาษาอังกฤษเกีย่ วกับช้าง และ ความสําคัญของช้างในวัฒนธรรมไทย 3. การนําเสนอตัวอย่างการจัดการเรียนรูว้ ิ ทยาศาสตร์ตามแนวคิ ดวิ ทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม
J. Res. Unit Sci. Technol. Environ. Learning Vol. 5 No. 1 (2014) ที่ชดั เจนและเข้าใจง่าย ช่วยให้นิสิตออก แบบกิ จกรรม การเรียนรูส้ อดคล้องตามการจัดการเรียนรูต้ ามแนวคิ ด วิ ทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม กิจกรรมการเรียนรูท้ น่ี สิ ติ ของฉัน ส่วนใหญ่ จาํ นวน 16 คน ออกแบบไว้กอ่ นการจัดการเรียนรูย้ งั มีลกั ษณะของ กระบวนการสืบเสาะหาความรูท้ วั ่ ๆ ไป ไม่ได้แสดงให้เห็น ลักษณะสําคัญของการจัดการเรียนรูต้ ามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม เช่น ไม่มกี ารนําประเด็นทางสังคมที่ เกีย่ วเนื่องกับกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ในการนํ เข้า สูบ่ ทเรียนเพือ่ กระตุน้ ให้นกั เรียนตัง้ คําถาม วางแผน สืบค้น ข้อมูล และนําความรูไ้ ปปฏิบตั ใิ นฐานะพลเมืองทีด่ ี เมื่อฉัน สัมภาษณ์นสิ ติ ของฉันเพิม่ เติม ฉันพบว่าสาเหตุทน่ี สิ ติ ยังไม่ สามารถออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องตามการจัดการเรียนรู้ ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม คือ การขาด ความรูห้ รือประสบการณ์เดิมเกีย่ วกับการจัดการเรียนรูต้ าม แนวคิดนี้ ดังข้อความในบันทึกการเรียนรูข้ องนิสติ ทีร่ ะบุวา่ “... แม้วา่ ผมจะเคยได้ยนิ เกีย่ วกับการจัดการเรียนรูต้ ามแนวคิด นี้มาแล้ว แต่ผมก็ยงั ไม่เคยออกแบบกิจกรรมตามแนวคิดนี้ มาก่อน” อย่างไรก็ตามก่อนการจัดการเรียนรู้ มีนสิ ติ ของฉัน เพียง 1 คนเท่านัน้ ทีม่ กี ารนําประเด็นทีเ่ กีย่ วข้องกับวิทยา ศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม มาใช้ในการนําเข้าสูบ่ ทเรียน และให้นกั เรียนตัง้ คําถามค้นหาคําตอบ แต่ยงั ไม่มกี ารให้นกั เรียนนําความรูไ้ ปปฏิบตั จิ ริงในฐานะพลเมืองทีด่ ี ฉันจึงจัดประสบการณ์เกีย่ วกับการจัดการเรียนรูต้ าม แนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคมให้กบั นิสติ ของฉัน โดยเชิญอาจารย์ผมู้ ปี ระสบการณ์เกีย่ วกับการจัดการเรียนรู้ ตามแนวคิดนี้ มาอภิปรายแลกเปลีย่ นความคิดเห็นเกีย่ วกับ การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ และการจัดการเรียนรู้ ตามแนวคิดนี้ รวมทัง้ ให้นิสติ ของฉันดูวดี ทิ ศั น์เกีย่ วกับการ จัดการเรียนรูต้ ามแนวคิดนี้ในต่างประเทศ ก่อนให้นสิ ติ กลุม่ ละ 5-4 คน แสดงบทบาทสมมติเป็ นกลุม่ อาจารย์ผสู้ อนวิทยา ศาสตร์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษาหรือมัธยมศึกษาซึง่ ตัง้ อยูใ่ นชุมชนบริเวณรอบ ๆ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ทีฉ่ นั พา นิสติ ไปศึกษานอกสถานที่ และให้นสิ ติ ฝึกออกแบบกิจกรรม การเรียนรูจ้ ากสภาพปญั หาทีพ่ บจริงระหว่างทํากิจกรรม ฉัน พบว่า การทีน่ สิ ติ ได้รบั ประสบการณ์ตรงจากอาจารย์ผมู้ ปี ระสบ การณ์ การดูวดี ทิ ศั น์ การได้เห็นสภาพจริงจากแหล่งเรียนรู้ และการให้ขอ้ มูลย้อนกลับอย่างทันที ส่งผลให้แผนการจัดการ เรียนรูห้ ลังการจัดการเรียนรูข้ องนิสติ ทุกคนมีความสอดคล้อง
ตามการจัดการเรียนรูต้ ามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ สังคม ได้แก่ 1) การใช้ขา่ วจากหนังสือพิมพ์นําเข้าสูบ่ ทเรียน ดังตัวอย่างข้อความของนิสติ ทีร่ ะบุว่า “ให้นกั เรียนอ่านข่าว จากหนังสือพิมพ์เกีย่ วกับการตายของช้างในบริเวณอุทยาน แห่งชาติเขาใหญ่ ” 2) มีการใช้คาํ ถามของนักเรียนเกีย่ วกับ ปญั หาทีเ่ กีย่ วข้องกับวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคมใน การสํารวจตรวจสอบ ดังตัวอย่างข้อความของนิสติ ทีร่ ะบุว่า “ให้นกั เรียนตัง้ คําถามทีส่ งสัยจากข่าว...และเลือกประเด็นคําถามทีส่ นใจเพือ่ ไปสืบค้นข้อมูล ” 3) เน้นทักษะกระบวนการ ต่าง ๆ ทีน่ กั เรียนนํามาแก้ไขปญั หา ดังตัวอย่างข้อความของ นิสติ ทีร่ ะบุว่า “นักเรียนปฏิบตั ติ ามแผนทีว่ างไว้ เช่น ใช้การ สังเกต การสืบค้น และการทําการบันทึกและสรุปผลการค้น คว้า” 4) มีการขยายของเขตของความรูอ้ อกไปนอกชัวโมงเรี ่ ยน นอกห้องเรียน ดังตัวอย่างข้อความของนิสติ ทีร่ ะบุว“นั ่า กเรียน ค้นหาคําตอบจากแหล่งเรียนรูข้ อ้ มูลต่าง ๆ เช่น ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต ผูร้ ใู้ นชุมชน นอกเวลาเรียน” 5) เน้นความตระหนักเกีย่ วกับการประกอบอาชีพทีเ่ กีย่ วข้องกับวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีดังตัวอย่างข้อความของนิสติ ทีร่ ะบุว่า“นักเรียน สืบค้นข้อมูลและแสดงบทบาทสมมติเกีย่ วกับเป็ นนักวิทยา ศาสตร์ เจ้าหน้าทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติฯ และเกษตรกร เพือ่ ร่วม แสดงความคิดเห็นและหาแนวทางในการแก้ไขปญั หาช้างเข้า มาทําลายผลผลิตทางการเกษตร” 6) แสดงบทบาทในฐานะ พลเมืองทีม่ สี ว่ นในการแก้ไขปญั หาทีเ่ กิดขึน้ ในชุมชน ดังตัวอย่างข้อความของนิสติ ทีร่ ะบุว่า“นักเรียนจัดทําป้ายนิเทศภายในโรงเรียนเพือ่ ประชาสัมพันธ์เกีย่ วกับพฤติกรรมของกวาง ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปเนือ่ งจากให้อาหารของนักท่องเทีย่ ว” 4. การแลกเปลี่ยนประสบการณ์เกี่ยวกับการใช้ สื่อและแหล่งเรียนรูน้ อกห้องเรียน ช่วยให้นิสิตเปลี่ยน การใช้ส่ือและแหล่งเรียนรูท้ ่ีมีอยู่ในห้องเรียนหรือในโรงเรียนมาใช้ส่ือและแหล่งเรียนรูน้ อกห้องเรียนเพิ่ มมากขึน้ ก่อนการจัดการเรียนรู้ ฉันพบว่านิสติ ทุกคนยังไม่ มีการใช้สอ่ื และแหล่งเรียนรูท้ ม่ี อี ยู่ในชุมชน โดยส่วนใหญ่มกั จะใช้รปู ภาพและการถามคําถามเพือ่ นําเข้าสูบ่ ทเรียน นอกจากนี้ นิสติ ยังเน้นการใช้ใบความรูเ้ พือ่ ให้นกั เรียนเรียนรูใ้ น เนื้อหาทีก่ าํ หนดไว้ ดังตัวอย่างข้อความทีน่ สิ ติ ระบุวา่ “ครูให้ นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกีย่ วกับสัตว์ประเภทต่างๆ ในใบความรู”้ ด้วยเหตุน้ี ฉันจึงต้องฝึกให้นสิ ติ ของฉันรูจ้ กั และเรียนรูท้ จ่ี ะใช้ แหล่งเรียนรูอ้ น่ื ๆ ทัง้ ในและนอกห้องเรียนเพิม่ มากขึน้ โดย 7
วารสารหน่วยวิจยั วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิง่ แวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 (2557) พานิสติ เข้าห้องสมุดสืบค้นข้อมูล ให้นสิ ติ แข่งขันกันใช้อนิ เทอร์เน็ตในมือถือขอตนเองตอบคําถามทีฉ่ นั ตัง้ ไว้ จัดหา วิทยากรทีม่ ปี ระสบการณ์มาให้นสิ ติ แลกเปลีย่ นความคิดเห็น รวมทัง้ มอบหมายให้นิสติ ไปศึกษาด้วยตนเองจากพิพธิ ภัณฑ์ ทีม่ อี ยูใ่ นชุมชน ฉันสังเกตได้วา่ นิสติ ของฉันเริม่ เห็นความสําคัญ ของการใช้สอ่ื และแหล่งเรียนรูใ้ นการจัดกิจกรรมในนักเรียน สร้างความรูด้ ว้ ยตนเองเพิม่ มากขึน้ ดังข้อความในบันทึกการ เรียนรูท้ น่ี ิสติ ของฉันระบุว่า“... เมือ่ ก่อนหนูคดิ ว่าการใช้แหล่ง เรียนรูน้ อกห้องเรียนเป็ นสิง่ ทีย่ งุ่ ยาก แต่ตอนนี้หนูรสู้ กึ ว่ามัน คุม้ ค่าทีจ่ ะพานักเรียนไปเรียนรูเ้ พราะมันมีสงิ ่ ทีใ่ ห้เรียนรูม้ ากมาย” แต่หลังการจัดการเรียนรู้ ฉันพบว่านิสติ ส่วนใหญ่ จํานวน 16 สามารถใช้สอ่ื และแหล่งเรียนรูท้ ม่ี อี ยู่ในชุมชนใน การส่งเสริมการเรียนรูข้ องนักเรียนได้ เช่น การพานักเรียน ไปออกค่ายทีใ่ นสถานทีท่ เ่ี กีย่ วข้องกับประเด็นทีเ่ กีย่ วข้องกับ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคมเพื่อปลูกจิตสํานึกให้กบั นักเรียนในในการอนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อม ดังตัวอย่างข้อความที่ นิสติ ระบุว่า “ครูจดั ค่ายให้โดยพาไปดูแหล่งนํ้าในชุมชน และ แหล่งนํ้าตามธรรมชาติให้นกั เรียนสังเกตความเหมือนและ ความแตกต่างเพือ่ นักเรียนตระหนักถึงการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยังยื ่ น ” นอกจากนี้นสิ ติ ทีเ่ หลือจํานวน 1 คน ระบุ เกีย่ วกับการให้ผรู้ ใู้ นชุมชนมามีสว่ นร่วมให้การจัดกิจกรรม การเรียนรูข้ องนักเรียน ดังตัวอย่างข้อความทีน่ ิสติ ระบุว่า “ให้ นักเรียนไปสัมภาษณ์เจ้าหน้าทีอ่ ทุ ยานฯ เพือ่ เก็บรวบรวมข้อมูล เกีย่ วกับแนวทางการอนุรกั ษ์พนั ธุส์ ตั ว์ปา่ ” จากการสัมภาษณ์ นิสติ ของฉันเกีย่ วกับความรูส้ กึ ทีม่ ตี ่อการใช้แหล่งเรียนรูน้ อก ห้องเรียน ฉันพบว่านิสติ มีเจตคติทด่ี ขี น้ึ ข้อความในบันทึก การเรียนรูท้ น่ี สิ ติ ของฉันระบุวา่ “... การเดินปา่ เขาใหญ่ทาํ ให้ได้ ศึกษาสิง่ แวดล้อมด้วยตนเอง รับรูป้ ญั หาต่าง ๆ จากวิทยากร เป็ นการกระตุน้ จิตใต้สาํ นึกให้เป็ นผูร้ กั ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ด้วยค่ะ ...” 5. การจัดประสบการณ์ให้นิสิตสืบค้นข้อมูลจาก แหล่งเรียนรูส้ ่งผลให้นิสิตไม่เพียงแต่ประเมิ นผลการเรีย- น รูด้ ้านพุทธิ พิสยั และทักษะพิ สยั เท่านัน้ แต่มีการวัดและ ประเมิ นผลการเรียนรูด้ ้านจิ ตพิ สยั เพิ่ มมากขึน้ เมือ่ ฉันพิจารณาการวัดและประเมินผลในแผนการ จัดการเรียนรูท้ น่ี สิ ติ ของฉันส่งมาก่อนการจัดการเรียนรู้ ฉัน พบว่านิสติ ของฉันประมาณครึง่ หนึ่งจํานวน 9 คน ทีย่ งั เน้น 8
การวัดและประเมินผลการเรียนรูท้ างด้านพุทธิพสิ ยั แล ะทักษะพิสยั เท่านัน้ โดยไม่ได้เน้นด้านจิตพิสยั ดังตัวอย่างข้อความ ของนิสติ ทีร่ ะบุว่า “ครูประเมินการการอธิบายพฤติกรรมของ สัตว์ทตี ่ อบสนองต่อสิง่ เร้า และการสังเกตพฤติกรรมของสัตว์ จากใบงานของนักเรียน ”ส่วนทีเ่ หลือจํานวน 8 คน แม้ว่ามี การระบุวา่ มีการประเมินด้านจิตพิสยั แต่ยงั ไม่มกี ารประเมิน ทีห่ ลากหลาย โดยส่วนใหญ่จะเกีย่ วกับการทํางานกลุม่ แบบ ร่วมมือร่วมใจ ดังตัวอย่างข้อความของนิสติ ทีร่ ะบุว่า “ครู ประเมินด้านจิตพิสยั จากการสังเกตการทํางานกลุม่ แบบร่วมมือร่วมใจ” ซึง่ สาเหตุสว่ นหนึ่งมาจากการทีน่ สิ ติ ยังไม่มคี วามรู้ เกีย่ วกับการวัดและประเมินผลการเรียนรูต้ ามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคมมากนัก ข้อความในบันทึกการ เรียนรูท้ น่ี สิ ติ ของฉันระบุวา่ “หนูอยากรูค้ อื มีวธิ กี ารวัดและประเมิน ผลตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม นอกเหนือจากทีเ่ คยพบมา เช่น การใช้แบบทดสอบ และการสังเกต ” ฉันจึงมอบหมายให้นสิ ติ ไปสืบค้นข้อมูลเกีย่ วกับ การวัดและประเมินผลการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ตามแนวคิด วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม จากแหล่งเรียนรูต้ ่าง ๆ รวมทัง้ จากการแลกเปลีย่ นความคิดเห็นกับอาจารย์ผมู้ ปี ระสบ การณ์ ด้วยเหตุน้หี ลังการจัดการเรียนรู้ นิสติ ทัง้ หมดจึงระบุ การประเมินผลการเรียนรูด้ า้ นจิตพิสยั ในแผนการจัดการเรียนรู้ ทีพ่ ฒ ั นาขึน้ หลังการจัดการเรียนรูข้ องฉัน ดังตัวอย่างข้อความ ของนิสติ ทีร่ ะบุว่า “ ...วัดการเรียนรูด้ า้ นจิตพิสยั ของนักเรียน จากการเขียนบันทึกการเรียนรู้ การมีสว่ นร่วมให้การนําความรู้ ไปใช้ในสังคม...” นอกจากนี้นสิ ติ ของฉันยังใช้วธิ กี ารทีห่ ลากหลายในการวัดและประเมินผลการเรียนรูข้ องนักเรียนเพิม่ มากขึน้ ดังตัวอย่างข้อความของนิสติ ทีร่ ะบุว่า “ครูมกี ารวัด และประเมินผลด้วยวิธกี ารทีห่ ลากหลาย เช่น การใช้การทดสอบ การสังเกตพฤติกรรม การประเมินชิ้นงาน นอกจากนี้ ยังให้นกั เรียนมีสว่ นร่วมในการประเมินโดยการประเมินตน เองด้วยเช่นกัน” จากการสัมภาษณ์เพิม่ เติม ฉันพบว่าการที่ นิสติ ระบุการวัดและประเมินผลการเรียนรูไ้ ด้เหมาะสมมากขึน้ มาจากการทํากิจกรรมในชัน้ เรียน ดังทีน่ สิ ติ ของฉันกล่าวว่า “ผมเข้าใจเกีย่ วกับการวัดและประเมินผลทสี ่ อดคล้องตามแนวคิดนี้มากขึน้ จากสืบค้นข้อมูลด้วยตนเอง การอภิปรายกบั เพือ่ น ๆ ในชัน้ เรียน” สรุปและอภิ ปรายผลการวิ จยั
J. Res. Unit Sci. Technol. Environ. Learning Vol. 5 No. 1 (2014) ฉันพบว่าก่อนการจัดการเรียนรูน้ สิ ติ ส่วนใหญ่ของ ฉันเขียนแผนการจัดการเรียนรูย้ งั ไม่สอดคล้องกับการจัดการ เรียนรูต้ ามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม ซึง่ เป็ น ผลมาจากการมีความรูแ้ ละประสบการณ์เดิมไม่เพียงพอ สอด คล้องกับ Loucks-Horseley et al. (2003) ทีร่ ะบุว่า ความ สําเร็จในการจัดการเรียนรูต้ ามแนวคิดนี้ในชัน้ เรียนขึน้ อยูก่ บั ความรูแ้ ละประสบการณ์ของครูผสู้ อนทีม่ อี ยู่เดิม และเมื่อนิสติ ของฉันได้เผชิญกับสภาพปญั หาจริงทีพ่ บในแหล่งเรียนรูน้ อก ห้องเรียน ทําให้นสิ ติ มีประสบการณ์ตรงและตระหนักเกีย่ วกับ ผลกระทบซึง่ กันและกันของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ สังคม เพิม่ มากขึน้ และความตระหนักนัน้ ส่งผลถึงการออกแบบ แผนการจัดการเรียนรูท้ ส่ี อดคล้องกับการจัดการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคมมาก ขึน้ โดยนิสติ ของฉันไม่เพียงแต่ระบุจดุ ประสงค์การเรียนรูว้ ทิ - ยา ศาสตร์ดา้ นความรูแ้ ละทักษะพิสยั แล้ว นิสติ ยังระบุเกีย่ วกับ ความตระหนักถึงผลกระทบซึง่ กันและกันของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม เพิม่ ขึน้ และมากกว่า ก่อนการจัดการ เรียนรู้ ซึง่ จุดประสงค์ทน่ี ิสติ ระบุไว้น้ี เป็ นเป้าหมายหนึ่งของ การจัดการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ (สสวท., 2545) ในด้านแนวคิดหลัก เมือ่ นิสติ ของฉันสามารถระบุ แนวคิดวิทยาศาสตร์ทส่ี อดแทรกอยูใ่ นปญั หาทีเ่ กีย่ วเนื่อง กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้จากการทําแผนผังความคิด นิสติ ก็เริม่ มีการกําหนดแนวความคิดหลักทีจ่ ะจัดการเรียนรู้ มีลกั ษณะบูรณาการทัง้ ในสา ระเดียวกันและข้ามสาระมาก ขึน้ ส่วนลักษณะของกิจกรรมการเรียนรูท้ น่ี สิ ติ ออกแบบสอดคล้องตามการจัดการเรียนรูต้ ามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม ทัง้ ในด้านการใช้ขา่ วจากหนังสือพิมพ์นําเข้า สูบ่ ทเรียน การใช้คาํ ถามของนักเรียนเกีย่ วกับปญั หาทีเ่ กีย่ วข้องกับวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคมในการสํารวจตรวจ สอบ การเน้นทักษะกระบวนการต่าง ๆ ทีน่ กั เรียนนํามาแก้ไข ปญั หา การขยายของเขตของความรูอ้ อกไปนอกชัวโมงเรี ่ ยน นอกห้องเรียน การเน้นความตระหนักเกีย่ วกับการ ประกอบ อาชีพทีเ่ กีย่ วข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และแสดง บทบาทในฐานะพลเมืองทีม่ สี ว่ นในการแก้ไขปญั หาทีเ่ กิดขึน้ ในชุมชน (NSTA, 1990) และลักษณะดังกล่าวนี้สอดคล้องกับ ลักษณะการจัดการเรียนรูต้ ามแนวปฏิรปู การศึกษา (นฤมล ยุตาคม, 2542) นอกจากนี้นสิ ติ ของฉันยังเปลีย่ นประสบการณ์การ ใช้สอ่ื และแหล่งเรียนรูท้ ม่ี อี ยูใ่ นห้องเรียนหรือในโรงเรียนมา
ใช้สอ่ื และแหล่งเรียนรูน้ อกห้องเรียนมากขึน้ โดยครูและนัก เรียนสามารถเรียนรูไ้ ปด้วยกันจากสือ่ และแหล่งเรียนรูน้ อก ห้องเรียนนัน้ โดยนักเรียนจะเรียนรูจ้ ากครูและครูกส็ ามารถ เรียนรูจ้ ากนักเรียนได้เช่นกั น (Rye and Dana, 1997) ใน ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ นิสติ ของฉันได้สบื ค้น ข้อมูลจากแหล่งเรียนรูท้ เ่ี ป็ นบุคคลและไม่ใช่บุคคล ซึง่ ทําให้ นิสติ ไม่เพียงแต่ประเมินผลการเรียนรูด้ า้ นพุทธิพสิ ยั และ ทักษะพิสยั เท่านัน้ แต่มกี ารวัดและประเมินผลการเรียนรูด้ า้ นจิตพิสยั เพิม่ มากขึน้ ซึง่ สอดคล้องกับลักษณะของการวัดและประเมินผลการเรียนรูต้ ามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม ทีไ่ ม่ได้เน้นด้านแนวคิดทีต่ อ้ งการให้นกั เรียนสอบผ่านเท่านัน้ (NSTA, 1990) จากทีก่ ล่าวมาข้างต้น การใช้แหล่งเรียนรูน้ อกห้องเรียนช่วยให้นสิ ติ ทีเ่ รียนกับฉันสามารถเชือ่ มโยงความรูเ้ กีย่ วกับการจัดการเรียนรูต้ ามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ สังคม สูก่ ารปฏิบตั ไิ ด้เป็ นอย่างดี สอดคล้องกับ ดําริ บุญชู (2548) ทีร่ ะบุวา่ การใช้แหล่งเรียนรูน้ อกห้องเรียนสามารถส่-ง เสริมให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง จากการได้คดิ เอง ปฏิบตั เิ องและสร้างความรูด้ ว้ ยตนเองตามอัธยาศัยและต่อเนื่อง จนเกิดกระบวนการเรียนรูแ้ ละสุดท้ายก็จะเป็ นบุคคลแห่งการ เรียนรู้ คือ การใช้แหล่งเรียนรูน้ อกห้องเรียนในการจัดการ เรียนรู้ ทําให้ฉนั มันใจในความเชื ่ อ่ เพิม่ มากขึน้ เกีย่ กัวบประสบการณ์การเรียนรูใ้ นแหล่งการเรียนรูน้ อกห้องเรียนเป็ นการเปิ ด โอกาสให้นสิ ติ ของฉันได้เรียนรูใ้ นห้องเรียนอันกว้างใหญ่ผา่ น ประสบการณ์ตรงจากสภาพจริงในวิถชี วี ติ รับรูถ้ งึ สภาพปญั หา ทีเ่ กิดขึน้ ในสังคมและตระหนักถึงความสัมพันธ์ของตนเองที่ มีต่อสังคม แม้วา่ ฉันได้คาํ ตอบจากการวิจยั ในครัง้ นี้แล้ว ฉัน มันใจว่ ่ าจะแลกเปลีย่ นความคิดเห็นเกีย่ วกับผลการวิจยั ครัง้ นี้ กับเพือ่ นร่วมงานของฉัน ตลอดจนนักการศึกษาท่านอืน่ ๆ และ ตัวฉันเองก็จะพัฒนาการใช้แหล่งเรียนรูน้ อกห้องเรียนในรายวิชาอืน่ ๆ ทีฉ่ นั รับผิดชอบจัดการรียนรูอ้ ย่างแน่นอน นอกจากนี้ หากฉันมีโอกาสทําวิจยั ต่อไป ฉันติดตามการนําแผนการจัดการเรียนรูต้ ามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคมไป ใช้ปฏิบตั จิ ริงในชัน้ เรียนโดยนิสติ ครูกลุ่มนีเพื ้ อ่ นําสิง่ ทีไ่ ด้เรียนรู้ มาพัฒนาการจัดการเรียนรูข้ องฉันให้มปี ระสิทธิภาพต่อไป เอกสารอ้างอิ ง
9
วารสารหน่วยวิจยั วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิง่ แวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ ปี ท่ี 5 ฉบับที่ 1 (2557) ดําริ บุญชู. (2548). การใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรูใ้ นสถานศึกษา. วารสารวิ ชาการ 8(1): 27-31. นฤมล ยุตาคม. (2542). การจัดประสบการณ์การเรียนรูว้ ชิ า วิทยาศาสตร์โดยใช้โมเดลการสอนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม (Science, Technology, and Society-STS Model). ศึกษาศาสตร์ปริทศั น์ 14(3): 29-48. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (สกศ). (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ .ศ 2542 และที่แก้ไขเพิ่ มเติ มพ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2551). ตัวชี้วดั และ สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิ ทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช2551. กรุงเทพ: โรงพิมพ์ ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. Kemmis, S., and McTaggart, R. (1998). The Action Research Planner. Victoria: Deakin University. Loucks-Horseley, S., Love, N., Stiles, K. E., Mundry, S., and Hewson, P. W. (2003). Designing professional development for teachers of science and mathematics. The National Institute for Science Education. California: Corwin.
10
National Research Council (NRC). (1996). National Science Educational Standards. Washington, DC: National Academy. National Science Teachers Association (NSTA). (1990). NSTA handbook. Arlington, VA: Author. Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning (ONEP). (2004). Thailand’s biodiversity (Online). Retrieved from http://www.chm-thai.onep. go.th/Publication/ThaiBiodiv/ThailandBiodiversity _eng.pdf, January 6, 2008. Rye, J. A., and Dana, T. M. (1997). Teaching beliefs and practices of a research scientist faculty member engaged in Science-Technology-Society (STS) instruction. The Electronic Journal of Science Education 1(4), Retrieved from http:// equinox.unr.edu/homepage/jcannon/ejse/ryedana. html, May 31, 2002.