การสร้างภาพเคลื่อนไหว

Page 1

การสร้ างภาพเคลือ่ นไหว แบบการเคลือ่ นที่หยุดด้ วยดินนา้ มัน แนวทางในการส่ งเสริมความเข้ าใจแนวคิดวิทยาศาสตร์

โดย ดร.ศศิเทพ ปิ ติพรเทพิน สาขาวิทยาศาสตร์ ศึกษา ภาควิชาการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

1


ภาพเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่หยุด คืออะไร 

การสร้างชิ้นงานโดยใช้กล้องบันทึกภาพหุ่นจาลองที่สร้างขึ้นจาก วัสดุต่าง ๆ ได้แก่ ดินน้ ามัน ทุกขณะที่ขยับหรื อเปลี่ยนตาแหน่ง โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่วยในการสร้างภาพเคลื่อนไหว

2


กระบวนการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่หยุด 1. วัสดุและอุปกรณ์ ทใี่ ช้ มดี งั ต่ อไปนี้  

กระดาษ ดินสอ ยางลบ และเครื่ องเขียนต่าง ๆ กล้องดิจิทลั ขาตั้ง (tripod) โคมไฟ และ อุปกรณ์เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ (ถ้าเป็ นโน๊ตบุค๊ จะสะดวกใน การใช้งาน) และโปรแกรมทาภาพยนต์ เช่น Windows Movie Maker เป็ นต้น ดินน้ ามันและวัสดุอื่น ๆ ตามความคิด สร้างสรรค์ของนักเรี ยน 3


กระบวนการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่หยุด (ต่อ) 2. เทคนิคสาคัญในการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบการเคลื่อนที่หยุด มีดงั นี้ 2.1 ศึกษาเนือ้ หาและรายละเอียดเกีย่ วกับเรื่องทีจ่ ะทา

4


กระบวนการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่หยุด (ต่อ) 2.2 เขียนโครงร่ างเรื่ องราว (story board)

5


กระบวนการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่หยุด (ต่อ) 2.3 สร้างหุ่นจาลอง

6


กระบวนการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่หยุด (ต่อ) 2.4 ถ่ายภาพด้วยกล้องดิจิทลั

7


กระบวนการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่หยุด (ต่อ) 2.5 สร้างภาพเคลื่อนไหว

8


ลักษณะสาคัญของการเรี ยนรู ้ดว้ ยการสร้าง ภาพเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่หยุด 1. ถ่ายทอดจินตนาการจากสิ่ งที่ยากเป็ นสิ่ งที่ง่ายต่อการรับรู ้

9


ลักษณะสาคัญของการเรี ยนรู ้ดว้ ยการสร้าง ภาพเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่หยุด (ต่อ) 2. นักรี ยนเป็ นผูล้ งมือปฏิบตั ิ

10


ลักษณะสาคัญของการเรี ยนรู ้ดว้ ยการสร้าง ภาพเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่หยุด (ต่อ) 3. ส่ งเสริ มปฏิสัมพันธ์ของนักเรี ยนและนักเรี ยน และนักเรี ยนกับ ครู ผสู้ อน

11


ลักษณะสาคัญของการเรี ยนรู ้ดว้ ยการสร้าง ภาพเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่หยุด (ต่อ) 4. ส่ งเสริ มการตัดสิ นใจและการแก้ไขปั ญหาของนักเรี ยน

12


ลักษณะสาคัญของการเรี ยนรู ้ดว้ ยการสร้าง ภาพเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่หยุด (ต่อ) 5. เน้นกระบวนการสื บเสาะหาความรู้

13


ลักษณะสาคัญของการเรี ยนรู ้ดว้ ยการสร้าง ภาพเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่หยุด (ต่อ) 6. การเรี ยนรู ้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องไปถึงนอกเวลาเรี ยน

14


ลักษณะสาคัญของการเรี ยนรู ้ดว้ ยการสร้าง ภาพเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่หยุด (ต่อ) 7. ส่ งเสริ มทักษะต่าง ๆ เช่น ทักษะการสื่ อสาร ทักษะการทางานกลุ่ม

15


ลักษณะสาคัญของการเรี ยนรู ้ดว้ ยการสร้าง ภาพเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่หยุด (ต่อ) 8. ส่ งเสริ มเจตคติที่ดีต่อการเรี ยนรู ้วทิ ยาศาสตร์

16


ตัวอย่างผลงานของนักเรี ยนที่เรี ยนรู ้ดว้ ยการสร้างภาพเคลื่อนไหว แบบเคลื่อนที่หยุด เรื่ อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิ ส

17


ตัวอย่างผลงานของนักเรี ยนที่เรี ยนรู ้ดว้ ยการสร้างภาพเคลื่อนไหว แบบเคลื่อนที่หยุด เรื่ อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิ ส

18


ตัวอย่ างงานวิจัย ผลการจัดการเรี ยนรู้ วชิ าชี ววิทยา เรื่อง การแบ่ งเซลล์ โดย การสร้ างภาพเคลือ่ นไหวแบบการเคลือ่ นที่หยุดด้ วยดินน้ามัน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 The Outcomes of Biology Learning Management in the Topic of Cell Division with Creating Clay Animation-Stop Motion by 10th Grade Students

ศศิเทพ ปิ ติพรเทพิน1 และสุ รเดช ศรีทา2 Sasithep Pitiporntapin1 and Suradet Sritha2 19


ความเป็ นมาของปัญหา

20


วัตถุประสงค์ ของการวิจัย 

เพื่อศึกษาผลการจัดการเรี ยนรู้ดว้ ยการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ การเคลื่อนที่หยุด ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 เรื่ อง การแบ่ง เซลล์ ในวิชาชีววิทยา 1

21


นิยามศัพท์ เฉพาะ 

การสร้ างภาพเคลือ่ นไหวแบบการเคลือ่ นที่หยุด หมายถึง การสร้าง ชิ้นงานโดยใช้กล้องบันทึกภาพหุ่นจาลองที่สร้างขึ้นจากวัสดุต่าง ๆ ได้แก่ ดินน้ ามัน ทุกขณะที่ขยับหรื อเปลี่ยนตาแหน่ง โดยใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์ช่วยในการสร้างภาพเคลื่อนไหว

ผลของการจัดการเรียนรู้ ด้วยการสร้ างภาพเคลือ่ นไหวแบบการ เคลือ่ นที่หยุด หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรี ยนจากการจัดกิจกรรมการ เรี ยนรู ้ดว้ ยการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบการเคลื่อนที่หยุดในด้านต่าง ๆ ได้แก่ ด้านความเข้าใจแนวคิดวิทยาศาสตร์ ด้านทักษะการนาเสนอ ผลงานหน้าชั้นเรี ยนและการทางานกลุ่ม และด้านเจตคติที่ดีต่อการ เรี ยนรู ้วิทยาศาสตร์ 22


วิธีดาเนินการวิจัย รู ปแบบการวิจัย  การวิจยั ครั้งนี้เป็ นการวิจยั เชิงทดลองที่ดาเนิ นการกับนักเรี ยน 1 ห้องเรี ยน โดยใช้วธิ ี การเก็บข้อมูลทั้งเชิงปริ มาณและเชิงคุณภาพ ภายใต้การตีความหมายของคณะผูว้ จิ ยั ที่รับผิดชอบการสอนวิชา ชีววิทยา 1 ของโรงเรี ยนสาธิ ตสังกัดสานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษาแห่งหนึ่งในกรุ งเทพมหานคร ในภาคต้น ปี การศึกษา 2554

23


กลุ่มที่ศึกษา 

กลุ่มที่ศึกษาในครั้งนี้เป็ นนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 แผนการ เรี ยนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ของโรงเรี ยนสาธิ ตสังกัด สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาแห่งหนึ่งใน กรุ งเทพมหานคร จานวน 1 ห้องเรี ยน มีนกั เรี ยนจานวน 32 คน โดยเป็ นนักเรี ยนชาย 18 คน นักเรี ยนหญิง 14 คน

24


เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจยั 

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การแบ่ งเซลล์ -ประกอบด้วยหัวข้อ การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิ ส (mitosis) จานวน 4 คาบ และหัวข้อการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิ ส (meiosis) จานวน 4 คาบ -ใช้เวลาเรี ยนจานวน 3 คาบต่อสัปดาห์ รวมทั้งสิ้ นจานวน 8 คาบ (คาบละ 50 นาที)

25


เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย (ต่ อ) 

รู ปแบบการทากิจกรรมเน้นการสร้างความรู ้ดว้ ยตนเอง ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรี ยน ขั้นวางแผนและสารวจ

ขั้นปฏิบัติและสะท้อนความคิด

ขั้นนาความรู้ ไปใช้ จริง

26


เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจยั (ต่ อ) แบบทดสอบก่ อนและหลังการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การแบ่ งเซลล์  บันทึกการเรียนรู้ (journal)  แบบประเมินการนาเสนอผลงาน  แบบประเมินการทางานกลุ่ม 

* เครื่ องมือทั้งหมดได้ รับการตรวจสอบความตรงตามเนือ้ หาและ ภาษาที่ใช้ โดยผู้เชี่ ยวชาญ และลองใช้ ก่อนเก็บข้ อมูลจริ ง 27


การเก็บรวบรวมข้ อมูล 

นักเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนการจัดการเรี ยนรู ้ เรื่ อง การแบ่ง เซลล์ จานวน 7 ข้อ ใช้เวลาทั้งสิ้ น 30 นาที และนาผลการสอบมา ใช้ในการแบ่งกลุ่มนักเรี ยน กลุ่มละ 5-6 คน โดยคละเพศและ ความสามารถ

28


การเก็บรวบรวมข้ อมูล (ต่ อ) 

จัดการเรี ยนรู ้ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่พฒั นาขึ้นในแต่ละคาบ เรี ยน

29


การเก็บรวบรวมข้ อมูล (ต่ อ) 

นักเรี ยนแต่ละคนเขียนบันทึกการเรี ยนรู ้และนามาส่ งในคาบเรี ยน ถัดไป หากข้อมูลที่ได้รับยังไม่ชดั เจน คณะผูว้ จิ ยั จะสัมภาษณ์ นักเรี ยนอย่างไม่เป็ นทางการเพิ่มเติม

ในแต่ละสัปดาห์ นักเรี ยนแต่ละกลุ่มประเมินการทางานกลุ่ม และ ประเมินการนาเสนอผลงานของนักเรี ยนแต่ละกลุ่ม จานวนทั้งสิ้ น 3 ครั้ง เมื่อนักเรี ยนประเมินการทางานกลุ่มในแต่ละสัปดาห์เสร็ จ

30


การเก็บรวบรวมข้ อมูล (ต่ อ) 

ประเมินผลงานของนักเรี ยนจากกรอบแสดงเรื่ องราวที่สมบูรณ์ และจากภาพเคลื่อนไหวแบบการเคลื่อนที่หยุด ทั้งเรื่ องการแบ่ง เซลล์แบบไมโทซิ ส และแบบไมโอซิ ส ที่นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มส่ ง ให้

31


การเก็บรวบรวมข้ อมูล (ต่ อ) 

เมื่อจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ครบทุกหัวข้อ นักเรี ยนทาแบบทดสอบ หลังการจัดการเรี ยนรู ้ เรื่ อง การแบ่งเซลล์ ซึ่ งเป็ นข้อสอบชุ ด เดียวกับข้อสอบก่อนเรี ยนอีกครั้ง โดยใช้เวลา 1 คาบเรี ยน

32


การวิเคราะห์ ข้อมูล  

วิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) Haidar (1997) ซึ่ งแบ่ง เป็ น 5 ระดับ ดังนี้ 1) กลุ่มแนวคิดวิทยาศาสตร์ (sound understanding) หมายถึง นักเรี ยนมีแนวคิด สอดคล้องกับแนวคิดของนักวิทยาศาสตร์ ทุกองค์ประกอบ 2) กลุ่มแนวคิดวิทยาศาสตร์ แบบไม่ สมบูรณ์ (partially understanding) หมายถึง นักเรี ยนมีแนวคิดสอดคล้องกับแนวคิดของนักวิทยาศาสตร์ อย่างน้อย 1 องค์ประกอบ 3) กลุ่มแนวคิดวิทยาศาสตร์ บางส่ วนและคลาดเคลื่อนบางส่ วน (partially understanding with specific misconception) หมายถึง นักเรี ยนมีแนวคิดสอดคล้อง กับแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ อย่างน้อย 1 องค์ประกอบ และมีบางแนวคิดคลาดเคลื่อน จากแนวคิดวิทยาศาสตร์ดว้ ย 4) กลุ่มแนวคิดคลาดเคลื่อนจากแนวคิดวิทยาศาสตร์ (specific misconception) หมายถึง นักเรี ยนมีแนวคิดที่ไม่สอดคล้องกับแนวคิดวิทยาศาสตร์ที่ปรากฏในคาถาม นั้น ๆ 5) กลุ่มที่ไม่ เข้ าใจ (no understanding) หมายถึง นักเรี ยนไม่ได้ตอบคาถามนักเรี ยน หรื อเขียนคาตอบในลักษณะทวนคาถามและไม่ได้ใช้แนวคิดวิทยาศาสตร์ ใด ๆ ในการ ตอบคาถาม 33


การวิเคราะห์ ข้อมูล (ต่ อ) 

นาข้อมูลที่ได้จากการจัดกลุ่มคาตอบจากแบบทดสอบทั้งก่อนและ หลังการจัดการเรี ยนรู ้ไปนาเสนอต่อผูเ้ ชี่ยวชาญด้านเนื้ อหา

หากผูเ้ ชี่ยวชาญมีความคิดเห็นไม่ตรงกับคณะผูว้ จิ ยั คณะผูว้ จิ ยั และผูเ้ ชี่ยวชาญจะอภิปรายเพื่อหาข้อสรุ ปของการจัดกลุ่มคาตอบ ก่อนคานวณหาค่าร้อยละของความถี่ของคาตอบในแต่ละกลุ่มเพื่อ เปรี ยบเทียบกับจานวนนักเรี ยนทั้งหมดที่เป็ นกลุ่มศึกษา

34


การวิเคราะห์ ข้อมูล (ต่ อ) 

พิจารณาผลการประเมินการนาเสนอผลงานหน้าชั้นเรี ยน และผล การประเมินการทางานกลุ่มว่าคะแนนเฉลี่ยของนักเรี ยนทุกกลุ่ม ในแต่ละสัปดาห์สูงขึ้นหรื อไม่ นอกจากนี้คณะผูว้ ิจยั ยังพิจารณา บันทึกการสังเกต และข้อความบันทึกการเรี ยนรู้

35


การวิเคราะห์ ข้อมูล (ต่ อ) 

พิจารณาข้อความในบันทึกการเรี ยนรู ้ และการสัมภาษณ์ โดยอ่าน และจัดกลุ่มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กนั และนับค่าความถี่ของ ข้อมูลแต่ละกลุ่มพร้อมทั้งหาค่าร้อยละ ส่ วนชื่อนักเรี ยนที่ใช้ใน งานวิจยั นี้เป็ นนามสมมติเพื่อรักษาสิ ทธิ์ ของกลุ่มที่ศึกษา

36


การวิเคราะห์ ข้อมูล (ต่ อ) 

หาความสัมพันธ์ของข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ท้ งั หมด เพื่อให้ ได้หวั ข้อใหญ่ (Themes) ที่สามารถสะท้อนอย่างชัดเจนถึงผลการ จัดการเรี ยนรู้ดว้ ยการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบการเคลื่อนที่หยุด ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 เรื่ อง การแบ่งเซลล์ ในวิชา ชีววิทยา 1

37


ผลการวิจัย ความถี่ (ร้ อยละ) แต่ ละกลุ่มคาตอบของนักเรียน แนวคิดที่วดั

ความสามารถในการเพิ่ม จานวนของเซลล์ วัฏจักรของเซลล์

จุดประสงค์ของการแบ่ง เซลล์แบบไมโทซิส ขั้นตอนการแบ่งเซลล์แบบ ไมโทซิส จุดประสงค์ของการแบ่ง เซลล์แบบไมโอซิส ขั้นตอนการแบ่งเซลล์แบบ ไมโอซิส การแบ่งไซโทพลาซึม

ช่ วงเวลาใน การทา แนวคิด แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์

แนวคิด วิทยาศาสตร์ แบบไม่ สมบูรณ์

3 (9.38) 4 (12.50) 16 (50.00) 7 (21.88) 1 (3.13) 28 (87.50) 4 (12.50) 11 (34.38) 16 (50.00) 2 (6.25) 20 (62.50)

1 (3.13) 12 (37.50) 8 (25.00) 22 (68.75) 24 (75.00) 1 (3.13) 3 (9.38) 2 (6.25) 4 (12.50) 4 (12.50) 6 (18.75) 2 (6.25) 9 (28.13)

ก่อน หลัง ก่อน หลัง ก่อน หลัง ก่อน หลัง ก่อน หลัง ก่อน หลัง ก่อน หลัง

แนวคิด วิทยาศาสตร์ บางส่ วนและ คลาดเคลือ่ น บางส่ วน 25 (78.13) 28 (87.50) 1 (3.13) 2 (6.25) 1 (3.13) 4 (12.50) 11 (34.38) 5 (15.63) 2 (6.25)

แนวคิด คลาดเคลือ่ นจาก แนวคิด วิทยาศาสตร์

ไม่เข้าใจ

11 (34.38) 7 (21.88) 9 (28.13) 12 (37.50) 6 (18.75) 7 (21.88) 4 (12.50) -

3 (9.38) 9 (28.13) 8 (25.00) 21 (65.63) 1 (3.13) 10 (31) 21 (65.63) 5 (15.63) 24 (75.00) 1 (3.13)

38


ผลการวิจัย (ต่ อ) 

นักเรียนจานวนเพิม่ ขึน้ เข้ าใจว่ าเซลล์บางชนิดสามารถเพิม่ จานวนได้ ตลอดชั่ว อายุของเซลล์ “เซลล์ ทุกเซลล์ ในร่ างกายสามารถเพิ่มจานวนได้ เพื่อการเจริ ญเติบโต หรื อซ่ อมแซม ส่ วนที่สึกหรอ” “แม้ ว่าเซลล์ ส่วนใหญ่ สามารถเพิ่มจานวนได้ แต่ มีเซลล์ บางชนิดไม่ สามารถแบ่ งเซลล์ ได้ อีก เช่ น เซลล์ กล้ ามเนือ้ หั วใจ”

นักเรียนจานวนมากเปลีย่ นความเข้ าใจจากเดิมที่เข้ าใจว่ าวัฏจักรของเซลล์ มี กระบวนการเช่ นเดียวกับการเวียนว่ ายตายเกิดของมนุษย์ ในวัฏสงสาร “วัฏจักรของเซลล์ เป็ นการเกิดของเซลล์ ขึน้ ใหม่ ซึ่งมาจากการแบ่ งเซลล์ ของเซลล์ เดิม คล้ ายกับการเวียนว่ ายตายเกิดของมนุษย์ ” “เป็ นวงจรที่เซลล์ แบ่ งเซลล์ อย่างต่ อเนื่องจนเกิดเซลล์ใหม่ ขึน้ และเซลล์ ใหม่ ที่ได้ สามารถแบ่ งเซลล์ ต่อไปได้ อีก” 39


ผลการวิจัย (ต่ อ) 

นักเรี ยนทราบจุดประสงค์ ของการแบ่ งเซลล์ แบบไมโทซิสมากขึน้ “เป็ นการแบ่ งเซลล์ ร่างกาย” “เป็ นการแบ่ งเซลล์เพื่อเพิ่มจานวนเซลล์ ร่างกายในการเจริ ญเติบโต ในสิ่ งมีชีวิตหลาย เซลล์ หรื อในการแบ่ งเซลล์ เพื่อการสื บพันธุ์ในสิ่ งมีชีวิตเซลล์เดียวและในสิ่ งมีชีวิต หลายเซลล์ บางชนิด โดยไม่ มีการลดจานวนโครโมโซม”

ไม่ มีนักเรียนคนใดทีย่ ังคงมีความเข้ าใจว่าการเพิม่ จานวนเซลล์ แบบเท่ าตัว หรือทวีคูณเป็ นการแบ่ งเซลล์ แบบไมโทซิส “เป็ นการแบ่ งเซลล์ แบบทวีคูณ จาก 1 เป็ น 2 จาก 2 เป็ น 4 ไปเรื่ อย ๆ” “การแบ่ งเซลล์ แบบนีป้ ระกอบด้ วยระยะอินเตอร์ เฟส โพรเฟส เมทาเฟส แอนาเฟส และ เทโลเฟส” 40


ผลการวิจัย (ต่ อ) 

นักเรียนเข้ าใจชัดเจนขึน้ ว่ าการแบ่ งเซลล์ แบบไมโอซิสเป็ นการแบ่ งเซลล์ เพือ่ การสืบพันธุ์ ไม่ ใช่ การแบ่ งเซลล์ ของเซลล์ สืบพันธุ์ “เป็ นการแบ่ งเซลล์ ของเซลล์ ไข่ และอสุจิ เพื่อให้ มีไข่ และอสุจิเพิ่มมากขึน้ ” “เป็ นการแบ่ งเซลล์ เพื่อสร้ างเซลล์ สืบพันธุ์ มีการลดจานวนโครโมโซมลงครึ่ งหนึ่งจาก เซลล์ ตั้งต้ น ไม่ พบในเซลล์ ร่างกาย”

นักเรียนส่ วนใหญ่ ทราบขั้นตอนการแบ่ งเซลล์แบบไมโอซิสมากขึน้ แต่ ยังคงมีความเข้ าใจที่คลาดเคลือ่ นเกีย่ วกับโครโมโซม “ช่ วงแอนาเฟส 1 มีการแยกซิ สเตอร์ โครมาติด (sister chromatid) ออกจากกัน” “การแบ่ งเซลล์ แบบไมโอซิ สประกอบด้ วยระยะอินเตอร์ เฟส 1 โพรเฟส 1 เมทาเฟส 1 แอนาเฟส 1 เทโลเฟส 1 และมีระยะอินเตอร์ เฟส 2 สั้นมาก ก่ อนเข้ าสู่ระยะโพรเฟส 2 เม ทาเฟส 2 แอนาเฟส 2 และเทโลเฟส 2” 41


ผลการวิจัย (ต่ อ) 

นักเรี ยนส่ วนใหญ่ สามารถระบุความแตกต่ างของการแบ่ ง ไซโทพลาซึมของเซลล์พชื และสั ตว์ได้ มากขึน้ “เซลล์ พืชมีเยือ้ หุ้มเซลล์ คอดเข้ าหากัน” “เซลล์ พืชมีการแบ่ งไซโทพลาซึ มโดยสร้ างแผ่ นกั้นเซลล์คั่นตรงกลางระหว่ างนิ วเคลียส ใหม่ ทั้งสอง แล้ วขยายไปสู่ผนังเซลล์ เดิมทั้งสองด้ าน แต่ เซลล์ สัตว์ เยื่อหุ้มเซลล์จะคอด เข้ าหากันจนกระทั่งเซลล์หลุดออกจากกัน”

42


ผลการวิจัย (ต่ อ) 

นักเรี ยนแต่ ละกลุ่มพัฒนาทักษะการนาเสนอผลงานหน้ าชั้ นเรี ยน - คะแนนเฉลี่ยรวมจากการการนาเสนอผลงานของนักเรี ยนหน้า ชั้นเรี ยนในช่วง 3 สัปดาห์สูงขึ้นตามลาดับ ดังนี้ 16.60, 16.88 และ 19.24 -“เป็ นการนาเสนอที่ ไม่ น่าเบื่อ ได้ รับประโยชน์ ทั้งผู้ฟังและผู้นาเสนอ ทาให้ ทุกคน ได้ รับความรู้ กันอย่ างทั่วถึง แต่ ละกลุ่มมีความละเอียด และมีคาอธิ บายที่แตกต่ างกัน ทา ให้ ได้ ข้อมูลที่หลากหลาย สรุปแล้ ววันนีด้ ิฉันเข้ าใจเกี่ยวกับการแบ่ งเซลล์ มากขึน้ (แสงสุ รี บันทึกการเรี ยนรู้ ครั้ งที่ 2)”

43


ผลการวิจัย (ต่ อ) 

นักเรี ยนเรี ยนรู้ การทางานกลุ่มร่ วมกับผู้อนื่ เพิม่ มากขึน้ -คะแนนรวมจากการประเมินสู งขึ้นตามลาดับดังนี้ 17.31, 18.55 และ19.78 -“เพื่อนคุยกันตลอด ไม่ ช่วยงานเลยค่ ะ…พอตอนคุยกันว่ าใครจะนาเสนอ เขาก็บอกว่ า ก็หนูไง ตอนนั้นหนูโกรธมากแทบจะร้ องไห้ (ศิริวรรณ บันทึ กการเรี ยนรู้ ครั้ งที่ 1)” -“วันนีเ้ ป็ นวันที่ เรี ยนแล้ วมีความสุขมาก...เรี ยนโดยใช้ ดินนา้ มันปั้ นเป็ นรู ป เกี่ยวกับการแบ่ งเซลล์ ...พวกเราช่ วยกันทางาน คนปั้ นก็ปั้นไป คนถ่ ายรู ปก็ ถ่ ายไป คนจัดรู ปแบบก็จัดไป จึ งรู้ สึกว่ าเวลาผ่ านไปอย่ างรวดเร็ ว หมด ชั่วโมงก็คืบหน้ าพอสมควร (ศิริวรรณ บันทึ กการเรี ยนรู้ ครั้ งที่ ครั้ งที่ 3)” 44


ผลการวิจัย (ต่ อ) 

นักเรี ยนมีเจตคติทดี ีต่อการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์ เพิม่ ขึน้

(จันทร์ เพ็ญ บันทึ กการเรี ยนรู้ ครั้ งที่ 4)” 45


สรุ ปและอภิปราย ส่ งเสริ มความสามารถในการเรียนรู้ และการจดจาในระยะยาวของ นักเรี ยนได้เป็ นอย่างดี (Hays,1996)  ส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนเข้ าใจเนือ้ หาเกีย่ วกับการแบ่ งเซลล์ มีทักษะใน การนาเสนอสิ่ งที่เรี ยนรู ้ให้ผอู ้ ื่นเข้าใจ และมีการร่ วมมือกันใน แสวงหาความรู้ เพื่อสร้างสรรค์ผลงานเพิม่ มากขึ้น (Bogiages & Hitt, 2008)  ส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนมีผลสั มฤทธิ์ทางการเรี ยนทีส ่ ู งขึน้ แล้วยัง ส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนมีเจตคติทดี่ ีต่อทางการเรียนรู้ (Poohkay & Szabo,1995) 

46


ข้ อเสนอแนะ ควรฝึ กการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบการเคลื่อนที่หยุดให้กบั นักเรี ยนก่อนล่วงหน้า  ไม่ควรจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ในช่วงปลายภาคการศึกษา เนื่องจาก ช่วงเวลาดังกล่าวนักเรี ยนมีงานที่ได้รับมอบหมายจากวิชาต่าง ๆ จานวนมาก  ควรศึกษาการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ และการพัฒนาความรู ้ ความเข้าใจแนวคิดวิทยาศาสตร์ ของนักเรี ยน 

47


แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม ธรรมศักดิ์ เอื้อรักสกุล. (2547). การสร้ างภาพยนตร์ 2D อนิเมชั่น. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุ งเทพมหานคร: มีเดีย อินเทลลิเจนซ์เทคโนโลยี.  พัลลภ พิริยะสุ รวงศ์. (2543). มัลติมีเดียเพื่อการเรี ยนการสอน, สื บค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2554, สื บค้นจาก http://www.seameo.org/vl/ palop/index.htm.  Bogiages, C. & Hitt, A. M. (2008). Movie Mitosis: Students make stop-animation films to illustrate the process of mitosis. The Science Teacher, 75(9), 36–43. 

48


แนวทางในการจัดการเรี ยนรู้ในหัวข้ออื่น ๆ

49


แนวทางในการจัดการเรี ยนรู้ในหัวข้ออื่น ๆ (ต่อ)

50


แนวทางในการจัดการเรี ยนรู้ในหัวข้ออื่น ๆ (ต่อ)

51


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.