การใช้เชื้อราในการควบคุมหนอนกระทู้หอม

Page 1

การใชเชื้อราศัตรูแมลงในการควบคุมหนอนกระทูห อม (Spodoptera exigua Hub.) Use of Entomopathogenic Fungi in Controlling the Beet Armyworm (Spodoptera exigua Hub.) มณจันทร เมฆธน และ ศศิเทพ ปติพรเทพิน Monchan Maketon and Sasithep Pitiporntapin

บทคัดยอ งานวิจัยนี้ไดศึกษาประสิทธิภาพของเชื้อรา 5 ชนิดในการกําจัดหนอนกระทูหอมระยะไข หนอนวัย 1-2 และ 3 พบวาหลังหยดสวนผสมของสปอรที่มีความเขมขน 1x106สปอร/มล. 1 ครั้งลงบนไขหนอนกระทูหอมและ ตรวจผลการทดลองเปนเวลา 1 สัปดาหในหองปฏิบัติการ พบวาไขที่ไดรับเชื้อรา Paecilomyces lilacinus (CKP012) มีเปอรเซ็นตการฟกเฉลี่ยต่ําที่สุดเทากับ 56.95 ซึ่งแตกตางอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (P < 0.01) จากไขที่ รับเชื้อรา Metarhizium anisopliae (CKM-048), P. lilacinus (CKP-032), M. flavoviride (CKM-083), Beauveria bassiana (CKB-048), น้ํากลั่น และกลุมควบคุม ซึ่งมีเปอรเซ็นตการฟกเฉลี่ยเทากับ 94.96, 95.00, 97.62, 98.57, 99.11 และ 99.48 ตามลําดับ ในหนอนวัย1-2 พบวาหนอนที่ไดรับเชื้อรา M. anisopliae (CKM048) และ P. lilacinus (CKP-012) ใหคาเฉลี่ยเปอรเซ็นตการตายของหนอนสูงสุดเทากับ 36.67 และ36.67 รองลงมาคือหนอนที่ไดรับเชื้อรา P. lilacinus (CKP-032), M. flavoviride (CKM-083) B. bassiana (CKB048),กลุมควบคุม และน้ํากลั่น ที่มีคาเฉลี่ยเปอรเซ็นตการตายของหนอน เทากับ 30.00, 16.67, 10.00, 0.00 และ0.00 ตามลําดับ ในหนอนวัย 3 พบวาหนอนที่ไดรับเชื้อรา M. anisopliae (CKM-048) มีคาเฉลี่ยเปอรเซ็นต การตายของหนอนสูงสุด เทากับ 36.67 รองลงมาคือ P. lilacinus (CKP-012), M. flavoviride (CKM-083), P. lilacinus (CKP-032), B. bassiana (CKB-048) น้ํากลั่น, และกลุมควบคุม, ที่มีคาเฉลี่ยเปอรเซ็นตการตายของ หนอน เทากับ 28.33, 20.00, 20.00, 13.33, 8.33, และ 5.00 ตามลําดับ

ABSTRACT

This research was to study the capabilities of five entomopathogenic fungi in controlling beet armyworm, Spodoptera exigua Hub in its egg, the 1st-2nd, and the 3rd instar stages, respectively. Every fungal suspension was prepared at the concentration of 1x106spore/ml. Results from the laboratory showed that after 7 days the application of Paecilomyces lilacinus (CKP-012) had the lowest percent hatch at 56.95 which was highly significant different (P < 0.01) from the application of Matarhizium anisopliae (CKM-048), P. lilacinus (CKP-032), M. flavoviride (CKM-038) and B. bassiana (CKM-048), distilled water and control with the percent hatch were 94.96, 95.00, 97.62, 98.57, 99.11 and 99.48, respectively. For the 1st-2nd instar larvae, application of P. lilacinus (CKP-012) and M. anisopliae (CKM-048) showed the best efficacies with the percent mortality as high as 36.67 and 36.67 followed by P. lilacinus (CKP-032), M. flavoviride (CKM-038), B. bassiana (CKB-048), control, and distilled water with the percent mortalities of 30.00, 16.67, 10.00, 0.00 and 0.00, respectively. The best effective fungus in controlling the 3rd instar larvae was M. anisopliae (CKM-048) with its percent mortalities of 36.67 followed by P. lilacinus (CKP-012), M. flavoviride (CKM-038), P. lilacinus (CKP032), B. bassiana (CKB-048), distilled water, and control, with the percent mortalities of 28.33, 20.00, 20.00, 13.33, 8.33, and 5.00 respectively. Key words :beet armyworm, entomopathogenic fungi, control fscimcm@ku.ac.th, sasithep@hotmail.com,___________________________________________________________________________ ภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จตุจักร กทม.10900 Department of Zoology, Faculty of Science, Kasetsart University,Bangkok. 10900.


คํานํา หนอนกระทูหอม (Spodoptera exigua Hub.) แพรระบาดมานานหลายสิบป มักรุนแรงในชวงฤดูรอน ตามแหล ง ปลู ก พื ช เศรษฐกิ จ ของประเทศไทย สามารถทํ า ลายพื ช อาหารกว า งขวางมากกว า 200 ชนิ ด ที่ มี ความสําคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย เชน พริก, หอมแดง เปนตน (กอบเกียรติ, 2543) การปองการกําจัดหนอนกระทูหอมนี้ใชสารเคมีเปนหลักทําใหหนอนมีความตานทาน จึงตองใชสารเคมี ที่มีอัตราสูงขึ้นและฉีดพนบอยครั้งขึ้น ดังนั้นจึงตองหาวิธีใหมๆที่ใหผลปลอดภัย ประหยัดคาใชจาย มาใชในการ ปองกันกําจัดหนอนชนิดนี้ การใชเชื้อรา Beauveria bassiana ที่พบไดในดินตามธรรมชาติ สามารถทําลายแมลงทั้งระยะตัวออน และตัวเต็มวัย เชน ตั๊กแตน ปลวก มอด มดคันไฟ ดวงเตา แมลงปกแข็งตางๆ และเพลี้ยจักจั่นสีเขียว เปนตน เชื้อ นี้ถูกนํามาใชในการคาเพื่อปองกันและกําจัดแมลงเพราะวาสามารถผลิตไดในเชิงอุตสาหกรรม และพัฒนาให สปอรมีความทนกับแสงอัลตราไวโอเลต อุณหภูมิและความชื้นสูงๆได การเขาทําลายมักจะใชเวลาประมาณ 3-7 วัน (Marh, 1997) นอกจากนี้มีการใชเชื้อรา Metarhizium spp. ซึ่งมีความสามารถเขาทําลายแมลงอาศัยที่กวางจึงมีการ นํามาใชในการควบคุมแมลงในวงศตางๆ เชน Lepidoptera, Isoptera, Orthoptera, Homoptera และ Coleoptera โดย M. anisopliae var. majus และ var. anisopliae ใชในการควบคุมไขของไรแดง (Tetranychus cinnabarinus) (Wei-bing and Ming-Guang, 2004) และกําจัดปลวก(วีรฑีมา, 2546) สวน M. flavoviride มี ประสิทธิภาพในการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล (Maketon et al., 2003) ตั๊กแตน และแมลง cockchafer (Richard, 1998)และมีการใชเชื้อรา Paecilomyces lilacinus ในการเขาทําลายระยะไขและตัวแกของไสเดือน ฝอยรากปม Moloidogyne spp. (สุภกิจ, 2532 ; อนุชา, 2537; คมกฤช, 2539; สุรวิทย, 2541) และเชื้อรานี้ถูก คนพบเปนครั้งแรกวาสามารถใชในการควบคุมและกําจัดหอยเชอรี่ในระยะไขได (Maketon and Domhom, 2003). การวิจัยนี้ศึกษาการใชเชื้อรา B. bassiana (CKB-048), M. anisopliae (CKM-048), M. flavoviride (CKM-083),P.lilacinus (CKP-012) และP. lilacinus (CKP-032) ควบคุมหนอนกระทูหอมในระยะไข ระยะตัว หนอนวัย 1-2 และวัย 3 เพื่อเปนแนวทางในการปองกันกําจัดหนอนกระทูหอมดวยชีววิธีตอไป อุปกรณและวิธีการ 1.การเตรียมเชื้อรา ทําการเพาะเลี้ยงเชื้อราทั้ง 5 ชนิด ในอาหาร Potato Dextrose Agar (PDA) บมเชื้อที่อณ ุ หภูมิหอง เปน ระยะเวลา 14-21 วัน จากนั้นทําการนับสปอรและเจือจางดวยน้ํากลั่นใหไดความเขมขน 1x106สปอร/มล. 2.การเตรียมแมลงทดสอบ 2.1 เลี้ยงหนอนกระทูหอมในกลองพลาสติกที่มีอาหารเทียมจนถึงระยะดักแด แยกดักแดออกแลวนําไป วาง บนผาขาวบางที่มีภาชนะใสน้ําหวานสําหรับตัวเต็มวัย และนําทอกลวงทรงกลมที่ภายในบุดวยกระดาษและมี ปลายดานหนึ่งปดดวยกระดาษชําระสําหรับใหตัวเต็มวัยวางไขมาวางครอบดักแด โดยตัวเต็มวัยจะวางไขหลัง ออกจากดักแด 24 ชั่วโมง เก็บไขที่ไดในกลองพลาสติกที่มีอาหารสําหรับเลี้ยงหนอนรุนตอไป แยกไขและหนอน สวนหนึ่งสําหรับทดลอง โดยวางแผนการทดลองแบบสุมตลอด


2.2 นําไขของหนอนกระทูหอมที่ตรวจนับภายใต กลอง Stereomicroscope มาแยกใสจานแกวทดลอง ขนาดเสนผานศูนยกลาง 5 ซม. โดยให 1 จานมีไขจํานวน 1 กลุม ตรวจนับและบันทึกจํานวนไขแตละกลุม และใส อาหารเทียมลงในจานแกวแตละจาน โดยทําการทดลอง 4 ซ้ํา 7 กรรมวิธีไดแก กรรมวิธีควบคุม (ไมใชสารทดลอง และ น้ํากลั่น) ใชน้ํากลั่น Beauveria bassiana (CKB-048), Metarhizium anisopliae (CKM-048), M. flavoviride (CKM-083), Paecilomyces lilacinus (CKP-012) และ P. lilacinus (CKP-032) 2.3 นําหนอนกระทูหอมระยะ 1-2 มาแยกใสถวยพลาสติกสําหรับทดลองโดยให 1 ขวดมีหนอนจํานวน 3 ตัว และใสอาหารเทียมลงในแตละถวย ทําการทดลอง 10 ซ้ํา โดยมี 7กรรมวิธี เชนเดียวกับระยะไข 2.4 หนอนระยะ 3 จัดการทดลองเชนเดียวกับหนอนวัย 1-2 3. การทดสอบประสิทธิภาพในการกําจัดแมลง 3.1 นําเชื้อราทั้ง 5 สายพันธุความเขมขน 1x106 สปอร/มล. และน้ํากลั่นที่ฆาเชื้อแลวมาหยดใสทุกระยะ ของหนอนกระทูหอมตามที่ไดกลาวมาแลว 3.2 สังเกตและตรวจนับจํานวนไขที่ไมฟกและหนอนกระทูหอมที่ตาย แลวบันทึกผลการทดลองทุกวัน เปนระยะเวลา 1 สัปดาห 3.3 จากนั้นนับเปอรเซ็นตการตายของหนอนกระทูหอมตั้งแตวันแรกที่เริ่มลงเชื้อแลวทําการตรวจสอบ ยืนยันผลการทดลอง โดยนําหนอนกระทูหอมที่ตายไปแชในน้ํายาฆาเชื้อ Sodium hypochlorite (Chlorox) 10% เปนเวลา 5 นาทีเพื่อกําจัดเชื้อราที่อยูภายนอกตัวออก แลวนําไปวางลงบนอาหารเลี้ยงเชื้อ PDA สังเกตลักษณะ การเจริญของโคโลนีที่ปรากฏ 3.4 นําผลที่ไดไปคํานวณดวยวิธีทางสถิติโดยใช One-way ANOVA และวิเคราะหความแตกตางระหวาง กลุมโดยวิธี Duncan’s Multiple Range test

ผล 1. การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเชื้อรากับหนอนกระทูหอมระยะไข ในวันที่ 1 ไขทั้งหมดที่ใชในการทดลองยังไมมีการฟก จะเริ่มฟกในวันที่ 2 ของการทดลอง ผลการฟกของไข กลุมที่ไดรับเชื้อรา Paecilomyces lilacinus (CKP-012) มีเปอรเซ็นตการฟกเฉลี่ยต่ําสุดเทากับ 56.95±16.86 ซึ่ง แตกตางอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (P<0.01) จากไขที่รับเชื้อรา Metarhizium anisopliae (CKM-048), P.lilacinus (CKP-032), M. flavoviride (CKM-083), Beauveria bassiana (CKB-048), กลุมน้ํากลั่น และกลุม ควบคุม ซึ่งมีเปอรเซ็นตการฟกเฉลี่ยเทากับ 94.96±3.38, 95.00±5.00,97.62±2.38, 98.57±1.43, 99.11±0.89 และ 99.48±0.52 ตามลําดับ โดยกลุมหลังนี้ไมมีความแตกตางทาง สถิติระหวางกัน (Table 1) ในการตรวจผล การฟกของไขพบวา ในชวงวันที่ 3-7 ไมมกี ารฟกเพิ่มขึ้น 2. การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเชื้อรากับหนอนกระทูหอมระยะหนอนวัย 1-2 ในวันที่ 1- 2 หลังการหยดสารทดลองไมพบการตายของหนอนกระทูหอม ในวันที่ 3 ของการทดลอง พบวาหนอน ที่ไดรับเชื้อรา M. anisopliae (CKM-048) ใหคาเฉลี่ยเปอรเซ็นตการตายของหนอนสูงสุดเทากับ 30.00 ±10.48 แตกตางอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (P < 0.01) จากหนอนที่ไดรับเชื้อรา B. bassiana (CKB-048), กลุม ควบคุ ม และกลุ ม น้ํ า กลั่ น ที่ มี ค า เฉลี่ ย เปอร เ ซ็ น ต ก ารตายของหนอน เท า กั บ 3.33±3.33, 0.00, และ0.00 ตามลําดับ แตไมแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติกับกลุมที่ไดรับเชื้อรา P. lilacinus (CKP-032),P.


Table 1 Average hatching percentage of the beet armyworm’ s egg. Average hatching percentage Treatment ± S.E. (day after treated) 1 2 0.00 99.48±0.52 a Distilled water 0.00 99.11±0.89 a B. bassiana (CKB-048) 0.00 97.62±2.38 a P. lilacinus (CKP-032) 0.00 95.00±5.00 a P.lilacinus (CKP-012) 0.00 56.95±16.86 b M. anisopliae (CKM-048) 0.00 94.96±3.38 a M. flavoviride (CKM-083) 0.00 98.57±1.43 a Mean follow by the same alphabet in the same column means highly significant different at 99 % confidence interval. lilacinus (CKP-012) และ M. flavoviride (CKM-083) ที่มีคาเฉลี่ยเปอรเซ็นตการตายของหนอน เทากับ 16.67±7.45, 13.33±7.37 และ10.00±7.12 ตามลําดับ ในวันที่ 4-5 ของการทดลอง พบวาหนอนที่ไดรับเชื้อรา M. anisopliae (CKM-048) และP. lilacinus (CKP-032) ใหคาเฉลี่ยเปอรเซ็นตการตายของหนอนสูงสุด เทากับ 30.00 ±10.48 และ30.00±7.78 และแตกตาง อยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (P < 0.01) กับกลุมควบคุม และกลุมน้ํากลั่น ซึ่งไมพบการตายของหนอนในการ ทดลองแตไมแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติกับหนอนที่ไดรับเชื้อรา P. lilacinus (CKP-012), M. flavoviride (CKM-083) และ B. bassiana (CKB-048)ที่ มี คา เฉลี่ย เปอร เ ซ็ น ตก ารตายของหนอนเท า กั บ 20.00±7.37,10.00±7.12 และ3.33±3.33 ตามลําดับ ในวันที่ 6-7 ของการทดลอง พบวากลุมที่ไดรับเชื้อรา M. anisopliae (CKM-048) และP. lilacinus (CKP-012) ใหคาเฉลี่ยเปอรเซ็นตการตายของหนอนสูงสุด เทากับ 36.67± 9..23 และ36.67±5.98 แตกตางอยาง มีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (P < 0.01) กับหนอนที่ไดรับเชื้อรา B. bassiana (CKB-048), กลุมน้ํากลั่น และกลุม ควบคุม ที่มีคาเฉลี่ยเปอรเซ็นตการตายของหนอน เทากับ 10.00±7.12, 0.00 และ 0.00 ตามลําดับ แตไม แตกตางอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติกับหนอนที่ไดรับเชื้อรา P. lilacinus (CKP-032) และM. flavoviride (CKM083) ที่มีคาเฉลี่ยเปอรเซ็นตการตายของหนอน เทากับ 30.00±7.78 และ16.67±7.45 ตามลําดับ (Table 2).


Table 2 Average mortality percentage of the first-second instars beet armyworm’ s larvae. Treatment Control Distrilled water B. bassiana (CKB048) P. lilacinus (CKP032) P.lilacinus (CKP-012) M. anisopliae (CKM048) M. flavoviride (CKM083)

Average mortality percentage ± S.E. (day after treated) 3 4 5 6 a a a 0.00 0.00 0.00 0.00a 0.00a 0.00a 0.00a 0.00a

1 0.00 0.00

2 0.00 0.00

7 0.00a 0.00a

0.00

0.00

3.33±3.33 a

3.33±3.33 ab

3.33±3.33 ab

10.00±7.12 ab

10.00±7.12 ab

0.00 0.00

0.00 0.00

16.67±7.45 ab 13.33±7.37 ab

30.00±7.78 b 20.00±7.37 ab

30.00±7.78 b 20.00±7.37 bc

30.00±7.78 bc 36.67±5.98 c

30.00±7.78 bc 36.67±5.98 c

0.00

0.00

30.00±10.48 b

30.00±10.48b

30.00±10.48b

36.67±9.23 c

36.67±9.23 c

0.00

0.00

10.00±7.12 ab

10.00±7.12 ab

10.00±7.12 ab

16.67±7.45 bc

16.67±7.45 bc

Mean follow by the same alphabet in the same column means highly significant different at 99 % confidence interval.

3. การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเชื้อรากับหนอนกระทูหอมระยะหนอนวัย 3 ในวันที่ 1 และ 2 หลังการหยดสารทดลอง ไมพบการตายของหนอนกระทูหอม ในวันที่ 3 พบคาเฉลี่ย เปอรเซ็นตการตายของหนอนกระทูหอมวัย 3 ไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติกับหนอนที่ไดรับเชื้อรา M. anisopliae (CKM-048), P. lilacinus (CKP032), P.lilacinus(CKP-012),M. flavoviride(CKM-083),B. bassiana (CKB-048), กลุมควบคุม และ กลุมน้ํากลั่น คือ 10.00±6.67, 6.67±0.00, 5.00±5.00, 3.33±3.34, 3.33±0.00, 1.67±1.67 และ1 67±1.67 ตามลําดับ ในวันที่ 4 ของการทดลอง พบวาหนอนที่ไดรับเชื้อรา M. anisopliae (CKM-048) มีคาเฉลี่ยเปอรเซ็นต การตายของหนอนสูงสุด เทากับ 21.67±1.67 แตกตางอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (P < 0.01) กับกลุมควบคุม และกลุมน้ํากลั่น ที่มีคาเฉลี่ยเปอรเซ็นตการตายของหนอน เทากับ 1.67±1.67 และ1.67±1.67 ตามลําดับ แตไม แตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติกับหนอนที่ไดรับเชื้อรา P. lilacinus (CKP-032) ,B.bassiana(CKB-048), P lilacinus (CKP-012) และM.flavoviride (CKM-083) ที่มีคาเฉลี่ยเปอรเซ็นตการตายของหนอน เทากับ 15.00±1.67,11.67±5.00, 11.67±5.00 และ8.33±1.67 ตามลําดับ ในวันที่ 5 ของการทดลอง พบวาหนอนที่ไดรับเชื้อรา M. anisopliae (CKM-048) มีคาเฉลี่ยเปอรเซ็นต การตายของหนอนสูงสุด เทากับ 26.67±0.00 แตกตางอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (P < 0.01) กับหนอนที่ไดรับ เชื้อรา M. flavoviride (CKM-083), B. bassiana (CKB-048),กลุมควบคุม, และกลุมน้ํากลั่น ที่มีคาเฉลี่ย เปอรเซ็นตการตายของหนอน เทากับ 13.33±3.34, 11.67±5.00, 5.00±1.67และ5.00±1.67 ตามลําดับ แตไม แตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติกับหนอนที่ไดรับเชื้อรา P. lilacinus (CKP-012) และ P.lilacinus (CKP-032) ที่มีคาเฉลี่ยเปอรเซ็นตการตายของหนอน เทากับ 20.00±0.00 และ18.33 ±3.34ตามลําดับ ในวันที่ 6 ของการทดลอง พบวากลุมที่ไดรับเชื้อรา M.anisopliae (CKM-048) มีคาเฉลี่ยเปอรเซ็นต การตายของหนอนสูงสุด เทากับ 31.67±1.67 แตกตางอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (P < 0.01) หนอนที่ไดรับเชื้อ


รา B.bassiana (CKB-048), กลุมน้ํากลั่น และกลุมควบคุม ที่มีคาเฉลี่ยเปอรเซ็นตการตายของหนอน เทากับ 13.33±3.34, 8.33±1.67 และ5.00±1.67 ตามลําดับ แตไมแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติกับหนอนที่ไดรับ เชื้อรา M. flavoviride (CKM-083), P.lilacinus (CKP-032) และ P.lilacinus (CKP-012) ที่มีคาเฉลี่ยเปอรเซ็นต การตายของหนอน เทากับ 20.00±6.67, 20.00±3.33 และ26.67±0.00 ตามลําดับ ในวันที่ 7 ของการทดลอง พบวาหนอนที่ไดรับเชื้อรา M. anisopliae (CKM-048) มีคาเฉลี่ยเปอรเซ็นต การตายของหนอนสูงสุด เทากับ 36.67±0.00 แตกตางอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (P < 0.01) กับหนอนที่ไดรับ เชื้อราB. bassiana (CKB-048)กลุมน้ํากลั่น, และ กลุมควบคุม ที่มีคาเฉลี่ยเปอรเซ็นตการตายของหนอน เทากับ 13.33±3.34, 8.33±1.67, และ5.00±1.67 ตามลําดับ แตไมแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติกับหนอนที่ไดรับ เชื้อรา P. lilacinus (CKP-012), M. flavoviride(CKM-083) และ P. lilacinus (CKP-032) ที่มีคาเฉลี่ยเปอรเซ็นต การตายของหนอน เท า กั บ 28.33±1.67, 20.00±6.67 และ20.00±3.33 ตามลํ า ดั บ (Table 3) Table 3 Average mortality percentage of the third instar beet armyworm’ s larvae. Average mortality percentage± S.E. (day after treated) 1 2 3 4 5 6 7 ns a a a Control 0 0 1.67±1.67 1.67±1.67 5.00±1.67 5.00±1.67 5.00±1.67 a Distrilled water 0 0 1.67±1.67 ns 1.67±1.67 a 5.00±1.67 a 8.33±1.67 a 8.33±1.67 a B. bassiana (CKB-048) 0 0 3.33±0.00 ns 11.67±5.00 ab 11.67±5.00 ab 13.33±3.34 ab 13.33±3.34 ab P. lilacinus (CKP-032) 0 0 6.67±0.00 ns 15.00±1.67 ab 18.33±1.67 abc 20.00±3.33 abc 20.00±3.33 abc P.lilacinus (CKP-012) 0 0 5.00±5.00 ns 11.67±5.00 ab 20.00±0.00 bc 26.67±0.00 bc 28.33±1.67 bc M. anisopliae (CKM-048) 0 0 10.00±6.67ns 21.67±1.67 b 26.67±0.00 c 31.67±1.67 c 36.67±0.00 c M. flavoviride (CKM-083) 0 0 3.33±3.34 ns 8.33±1.67 ab 13.33±3.34 ab 20.00±6.67 abc 20.00±6.67 abc Mean follow by the same alphabet in the same column means highly significant different at 99 % confidence interval. Treatment

วิจารณ จากการทดลองเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเชื้อราทั้ง 5 ชนิดในการปองกันกําจัดหนอนกระทูหอม ที่ ความเขมขน 1X106 สปอร/มล. ตรวจสอบผลการทดลองเปนเวลา 7 วัน พบวาหนอนกระทูหอมจะเริ่มฟกออกจาก ไขในวันที่ 2 ของการทดลอง ในวันที่ 3-7 ไมพบการฟกเพิ่ม โดยในกลุมควบคุมมีเปอรเซ็นตการฟกเฉลี่ยเทากับ 99.48 ซึ่งสอดคลองกับการทดลองของ วัชระ (2511) พบวาระยะไขโดยเฉลี่ย เทากับ 2 วัน และ เปอรเซ็นตการ ฟกเฉลี่ย เทากับ 98.06 เปอรเซ็นต และพบวาเชื้อรา Paecilomyces lilacinus (CKP-012) มีประสิทธิภาพสูงสุด ในการควบคุมระยะไขโดยมีเปอรเซ็นตการฟกเฉลี่ยต่ําสุดเทากับ 56.95±16.86 สอดคลองกับของ Maketon and Domhom 2003 ซึ่ ง ทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพของเชื้ อ ราในการกํ า จั ด ไข ห อยเชอรี่ ก็ พ บว า เชื้ อ รา Paecilomyces lilacinus. มีประสิทธิภาพเหนือกวา Metarhizium spp. โดยมีเปอรเซ็นตไขหอยไมฟกถึง 85.64 การที่เขื้อรามี ประสิทธิภาพในการกําจัดไขหนอนกระทูหอมไดนอยกวาเกิดจากการที่ไขของหอยเชอรี่ไมมีขนปกคลุม ขณะที่ไข ของหนอนกระทูหอมมีขนปกคลุม (วัชระ, 2511) ดังนั้นสปอรของเชื้อราจะถูกดักไวที่ขนดังกลาว และ การที่คา ความผันแปรคอนขางสูงในผลการทดลองกับไขคงเกิดจากการที่ไขของหนอนกระทูหอมมีลักษณะเปนกลุมกอน


ทําใหไขที่อยูดานในไมมีโอกาสสัมผัสกับสปอรของเชื้อรา และสามารถฟกเปนตัว หนีจากการทําลายของเชื้อราไป ได สําหรับหนอนกระทูหอมวัย 1-2 เชื้อรา M. anisopliae (CKM-048) และP. lilacinus (CKP-012) มี ประสิทธิภาพในการเขาทําลายสูงสุด เทากับ 36.67±9.23 และ36.67±5.98 สวนหนอนกระทูหอมวัย 3 เชื้อรา M. anisopliae (CKM-048) มีประสิทธิภาพในการเขาทําลายสูงสุด เทากับ 36.67±0.00.รองลงมาคือ เชื้อรา P. lilacinus (CKP-012) ที่ใหคาเฉลี่ยเปอรเซ็นตการตายของหนอน เทากับ 28.33 ±1.67 โดยหนอนทั้ง 2 ระยะจะ เริ่มตายตั้งแตวันที่ 2 ของการทดลอง และมีเปอรเซ็นตการตายที่เพิ่มขึ้นแตอัตราการตายลดลง สอดคลองกับการ ทดลองของ Krutmuang (1996) พบวา ปลวกที่ไดรับเชื้อรา M. anisopliae จะเริ่มตายตั้งแตวันที่ 2 หลังจาก ไดรับเชื้อราและภายใน 6-7 วัน จะมี conidia สีเขียวขึ้น ในระยะหนอนวัย 3 มีเปอรเซ็นตการตายนอยกวาหนอนวัย 1-2 ในวันที่ 3 หลังการหยดสารทดลอง เนื่องจาก หนอนในวัยสูงขึ้นจะมีความทนทานเพิ่มขึ้นซึ่งอาจเกิดจากการ มีกลไกการปองกันตัวเองจากเชื้อราโดย การลอกคราบ (Maketon et al. 2003)

สรุป จากประสิทธิภาพของเชื้อรา P. lilacinus (CKP-012) ในการกําจัดหนอนกระทูหอมในระยะไขและ หนอนวัย 1-2 และ M. anisopliae (CKM-048) ในการกําจัดหนอนกระทูหอมวัย 1-2 และ 3 แสดงใหเห็นถึง ศักยภาพของเชื้อราทั้ง 2 ชนิดในการผลิตเปนชีวภัณฑที่สามารถใชในการปองกันกําจัดหนอนกระทูหอมตอไป

คํานิยม ขอขอบคุณกลุมงานชีววิธี กรมสงเสริมการเกษตรที่กรุณาอนุเคราะหหนอนกระทูหอม เพื่อใชในการ ทดลอง

เอกสารอางอิง กอบเกียรติ บันสิทธิ์ 2543 ศัตรูพืชผักและการควบคุมแมลงศัตรูพืชผัก, น.66-67 ใน สุปรานี อิ่มพิทักษ, บรรณาธิการ. หลักและวิธีการผลิตผักอนามัย. โรงพิมพชมุ นุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด, กรุงเทพฯ. คมกฤช เพียภูเขียว. 2539.ประสิทธิภาพของการผสมสายพันธุเชื้อรา Paecilomyces lilacinus ตอการเขาทําลาย ไขไสเดือนฝอยรากปม (MELOIDOGYNE INCOGNITA), วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. ณัฐพร วงศศิริขจร 2546. ศักยภาพของเชื้อรา Paecilomyces lilacinus ในการควบคุมและกําจัดหอยเชอรี่ใน ระยะตัวออน 5 วัน (Pomacea canaliculata), ปญหาพิเศษมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ, 42 น. วัชระ ภูรีวิโรจนกุล. 2511 การศึกษาประวัติหนอนกระทูหอมและการปองกันกําจัด. วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. วีรฑิมา สวัสดิ์วราหกุล. 2546. การใชเชือ้ ราในการกําจัดปลวก. ปญหาพิเศษ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ,65น.


สุภกิจ สุขใจมิตร.2532. อิทธิพลของ antagonistic plants และเชื้อรา Paecilomyces lilacinus ตอไสเดือนฝอย รากปม Meloidogyne spp., วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. สุรวิทย โวยสิ้น. 2541 ประสิทธิภาพของเชือ้ รา Paecilomyces lilacinus ตางสายพันธุในการเขาทําลายไสเดือน ฝอยรากปม (Meloidogyne incognita), ปญหาพิเศษ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ, 28 น. อนุชา ธีรวุฒธิ ร. 2537.ประสิทธิภาพของเชือ้ รา Paecilomyces lilacinus ตางสายพันธุในการเขาทําลายไขใส เดือนฝอยรากปม(MELOIDOGYNE INCOGNITA), วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. Krutmuang, P., 1996. Laboratory studies on Green Muscardine Fungus, Metarhizium anisopliae for Control of Termites (Isoptera), M.S. thesis, Kasetsart University, Bangkok. Maketon, Monchan, Sudaporn Jaichuen and Supakit Maketon 2003.. Biological Control of Brown Planthopper (Nilaparvata lugens, Stal) on Rice by Metarhizium spp. 20th Pacific Science Congress “Science and Technology for Healthy Environments”. Sym. 3.2 Poster – 12. Maketon, Monchan and Domhom 2003. Efficacy of Paecilomyces lilacinus in Controlling Egg Stage of Golden Apple Snail (Pomacea canaliculata). BioThailand P-ENV-03 P 300. Marh,S. 1997. Know Your Friends: The Entomopathogen Beauveria bassiana. Midwest Biological Control News. Available Source: http://www.entomology.wisc .edu/mben/kyf410.html.May 20, 2004. Richard, A. Humber. 1998. Entomopathogenic Fungal Identification APA/ESA Workshop. Available Source: http://www.ppru.cornell.edu/mycology/insect_mycology.html, July 18, 2004. Sakchoowong, W. 1998. Effects of Entomopathogenic Fungi Beauveria bassiana (Balsamo) Vuillemin and Metarhizium anisopliae (Metchnikoff) Sorokin on Teak Defoliator (Hyblaea puera Cramer) (Lepidoptera : Noctuidae), M.S. thesis, Kasetsart University, Bangkok. Wei-Bing, Shi and Ming-Guang Feng. 2004.Lethal effect of Beauveria bassiana, Metarhizium anisopliae, and Paecilomyces fumosoroseus on the eggs of Tetranychus cinnabarinus (Acari; Tetranychidae) with a description of a mite egg bioassay system, Biological Control 30(2): 165173.


A.

B.

C.

D.

E.

F.

G.

H.

I.

J. K. L. Figures 1 Showing egg and larvae of the beet armyworm (Spodoptera exigua Hub.) infected by entomopathogenic fungi. A. egg infected by B. bassiana (CKB-048) B.-C. larva infected by B. bassiana (CKB-048) D. egg infected by P. lilacinus (CKP-032) E. larval infected by P. lilacinus (CKP-032) F. egg infected by P. lilacinus (CKP-012) G. larval infected by P. lilacinus (CKP-012) H. egg infected by M. anisopliae (CKM-048) I.-J. larval infected by M. anisopliae (CKM-048) K. egg infected by M. flavoviride (CKM-083) L. larval infected by M. flavoviride (CKM-083)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.