การสอนเนื้อหาเรื่องพืชระดับประถมศึกษา

Page 1

สาระที่ 1 สิ่ งมีชีวติ กับกระบวนการดํารงชีวติ โดย ดร.ศศิเทพ ปิ ติพรเทพิน ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


ชุดการอบรมครู ท่ี 1: เซลล์ของสิ่ งมีชีวติ


ทํากิจกรรมตามใบกิจกรรมที่ 1.1 เรื่ อง “เซลล์ตามความเข้าใจของฉัน”

1

2

3

6

7

8

_______ 50µm

4

________ 50µm

5

9

ที่มา: ภาพที่ 3 http://www.biophotonicsworld.org/uplodes/107 ภาพที่ 4 http://starcentral.mbl.edu/microscope.portal?pagetitle=assetfactsheet&impagedid=9658 ภาพที่ 6 8 และ 9 เอื้อเฟื้ อภาพจาก ผศ.ดร.กันทิมาณี ประเดิมวงศ์ ภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


ทํากิจกรรมใบบันทึกกิจกรรมที่ 1.2 เรื่ อง “สิ่ งที่เรี ยกว่าเซลล์” ตอนที่ 1 ลักษณะของเซลล์ของสิ่ งมีชีวติ

1. เซลล์เยือ่ บุลาํ ไส้ของกบ

2. เซลล์กล้ามเนื้อเรี ยบของกบ

3. เซลล์เยือ่ บุลาํ ไส้ของหนู 4. เซลล์เนื้อเยือ่ เกี่ยวพันของหนู

5. เซลล์จากใบหอมแดง 6. เซลล์จากใบสะสมอาหารของหอมแดง 7. เซลล์จากใบว่านกาบหอย 8. เซลล์จากรากว่านกาบหอย

_______ 50µm

9. พารามีเซียม

_____ 50µm

10. ยูกลีนา

______ 0.1 mm

11. อะมีบา


เซลล์ของสิ่ งมีชีวติ หลายเซลล์ เช่น เซลล์พชื และเซลล์สตั ว์ จะมี ส่ วนประกอบของเซลล์เหมือนหรื อ แตกต่างกันหรื อไม่ อย่างไร


อ่ านใบความรู้ ที่ 1.1เรื่อง ส่ วนประกอบของเซลล์ พชื และเซลล์ สัตว์

ที่มา : สถาบันส่งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, กระทรวงศึกษาธิการ. 2551. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้ พืน้ ฐาน ชีวติ กับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวติ กับกระบวนการดํารงชีวติ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3. โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. กรุ งเทพมหานคร.


ทํากิจกรรมใบบันทึกกิจกรรมที่ 1.2 เรื่ อง “สิ่ งที่เรี ยกว่าเซลล์” ตอนที่ 2 ส่ วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ 1.

1.

1.

2.

2.

3.

2.

4.

3.

1. เซลล์จากใบหอมแดง 2. 1.

3.

3.

2. เซลล์จากใบสะสมอาหารของหอมแดง

1.

1.

3.

2. 2.

4. เซลล์เยือ่ บุลาํ ไส้ของกบ

3. เซลล์จากใบว่านกาบหอย

5. เซลล์กล้ามเนื้อเรี ยบของกบ

3.

6. เซลล์เนื้อเยือ่ เกี่ยวพันของหนู


ให้ ผ้รู ับการอบรมแต่ ละกลุ่มใช้ เข็มเขี่ย สิ่ งมีชีวิตในจานเพาะ เชื้อจํานวนเล็กน้ อยวางลงบน หยดนํา้ บนแผ่นกระจกสไลด์ และปิ ดทับกระจกปิ ดสไลด์ แล้วนํามาส่ องดูด้วย กล้ องจุลทรรศน์


ที่มา: เอื้อเฟื้ อภาพโดย ผศ.ดร. กันทิมาณี ประเดิมวงศ์ ภาควิชาสัตววิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


เซลล์ของสิ่ งมีชีวติ ทุก ชนิดมีนิวเคลียส หรือไม่ อย่ างไร


เยื่อหุม้ เซลล์ ไซโทพลาสซึ ม ผนังเซลล์ สารพันธุกรรม ไรโบโซม

ที่มา: http://www.ou.edu/class/pheidole/bacteria.html


แก้ไขคําตอบตามใบกิจกรรมที่ 1.1 เรื่ อง “เซลล์ตามความเข้าใจของฉัน” บนกระดาษ ปรู๊ ฟอีกครั้งด้วยปากกาคนละสี กบั ที่ใช้เขียนในตอนแรก

1

2

3

6

7

8

_______ 50µm

4

9

________ 50µm

5


ชุดการอบรมครู ท่ี 2: ลักษณะและหน้าที่ของโครงสร้างภายนอกของพืช


- มะเขือพวงและข้ าวโพดเมือ่ เจริญเติบโตเต็มทีส่ ามารถพบ โครงสร้ างภายนอกอะไรบ้ าง - ลักษณะของโครงสร้ างภายนอกแต่ ละโครงสร้ างของมะเขือพวง และข้ าวโพดมีลกั ษณะเหมือนหรือแตกต่ างกัน หรือไม่ อย่ างไร - โครงสร้ างภายนอกแต่ ละโครงสร้ างของมะเขือพวงหรือของ ข้ าวโพดทําหน้ าทีเ่ หมือน หรือแตกต่ างกันหรือไม่ อย่างไร


ทํากิจกรรมตามใบกิจกรรมที่ 2.1 เรื่ อง “ลักษณะโครงสร้างภายนอกของพืช”

1.สถานีเฟิ นใบมะขาม

2. สถานีผกั แว่น

3. สถานีขา้ วโพด

4. สถานีมะเขือพวง

5. สถานีถว่ั เขียว

6. สถานีตอ้ ยติ่ง

7. สถานีพุทธรักษา

8. สถานีกหุ ลาบ


อับสปอร์ สปอโรไฟต์ ก้านชูอบั สปอร์ ฐานของสปอโรไฟต์ แกมีโทไฟต์

ที่มา: http://www.biosci.ohiostate.edu/pcmb/osu_pcmb/pcmb_lab_resources/ pcmb102_activities/algae_mosses/algae_mosses_mossstructure.htm


มีรากแก้ว

ราก ลําต้น และใบของตําลึง

มีการเรี ยงตัวของ เส้นใบแบบร่ างแห

สามารถสังเกตเห็น ข้อปล้องได้ชดั เจน


ใบแท้ เยื้อหุ ม้ ยอด แรกเกิด

ใบเลี้ยง

ต้ นอ่ อนตําลึง

ต้ นอ่ อนข้ าวโพด

เปลือกหุม้ เมล็ดและผล เอนโดสเปิ ร์ม ใบเลี้ยง ยอดแรกเกิด แรดิเคิล

ที่มา: สถาบันส่งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, กระทรวงศึกษาธิการ. 2547. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พนื้ ฐานและเพิม่ เติม ชีววิทยาเล่ ม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5. โรงพิมพ์ครุ ุ สภาลาดพร้าว. กรุ งเทพมหานคร.


พืชใบเลี้ยงคู่จะมีส่วนประกอบของดอก (เช่น กลีบเลี้ยง กลีบดอก) มีจาํ นวนเป็ น 4 – 5 หรื อ ทวีคูณของ 4 – 5

ดอกตําลึง 

ดอกต้อยติ่ง

ดอกมะเขือพวง

พืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมีส่วนประกอบของดอกเช่น กลีบเลี้ยง กลีบดอก มีจาํ นวน 3 หรื อ ทวีคณ ู ของ 3

ดอกพุทธรักษา

ดอกกล้วยไม้


ทํากิจกรรมในใบกิจกรรมที่ 2.2 เรื่ อง “หน้าที่ของโครงสร้างภายนอกของพืช” โดยมีสถานีในการศึกษาดังนี้

1. กล้วยไม้

7. เศรษฐีเงินหมื่น

2. ข้าวโพด

8. แครอท

3. ตําลึง

9. เผือก

4. กระบองเพชร

5. พุทธรักษา

10. หม้อข้าวหม้อแกงลิง 11. มันฝรั่ง

12. กุหลาบ

6. ว่านหางจระเข้

13. ผักกาดหัว


ทํากิจกรรมตามใบกิจกรรมที่ 2.3 เรื่ อง “แผนผังความคิดเกี่ยวกับลักษณะและหน้าที่ ของโครงสร้างภายนอกของพืช” โดยใช้คาํ ต่อไปนี้ในการสร้างแผนผังความคิด

ราก ลําต้ น เส้ นใบ ดอก ผล พืชมีดอก พืชไม่ มดี อก พืชใบเลีย้ ง เดีย่ ว พืชใบเลีย้ งคู่ หน้ าทีห่ ลัก และหน้ าทีพ่ เิ ศษ


1. ให้ผรู ้ ับการอบรมแต่ละกลุ่มนําต้นถัว่ เขียวและต้นข้าวโพดอย่างละ1 ต้นและแช่ลงใน นํ้าสี ประมาณ 30 นาที ก่อนทํากิจกรรม เพื่อสังเกตทิศทางการลําเลียงนํ้าและธาตุ อาหารของพืช 2. ให้ผรู ้ ับการอบรมนําถุงพลาสติกครอบว่านกาบหอย 1 ต้น ในกระถางจนถึงโคนลําต้น แล้วใช้เชือกฟางผูกให้แน่น และสังเกตถุงพลาสติกครอบว่านกาบหอยก่อนนําไป ตากแดดในช่วงพัก


ชุดการอบรมครู ท่ี 3: การลําเลียงของพืช



ทํากิจกรรมตามใบกิจกรรมที่ 3.1 เรื่ อง “สิ่ งที่รู้แล้ว-ต้องการรู ้-เรี ยนรู ้” สิ่งที่ร้ ูแล้ ว

สิ่งที่ต้องการรู้

สิ่งที่เรียนรู้

-


โครงสร้างที่ใช้ในการลําเลียงของพืชแต่ละชนิดมีลกั ษณะเหมือน หรื อแตกต่างกันหรื อไม่ อย่างไร

โครงสร้างที่ใช้ในการลําเลียงของพืชสามารถลําเลียงอะไรได้บา้ ง

การลําเลียงในโครงสร้างที่ใช้ในการลําเลียงของพืชมีทิศทางอย่างไร

ลองคาดคะเน คําตอบ กันดีกว่ า


ทํากิจกรรมตามใบกิจกรรมที่ 3.2 เรื่ อง “พืชลําเลียงนํ้าและธาตุอาหารได้อย่างไร”

ถัว่ เขียวและ ข้ าวโพดลําเลียงนํา้ และธาตุอาหารได้ อย่ างไร



เอพิเดอร์มิส

เอพิเดอร์มิส เนื้อเยือ่ ลําเลียงอาหาร วาสคิวลาร์แคมเบียม

เนื้ อเยือ่ ลําเลียงอาหาร

เนื้อเยือ่ ลําเลียงนํ้า

เนื้ อเยือ่ ลําเลียงนํ้า (ก)

(ข)

ภาพการเรียงตัวของมัดท่ อลําเลียงของพืชใบเลีย้ งเดีย่ ว (ก) และพืชใบเลีย้ งคู่ (ข) ที่มา: สถาบันส่งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, กระทรวงศึกษาธิการ. 2547. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พนื้ ฐานและเพิม่ เติม ชีววิทยาเล่ ม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5. โรงพิมพ์ครุ ุ สภาลาดพร้าว. กรุ งเทพมหานคร.



• ผักกาดหัวและเผือกสร้าง อาหารและเก็บสะสม อาหารที่ใด • ผักกาดหัวและเผือกสามารถ สร้างอาหารและลําเลียงไป ที่ยอดอ่อนที่ยงั สร้างอาหาร ได้นอ้ ยได้ หรื อไม่อย่างไร • พืชมีทิศทางลําเลียงอาหาร อย่างไร

ผักกาดหัว เผือก


ทํากิจกรรมตามใบกิจกรรมที่ 3.3 เรื่ อง “การคายนํ้าของพืช”


สังเกตเห็น การ เปลี่ยนแปลง ในถุงพลาสติก ไหมครับ

เริ่มทํากิจกรรม

หลังกิจกรรม


ปากใบของว่ านกาบหอย

ในวันที่อากาศชื้น พืชมีการคายนํา้ ในรูปหยดนํา้ โดยเทรคีต* ที่มา: เอื้อเฟื้ อภาพโดย ผศ.ดร. กันทิมาณี ประเดิมวงศ์ ภาควิชาสัตววิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


วันนี้ผรู ้ ับการอบรมเรี ยนรู ้อะไรบ้างเกี่ยวกับการลําเลียงของพืช ?

ให้ผรู ้ ับการอบรมแต่ละคนบันทึกคําตอบลงในช่องสิ่ งที่ได้เรี ยนรู ้ของ ใบบันทึกกิจกรรมที่ 3.1 สิ่งที่ร้ ูแล้ ว

สิ่งที่ต้องการรู้

สิ่งที่เรียนรู้

-

-


ชุดการอบรมครู ท่ี 4: การสังเคราะห์ดว้ ยแสง


ใบทําหน้าที่อะไร

มีปัจจัยอะไรบ้างที่จาํ เป็ นต่อ การสร้างอาหารของพืช


ทํากิจกรรมตามใบกิจกรรมที่ 4.1 เรื่ อง “มหัศจรรย์ใบหลากสี ”


ที่มา: http://www.mwt.net/~bionorse/paper_chromatography_lab.htm

ที่มา:http://moderndayozzieandharriet.blogspot.com/2009/09/garden-tuesday-hintof-sun.html

นอกจากคลอโรฟิ ลล์แล้ว มีปัจจัยอื่นๆอีกหรื อไม่ที่จาํ เป็ นต่อการสังเคราะห์ดว้ ยแสง

การสังเคราะห์ดว้ ยแสงมีประโยชน์ต่อสิ่ งมีชีวิตและสิ่ งแวดล้อมหรื อไม่ อย่างไร


ทํากิจกรรมตามใบกิจกรรมที่ 4.2 เรื่ อง “นักวิทยาศาสตร์ผคู ้ น้ พบการสังเคราะห์ดว้ ย แสง”

ทีม่ าภาพ: http://www.todayinsci.com/H Helmont_ Jan /HelmontJan-Quotations.htm

ทีม่ าภาพ: http://www.chemistrydaily.com/chemistry/ Joseph_Priestley



ทําโปสเตอร์เผยแพร่ ความรู ้ให้ประชาชนเกี่ยวกับความสําคัญของการสังเคราะห์ดว้ ย แสงของพืช ลงในกระดาษปรู๊ ฟที่วิทยากรแจกให้


ชุดการอบรมครู ท่ี 5: ส่ วนประกอบของดอก


ทํากิจกรรมตามใบกิจกรรมที่ 5.1 เรื่ อง “รู ้อะไรบ้างเกี่ยวกับดอก”


ทํากิจกรรมตามใบกิจกรรมที่ 5.2 เรื่ อง “ส่ วนประกอบของดอก” โดยมีดอกที่ใช้ใน การทํากิจกรรมดังนี้

ดอกมะเขือพวง

ดอกบัวหลวง

ดอกตําลึง

ดอกกล้วยไม้

ดอกเฟื่ องฟ้ า

ดอกบานเย็น

ดอกพุทธรักษา

ดอกกุหลาบ


ดอกทานตะวันและดอกหน้าวัวมีส่วนประกอบอะไรบ้าง ?

ดอกทานตะวัน

ดอกหน้ าวัว


ยอดเกสรเพศเมีย เกสรเพศผูเ้ ชื่อมต่อกัน

กลีบดอก

กลีบดอก รังไข่ (ข)

(ก)

ภาพ ดอกวงนอก (ก) และดอกวงใน (ข) ที่มา: สถาบันส่งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, กระทรวงศึกษาธิการ. 2547. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พนื้ ฐานและเพิม่ เติม ชีววิทยาเล่ ม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5. โรงพิมพ์ครุ ุ สภาลาดพร้าว. กรุ งเทพมหานคร.


ให้ผรู้ ับการอบรมช่วยกันระบุ ส่ วนประกอบของดอกชบา หน้าที่ขอส่ วนประกอบ แต่ละส่ วน รวมทั้งประเภท ของดอกชบาโดยใช้เกณฑ์จาก ส่ วนประกอบต่างๆ ของดอก


ผูร้ ับการอบรมแต่ละคนตอบคําถามในใบบันทึกการเรี ยนรู ้ของฉัน


ชุดการอบรมครู ท่ี 6: การสื บพันธุ์แบบอาศัยเพศและวัฏจักรของพืชมีดอก


ดอก กําลังเป็ นผล และผล

ดอกมะเขือพวง สามารถพัฒนาไปเป็ น ผลได้อย่างไร

ให้ผรู ้ ับการอบรมแต่ละกลุ่มวาดภาพเพื่ออธิบายกระบวนการที่ทาํ ให้ ดอกมะเขือพวงพัฒนาไปเป็ นผลมะเขือพวงตามความเข้าใจบนกระดาษปรู๊ ฟ


ทํากิจกรรมตามใบกิจกรรมที่ 6.1 เรื่ อง “แอบดูการสื บพันธุแ์ บบอาศัยเพศของ พืชมีดอก”


ให้ผรู ้ ับการอบรมแต่ละคนอ่านใบความรู ้ที่ 6.1 เรื่ อง “สิ่ งที่เรี ยกว่าผล”

ทําไมผลประเภทเดียวกันถึง มีจาํ นวนเมล็ด ไม่เท่ากัน ผลมะเขือเปราะ

ผลส้ม


เปรี ยบเทียบความแตกต่างระหว่างสิ่ งที่วาดไว้ในกระดาษปรู๊ ฟก่อนทํากิจกรรมกับ ความรู ้ที่ได้จากการทํากิจกรรม

ที่มา:http://www.britannica.com/EBchecked/media/53831/Reproduction-inflowering-plants-begins-with-pollination-the-transfer-of


หากนําเมล็ดมะเขือพวงปลูกลงดินจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร

วาดภาพการ เปลี่ยนแปลงของ เมล็ดมะเขือพวง หลังจากปลูกลงดิน ลงบนกระดาษปรู๊ ฟ ที่วทิ ยากรแจกให้


ทํากิจกรรมตามใบกิจกรรม 6.2 เรื่ อง “วัฏจักรชีวิตของมะเขือพวง”


พืชดอกแต่ละชนิดมีระยะเวลาในวัฏจักรชีวติ เหมือนหรื อแตกต่างกันหรื อไม่ อย่างไร

45-60 วัน เริ่ มมีดอก

4-6 วัน เมล็ดเริ่ มงอก

45 วัน เริ่ มมีผล

วัฏจักรชีวติ ของข้ าวโพด ที่มา: สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 3. มปป. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://kanchanapisek.ac.th


เปรี ยบเทียบความแตกต่างระหว่างสิ่ งที่วาดไว้ในตอนแรกการเปลี่ยนแปลงของเมล็ด มะเขือพวงหลังจากปลูกลงดินและสิ่ งที่เกิดขึ้นจริ ง

วัฏจักรชีวติ ของมะเขือพวง


ชุดการอบรมครู ท่ี 7: การสื บพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศและการขยายพันธุ์พืช


โดยให้ผรู ้ ับการอบรมแต่ละกลุ่มหมุนเวียนกันออกมาเขียนวิธีการเพิ่มจํานวนพืชที่รู้จกั บนกระดาษปรู๊ ฟที่วิทยากรเตรี ยมไว้ให้

วิธีที่ผรู้ ับการอบรม ตอบมาวิธีใดเป็ นการ สื บพันธุ์แบบไม่อาศัย เพศและวิธีใดเป็ น การขยายพันธุ์พืช


ให้ผรู ้ ับการอบรมสังเกต และระบุชื่อวิธีการเพิ่มจํานวนพืช พร้อมทั้งขั้นตอนการเพิ่ม จํานวนพืชจากภาพที่นาํ เสนอลงในกระดาษปรู๊ ฟที่วิทยากรแจกให้ภาพละ 2 นาที

ภาพที่ 1


ภาพที่ 2


ภาพที่ 3


ภาพที่ 4


ภาพที่ 5


ภาพที่ 6


เฉลยวิธีและขั้นตอนการเพิม่ จํานวนพืช ภาพที่ 1 การปักชํา

1. เตรี ยมดิน

2. เตรี ยมโครงสร้างต่างๆของพืช เช่น กิ่ง ใบ และราก

3. ปักโครงสร้างต่างๆของพืชลง ดินลักษณะเฉียงและรดนํ้าให้ชุ่ม


ภาพที่ 2 การตอนกิง่

1. ควัน่ กิ่ง

2. กรี ดเปลือกและขูดเนื้ อไม้

3. หุ ม้ ด้วยกาบมะพร้าวและ พลาสติก เมื่อรากงอก ตัดกิ่งใต้ราก ที่งอกแล้วนําไปปลูก


ภาพที่ 3 การติดตา

1.กรี ดกิ่งต้นตอเป็ นรู ปตัว T แล้วใช้ปลายมีดแกะรู ป ตัว T ให้เปิ ดออก

2. เฉือนแผ่นตาจากกิ่งพันธุ์ และกิ่งเนื้ อไม้ออกจากแผ่นตา

3. สอดแผ่นตาเข้ากับ ต้นตอตรงตัว T แล้วตัด แผ่นตาส่ วนเกินออก

4. พันพลาสติกไว้ 7 วัน เปิ ดตาดูแล้วพันใหม่


ภาพที่ 4 การทาบกิง่

1. เฉื อนพันธุ์ดีและต้นตอ จากนั้นทาบต้นตอกับกิ่งพันธุ์ ตรงรอยเฉื อน

2. พันพลาสติกทิ้งไว้ ประมาณ 30-40 วัน

3. ตัดโคนกิ่งพันธุ์ดีออก ทิ้งไว้ ประมาณ 30- 40 วัน ให้ตดั ยอดต้น ตอออก และรดนํ้าให้ชุ่มอยูเ่ สมอ


ภาพที่ 5 การเสี ยบยอด

1.ผ่าต้นตอให้เป็ นแผล

2. เฉือนโคนกิ่งพันธุด์ ี ให้แหลม

3. สอดโคนกิ่งพันธุ์ดีกบั ต้นตอ

4. พันด้วยพลาสติก


ภาพที่ 6 การเพาะเลีย้ งเนือ้ เยือ่

1. ตัดแบ่งชิ้นส่ วนของพืช เพื่อนําไปฟอกฆ่าเชื้อ

2. ย้ายเนื้ อเยือ่ ลงในอาหารวุน้

3. เพิ่มอาหารชักนํา ให้เกิดราก 4. เพิ่มอาหารชักนํา ให้เกิดต้น เมื่อต้น แข็งแรงย้ายไปปลูก ลงดิน

ที่มา: สถาบันส่งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, กระทรวงศึกษาธิการ. 2547. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พนื้ ฐานและเพิม่ เติม ชีววิทยาเล่ ม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5. โรงพิมพ์ครุ ุ สภาลาดพร้าว. กรุ งเทพมหานคร.


ทํากิจกรรมตามใบกิจกรรมที่ 7.1 เรื่ อง “การสื บพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศและการ ขยายพันธุ์ของพืช” โดยมีพืชที่ใช้ในการทํากิจกรรมและวางตามจุดต่างๆดังนี้

1.เฟิ นใบมะขาม

2. แครอท

3. กุหลาบ

6.พุทธรักษา

7. กล้วยไม้

8. กระบองเพชร

4. ถัว่ เขียว

9.ว่านหางจระเข้

5. ตําลึง

10.เศรษฐีเงินหมื่น


พืชที่ได้จากการสื บพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศจะอ่อนแอกว่าพืชที่ได้จากการสื บพันธุ์แบบ อาศัยเพศ หรื อไม่ อย่างไร

ผูร้ ับการอบรมแต่ละคนเขียนสรุ ปสิ่ งที่ได้เรี ยนรู ้เกี่ยวกับการสื บพันธุแ์ บบไม่อาศัยเพศ และการขยายพันธุ์พืชในใบบันทึกการเรี ยนรู ้ของฉัน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.