เรียนรู้ด้วยทฤษฎีความหลากลาย

Page 1


ที่ปรึกษา คณบดีคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ศาสตราจารย ดร.วิเชียร มากตุน) บรรณาธิการ ผูชวยศาสตราจารย ดร.สมเกียรติ พรพิสทุ ธิมาศ บรรณาธิการจัดการ อาจารย ดร.สุรศักดิ์ ละลอกน้ํา กองบรรณาธิการ ศาสตราจารย ดร.วรรณทิพา รอดแรงคา รองศาสตราจารย ดร.อรินทิพย ธรรมชัยพิเนต รองศาสตราจารยธวัช ดอนสกุล รองศาสตราจารยพเยาว ยินดีสุข รองศาสตราจารยอรพินท เจียระพงษ ผูชวยศาสตราจารย ดร.ขวัญจิต เหมะวิบูลย ผูชวยศาสตราจารย ดร.เชาวรีย อรรถลังรอง ผูชวยศาสตราจารย ดร.ทัศนียา ร. นพรัตนแจมจํารัส ผูชวยศาสตราจารย ดร.ประภากร ธาราฉาย ผูชวยศาสตราจารย ดร.เฟองลดา วีระสัย ผูชวยศาสตราจารย ดร.อภิเดช แสงดี ผูชวยศาสตราจารยสุภาภรณ ศิริโสภณา ผูชวยศาสตราจารยสายสุณีย ลิ้มชูวงศ อาจารย ดร.กานตตะรัตน วุฒิเสลา อาจารย ดร.ขวัญ เพียซาย อาจารย ดร.จันทิมา ปยะพงษ อาจารย ดร.ณัฏฐ ดิษเจริญ อาจารย ดร.ธีรวัฒนา ภาระมาตย อาจารย ดร.ปยรัตน ดรบัณฑิต อาจารย ดร.พิชาภัค สมยูรทรัพย อาจารย ดร.เยาวนิตย ธาราฉาย อาจารย ดร.วุฒินันท รักษาจิตร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยแมโจ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยแมโจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ค


อาจารย ดร.ศักดิ์ศรี สุภาษร อาจารย ดร.ศิรินันท แกนทอง อาจารย ดร.สุภาพร พรไตร อาจารย ดร.เสาวรัตน จันทะโร อาจารย ดร.อนิษฐาน ศรีนวล อาจารย ดร.อโนชา หมั่นภักดี อาจารยสถาพร วรรณธนวิจารณ คุณวรรณวิมล เมฆบุญสงลาภ ดร.สมบัติ คงวิทยา Dr. Bin Hong

Dr. Vandna Rai

ฝายศิลปและภาพ นายสัญญา พาลุน ฝายจัดการและเลขานุการ นางชลรดา สารทสมัย

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ ศูนยเครื่องมือวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรมวิทยาศาสตรบริการ กระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี China Institute of Medical Biotechnology, Chinese Academy of Medical Sciences and Peking Union Medical College, Taintanxili #1, Beijing 100050, China National Research Centre on Plant Biotechnology, Indian Agriculture Research Institute, New Delhi 110012, India


สารบัญ วารสารหนวยวิจัยวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอมเพื่อการเรียนรู ถอยแถลงบรรณาธิการ สารบัญ บทความวิจัย การศึกษาความสามารถดานสัดสวนของนิสิตระดับปริญญาตรี คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

หนา ก ช ซ 86

ขวัญ เพียซาย ภิญญาพันธ เพียซาย สุรศักดิ์ ละลอกน้ํา และสมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ

การศึกษาโมเลกุลลารด็อกกิ้งของควิโนนรีดักเทส 2 เปนเอนไซมเปาหมายสําหรับ ยับยั้งมะเร็งเตานม

92

พรรณราย ศิยะพงษ สิริธร สโมสร และมะยูโซะ กูโน

การสงเสริมแนวคิดวิทยาศาสตร เรือ่ ง อาณาจักรสัตว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 4 ดวยการจัดการเรียนรูตามแนวทฤษฎีความหลากหลายของการเรียนรู

99

อรวรรณ คูหเพ็ญแสง สุรเดช ศรีทา กฤษณา โภคพันธ ภาธร พงศไพจิตร กฤษณา ชินสิญจน และ ศศิเทพ ปติพรเทพิน

ความพึงพอใจและความคิดเห็นตอโปรแกรม Designing4Learning+Portfolio ของ นักศึกษาที่มีเพศและความสามารถในการเรียนวิชาเคมีแตกตางกัน

108

กานตตะรัตน วุฒิเสลา

แนวทางในการจัดการเรียนรูในหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรโดยใชเทคโนโลยีเสมือนจริง

117

สมศักดิ์ เตชะโกสิต และณมน จีรังสุวรรณ

ประสิทธิภาพการยับยั้งแบคทีเรียกอโรคทางเดินอาหารโดยแบคทีเรียกรดแลกทิกจาก ลูกแปงขาวหมาก

124

อรุณ ชาญชัยเชาววิวัฒน และ อัฐวิทย อุเทนสุต

ผลการจัดการเรียนรูแบบโมเดลซิปปาเรื่อง ทรัพยากรธรณี (หิน) ที่มีตอ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและความพึงพอใจในการเรียนวิทยาศาสตร ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา ปที่ 2

132

สุรเชษฐ หิรัญสถิตย

ผลการฝกอบรมระยะสัน้ ตอมโนมติทางวิทยาศาสตรของครูวิทยาศาสตรระดับประถมศึกษาที่สอนไมตรงวุฒิ พัดตาวัน นาใจแกว

143


รูปแบบโพรงอากาศของกระดูกสันหลังไดโนเสารซอโรพอดชนิดใหม หมวดหินเสาขัว จากแหลงไดโนเสารภูกุมขาว จังหวัดกาฬสินธุ

157

สิริภัทร กายแกว สุรเวช สุธีธร และรัฐ สอนสุภาพ

บทความวิชาการ ความสําเร็จของการจัดโปรแกรมสิ่งแวดลอมศึกษา ในรูปแบบคายเยาวชนรักษน้ํา ทองถิ่นสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา

165

สุรศักดิ์ ละลอกน้ํา สุภาภรณ ศิริโสภณา สมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ โพธิธรณ ครรชิตานุรักษ วิชิตพล มีแกว ชัยศาสตร คเชนทรสุวรรณ และ วันทนี ทาทอง

ดัชนีผูแตง

174


J. Res. Unit Sci. Technol. Environ. Learning Vol. 4 No. 2 (2013)

การสงเสริมแนวคิดวิทยาศาสตร เรื่อง อาณาจักรสัตว ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ดวยการจัดการเรียนรูตามแนวทฤษฎีความหลากหลายของการเรียนรู อรวรรณ คูหเพ็ญแสง1 สุรเดช ศรีทา1 กฤษณา โภคพันธ1 ภาธร พงศไพจิตร1 กฤษณา ชินสิญจน1 และศศิเทพ ปตพิ รเทพิน2* 1

โรงเรียนสาธิตแหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ศูนยวิจัยและพัฒนาการศึกษา จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 สาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 *E-mail: fedustp@ku.ac.th

2

รับบทความ: 30 เมษายน 2556 ยอมรับตีพิมพ: 24 กรกฎาคม 2556

บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) สงเสริมแนวคิดวิทยาศาสตรเรื่อง อาณาจักรสัตวของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปที่ 4 ดวยการจัดการเรียนรูตามทฤษฎีความหลากหลายของการเรียนรู และ 2) เพื่อศึกษาปจจัยที่มีผลตอการสงเสริมแนวคิดวิทยาศาสตรเรื่อง อาณาจักรสัตว ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปที่ 4 ดวยการจัดการเรียนรูตามทฤษฎีความหลากหลายของการเรียนรู กลุมที่ศึกษา คือ นักเรียนโรงเรียนสาธิตแหงหนึ่ง สังกัดสํานักงานการอุดมศึกษา จังหวัดกรุงเทพมหานคร จํานวน 5 กลุม แผนการเรียนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 รวมทั้งสิ้น 135 คน ในภาคปลาย ปการศึกษา 2555 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ 1) แผนการจัดการเรียนรูเรื่อง อาณาจักรสัตว ที่เนนการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามทฤษฎีความหลากหลายของการเรียนรู 2) แบบวัด แนวคิดทางวิทยาศาสตรเรื่อง อาณาจักรสัตว จํานวน 10 ขอ และ 3) อนุทินที่บันทึกสิ่งที่ไดเรียนรูจากการรวมกิจกรรม ผลการวิจัย พบวา 1) การวัดแนวคิดทางวิทยาศาสตร เรื่อง อาณาจักรสัตว ในชวงกอนเรียนไมมีนกั เรียนที่มีแนวคิดสอดคลองกับแนวคิดวิทยาศาสตรทุกแนวคิด และพบวาหลังเรียนนักเรียนมีแนวคิดที่สอดคลองกับแนวคิดทางวิทยาศาสตรเพิ่มขึ้นทุกแนวคิด 2) ปจจัยที่มีผลตอ การสงเสริมแนวคิดวิทยาศาสตรเรื่อง อาณาจักรสัตว ไดแก การนําตัวอยางสัตวหลากหลายชนิดมาใชในการจัดการเรียนรู การใช ของจริงของตัวอยาง รูปภาพ และวีดิทัศน มาประกอบการสอน การจัดกิจกรรมฐานหมุน และการใหนักเรียนวาดภาพประกอบการ อธิบาย คําสําคัญ: ทฤษฎีความหลากหลายของการเรียนรู แนวคิดวิทยาศาสตรเรื่องอาณาจักรสัตว ปจจัยที่สงผลตอการจัดการเรียนรู

99


วารสารหนวยวิจัยวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอมเพื่อการเรียนรู ปที่ 4 ฉบับที่ 2 (2556)

Enhancing of the 10th Grade Students’ Scientific Conceptions of Animal Kingdom Using Variation Theory Orawan Kuhapensang1, Suradet Sritha1, Krissana Pokpun1, Partorn Phongpaijit1, Krissana Shinnasin1 and Sasithep Pitiporntapin2* 1

Kasetsart University Laboratory School Center for Educational Research and Development, Chatuchak, Bangkok 19000, Thailand 2 Division of Science Education, Department of Education, Faculty of Education, Kasetsart University, Chatuchak, Bangkok 19000, Thailand *E-mail: fedustp@ku.ac.th

Abstract The aims of this research were to 1) enhance the scientific conceptions of animal kingdom using variation theory of the tenth grade students, and 2) to study the factors affecting the enhancement of the scientific conceptions of animal kingdom using variation theory of the tenth grade students. The participants of this study were 135 students of the science and technology program in 10th grade in the second semester of academic year 2012 of a laboratory school under Office of the Higher Education Commission in Bangkok. The research tools were as follows: 1) the animal kingdom using variation theory of lesson plans; 2) the ten-item concept test for scientific conceptions of animal kingdom using variation theory; 3) the journals. The results of this research indicated that: 1) most of students had no understanding of scientific conception of animal kingdom before studying and the students had better understanding of all scientific conceptions of animal kingdom after studying; 2) the factors affecting the enhancement of the scientific conceptions of animal kingdom; for example, various kinds of animals, real teaching materials, photos, and video were used for learning, Also, the students were provided with activities and were allowed to draw pictures with captions. Keywords: Variation theory, Scientific conceptions of animal kingdom, Factors affecting the learning management บทนํา พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และ ที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) ไดกลาวถึง การจัดการศึกษาในภาพ รวมวา การจัดการศึกษาตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความ สามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความ สําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ และเนน ใหสถานศึกษาดําเนินการจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียน (กระทรวงศึกษาธิการ, 2545) ซึ่งสอดคลองกับ ทิศนา แขมณี (2553) ที่กลาว ถึงหลักการจัดการศึกษาวา ควรคํานึงถึงความตองการทาง ธรรมชาติและประสบการณเดิมของผูเรียนเปนสําคัญ เพราะจะ 100

ชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดดี เชนเดียวกับพิมพันธ เดชะคุปต และพเยาว ยินดีสุข (2551) ที่กลาววา ผูสอนควรจัดการ เรียนรูใหสอดคลองกับความสนใจ ความสามารถ และความ หลากหลายของผูเรียนแตละคน และควรจัดกิจกรรมและมี เทคนิคการสอนที่หลากหลายใหเหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพ ผูเรียน สําหรับงานวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยเลือกศึกษาเนื้อหาเรื่อง อาณาจักรสัตว (Animal Kingdom) ซึ่งอยูในสาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับการดํารงชีวิต มาตรฐาน ว 1.2 ของสาระการเรียนรู แกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551)


J. Res. Unit Sci. Technol. Environ. Learning Vol. 4 No. 2 (2013) จากประสบการณในการจัดการเรียนรูวิชาชีววิทยา ระดับมัธยมศึกษาปที่ 4 เกี่ยวกับการเรียนการสอนเรื่องอาณาจักรสัตว ในปที่ผาน ๆ มา พบวา นักเรียนสวนใหญมีความ สับสนในการจําแนกชนิดของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว และ ไมชอบเรียนเนื้อหาดังกลาว เพราะตองจดจํามากและสัตวบาง ชนิดที่เรียน ก็ไมเคยเห็นหรือรูจักมากอน สงผลใหนักเรียน เรียนรูดวยการทองจําและทําใหเกิดแนวคิดที่คลาดเคลื่อน (misconception) นอกจากนี้มีงานวิจัยหลายเรื่องรายงานวา นักเรียนสวนใหญมีแนวคิดที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับการจัด จําแนกประเภทสิ่งมีชีวิต เชน คิดวาหมึกเปนสัตวจําพวกปลา ไสเดือนดินเปนสัตวเลื้อยคลาน เตาเปนสัตวสะเทินน้ําสะเทิน บก นกเพนกวินเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานม (ศรวณีย ลาเต, 2553) ซึ่งสอดคลองกับ Cardak (2009) ที่สํารวจแนวคิดเกี่ยวกับ นกของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร พบวา นักศึกษาจํานวน มากมีความเขาใจคลาดเคลื่อนวาคางคาวคือนกชนิดหนึ่ง และ นกเพนกวินเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานม จากขอมูลดังกลาว ผูวิจัยมีความเห็นวาแนวคิดคลาดเคลื่อนเปนปญหาที่เกิดขึ้น จริงและควรไดรับการแกไข ตามที่ ปฐมาภรณ พิมพทอง (2551 อางถึง West and Pine, 1985; Osborne and Wittrock, 1983) กลาววา การเกิดแนวคิดคลาดเคลื่อนจะเปนปญหา อุปสรรคสําคัญในการพัฒนาความเขาใจในแนวคิดทางวิทยาศาสตรที่เปนที่ยอมรับกันทางวิทยาศาสตร และเมื่อเกิดแนวคิด คลาดเคลื่อนขึ้นแลวก็ยากที่จะเปลี่ยนแปลงดวยการเรียนการ สอนโดยปกติที่ผูสอนไมไดคํานึงถึงแนวคิดเดิมของนักเรียน ที่มีมากอนเรียนในชั้นเรียน ซึ่งสอดคลองกับ Pang and Marton (2003) ที่กลาววาแนวคิดเกิดการเปลี่ยนแปลงได หากมีการ เปลี่ยนแปลงองคประกอบที่สําคัญในแนวคิดของปรากฏการณ นั้น ๆ ดังนั้นคณะผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะสงเสริมแนวคิดของ นักเรียน เรื่อง อาณาจักรสัตว ใหสอดคลองกับแนวคิดของ นักวิทยาศาสตรมากยิ่งขึ้น ในการจัดการเรียนการสอนที่เนนใหนักเรียนสราง ความเขาใจแนวคิดหลักที่ถูกตอง ในตางประเทศมีนักวิจัยทาง การศึกษาใหความสําคัญกับการจัดการเรียนรูตามทฤษฎี ความหลากหลายของการเรียนรู (variation theory) ซึ่งเปน ทฤษฎีที่มีรูปแบบในการจัดการเรียนรูที่เนนวิธีการเรียนรูที่ หลากหลายสอดคลองกับความแตกตางในการเรียนรูของผูเรียน เพื่อใหนักเรียนเขาใจแนวคิดหลัก และสามารถใชอธิบาย ปรากฏการณตาง ๆ ในสถานการณใหมดวยแนวคิดที่สอดคลอง กับแนวคิดวิทยาศาสตร โดยที่ Fraser et al. (2006), Linder,

Fraser and Pang (2006) และ Davies et al. (2008) กลาว ในแนวทางเดียวกันวา นักเรียนควรมีความเขาใจที่ถูกตองใน แนวคิดหลัก เพื่อที่จะสามารถนําความรูไปใชในสถานการณ ตาง ๆ ไดโดยผูสอนใชสถานการณเดิมแตเปลี่ยนตัวแปร หรือ ตัวอยาง ภายใตการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่หลากหลาย จะชวย สงเสริมใหนักเรียนเขาใจแนวคิดไดถูกตอง ที่ผานมายังมีงานวิจัยที่เกี่ยวกับการสงเสริมแนวคิดวิทยาศาสตรเรื่องอาณาจักร สัตว หรือการนําทฤษฎีความหลากหลายของการเรียนรูมา ใชในการจัดการเรียนรูไมมากนัก ผูวิจัยจึงสนใจที่จะสงเสริม แนวคิดวิทยาศาสตรเรื่องอาณาจักรสัตวของนักเรียนดวยการ จัดการเรียนรูตามแนวทฤษฎีความหลากหลายของการเรียนรู รวมถึงปจจัยที่เกิดขึ้นระหวางการจัดการเรียนรูตามทฤษฎี ความหลากหลายของการเรียนรูที่สงผลตอความเขาใจแนวคิดวิทยาศาสตรเรื่องอาณาจักรสัตว วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อสงเสริมแนวคิดวิทยาศาสตรเรื่อง อาณาจักร สัตวของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปที่ 4 ดวยการจัดการ เรียนรูตามทฤษฎีความหลากหลายของการเรียนรู 2. เพื่ อ ศึ ก ษาป จ จั ย ที่ มีผ ลต อ การส ง เสริ ม แนวคิ ด วิทยาศาสตรเรื่อง อาณาจักรสัตว ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปที่ 4 ดวยการจัดการเรียนรูตามทฤษฎีความหลากหลายของการเรียนรู ขอบเขตของการวิจัย ดานเนื้อหาและเวลา เนื้อหาที่ศึกษาเปนแนวคิดวิทยาศาสตรเรื่อง อาณาจักร สัตว 9 ไฟลัม ไดแก พอริเฟอรา ไนดาเรีย แพลทีเฮลมินทิส นีมาโทดา แอนเนลิดา อารโทรโพดา มอลลัสกา เอไคโนเดอรมาตา และคอรดาตา ของหนวยการเรียนรูเรื่อง ความ หลากหลายทางชีวภาพ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคปลาย ปการศึกษา 2555 ใชเวลาทั้งหมด 8 คาบ กลุมที่ศึกษา เปนนักเรียนโรงเรียนสาธิตแหงหนึ่ง สังกัดสํานักงานการอุดมศึกษา กรุงเทพฯ นวน 5 กลุมแผนการเรียนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 4 รวมทั้งสิ้น 135 คน ในภาคปลาย ปการศึกษา 2555 นิยามศัพทเฉพาะ 1. การจัดการเรียนรูตามทฤษฎีความหลากหลาย ของการเรียนรู หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรูดวยกระบวน101


วารสารหนวยวิจัยวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอมเพื่อการเรียนรู ปที่ 4 ฉบับที่ 2 (2556) การเรียนรูที่เนนนักเรียนเปนสําคัญ โดยใชเทคนิคการสอน ที่หลากหลายใหเหมาะสมกับเนื้อหา และศักยภาพของนักเรียน เพื่อใหนักเรียนมีความรูความเขาใจแนวคิดทางวิทยาศาสตร ที่ถูกตอง แลวสามารถนําความรูนั้นไปอธิบายปรากฏการณ ตาง ๆ ได แมจะมีการเปลี่ยนแปลงตัวอยาง หรือตัวแปรที่เกี่ยวของกับปรากฏการณนั้น ๆ ก็ตาม 2. พอริเฟอรา ไนดาเรีย แพลทีเฮลมินทิส นีมาโทดา แอนเนลิดา อารโทรโพดา มอลลัสกา เอไคโนเดอรมาตา และ คอรดาตา และสามารถยกตัวอยางสัตวในไฟลัมตาง ๆ ได 3. ปจจัยที่สงผลตอการจัดการเรียนรู หมายถึง สิ่งแวดลอมที่ชวยสงเสริม หรืออุปสรรคที่เกิดขึ้นแลวสงผลกระทบ ตอการจัดการเรียนรูเพื่อสรางความเขาใจแนวคิดทางวิทยาศาสตร ตามทฤษฎีความหลากหลายของการเรียนรู ซึ่งสํารวจ ไดจากการวิเคราะหเนื้อหาในอนุทินของนักเรียน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คณะผูวิจัยไดวางแผนและสรางเครื่องมือขึ้นโดย ไดพัฒนาปรับปรุงจากการตรวจสอบความถูกตองของผูเชี่ยวชาญ แลวนําไปทดลองใช แลวนํามาปรับปรุงกอนนําไปใชจริง ประกอบดวย เครื่องมือ 3 ฉบับ ไดแก 1. เครื่องมือที่ใชในการจัดการเรียนรู คือ แผนการ จัดการเรียนรูเรื่องอาณาจักรสัตว ที่เนนการจัดกิจกรรมการ เรียนรูตามทฤษฎีความหลากหลายของการเรียนรู แบงเปน 3 ขั้นตอนสําคัญ ไดแก ขั้นที่ 1 ขั้นนํา เปนขั้นที่ครูกระตุน ความสนใจของนักเรียนดวยสถานการณหรือสื่อตาง ๆ รวมถึง ตรวจสอบความรูเดิมของนักเรียน ขั้นที่ 2 ขั้นกิจกรรมเปน การเรียนรูดวยวิธีการที่หลากหลายเพื่อใหนักเรียนเขาใจแนวคิดวิทยาศาสตร ขั้นที่ 3 ขั้นสรุปและประเมินผล เปนขั้นที่ครู ใชเทคนิคการถามคําถามเพื่อสรุปความรู แผนการจัดการเรียนรู ที่พัฒนาขึ้นมีทั้งสิ้น 6 แผน ใชเวลา 8 คาบ (คาบละ 50 นาที) 2. แบบวัดแนวคิดทางวิทยาศาสตรเรื่องอาณาจักร สัตว จํานวน 10 ขอ ในแตละขอประกอบดวยคําถามแบบอัตนัย และปรนัย ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับลักษณะสําคัญของสัตว 9 ไฟลัม ไดแก พอริเฟอรา ไนดาเรีย แพลทีเฮลมินทิส นีมาโทดา แอนเนลิดา อารโทรโพดา มอลลัสกา เอไคโนเดอรมาตา และคอรดาตา 3. อนุทิน (journal) เปนการเขียนบันทึกสิ่งที่ได เรียนรูของนักเรียน หลังจากรวมกิจกรรมการเรียนรูจบในแตละ แผนการจัดการเรียนรู โดยใหนักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็น ที่มีตอกิจกรรม สรุปประเด็นสําคัญที่นักเรียนไดเรียนรู รวมทั้ง ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดกิจกรรม 102

วิธีดําเนินการวิจัย งานวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยโดยการทดลองกับกลุม ตัวอยางกลุมเดียว มีการทดสอบกอนและหลังการจัดการเรียนรู (one group pre-post test design) ผูวิจัยไดนําเสนอขอมูล ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยการวิเคราะหเนื้อหาที่มุงเนน การศึกษาขอมูลเกี่ยวกับแนวคิดวิทยาศาสตรเรื่องอาณาจักร สัตว และปจจัยที่สงผลตอความเขาใจแนวคิดวิทยาศาสตรของ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปที่ 4 ดวยการจัดการเรียนรูตาม ทฤษฎีความหลากหลายของการเรียนรู คณะวิจัยไดดําเนินการทดลองตามขั้นตอนดังนี้ 1. วัดแนวคิดกอนการจัดการเรียนรู (pre-test) โดย ใชแบบวัดแนวคิดทางวิทยาศาสตรเรื่องอาณาจักรสัตว จํานวน 10 ขอ 2. จัดการเรียนดวยแผนการจัดการเรียนรูตามทฤษฎี ความหลากหลายของการเรียนรูเรื่องอาณาจักรสัตว 3. นั กเรียนเขี ยนบั นทึ กอนุ ทินสงหลั งจากการจั ดการเรียนรูในแตละคาบ 4. วัดแนวคิดหลังการจัดการเรียนรู (post-test) โดย ใชแบบวัดแนวคิดทางวิทยาศาสตรเรื่องอาณาจักรสัตวฉบับ เดียวกับการวัดแนวคิดกอนเรียน การวิเคราะหขอมูล ในการวิเคราะหขอมูลจากแบบวัดแนวคิดเรื่องอาณาจักรสัตว ทั้งกอนและหลังการเรียนรู คณะผูวิจัยวิเคราะหขอมูล เชิงคุณภาพโดยการอาน ตีความ และจัดกลุม คําตอบของนักเรียนเปน 5 กลุม ตามแนวคิดของ Haidar (1997) ไดแก 1) กลุมแนวคิดวิทยาศาสตร หมายถึง กลุมคําตอบของนักเรียน ที่ตอบคําถามสอดคลองกับแนวคิดของนักวิทยาศาสตรทุก องคประกอบ 2) กลุมแนวคิดวิทยาศาสตรแบบไมสมบูรณ หมายถึง กลุมคําตอบของนักเรียนที่ตอบคําถามสอดคลองกับ แนวคิดวิทยาศาสตรอยางนอย 1 องคประกอบ 3) กลุมแนวคิดวิทยาศาสตรบางสวนและคลาดเคลื่อนบางสวน หมายถึง กลุมคําตอบของนักเรียนที่ตอบคําถามสอดคลองกับแนวคิด วิทยาศาสตรอยางนอย 1 องคประกอบ และมีบางแนวคิดคลาดเคลื่อนจากแนวคิดวิทยาศาสตรดวย 4) กลุมแนวคิดคลาดเคลื่อน จากแนวคิดวิทยาศาสตร หมายถึง กลุมคําตอบของนักเรียน ที่ตอบคําถามไมสอดคลองกับแนวคิดวิทยาศาสตรที่ปรากฏ ในคําถามนั้น ๆ และ 5) กลุมไมเขาใจแนวคิดวิทยาศาสตร หมายถึง กลุมคําตอบของนักเรียนที่ไมตอบคําถาม หรือเขียน คําตอบแบบทวนคําถาม ไมไดใชแนวคิดวิทยาศาสตรใด ๆ ใน


J. Res. Unit Sci. Technol. Environ. Learning Vol. 4 No. 2 (2013) การตอบคําถาม สําหรับอนุทิน คณะผูวิจัยอานและวิเคราะห เนื้อหา (content analysis) แลวจัดกลุมคําตอบของนักเรียน หลังจากจัดกลุมคําตอบของแตละแนวคิดแลว คณะ ผูวิจัยนําผลที่ไดใหผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาตรวจสอบความถูกตอง หากพบความคิดเห็นที่ไมตรงกัน ผูเชี่ยวชาญและคณะ ผูวิจัยจะรวมกันหาขอสรุป จากนั้นนําขอมูลการจัดกลุมคําตอบ มาวิเคราะหเชิงปริมาณโดยการหาคาความถี่ และรอยละ ผลการวิจัย การสงเสริมความเขาใจแนวคิดวิทยาศาสตรเรื่อง อาณาจักรสัตว และปจจัยที่สงผลตอความเขาใจแนวคิดวิทยาศาสตรดวยการจัดการเรียนรูตามทฤษฎีความหลากหลาย ของการเรียนรูของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 มีดังนี้ 1. ความเขาใจแนวคิดทางวิทยาศาสตรเรื่อง อาณาจักรสัตว 1.1 จากการวิเคราะหแบบวัดแนวคิดทางวิทยาศาสตรเรื่องอาณาจักรสัตว คณะผูวิจัยพบวา ในชวงกอนเรียน ไมมีนักเรียนที่มีแนวคิดสอดคลองกับแนวคิดวิทยาศาสตร ทุกแนวคิด และพบวาหลังเรียนนักเรียนมีแนวคิดที่สอดคลอง กับแนวคิดทางวิทยาศาสตรเพิ่มขึ้นทุกแนวคิด ซึ่งประกอบดวยแนวคิดเกี่ยวกับสัตวในไฟลัมทั้ง 9 ไฟลัมของอาณาจักร สัตว ไดแก พอริเฟอรา ไนดาเรีย แพลทีเฮลมินทิส นีมาโทดา แอนเนลิดา อารโทรโพดา มอลลัสกา เอไคโนเดอรมาตา และ คอรดาตา (ตาราง 1) โดยมีรายละเอียดของแตละแนวคิดดังนี้ แนวคิดเกี่ยวกับ สัตวในไฟลัมพอริเฟอรา พบวา ในชวงหลังเรียน มีนักเรียน 49 คน (รอยละ 36.29) ที่มีแนวคิดที่สอดคลองกับแนวคิดวิทยาศาสตร นอกจากนี้ในชวง กอนเรียน มีนักเรียน 52 คน (รอยละ 36.52) มีแนวคิดวิทยาศาสตรแบบไมสมบูรณ โดยตอบคําถามวา “สัตวในไฟลัมนี้ ไมมีเนื้อเยื่อที่แทจริง เชน ฟองน้ํา” และชวงหลังเรียนมีนักเรียน 62 คน (รอยละ 45.93) มีแนวคิดวิทยาศาสตรบางสวนและคลาดเคลื่อนบางสวน โดยตอบคําถามวา “สัตวใน ไฟลัมนี้ไมมีเนื้อเยื่อที่แทจริง มีสมมาตรรัศมี ตัวอยางเชน ฟองน้ําแกว ฟองน้ําหินปูน ฟองน้ําโปรตีน” และไมพบนักเรียน ในชวงหลังเรียนที่มีแนวคิดคลาดเคลื่อนจากแนวคิดวิทยาศาสตร แตพบนักเรียนเพียง 1 คน (รอยละ 0.74) ที่ไมเขาใจ แนวคิดวิทยาศาสตร 1.2 แนวคิดเกี่ยวกับสัตวในไฟลัมไนดาเรีย พบวา ในชวงหลังเรียน มีนักเรียน 34 คน (รอยละ 25.19) ที่มีแนว-

คิดสอดคลองกับแนวคิดวิทยาศาสตร นอกจากนี้ในชวงกอน เรียน มีนักเรียน 64 คน (รอยละ 47.41) ที่ไมเขาใจแนวคิด วิทยาศาสตร แตในชวงหลังเรียนมีนักเรียน 81 คน (รอยละ 60.00) มีแนวคิดวิทยาศาสตรบางสวนและคลาดเคลื่อนบาง สวน โดยตอบคําถามวา “สัตวในไฟลัมนี้มีเนื้อเยื่อแทจริง 2 ชั้น ไมมีชองลําตัวที่แทจริง มีสมมาตรแบบดานขาง ตัวอยาง เชน ไฮดรา แมงกะพรุน ปะการัง” และพบนักเรียน 3 คน (รอยละ 2.22) ที่ในชวงหลังเรียนมีแนวคิดคลาดเคลื่อนจาก แนวคิดวิทยาศาสตร โดยตอบคําถามวา “สัตวในไฟลัมไนดาเรีย เปนสัตวจําพวกเดียวกับกุงและปู” นอกจากนี้ยังพบนักเรียน 5 คน (รอยละ 3.71) ที่ไมเขาใจแนวคิดวิทยาศาสตร 1.3 แนวคิดเกี่ยวกับสัตวในไฟลัมแพลทีเฮลมินทิส พบวาในชวงหลังเรียน มีนักเรียน 34 คน (รอยละ 25.19) ที่ มีแนวคิดที่สอดคลองกับแนวคิดวิทยาศาสตร นอกจากนี้ในชวง กอนเรียน มีนักเรียน 83 คน (รอยละ 61.48) ที่ไมเขาใจแนวคิดวิทยาศาสตร แตในชวงหลังเรียนมีนักเรียน 76 คน (รอยละ 56.30) มีแนวคิดวิทยาศาสตรบางสวนและคลาดเคลื่อนบาง สวน โดยตอบคําถามวา “สัตวในไฟลัมนี้มีเนื้อเยื่อ 2 ชั้น มี ชองลําตัวแบบไมแท สมมาตรดานขาง รูปรางแบน ทางเดิน อาหารไมสมบูรณ เชน พลานาเรีย พยาธิใบไม” และพบนักเรียนเพียง 1 คน (รอยละ 0.74) ที่ในชวงหลังเรียนมีแนวคิด คลาดเคลื่อนจากแนวคิดวิทยาศาสตร โดยตอบคําถามวา “หนอนตัวกลม” เปนสัตวในไฟลัมนี้ นอกจากนี้ยังพบนักเรียน 3 คน (รอยละ 2.22) ที่ไมเขาใจแนวคิดวิทยาศาสตร 1.4 แนวคิดเกี่ยวกับสัตวในไฟลัมนีมาโทดา พบวา ในชวงหลังเรียน มีนักเรียน 45 คน (รอยละ 33.33) ที่มีแนวคิดที่สอดคลองกับแนวคิดวิทยาศาสตร นอกจากนี้ในชวงกอน เรียน มีนักเรียน 89 คน (รอยละ 65.93) ที่ไมเขาใจแนวคิด วิทยาศาสตร แตในชวงหลังเรียนมีนักเรียน 68 คน (รอยละ 50.37) มีแนวคิดวิทยาศาสตรบางสวนและคลาดเคลื่อนบางสวน โดยตอบคําถามวา “สัตวในไฟลัมนี้ มีเนื้อเยื่อ 2 ชั้น มีชอง ลําตัวแบบเทียม มีสมมาตรดานขาง ลําตัวกลมยาวไมมีปลอง ตัวอยางเชน หนอนในน้ําสมสายชู พยาธิเสนดาย ไสเดือน ดิน” และพบนักเรียนเพียง 1 คน (รอยละ 0.74) ที่ในชวงหลังเรียนมีแนวคิดคลาดเคลื่อนจากแนวคิดวิทยาศาสตร โดยตอบ คําถามวา “ไสเดือนดิน” เปนสัตวในไฟลัมนี้ นอกจากนี้ยัง พบนักเรียน 5 คน (รอยละ 3.71) ที่ไมเขาใจแนวคิดวิทยาศาสตร

103


วารสารหนวยวิจัยวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอมเพื่อการเรียนรู ปที่ 4 ฉบับที่ 2 (2556) ตาราง 1 ความถี่และรอยละแตละกลุมคําตอบของนักเรียนเกี่ยวกับแนวคิดวิทยาศาสตร เรื่องอาณาจักรสัตวกอนและหลังการ จัดการเรียนรูตามแนวทฤษฎีความหลากหลายของการเรียนรู

แนวคิดที่วัด

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

แนวคิดวิทยาศาสตร

กอน พอริเฟอรา 0 (0.00) ไนดาเรีย 0 (0.00) แพลทีเฮลมินทิส 0 (0.00) นีมาโทดา 0 (0.00) แอนเนลิดา 0 (0.00) อารโทรโพดา 0 (0.00) มอลลัสกา 0 (0.00) เอไคโนเดอรมาตา 0 (0.00) คอรดาตา 0 (0.00)

หลัง 49 (36.29) 34 (25.19) 46 (34.07) 45 (33.33) 49 (36.25) 60 (44.44) 64 (47.41) 42 (31.11) 25 (18.52)

ความถี่ (รอยละ) แตละกลุมคําตอบของนักเรียน แนวคิดวิทยาแนวคิดวิทยาศาสตร แนวคิดคลาดศาสตรแบบไม บางสวนและ เคลื่อนจากแนวคิด สมบูรณ คลาดเคลื่อนบางสวน วิทยาศาสตร กอน หลัง กอน หลัง กอน หลัง 52 23 41 62 4 0 (38.52) (17.04) (30.37) (45.93) (2.96) (0.00) 29 12 27 81 15 3 (21.48) (8.89) (20.00) (60.00) (11.11) (2.22) 19 9 10 76 23 1 (14.07) (6.67) (7.41) (56.30) (17.04) (0.74) 13 16 14 68 19 1 (9.63) (11.85) (10.37) (50.37) (14.07) (0.74) 16 24 10 59 14 1 (11.85) (17.78) (7.41) (43.70) (10.37) (0.74) 33 37 2 34 9 0 (24.44) (27.41) (1.48) (25.19) (6.67) (0.00) 25 35 10 33 13 1 (18.52) (25.93) (7.41) (24.44) (9.63) (0.74) 24 42 2 50 11 0 (17.78) (31.11) (1.48) (37.04) (8.15) (0.00) 57 32 28 75 0 1 (42.22) (23.70) (20.74) (55.56) (0.00) (0.74)

1.5 แนวคิดเกี่ยวกับสัตวในไฟลัมแอนเนลิดา พบวา ในชวงหลังเรียน มีนักเรียน 49 คน (รอยละ 36.25) ที่มีแนวคิดที่สอดคลองกับแนวคิดวิทยาศาสตร นอกจากนี้ในชวงกอน เรียน มีนักเรียน 95 คน (รอยละ 70.37) ที่ไมเขาใจแนวคิด วิทยาศาสตร แตในชวงหลังเรียนมีนักเรียน 59 คน (รอยละ 43.70) มีแนวคิดวิทยาศาสตรบางสวนและคลาดเคลื่อนบาง สวน โดยตอบคําถามวา “สัตวในไฟลัมนี้มีเนื้อเยื่อ 2 ชั้น มี ชองลําตัวที่แทจริง มีสมมาตรดานขาง มีขาเปนปลอง ๆ เชน ไสเดือนดิน ตะขาบ กิ้งกือ” และพบนักเรียนเพียง 1 คน (รอยละ 0.74) ที่ในชวงหลังเรียนมีแนวคิดคลาดเคลื่อนจากแนวคิด วิทยาศาสตร โดยตอบคําถามวา “พยาธิตัวตืด” เปนสัตวใน ไฟลัมนี้ นอกจากนี้ยังพบนักเรียน 2 คน (รอยละ 1.48) ที่ไม เขาใจแนวคิดวิทยาศาสตร 1.6 แนวคิดเกี่ยวกับสัตวในไฟลัมอารโทรโพดา พบวา ในชวงหลังเรียน มีนักเรียน 60 คน (รอยละ 44.44) ที่มีแนวคิดที่สอดคลองกับแนวคิดวิทยาศาสตร นอกจากนี้ในชวงกอน 104

ไมเขาใจแนวคิด วิทยาศาสตร กอน 38 (28.15) 64 (47.41) 83 (61.48) 89 (65.93) 95 (70.37) 91 (67.41) 87 (64.44) 98 (72.59) 50 (37.04)

หลัง 1 (0.74) 5 (3.71) 3 (2.22) 5 (3.71) 2 (1.48) 4 (2.96) 2 (1.48) 1 (0.74) 2 (1.48)

เรียน มีนักเรียน 91 คน (รอยละ 61.41) ที่ไมเขาใจแนวคิด วิทยาศาสตร แตในชวงหลังเรียนมีนักเรียน 37 คน (รอยละ 27.41) มีแนวคิดวิทยาศาสตรไมสมบูรณ โดยตอบคําถามวา “เปนกลุมของสัตวมีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น มีสมมาตรดานขาง มีชอง ลําตัวที่แทจริงมีรยางคหรือขาตอกันเปนขอ ๆ รางกายมีเปลือก แข็งหุมภายนอก ตัวอยางสัตว เชน แมลง แมงมุม กุง” และ ในชวงหลังเรียนไมพบนักเรียนที่มีแนวคิดคลาดเคลื่อนจาก แนวคิดวิทยาศาสตร แตพบนักเรียน 4 คน (รอยละ 2.96) ที่ไม เขาใจแนวคิดวิทยาศาสตร 1.7 แนวคิดเกี่ยวกับสัตวในไฟลัมมอลลัสกา พบวา ในชวงหลังเรียน มีนักเรียน 64 คน (รอยละ 47.41) ที่มี แนวคิดที่สอดคลองกับแนวคิดวิทยาศาสตร นอกจากนี้ในชวง กอนเรียน มีนักเรียน 87 คน (รอยละ 64.44) ที่ไมเขาใจแนวคิด วิทยาศาสตร แตในชวงหลังเรียนมีนักเรียน 35 คน (รอยละ 25.93) มีแนวคิดวิทยาศาสตรไมสมบูรณ โดยตอบคําถามวา “สัตวในไฟลัมนี้มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น มีสมมาตรดานขาง ลําตัวออน


J. Res. Unit Sci. Technol. Environ. Learning Vol. 4 No. 2 (2013) นิ่ม อวัยวะภายในรวมกลุมเปนกอน ตัวอยางสัตว เชน หมึกกลวย ลิ่นทะเล ทากทะเล” และในชวงหลังเรียนพบนักเรียน 1 คน (รอยละ 0.74) ที่มีแนวคิดคลาดเคลื่อนจากแนวคิดวิทยาศาสตรตอบคําถามวา “เปนสัตวจําพวก “แมง” มีขา 4 คู ลําตัว แบงเปน 2 สวน คือ สวนหัวและอกเชื่อมกันกับสวนทอง เชน แมงมุม แมงกะพรุน แมงดาทะเล” และพบนักเรียน 2 คน (รอยละ 1.48) ที่ไมเขาใจแนวคิดวิทยาศาสตร 1.8 แนวคิดเกี่ยวกับสัตวในไฟลัมเอไคโนเดอรมาตา พบวาในชวงหลังเรียน มีนักเรียน 42 คน (รอยละ 31.11) ที่มีแนวคิดที่สอดคลองกับแนวคิดวิทยาศาสตร นอกจากนี้ ในชวงกอนเรียน มีนักเรียน 98 คน (รอยละ 72.59) ที่ไมเขาใจ แนวคิดวิทยาศาสตร แตในชวงหลังเรียนมีนักเรียน 50 คน (รอยละ 37.04) มีแนวคิดวิทยาศาสตรบางสวนและคลาดเคลื่อนบางสวน โดยตอบคําถามวา “สัตวในไฟลัมนี้มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น มีชองลําตัวแทจริง มีสมมาตรรัศมี ผิวหนังขรุขระ และหยาบ สวนใหญผิวหนังแข็ง ตัวอยางสัตว เชน ดาวทะเล เมนทะเล อีแปะทะเล ปลิงทะเล” และในชวงหลังเรียนไมพบ นักเรียนที่มีแนวคิดคลาดเคลื่อนจากแนวคิดวิทยาศาสตร แต พบนักเรียน 1 คน (รอยละ 0.74) ที่ไมเขาใจแนวคิดวิทยาศาสตร 1.9 แนวคิดเกี่ยวกับสัตวในไฟลัมคอรดาตา พบวา ในชวงหลังเรียน มีนักเรียน 25 คน (รอยละ 18.25) ที่มีแนวคิดที่สอดคลองกับแนวคิดวิทยาศาสตร นอกจากนี้ในชวงกอน เรียน มีนักเรียน 57 คน (รอยละ 42.22) มีแนวคิดวิทยาศาสตรไมสมบูรณ โดยตอบคําถามวา “คน หมู สุนัข” เปน สัตวในไฟลัมนี้ และมีนักเรียน 50 คน (รอยละ 37.04) ที่ไม เขาใจแนวคิดวิทยาศาสตร แตในชวงหลังเรียนมีนักเรียน 75 คน (รอยละ 55.56) มีแนวคิดวิทยาศาสตรบางสวนและคลาดเคลื่อนบางสวน โดยตอบคําถามวา “สัตวในไฟลัมนี้มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น มีชองลําตัวที่แทจริง มีสมมาตรดานขาง ตัวอยาง สัตว เชน เพรียงหัวหอม แอมฟออกซัส แฮกฟช (เปนสัตวไม มีกระดูกสันหลัง) มนุษย กบ งู ทาก เปนสัตวมีกระดูกสันหลัง” และพบนักเรียนเพียง 1 คน (รอยละ 0.74) ที่ในชวงหลังเรียนมี แนวคิดคลาดเคลื่อนจากแนวคิดวิทยาศาสตร โดยตอบคําถาม วา “แฮกฟชเปนสัตวไมมีกระดูกสันหลัง” นอกจากนี้ยังพบนักเรียน 2 คน (รอยละ 1.48) ที่ไมเขาใจแนวคิดวิทยาศาสตร 2. ปจจัยที่มีตอผลการจัดการเรียนรูตามทฤษฎี ความหลากหลายของการเรียนรูเรื่องอาณาจักรสัตวของ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปที่ 4

จากการวิเคราะหขอความในอนุทินของนักเรียน (ชื่อที่ใชเปนนามสมมติทั้งหมด) พบวา นักเรียนไดแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูตามทฤษฎีความหลากหลาย ของการเรียนรูเรื่องอาณาจักรสัตวไวอยางหลากหลาย ซึ่งคณะ ผูวิจัยไดจัดกลุมคําตอบและสรุปเปนประเด็นสําคัญไดดังนี้ 2.1 นักเรียนเกือบทุกคน (รอยละ 98.33) แสดง ความเห็นวา การที่ครูนําตัวอยางสัตวที่หลากหลายมาใชประกอบการทํากิจกรรม การสรุปเนื้อหาโดยการนําสัตวหลาย ไฟลัมมาใหจัดจําแนกประเภท เปนวิธีการที่ชวยใหนักเรียน เขาใจและจดจําเนื้อหาไดอยางแมนยํา ดังคํากลาวของนาย แทนไท ที่เขียนลงในอนุทินวา “ผมชอบที่อาจารยเอาภาพ สัตวมากมายมาถามวา ตัวนี้ใชสัตวในไฟลัมนี้หรือไม หรือ บางครั้งอาจถามวาสัตวตัวนี้อยูในไฟลัมอะไร มันชวยฝกให ผมจดจําไดอยางแมนยํา” 2.2 นักเรียนสวนใหญ (รอยละ 79.33) ที่ระบุวา การมีตัวอยางจริง หรือรูปภาพประกอบคําอธิบาย รวมถึงวีดิทัศน จะชวยทําใหจดจําขอมูลไดดีมากขึ้น ดังคํากลาวของ น.ส.มานิกา ที่เขียนลงในอนุทินวา “หนูชอบวีดีโอที่มีมนุษย กบฉีดสีเรืองแสงดานนอกตัวฟองน้ํา แลวฟองน้ําก็คอยดูดสี เหลานั้นเขาไปแลวพนออกมาทางปลองดานบน มันทําให เขาใจระบบการทํางานของฟองน้ําไดเปนอยางดี” 2.3 นักเรียนสวนมาก (รอยละ 74.67) มีความ คิดเห็นวา กิจกรรมฐานหมุนเปนกิจกรรมที่สนุก ชวยใหเกิด การแลกเปลี่ยนเรียนรู ฝกการทํางานรวมกันเปนกลุม และชวย ใหเขาใจเนื้อหาไดมากขึ้น ดังคํากลาวของ น.ส.สุนีย ที่เขียน ลงในอนุทินวา “ชอบกิจกรรมฐานหมุนมากคะ หนูไดเรียนรู เนื้อหาตาง ๆ อยางรวดเร็ว รูสึกไมเสียเวลา สามารถเรียนรูคลาส ตาง ๆ ในไฟลัมอารโทรโพดาไดอยางครบถวน” 2.4 นักเรียนเกินครึ่ง (รอยละ 54.33) กลาวถึง การใหนักเรียนวาดภาพประกอบการอธิบาย การสรุปเปน แผนผังหรือตาราง ชวยใหเกิดความเขาใจในการเรียนรูไดมาก ขึ้น เชน คํากลาวของ นายเอกพล ที่เขียนลงในอนุทินวา “การ วาดภาพสัตวชนิดตาง ๆ ชวยใหเขาโครงสรางภายนอกและ ภายในไดเปนอยางดี ดีกวาใหพูดบรรยายหรือเขียนคําตอบ เปนประโยคบอกเลา” จากขอมูลอนุทินของนักเรียนสามารถสรุปไดวา การ จัดการเรียนรูตามทฤษฎีความหลากหลายของการเรียนรู เรื่อง อาณาจักรสัตว มีปจจัยที่สงเสริมใหนักเรียนมีแนวคิด ที่ถูกตอง ดังนี้ 1) การนําตัวอยางสัตวหลากหลายชนิดมาใช 105


วารสารหนวยวิจัยวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอมเพื่อการเรียนรู ปที่ 4 ฉบับที่ 2 (2556) ในการจัดการเรียนรู 2) การใชของจริง ของตัวอยาง รูปภาพ และวีดิทัศน มาประกอบการสอน 3) การจัดกิจกรรม ฐานหมุน 4) การใหนักเรียนวาดภาพประกอบการอธิบาย แตอยางไรก็ตาม ยังมีนักเรียนบางสวนที่แสดงความ คิดเห็นในเชิงการเสนอแนะใหมีการปรับปรุงกิจกรรม โดยพบวา นักเรียนหนึ่งในสี่ (รอยละ 25) เสนอใหมีการเพิ่มเวลาใน การทํากิจกรรม หรืออาจลดจํานวนใบงานใหเหมาะสมกับเวลาที่ มี นอกจากนี้ยังพบนักเรียนสวนหนึ่ง (รอยละ 24.33) เสนอ ใหเพิ่มจํานวนตัวอยางสัตวของจริงใหครบทุกชนิดที่ปรากฏ ในหนังสือเรียน เพิ่มวีดิทัศน และสื่ออิเล็กทอนิกสมากขึ้น สรุปและอภิปรายผล การจัดการเรียนรูเรื่องอาณาจักรสัตวของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ตามแนวทฤษฎีความหลากหลายของ การเรียนรู ชวยสงเสริมแนวคิดวิทยาศาสตรของนักเรียนให สูงขึ้น โดยพบวา หลังการจัดการเรียนรู นักเรียนมีแนวคิด วิทยาศาสตรเพิ่มมากขึ้นในทุกหัวขอ และมีแนวคิดคลาดเคลื่อน จากแนวคิดวิทยาศาสตร และไมเขาใจแนวคิดวิทยาศาสตร ลดลงในทุกหัวขอเชนกัน สอดคลองกับงานวิจัยของ Linder, Fraser and Pang (2006) ไดศึกษาผลของการใชทฤษฎี ความหลากหลายของการเรียนรูในชั้นเรียนของนักศึกษาวิชา ฟสิกส เรื่องกฎขอที่ 3 ของนิวตัน พบวา นักศึกษาที่เรียนรู ดวยทฤษฎีความหลากหลายของการเรียนรูสามารถสอบได ระดับคะแนนดีเยี่ยมถึงรอยละ 75 นอกจากนี้ยังพบผลการ ประเมินความสามารถในคิดแกปญหา มีนักศึกษาที่สามารถ แกปญหาไดอยางถูกตองถึงรอยละ 80 และจากงานวิจัยของ Fraser et al. (2006) ที่นําทฤษฎีความหลากหลายของการ เรียนรูไปประยุกตใชกับเรื่องการกลั่นของนักศึกษาสาขาฟสิกส พบวา นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น และมีความ รูสึกที่ดีตอกิจกรรมการเรียนรูที่ผูสอนสรางขึ้น ในสวนของปจจัยที่สงเสริมใหนักเรียนมีแนวคิดที่ ถูกตอง ไดแก การนําตัวอยางสัตวที่หลากหลายชนิดมาใช ในการจัดการเรียนรู และการใชของจริง ของตัวอยาง และ วีดิทัศนมาประกอบการสอนซึ่งสอดคลองกับทฤษฎีกรวยประสบการณที่กลาววา การจัดการเรียนรูที่ทําใหนักเรียนไดรับ ประสบการณที่เปนรูปธรรม จะทําใหเกิดการเรียนรูแตกตาง จากประสบการณที่เปนนามธรรม โดยการเรียนรูผานประสบการณตรง จะชวยใหมีความเขาใจที่คงทน และจดจําไดนาน (บุปผชาติ ทัฬหิกรณ, 2552) การใหนักเรียนวาดภาพประกอบ การอธิบาย การสรุปเปนแผนผังหรือตาราง จะชวยใหเกิด 106

ความเขาใจในการเรียนรูมากขึ้น เพราะการวาดภาพ การสราง แบบจําลองและการสรางแผนผังแนวคิดจะชวยใหนักเรียนมี ความเขาใจ ความรูในเนื้อหา ชวยใหนักเรียนมีการพัฒนา แนวคิดทางวิทยาศาสตร (กฤษณา โภคพันธ, 2554) และ การใชกิจกรรมฐานหมุนชวยใหนักเรียนเกิดการแลกเปลี่ยน เรียนรู และการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับครูหรือเพื่อนทําให ไดรับความรูที่หลากหลาย (ชื่นจิต แสนสุด, 2553) ขอเสนอแนะ การจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องอาณาจักรสัตวควรการ นําตัวอยางที่หลากหลายมาใหนักเรียนจําแนกประเภทรวมกับ การชมวีดิทัศน จะชวยใหนักเรียนเขาใจเนื้อหาไดแมนยํา นอกจากนี้ควรเพิ่มเวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามแนว ทฤษฎีความหลากหลายของการเรียนรู เนื่องจากการจัดกิจกรรมการเรียนรูในแตละครั้งนักเรียนตองใชเวลาสืบคนขอมูลและทําความเขาใจกับแนวคิดวิทยาศาสตร สวนสาเหตุที่ นักเรียนมีพฒ ั นาการแนวคิดวิทยาศาสตรที่ดีขึ้น เนื่องจาก ผูวิจัยมีวิธีการจัดการเรียนรูที่มีความหลากหลาย และมีการ ใชของจริง ของตัวอยาง ประกอบการจัดการเรียนรูจํานวน มาก จึงเปนแนวทางใหครูผูสอนชีววิทยาจัดการเรียนรูเรื่อง อาณาจักรสัตวไดดีขึ้น สําหรับขอเสนอแนะในการวิจัยครั้ง ตอไป ผูวิจัยควรศึกษาผลจากการใชทฤษฎีความหลากหลาย ของการเรียนรูในดานอื่น ๆ เชน จิตวิทยาศาสตร การคิดอยาง มีวิจารณญาณ และเจตคติตอวิทยาศาสตร เอกสารอางอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษา แหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพราว. กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู แกนกลางกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทย. กฤษณา โภคพันธ. (2554). การพัฒนาแนวคิดเรื่องดารา ศาสตรและอวกาศ และเจคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ดวยกิจกรรมการเรียนรู โดย ใชแบบจําลองเปนฐาน. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหา-


J. Res. Unit Sci. Technol. Environ. Learning Vol. 4 No. 2 (2013) บัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ชื่นจิต แสนสุด. (2553). การพัฒนาแนวคิด ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร และเจคติตอการเรียน การสอนพันธุกรรมของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ปที่ 3 ดวยวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู. วิทยานิพนธ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ทิศนา แขมณี. (2553). ศาสตรการสอน องคความรูเพื่อ การจัดกระบวนการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. บุปผชาติ ทัฬหิกรณ. (2552). การประยุกตใชเทคโนโลยี สารสนเทศในการเรี ย นการสอน. พิ ม พ ค รั้ งที่ 2. กรุ ง เทพฯ: โรงพิ ม พ ชุ ม นุ ม สหกรณ ก ารเกษตรแห ง ประเทศไทย. ปฐมาภรณ พิมพทอง. (2551). การจัดการเรียนรูเพื่อเปลี่ยน แนวคิด. วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน 31(1): 27-35. พิมพันธ เดชะคุปต และ พเยาว ยินดีสุข. (2551). ทักษะ ๕C เพื่อการพัฒนาหนวยการเรียนรูและการจัดการ เรียนการสอนอิงมาตรฐาน. พิมพครั้งที่ 6 .กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ศรวณีย ลาเต. (2553). การพัฒนาแนวคิดทางวิทยาศาสตร เรื่ อ งความหลากหลายทางชี ว ภาพของนั ก เรี ย นชั้ น มัธยมศึกษาปที่ 4 โดยการจัดการเรียนรูตามแนวทฤษฎี สรรคนิยมและการใชแหลงเรียนรูในทองถิ่น. วิทยานิพนธ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. Cardak, O. (2009). Science students’ misconceptions about birds. Scientific Research and Essay 4 (12): 1518-1522. Davies, P., Lundholm, C. and Mangan, J. (2008). The application of variation theory in undergraduate teaching: addressing some difficulties in the context of students’ understanding of saving (online). http://www.staffs.ac.uk/schools/business/ iepr/docs/workingpaper49.pdf, 3 November 2012. Fraser, D., Allison, S., Coombes, H. and Case, J. (2006). Using Variation to Enhance Learning in Engineering. International Journal Engineering Education 22(1): 102-108. Linder, C., Fraser, D., and Pang, M. F. (2006). Using a variation approach to enhance physics learning in a college classroom. The Physic Teacher 44(9): 592.

107


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.