รูปแบบ ระเบียบวิธีและเทคนิคการฝึก

Page 1

2010

รูปแบบ ระเบียบวิธีและเทคนิคการฝก

นายคมธัช รัตนคชและนายดนุพล คลอวุฒินันท กลุมงานพัฒนาระบบการฝก 14/10/2010


บทนํา การพัฒนาทักษะฝมือภาคแรงงานของประเทศถือเปนหัวใจสําคัญของการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอยางประเทศที่กําลังพัฒนาอยางประเทศไทย ซึ่งมีผูใชแรงงานในภาคสวนตางๆ ทั้ง ภาค เกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคธุรกิจบริการ ซึ่งแรงงานที่อยูในภาคอุตสาหกรรมเปนกลุมคนที่ สําคัญที่จะขับเคลื่อนใหภาคอุตสาหกรรมเจริญกาวหนา และสงเสริม สนับสนุนใหเศรษฐกิจของประเทศ กาวไปขางหนาอยางยั่งยืน กรมพัฒนาฝมือแรงงาน เปนหนวยงานที่รับผิดชอบโดยตรงในการพัฒนาฝมือแรงงาน เพื่อ แกปญหาดานทักษะฝมือของแรงงานใหสามารถรองรับกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอยางทัน เหตุการณ และใหแรงงานมีมาตรฐานในการปฏิบัติงาน สามารถตอบสนองตอความตองการของ ตลาดแรงงานไดอยางมีประสิทธิภาพ กรมพัฒนาฝมือแรงงาน โดยสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก มีหนาที่คิดคน และพัฒนา ระบบ รูปแบบและวิธีการฝกทักษะที่ตอบสนองตอ ความตองการดานแรงงาน มี มาตรฐานฝมือแรงงานและมาตรฐานการปฏิบัติงานในสาขาอาชีพตางๆ ที่สถานประกอบกิจการและ ภาคอุตสาหกรรมตองการ กลุมงานพัฒนาระบบการฝก กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ไดจัดทํา เอกสารทางวิชาการขึ้น เพื่อเผยแพร องคความรู และเผยแพรขอมูลขาวสารทางวิชาการที่เกี่ยวของกับการพัฒนาทักษะฝมือของผูรับการฝกใน สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค และศูนยพัฒนาฝมือแรงงานจังหวัด เพื่อให บุคลากร เจาหนาที่และผูที่ เกี่ยวของกับการพัฒนาทักษะฝมือแรงงานไดใชเพื่อการศึกษา คนควา และเปนแนวทางในการพัฒนาทักษะ ฝมือแรงงาน เพื่อประโยชนในการพัฒนาความสามารถของผูรับการฝกให บรรลุวัตถุประสงคในการฝก ทักษะฝมือแรงงานและมีมาตรฐานสมรรถนะสอดคลองกับงานและอาชีพตางๆ ที่สถานประกอบกิจการและ ภาคอุตสาหกรรมมีความตองการ ตอไป

กลุมงานพัฒนาระบบการฝก สํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก กรมพัฒนาฝมือแรงงาน


สารบัญ หนา บทที่3 รูปแบบ ระเบียบวิธแี ละเทคนิคการฝกอบรม วิธีสอน ระบบการสอน เทคนิคการสอน รูปแบบการเรียนการสอน รูปแบบการฝก เทคโนโลยีการฝกอบรม ระเบียบวิธี เทคนิคการสอนและการฝกอบรม ตัวอยางรูปแบบการสอนและการฝก และระเบียบวิธแี ละเทคนิคการสอน เปรียบเทียบรูปแบบการเรียนการสอนทีเ่ นนการพัฒนาดานทักษะพิสัย(Psycho-motor) รูปแบบการจัดอาชีวศึกษาและฝกอบรม(VET) ของตางประเทศ รูปแบบการจัดการอาชีวศึกษาและฝกอบรมของประเทศออสเตรเลีย รูปแบบการฝกฐานสมรรถนะ(CBT) กับภาคอุตสาหกรรมของออสเตรเลีย รูปแบบการฝกสมรรถนะ(CBT) กับผูใชแรงงานของออสเตรเลีย รูปแบบการฝกฐานสมรรถนะ(CBT) กับครูฝกและผูจัดการอาชีวศึกษา และฝกอบรม(VET) ของออสเตรเลีย รูปแบบของโมดูลการฝก(Modules of Training) ตัวอยางโมดุลการฝกของออสเตรเลีย ตัวอยางโมดุลการฝกของ University of North London รูปแบบการจัดการอาชีวศึกษาและฝกอบรมของประเทศฟลิปปนส ตัวอยางโมดูลการฝกของ TESDA ประเทศฟลิปปนส เอกสารและสิ่งอางอิง

1 1 1 1 2 2 3 3 7 27 29 29 30 30 31 32 33 34 35 36 38


1

บทที่3 รูปแบบ ระเบียบวิธีและเทคนิคการฝกอบรม ในการเรียนการสอนและการฝกอบรมโดยเฉพาะอยางการฝกอบรมเพือ่ พัฒนา ความสามารถของบุคลากร หรือผูร ับการฝก การนําเทคนิค วิธีการฝกทีถ่ กู ตองมาใชในการฝกจะมี ผลตอผูตอการเปลี่ยนแปลงความสามารถของผูเขารับการฝกอยางยิ่ง เนือ่ งจากวัตถุประสงคในการ ฝกอบรม นั้นมีความแตกตางกันไป ระเบียบวิธีการฝกยอมแตกตางเชนกัน ในที่นี้จะทบทวนความรูความเขาใจ และอธิบายความหมายและคํานิยามของระเบียบ วิธีการฝกและเทคนิคการฝกอีกครั้ง เพือ่ ใหสามารถแยกแยะความแตกตางใหช ัดเจนมากยิ่งขึ้น พรอมทั้งยกตัวระเบียบวิธแี ละเทคนิคการฝกทีส่ ามารถนํามาใชในการพัฒนาฝมอื แรงงานของกรม พัฒนาฝมือแรงงานไดในอนาคต ในหัวขอนี้ จะเปนการอธิบายใหเกิดความเขาใจและเห็นความแตกตางระหวาง รูปแบบการ ฝก กับระเบียบวิธีการและเทคนิคการฝกอยางชัดเจนยิ่งขึ้น จึงไดมีการอธิบายความหมายของ กิจกรรมทีเ่ กีย่ วของดังนี ้ วิธีสอน หมายถึง แนวทางที่ปฏิบตั ิ แบบอยางที่ทํา ที่ผสู อนดําเนินการใหผเู รียนเกิดการ เรียนรู ตามวัตถุประสงค ดวยวิธีการตาง ๆ ที่แตกตางกันไปตามองคประกอบ และขัน้ ตอนสําคัญอัน เปนลักษณะเดนหรือลักษณะเฉพาะที่ขาดไมไดของวิธนี ั้น ๆ เชน วิธสี อนโดยใชการบรรยาย วิธี สอนแบบสาธิต แบบ สสวท. แบบโครงงาน แบบสืบสวนสอบสวน แบบอุปมัย แบบอภิปราย ฯลฯ ระบบการเรียนการสอน (Teaching/Instructional System) คือ องคประกอบตาง ๆ ของ กิจกรรมการเรียนและการสอนที่ไดรับการจัดใหมีความสัมพันธกัน และสงเสริมกันอยางเปนระบบ เพื่อชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูต ามจุดมุงหมายที่กําหนดไว เทคนิคการสอน คือ ศิลปะ หรือกลวิธตี าง ๆ ที่ใชเสริมกระบวนการ ขัน้ ตอน วิธกี าร หรือ การกระทําใด ๆ เพือ่ ชวยใหกระบวนการ ขั้นตอน วิธีการ หรือการกระทํานั้น ๆ มีคณ ุ ภาพและ ประสิทธิภาพมากขึน้


2

ดังนั้น เทคนิคการสอนจึงหมายถึงกลวิธีตาง ๆ ที่ใชเสริมกระบวนการสอน ขั้นตอนการ สอน วิธีการสอน หรือการดําเนินการทางการสอนใด ๆ เพือ่ ชวยใหการสอนมีคุณภาพและ ประสิทธิภาพมากขึน้ เชน ในการบรรยายผูส อนอาจใชเทคนิคตาง ๆ ที่สามารถชวยใหการบรรยายมี คุณภาพและประสิทธิภาพมากขึน้ เชน การยกตัวอยาง การใชสอื่ การใชคําถาม เปนตน รูปแบบการสอนหรือรูปแบบการเรียนการสอน (Teaching/ Learning Model) หรือ ระบบ การสอน คือโครงสรางองคประกอบการดําเนินการสอนทีไ่ ดรับการจัดเปนระบบสัมพันธ สอดคลองกับทฤษฏี หลักการเรียนรูหรือการสอนที่รูปแบบนั้นยึดถือและไดรับการพิสูจน ทําสอบ วามีประสิทธิภาพ สามารถชวยใหผเู รียนเกิดการเรียนรูตามจุดมุงหมายเฉพาะของรูปแบบนั้น ๆ โดยทั่วไปแบบแผน การดําเนินการสอนดังกลาวมักประกอบดวย ทฤษฏีหลักการที่รูปแบบนั้น ยึดถือ และกระบวนการสอนที่มลี ักษณะเฉพาะอันจะนําผูเรียนไปสูจุดมุงหมายเฉพาะรูปแบบนั้น กําหนด ซึ่งผูสอนสามารถนําไปใชเปนแบบแผนหรือแบบอยางในการจัด และดําเนินการสอนอื่น ๆ ที่มีจุดมุงหมายเฉพาะเชนเดียวกันได รูปแบบการฝก(Training Model) หมายถึง แบบแผน หรือ โครงสรางสําคัญทีผ่ ฝู กสามารถนําไปใชในการจัดฝก สราง หรือ ออกแบบกิจกรรมการฝกอบรมขึ้น โดยผูฝกตองนําเอาเทคนิค ระเบียบวิธกี ารเรียนการสอนและ ฝกอบรมมาจัดกิจกรรมการฝกและนําสือ่ การเรียนการสอนหรือการฝกอบรม เขาไปใชภายใต เงือ่ นไขของกระบวนการตามลําดับขั้นตอนการสอนหรือฝกอบรมของรูปแบบการฝกนั้นๆ โดยทั่วไปแบบแผนการดําเนินการสอนดังกลาวมักประกอบดวย ทฤษฏี หรือหลักการที่ รูปแบบนัน้ ยึดถือ และกระบวนการสอนที่มีลกั ษณะเฉพาะอันจะนําผูเ รียนไปสูจุดมุงหมายเฉพาะ รูปแบบนัน้ กําหนด ซึ่งผูสอนสามารถนําไปใชเปนแบบแผนหรือแบบอยางในการจัด และ ดําเนินการสอนอื่น ๆ ที่มีจุดมุงหมายเฉพาะเชนเดียวกันได รูปแบบการฝกมีหลายรูปแบบ ขึ้นอยูก ับการวาในการฝกอบรมนั้น ตองการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมดานใดเปนสําคัญยกตัวอยาง เชน


3

พฤติกรรมที่ตองการใหเปลี่ยนแปลง ดานความรู ความจํา ความเขาใจ (Cognitive Oriented)

รูปแบบการฝกที่ใช เนนเนื้อหาเปนสําคัญ/ยึดเวลาเปนสําคัญ Content –based Learning Content-based Training Time-based Learning

เนนสมรรถนะเปนสําคัญ/เนนผลงานหรือผลลัพธเปน สําคัญ ดานสมรรถนะ Performance –based Learning (Competency Oriented) Competency-based Training Task-based Training Modular-based Training ตารางที่ 3.1 แสดงความสัมพันธระหวางพฤติกรรมและรูปแบบการฝก เทคโนโลยีการฝกอบรม หมายถึง วัสดุ อุปกรณ เทคนิควิธกี าร ซึ่งถูกนํามาใชในการเรียนการสอน หรือฝกอบรม เพื่อเปนตัวกลางในการนําสง หรือถายทอดความรู ทักษะ และทัศนะคติ ประสบการณจากผูส อน หรือแหลงความรูไปยังผูเ รียน ชวยใหการเรียนการสอนดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพ สอดคลอง กับวัตถุประสงคทกี่ ําหนดไว เทคโนโลยีการฝกอบรมสามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภทคือ 1. เทคโนโลยีการฝกอบรมประเภทเครื่องมือ หรืออุปกรณการฝก 2. เทคโนโลยีการฝกอบรมประเภทเทคนิควิธีการฝก เทคโนโลยีการฝก

วัสดุฝก เครื่องมือ อุปกรณการ ฝก สื่อและเอกสารประกอบ

ระเบียบวิธีและเทคนิคการฝก (Methodology &Technique)

รูปที่ 3.1 แสดงโครงสรางของเทคโนโลยีการฝกอบรม


4

ซึ่งในที่นี้จะกลาวถึงเทคโนโลยีการฝก ทีเ่ ปนวัตถุ สิ่งของ จับตองได เชน อุปกรณช วยฝก สื่อการฝกตางๆ คูมอื ตางๆ โดยมีรูปแบบ ขัน้ ตอน และกระบวนการพัฒนา ดังนี้ (กลุมงานพัฒนา เทคโนโลยีการฝก) รูปแบบขั้นตอนการพัฒนาเทคโนโลยีการฝกอบรม บนระเบียบวิธีของ JA

รูปที่ 3.2 แสดงขั้นตอนการพัฒนาเทคโนโลยีการฝกอบรม ระเบียบวิธีและเทคนิคการสอนและการฝก (Methodology and Techniques) ระเบียบวิธแี ละเทคนิคในการฝกอบรมเปนสวนหนึ่งของเทคโนโลยีการฝกอบรม (ซึ่งมัก เขาใจกันวามีเฉพาะสือ่ การฝก วัสดุฝก อุปกรณช วยฝก เทานั้น) แตเทคโนโลยีการฝกยังหมายถึงสือ่ ที่มีลักษณะเปนระเบียบวิธแี ละเทคนิค ซึ่งไมใช วัตถุ สิ่งของ และอุปกรณ แตเปนกรอบ หรือ รูปแบบสําหรับใชเปนแนวทางในการฝก


5

โครงสรางของระเบียบวิธีและเทคนิคการฝก ระเบียบวิธีและเทคนิค (Methodology & Techniques)

ระเบียบวิธีดานวิเคราะหออกแบบ (Analysis/Design)

การจัดการสอนโดยมุงผลงาน (Performance Based Instruction)

เครื่องมือดําเนินการ (Procedural tools)

เทคนิคการเรียนการสอน (Learning/Teaching)

การเรียนรูโดยผาน ประสบการณ (Experiencential

การเรียนรูที่จะเรียน (Learning to Learn)

รูปที่3.3 แสดงโครงสรางของเทคโนโลยีการฝกอบรมประเภทเทคนิควิธีการ การจัดแบงเทคโนโลยีการฝกอบรมประเภทเทคนิควิธีการ ไดดังนี้ § วิธีการวิเคราะห หรือการออกแบบ ซึ่งสามารถแบงยอยออกเปน 1. การจัดระบบการสอนโดยเนนผลงาน (performance based instruction) 2. การกําหนดเครื่องมือที่สัมพันธกับขั้นตอนการปฏิบัติงาน (procedural tools) § เทคนิคการเรียน/การสอนหรือการฝกอบรม ซึ่งแบงยอยออกเปนการเรียนหรือการฝกโดย 1. การกระทํา หรือโดยผานประสบการณ (experimental learning) 2. การเรียนรูแ นวการเรียน (learning to learn) ในระดับปฏิบัติการ หรือ การกระทําจริง เทคโนโลยีฝกอบรมในดานการวิเคราะห การออกแบบ และจัดรูปแบบการเรียนการสอนนี้ มีเครือ่ งมือพื้นฐานคือ การพัฒนาระบบการสอน (ISD: Instructional System Development) ไดแก - กําหนดเครื่องชวยงาน (job aids) - การกําหนดพฤติกรรมตัวอยาง (behavior modeling) - กําหนดกลยุทธการเรียนรู (Learning strategies)


6

ในบรรดาเทคโนโลยีประเภทเทคนิควิธีการทั้งหลายที่มีบทบาทและอิทธิพลสําคัญตอ การ กําหนดพื้ นฐานและรู ปแบบการฝ กอบรม นั้น มีค วามหลากหลาย อยางไรก็ดีตั วแบบดั งกล าวมี องคประกอบรวมคลายคลึงกัน เราสามารถเปรียบเทียบมุมมอง (Approach) เกี่ยวกับการจัดการสอน ไดกวาง ๆ ดังตอไปนี ้

องคประกอบ

แนวดั้งเดิมหรือแบบนิยมทั่วไป

แนวใหม

(Conventional Instruction)

(โดยใช ISD)

1. เนื้อหา

- มีพื้น ฐานมาจากหั ว ขอ วิช าที่ มี พื้ น ฐ า นจากค วามจํ า เ ป น ด าน ตองการบรรจุในหลักสูตร ผลงาน (Performance requirements)

2. วัตถุประสงค

- ลักษณะแอบแฝง

- ระบุอยางชัดเจน

3. การพัฒนาเนื้อหา

- โดยผูสอน

- โดยทีม และอางอิงมาตรฐาน

4. การประเมินผล

- ทําเมื่อดําเนินการอบรม

- เปนสวนหนึ่งของ กระบวนการพัฒนา อยางเปน ขั้นตอนตามระเบียบวิธีการฝก

5. สื่ อ /กลยุท ธการสอน - มาจากการเลื อ กโดยอาศั ย - มาจาการวิเคราะหงาน/หนาที่และ และการเรียงลําดับหัวขอ สามัญสํานึก ดานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ 6. เอกสารการอบรม

- กําหนดจากฐานอุดมคติหรื อ - พิ จ ารณาด า นความสามารถและ คาเฉลี่ยของผูเรียน ความแตกตางระหวางผูเรียน

7. กระบวนการพัฒนา

- ไม แ น น อนและขึ้ น อยู กั บ - คงเส น คงวาและเชื่ อ ถื อ ได โ ดย ผูสอน ตรวจสอบจากหลายดาน

ตารางที่3.2 แสดงการเปรียบเทียบมุมมองเกี่ยวกับการจัดการสอนและการฝกอบรม


7

การพัฒนาระบบการจัด การสอนประกอบดวย ระยะขั้น (Phases) ตางๆ ซึ่งสามารถแยก ออกได ดังนี้ 1. การวิเคราะห

2. การออกแบบ

- ประเมินความ จําเปน - งานยอย/งานหลัก - ลักษณะผูเรียน

- วัตถุประสงค - ลักษณะเฉพาะของ บทเรียน/การ ทดสอบ

3. การพัฒนา - บทเรียน/งาน - กรอบชี้แนะสําหรับ ผูสอน (Instructor Guides)

4.การดําเนินการ - การสอน - การบริหาร

- กรอบราง/รูป แบบ - ประเมิน/สรุป - คาใชจาย/ผลประโยชน 5.การประเมินและติดตาม

ตารางที่3.3 แสดงโครงสรางการพัฒนาระบบการจัดการสอน ตัวอยางรูปแบบการเรียนการสอนและการฝก และระเบียบวิธีและเทคนิคการสอน รูปแบบการเรียนการสอนของ จอยสและเวล (Joyce and Weil. 1996) (ที่มา: http://www.chontech.ac.th/~abhichat .,17/7/ 2552) เปนรูปแบบการสอนทีเ่ ปนสากล มี 80 รูปแบบ ไดจัดเปน 4 กลุมใหญ คือ 1) กลุมเนนปฏิสัมพันธทางสังคม 2) กลุมเนนการประมวลขอมูลความรูขาวสาร 3) กลุมเนนอัตบุคคล กระบวนการพัฒนาตนอัตมโนทัศน 4) กลุมเนนพฤติกรรม เนนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ตัวอยางการวิเคราะหรูปแบบการเรียนการสอนจําแนกตามดานทีเ่ นนและสมรรถนะ หรือ ความสามารถของนักเรียน 3 ขั้น ไดแก


8

ดาน 1. พุทธพิสยั

ขั้นตน ความรูความจํา ความเขาใจปฏิบัติ ได -มโนทัศน

สมรรถนะ/ความสามารถ ขั้นกลาง ขั้นสูง การนําไปใช การประยุกตใช ในสถานการณใหม การแกปญ  หา -กานเย -ใชผังกราฟก -ขั้นตอนของบลูม

-พหุปญญาเพื่อการเรียนรู -พัฒนาความสามารถ พิเศษ -เนนประสบการณ -ทักษะปฏิบตั ิของแฮรโรว -ทักษะปฏิบตั ิของซิมพ -ทักษะปฏิบตั ิของเดวีส --- ซัน -ทักษะปฏิบตั ิ สําหรับครู วิชาอาชีพ

-ทักษะปฏิบตั ิของ 2. ทักษะพิสัย แฮรโรว -ทักษะปฏิบตั ิของ เดวีส -ทักษะปฏิบตั ิ สําหรับครูวชิ าอาชีพ 3. จิตพิสัย คานิยม -สถานการณจําลอง -การเสริมสรางลักษณะ คุณธรรม จริยธรรม นิสัย 4. กระบวนการคิด

5. เนนการบูณาการ -การเรียนรูแ บบ รวมมือ

-จิตพิสัย -เบญจขันธ -กระบวนการคิดเพื่อการ ดํารงชีวิตในสังคมไทย -แบบสืบสวนสอบสวน -กระบวนการคิดของ ทาบา -แบบซิปปา -สตอรี่ไลน -4 MAT -โครงงาน

ตารางที่3.4 แสดงรูปแบบวิธีการเรียนการสอน (Instructional Methodology)


9

1. รูปแบบการเรียนการสอนเนนประสบการณ (กิ่งแกว อารีรักษ และคณะ. 2548 : 70-71 (ที่มา: http://www.chontech.ac.th/~abhichat .,17/7/ 2552) การเรียนรูแ บบเนนประสบการณ (Experiential Learning) หมายถึง การเรียนรูจาก ประสบการณ หรือการเรียนรูโดยการลงมือทํา ดึงประสบการณเดิมจากตัวผูเ รียนแลวผูเ รียนไดรับ การกระตุนใหสะทอนแนวคิดจากประสบการณที่ไดรับใหม เพือ่ พัฒนาความรูความคิดใหม รวมทั้ง ทักษะและเจตคติใหม ตางจากการเรียนรูปแบบเดิมทีค่ รูเปนศูนยกลางการเรียนรู กําหนดและ ถายทอดความรูใหแกนกั เรียน ผูเ รียนเปนผูร ับรูก ารเรียนรูเนนประสบการณ มีระเบียบวิธแี ละ เทคนิคการสอน 4 ขั้นตอน คือ ระเบียบวิธกี ารสอน (Methodology) 1. ผูเ รียนไดรับประสบการณทเี่ ปนรูปธรรม จากสือ่ รูปภาพของจริง 2. ผูเ รียนสะทอนความคิดจากประสบการณดวยมุมมองที่หลากหลาย จากการตอบคําถาม ทํากิจกรรม 3. ผูเ รียนสรุปความรู จากการสังเกต และการสะทอนเปนความคิดรวบยอด ซึ่งเปน นามธรรม และสรุปเปนหลักการซึ่งไดจากการบูรณาการ การสังเกตกับทฤษฏี 4. ผูเ รียนนําหลักการนั้นไปประยุกตใช หรือทดลองใชในสถานการณตาง ๆ กิจกรรม หลากหลาย ครูสังเกต บันทึก


10

ประสบการณที่ เปนรูปธรรม

ประยุกตใชความรู

สะทอนความคิดจาก ประสบการณ สรุปองคความรู ความคิดรวบยอด รูปที่ 3.4 แสดงการเรียนรูที่เนนประสบการณ

เพื่อใหผเู รียนเกิดการเรียนรูจากการสสรางความรูดวยตนเอง ปรับความรูเดิมใหเปนความรู ใหม ที่มีความหมาย นําไปใชไดในสถานการณจริง และพัฒนาการคิด แกปญหาดวย 2. รูปแบบการเรียนการสอนที่เนนการพัฒนาดานทักษะพิสัย ทั ก ษะพิ สั ยเปน ความสามารถของนั ก เรีย นในด า นการปฏิ บั ติ ก ารกระทํ า หรื อ การ แสดงออกตาง ๆ เกี่ยวขอ งกับการพัฒนาทางกาย การทํางานของกลามเนื้อ อาจซับซอนตอ งใช กลามเนื้อหลายสวน เกิดจากการสั่งของสมอง ซึ่งตองมีปฏิสัมพันธกับความรูสึกที่เ กิดขึ้น ทัก ษะ สวนใหญประกอบดวยทักษะยอย ๆ ทักษะปฏิบัตินี้พัฒนาไดดวยการฝกฝนที่ดี 2.1 รูปแบบการเรียนการสอน ทักษะปฏิบัติของแฮรโรว (Harrow) (ทิศนา แขมมณี. 2548 : 37-38) (ที่มา: http://www.chontech.ac.th/~abhichat .,17/7/ 2552) ระเบียบวิธกี ารสอน (Methodology) การพัฒนาทักษะปฏิบัติตามลําดับขั้นตอน ทีซ่ ับซอนนอยไปสูซับซอนมาก 5 ขั้นตอน 1. ขั้นการเลียนแบบ ผูเ รียนสังเกตการกระทําที่ตอ งการใหทําได รับรูสังเกต เห็นวามีขั้นตอน อะไรบางแมจะไมละเอียดครบถวน


11

2. ขั้นการลงมือทําตามสั่ง ทําตามโดยไมมแี บบใหเห็น ทําใหไดประสบการณในการลงมือ ทําอาจคนพบปญหาตาง ๆ ซึ่งชวยใหเกิดเรียนรู และการปรับการกระทําใหถกู ตองสมบูรณขึ้น 3. ขั้นการกระทําอยางถูกตองสมบูรณ ผูเ รียนจะตองฝกฝนจนทําไดถูกตองสมบูรณ โดยไม จําเปนตองมีตนแบบหรือคําสั่ง ทําไดอยางถูกตองแมนตรง พอดี สมบูรณแบบ 4. ขั้นการแสดงออก ผูเรียนมีโอกาสไดฝกฝนมากขึ้น จนกระทั่งสามารถทําสิ่งนั้นได ถูกตองสมบูรณแบบอยางคลองแคลว รวดเร็ว ราบรื่น และดวยความมั่นใจ 5. ขั้นการกระทําอยางเปนธรรมชาติ ทําอยางสบาย ๆ อัตโนมัติ ไมตองใชความพยายามเปน พิเศษ จึงตองอาศัยการปฏิบตั ิบอย ๆ ในสถานการณที่หลากหลายจนชํานาญ เพื่อใหผเู รียนมีความสามารถดานทักษะการปฏิบัติ อยางถูกตองสมบูรณ แสดงออกและ กระทําอยางเปนธรรมชาติ 2.2 รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของซิมพซนั (Simson) (ทิศนา แขมมณี. 2548 : 35-37) ผูเ รียนไดรบั การฝกฝนพัฒนาการปฏิบตั ิหรือทํางานที่ตองอาศัยการเคลือ่ นไหวหรือ การประสานของกลามเนือ้ ทั้งหลายไดอยางดี ตามขั้นตอนดังนี้ (ที่มา: http://www.chontech.ac.th/~abhichat .,17/7/ 2552) ระเบียบวิธกี ารสอน (Methodology) 1. ขั้นการเรียนรู สังเกตการทํางาน รับรูก ารกระทํา 2. ขั้นการเตรียมความพรอม ทั้งดานรางกาย จิตใจ และอารมณ ใหพรอมตอการ เคลือ่ นไหว หรือแสดงทักษะ 3. ขั้นการตอบสนองภายใตการควบคุม อาจใหเลียนแบบหรือลองผิดลองถูกจน สามารถตอบสนองไดถกู ตอง 4. ขั้นลงมือกระทําจนเปนกลไกที่ทําไดเอง ชวยใหประสบความสําเร็จในการปฏิบตั ิ


12

และเกิดความเชื่อมั่นในการทําสิ่งนั้น ๆ 5. ขั้นการกระทําอยางชํานาญ ผูเ รียนไดฝกฝน จนทําไดอยางคลองแคลว ชํานาญ เปนไปโดยอัตโนมัติ และดวยความเชือ่ มั่นในตนเอง 6. ขั้นการปรับปรุงและประยุกตใช ชวยใหผูเรียนปรับปรุงทักษะหรือการปฏิบัติของตน ใหดียิ่งขึ้น และประยุกตใชทกั ษะในสถานการณตาง ๆ 7. ขั้นการริเริ่ม หลังจากสามารถปฏิบัตอิ ยางชํานาญ และสามารถประยุกตใน สถานการณหลากหลาย จะเกิดความคิดริเริ่มใหม ๆ ทําใหปรับการปฏิบัติไปตามทีต่ นตองการ เพื่อใหผูเรียนสามารถปฏิบัติหรือกระทําแสดงออก อยางคลอ งแคลว ถูก ตอง ชํานาญ ใน ทักษะที่ตองการ และชวยพัฒนาความคิดสรางสรรค ความอดทน การปรับพัฒนาทักษะใหเชีย่ วชาญ มีคุณคายิ่งขึ้น 2.3 รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของ เดวีส (Davies) (ทิศ นา แขมมณี. 2548 : 39-40) (ที่มา: http://www.chontech.ac.th/~abhichat .,17/7/ 2552) ทักษะปฏิบัติสวนใหญ จะประกอบดวยทักษะยอย ๆ จํานวนมาก การฝกใหผเู รียนสามารถ ทําทักษะยอย ๆ ไดกอ นแลวคอยเชือ่ มโยงเปนทักษะใหญ จะชวยใหเรียนรูไดดแี ละรวดเร็วขึ้น ระเบียบวิธกี ารสอน (Methodology) 1. ขั้นสาธิตการกระทํา ผูเ รียนไดเห็นทักษะหรือการปฏิบัติตั้งแตตน จนจบ อยางเปน ปกติตามธรรมชาติ ไมชา-เร็วเกินไป นักเรียนควรไดรับคําแนะนําใหสังเกตจุดสําคัญที่ควรเอาใจ ใสพิเศษ 2. ขั้นสาธิตทักษะยอย และใหผเู รียนปฏิบัตสิ ังเกต และทําตามไปทีละสวนอยางชา ๆ 3. ขั้นใหผเู รียนปฏิบตั ิทักษะยอย โดยไมมีการสาธิตหรือแบบอยางใหดู มีผูสอนคอย ชีแ้ นะ ชวยแกไขจนกระทั่งผูเ รียนทําได แลวเริ่มทักษะยอยใหม


13

4. ขั้นใหเทคนิควิธกี าร เมือ่ ผูเ รียนปฏิบัติไดแลว อาจไดรับคําแนะนําเทคนิควิธีการที่มี ประโยชนเพิ่มเติม เชนทําไดประณีตสวยงามขึน้ รวดเร็วขึน้ งายขึ้น ปลอดภัยขึ้น 5. ขั้นใหผเู รียนเชื่อมโยงทักษะยอย ๆ เปนทักษะทีส่ มบูรณตอ เนือ่ งจนจบ ฝกปฏิบัติจน ชํานาญ สามารถปฏิบัติทกั ษะไดสมบูรณอยางสม่ําเสมอ เพือ่ ใหผเู รียนสามารถปฏิบัติทกั ษะที่ประกอบทักษะยอย ๆ ไดอยางดี มีประสิทธิภาพ สมบูรณ และพัฒนาใหทักษะเปนเลิศ 2.4 รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของมาลินี จุฑะรพ มาลินี จุฑะรพ (2537: 133) ไดกลาวไววา การสอนเพื่อใหเกิดทักษะควรดําเนินการใหครบ 3 ขั้นตอน ดังนี้ (ที่มา: http://www.chontech.ac.th/~abhichat .,17/7/ 2552) ระเบียบวิธกี ารสอน (Methodology) 1. ขั้นใหความรู ในการฝกทักษะเรือ่ งใดก็ตาม ผูฝ กจะตองใหความรูวาทักษะที่จะฝกนั้นมี ขั้นตอนอยางไร อาจใชวิธกี ารบรรยาย สาธิต ใหชมวีดิทัศน ฉายสไลดประกอบคําบรรยาย หรือ ฉายภาพยนตรประกอบคําบรรยาย 2. ขั้นใหลงมือปฏิบัติ ในการฝกทักษะจะตองใหทั้งความรูและใหลงมือปฏิบัติจริง ๆ เพือ่ ให เกิดความถูกตองและยืนยันวาปฏิบัติจริงได 3. ขั้นใหทดสอบความถูกตองรวดเร็ว ในการฝกทักษะที่ดีจะตองมีการทดสอบวาทําได ถูกตองและรวดเร็วเพียงใด ผูรับการฝกทักษะมีความมั่นใจและสามารถปฏิบัติทกั ษะดังกลาวไดโดย อัตโนมัติหรือไมเพียงใด ถาทําไดครบทั้ง 3 ขั้นตอน ก็เปนที่ยืนยันไดวาบุคคลนั้นเกิดทักษะแลว


14

รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของพรรณี ช. เจนจิต พรรณี ช. เจนจิต (2538: 539 -541) ไดอธิบายถึง การสอนทักษะ ไวดังนี้ (ที่มา: http://www.chontech.ac.th/~abhichat .,17/7/ 2552) ระเบียบวิธกี ารสอน (Methodology) 1. บอกใหผเู รียนทราบวาจะทําอะไร ชี้แจงใหเห็นความสําคัญเพือ่ เราใหผเู รียนเกิดความ สนใจ และกระตุนใหเห็นวาสิ่งนั้นมีความจําเปนสําหรับตนอยางไร ตอจากนั้นจึงสาธิตใหดูตั้งแต ตนจนจบเพื่อใหผูเรียนจัดระบบสิ่งที่จะเรียนเปนเรือ่ งเปนราวเมื่อสาธิตจบ อธิบายใหเขาใจถึง ความสัมพันธระหวางสิ่งตาง ๆ เนนจุดทีส่ ําคัญหรือจุดที่จะตองสังเกตโดยเขียนบนกระดาน ซึ่งครู จะสามารถอางอิงถึงเมื่อแสดงใหดูอีกครั้ง โดยทําไปทีละขั้น 2. ใหผูเรียนมีโอกาสไดฝก หัดทันทีหลังจากการสาธิต สิ่งที่ตอ งคํานึงถึงการทําซ้ําและการ เสริมแรง ถาเครือ่ งใชมีไมพอ ใหสาธิตกับผูเรียนเปนกลุมเล็ก ๆ เพื่อใหผูเรียนทุกคนมีโอกาส ฝกหัด และครูจะไดใหการเสริมแรงอยางทั่วถึง การฝกทักษะจะเสียเวลาเปลาถาเด็กไมมีโอกาสได ฝกหัด ในชั่วโมงฝกหัดจะไดผลดีถาผูเรียนอยูในสภาพกระตือรือรนซึ่งหมายถึงครูใหการเสริมแรง เปนการกระตุน ทุกครั้ง ถาพบวาในขณะทีฝ่ ก หัดมีคนบางคนทําผิด ใหสาธิตใหมอยาทําเฉพาะ คน เพราะผูเ รียนจะคิดวาตัวเองเขาใจอะไรยากกวาเพือ่ น ๆ หรือบางครั้งเพือ่ นในหองอาจจะคิดวา ทําไมครูจะตองเอาใจใสกับผูเรียนบางคนเปนพิเศษซึ่งความคิดทั้ง 2 อยางนี้ไมมผี ลดีทั้งสิ้น 3. ในขณะฝกหัดใหคําแนะนําเพื่อชวยใหผเู รียนทําทักษะนั้น ๆ ไดดวยตนเอง 4. ใหคําแนะนําในลักษณะที่อยูในบรรยากาศทีส่ บาย ๆ ไมวิจารณ รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของประสาท อิศรปรีดา ประสาท อิศรปรีดา (2523: 174) (ที่มา: http://www.chontech.ac.th/~abhichat .,17/7/ 2552) ไดสรุปแนวการสอนทักษะดังนี้ ระเบียบวิธกี ารสอน(Methodology) 1. วิเคราะหทกั ษะออกเปนทักษะยอย ๆ แลวสอนทักษะยอย ๆ นั้นใหสอดคลองตาม ความสามารถ และระดับพัฒนาการทางสมองของผูเ รียน


15

2. สาธิตเพื่อแสดงตัวอยางการตอบสนองทีถ่ กู ตองในทักษะนั้น ๆ ใหแกผเู รียน 3. แนะนําการตอบสนองในระยะแรก เริ่มดวยการใชคําพูด หรือกริยาทาทาง 4. ใหมีการฝกอยางเหมาะสม ซึ่งตองพิจารณาถึงการฝกการพัก กําหนดชวงเวลาฝกให เหมาะสมกับกิจกรรมนั้น ๆ 5. ใหผูเรียนทราบผลการกระทํา เพือ่ จะไดแกไขปรับปรุงการตอบสนองที่ไมถกู ตองให ถูกตองสมบูรณ รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของไพโรจน ตีรณธนากุล ไพโรจน ตีรณธนากุล (2542: 134-135) ไดกลาววา การสอนทักษะปฏิบตั ิ ตองดําเนินดวย วิธีการที่จะสงเสริมใหผเู รียนไดเรียนรูตามลําดับขั้นตอนทีเ่ หมาะสม ในการสอนทักษะปฏิบตั ิมี ลําดับขั้น 4 ขั้น ดังนีค้ อื (ที่มา: http://www.chontech.ac.th/~abhichat .,17/7/ 2552) ระเบียบวิธกี ารสอน(Methodology) 1. ขั้นกลาวนํา (Introduction) เพื่อสรางความสนใจ ชีแ้ จงใหผเู รียนทราบเปาหมายที่จะฝก กัน ตลอดจนจัดตําแหนงผูเรียนใหเหมาะสมกอนเริ่มตนใหเนื้อหาวิชา 2. ขั้นการสาธิตจากครู (Demonstration from the teach) อธิบายลักษณะงาน วิธีการ ทํางาน แลวสาธิตพรอม ๆ กับอธิบายดวย 3. ขั้นการสาธิตจากผูเ รียน (Demonstration from the learner) ใหผูเรียนลองปฏิบัติได เพียงใด ซึ่งจะเปน Feed back ใหครูผูสอนปรับปรุงในการสอน 4. ขั้นใหการฝกหัดและตรวจผลสําเร็จ (Exercise and Progress) ตองแนใจวาผูเรียนทําไดแลว โดยไมผิดพลาด จึงจะมอบหมายใหทํางานได


16

รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของพวงเพ็ญ อินทรประวัติ พวงเพ็ญ อินทรประวัติ (2532: 105-106) ไดกลาววา รูปแบบการสอนการฝกทักษะ มี ขั้นตอนการสอนตามรูปแบบการฝกนี้แบงออกไดเปน 5 ขัน้ ตอน ดังตอไปนี้ (ที่มา: http://www.chontech.ac.th/~abhichat .,17/7/ 2552) ระเบียบวิธกี ารสอน (Methodology) 1. ระบุจุดมุงหมาย จุดมุงหมายตองชัดเจน นักเรียนทุกคนเขาใจดีวาตองการใหเขาทํา อะไร 2. การอธิบายแนวทฤษฎี เมือ่ บอกวาตองการใหนกั เรียนทําอะไรแลว ครูก็อธิบายให เหตุผลตามทฤษฎีวาทําไมจึงตองทําใหไดตามจุดมุงหมายนั้น การทําอยางนี้จะชวยทําใหผเู รียน เขาใจเปาหมายไดแจมแจงขึ้น และเขาใจตอไปวาทําไมจึงตองฝกทักษะนั้น ๆ 3. สาธิตการกระทําทีถ่ กู ตอง ครูอาจจะใหนักเรียนดูการแสดงสาธิต ใหดูแ บบอยางจาก ภาพยนตร ในขั้นนี้จะเปนขั้นที่บอกใหนกั เรียนรูวาการกระทําที่ถูกตองนั้นเปนอยางไร 4. ฝกหัดเลียนแบบและการรับขอมูลยอนกลับ เมื่อนักเรียนรูว าจะตองทําอะไรและทํา อยางไรแลว ครูก็ใหนกั เรียนฝกปฏิบัติ โดยเริ่มใหเลียนแบบจากครูใหเหมือนตามแบบใหมาก ที่สุด เมือ่ นักเรียนทําตามแบบทีค่ รูทําใหดู แตยังทําไดไมถูกตอง ครูก็อธิบายหรือทําใหดูใหม จนกระทั่งนักเรียนสามารถทําไดตามแบบอยางถูกตอง หลังจากที่นักเรียนทําทาถูกตองแลว ครูก็ ใหฝกหัดทําตามแบบทีถ่ กู ตองนั้นจนสามารถทําไดอยางคลองแคลวเปนอัตโนมัติตอ ไป สวนการ ใหขอมูลปอนกลับนั้นทําไดโดยการชมเชย การแสดงแบบที่ถูกตองใหดู ซึ่งจะทําใหผเู รียนรูวาการ ปฏิบัติทําทีถ่ ูกตองนั้นเปนอยางไร เมือ่ ครูฝก ใหนักเรียนปฏิบัตเิ รือ่ งหนึ่งเรือ่ งใดแลว กอนที่ครูจะ เริ่มฝกเรื่องใหมตอ ไป ครูตอ งทดสอบเสียกอนวา เรือ่ งเดิมนั้นนักเรียนไดปฏิบัตไิ ดอยางถูกตอง แลวหรือไม เพราะถาไมทําเชนนัน้ ก็จะไมสามารถฝกเรือ่ งอื่น ๆ ใหดีได เนือ่ งจากการฝกในขั้น แรก ๆ นั้นจะตองใชเปนพื้นฐานในการฝกเรือ่ งอื่น ๆ ตอไป 5. การถายโอนความรูแ ละทักษะ ในการเรียนนั้น ครูอาจจะใหนักเรียนทดลองฝกใน หองเรียน หลังจากที่นกั เรียนสามารถกระทําไดอยางถูกตองแลว ครูกน็ ํานักเรียนออกไปฝกซอมใน สนาม ตอไปก็จัดใหมีการแขงขันกัน แลวใหนักเรียนดูวาการฝกนั้นยังบกพรอง


17

หรือไม อยางไร โดยใหนักเรียนดูการกระทําของเพือ่ น ๆ ดวยกันเอง และใหขอ มูลยอนกลับแก เพื่อนดวยเพื่อที่จะใหเพือ่ น ๆ ไดกระทําไดอยางถูกตอง ครูอาจจะใหนักเรียนคนหนึ่งลองฝก ปฏิบัติ แลวครูกเ็ ปนผูใหขอ มูลยอนกลับ นักเรียนคนอื่น ๆ ก็เปนผูส ังเกตการณ และจดจําสิ่งที่ เพื่อน ๆทํา และฟงขอมูลยอนกลับที่ครูใหดวย หลังจากนัน้ นักเรียนก็วเิ คราะหการกระทําของ ตนเองและตรวจสอบวาตัวเองทําถูกตองหรือไมเอง สุดทายก็สามารถลงทําการแขงขันไดจริง ๆ แต ครูผูสอนก็ยังคงใหขอมูลยอนกลับอีกเรือ่ ย ๆ แมกระทั่งในขณะที่ทําการแขงขัน รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของวูดรัฟฟ วูดรัฟฟ (Woodruff. 1961) และ จอยส และวีล (Joyce; & Weil. 1972) ไดกลาวถึง องคประกอบที่ควรมีในกระบวนการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติ ดังนี้ (ที่มา: http://www.chontech.ac.th/~abhichat .,17/7/ 2552) ระเบียบวิธกี ารสอน (Methodology) 1. มีชิ้นงานตนแบบ 2. อธิบายขั้นตอนการปฏิบตั ิอยางละเอียดและชัดเจน 3. การสาธิต การปฏิบัติงานอยางละเอียดและชัดเจน 4. การสาธิต การทํางานซ้ําอีกครั้งตั้งแตตนจนจบ 5. การแสดงการปฏิบัตแิ ตละขั้นตอนอยางงาย ๆ และทําใหดอู ยางชา ๆ 6. การเปดโอกาสใหผูเรียนไดลงมือทําเอง ตั้งแตตน จนจบในสายตาครูและครูเปนพีเ่ ลี้ยง 7. การเปดโอกาสใหผูเรียนทํางานเองตามลําพัง แลวนําผลงานที่ทําไดมาตรวจสอบกับ ชิ้นงานตนแบบ


18

รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของดี เชคโค ดี เชคโค (De Cecco. 1974: 272-279) ไดเสนอขัน้ ตอนการสอนเพื่อใหเกิดทักษะไว5 ขั้นตอน ดังนี้ (ที่มา: http://www.chontech.ac.th/~abhichat .,17/7/ 2552) ระเบียบวิธกี ารสอน (Methodology) 1. วิเคราะหทกั ษะที่จะสอน เปนขั้นแรกของการสอนทักษะ โดยทีผ่ ูสอนจะตอง วิเคราะหงานที่จะใหผเู รียนปฏิบตั ิกอ นวา งานนั้นประกอบดวยทักษะยอยอะไรบาง 2. ประเมินความสามารถเบือ้ งตนของผูเ รียน วาผูเรียนมีความรูความสามารถพื้นฐาน เพียงพอที่จะเรียนทักษะใหมหรือไม ถายังขาดความรูความสามารถที่จําเปนตอการเรียนทักษะนั้นก็ ตองเรียนเสริมใหมีพื้นฐานความรูเพียงพอเสียกอน 3. จัดขั้นตอนการฝกใหเปนไปตามลําดับขั้นจากงายไปยาก จากทักษะพื้นฐานไปสู ทักษะที่มคี วามสลับซับซอน จัดใหมีการฝกทักษะยอยเสียกอน แลวฝกรวมทั้งหมด 4. สาธิตและอธิบายแนะนํา เปนขัน้ ใหผเู รียนไดเห็นลําดับขั้นตอนการปฏิบัติจาก ตัวอยางทีผ่ ูสอนสาธิตใหดู หรือจากภาพยนตร จากวีดิทัศน ซึ่งจะทําใหผเู รียนเห็นรายละเอียดการ ปฏิบัติในขัน้ ตอนตาง ๆ ไดอยางชัดเจน 5. จัดใหผูเรียนไดฝก ปฏิบัติจริง โดยคํานึงถึงหลักการตอไปนี้ 5.1 ความตอเนือ่ ง จัดใหผ ูเรียนไดฝกปฏิบัติทกั ษะที่เรียนตามลําดับขั้นตอนอยาง ตอเนือ่ งกัน 5.2 การฝกหัด ใหผูเรียนไดฝกทักษะ เนนทักษะยอยที่สําคัญ ปรับปรุงแกไข ขอบกพรองในสวนที่ผิด ในการฝกนี้ตอ งจัดแบงเวลาฝก เวลาพักใหเหมาะสม 5.3 การใหแรงเสริม โดยใหผเู รียนไดรผู ลของการฝกปฏิบัติ (Feedback) ซึ่งมี 2 ทาง คือ การรูผ ลจากภายนอก (Extrinsic Feedback) คือ จากคําบอกกลาวของครูวาดีหรือบกพรอง อยางไร ควรแกไขอยางไร พอผูเรียนเกิดความกาวหนาไปถึงขั้นที่จะเพิ่มพูนความชํานาญ เขาจะรู ไดโดยการสังเกตดวยตนเอง เปนการรูผ ลจากภายในตนเอง (Intrinsic Feedback)


19

รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของสุชาติ ศิริสุขไพบูลย สุชาติ ศิริสุขไพบูลย (2526: 39-40) ไดกลาววา การสอนทักษะปฏิบัตกิ ็ยอ มตองมีขนั้ ตอน ตามขั้นตอนการเรียนรูเ ชนกัน ขั้นตอนในการสอนทักษะปฏิบัติควรปฏิบัติตามลําดับขั้นตอน 4 ขั้นตอน ดังนี้ (ที่มา: http://www.chontech.ac.th/~abhichat .,17/7/ 2552) ระเบียบวิธกี ารสอน(Methodology) 1. ขั้นการกลาวนํา (Introduction) ในขั้นตอนนี้ เปนขั้นตอนเริ่มตนของขบวนการ เรียนรู กระทําเพื่อ - ใหขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับเรือ่ งที่จะเรียน - ทดสอบพืน้ ความรูเดิมของผูเ รียน - สรางความสนใจ สรางปญหา สรางแรงจูงใจ - จัดตําแหนงของผูเรียนใหเหมาะสม กอนการเริ่มตนใหเนื้อหาวิชา 2. ขั้นการสาธิตจากครู (Demonstration from the Teacher) หลังจากนําเขาสูบทเรียน แลว ซึ่งหมายถึงวาไดขอมูลจากผูเ รียนแลว ไดชแี้ จงใหผูเรียนไดทราบเปาหมายที่จะเรียนจะฝกกัน แลว ผูเ รียนไดมีปญหาและมีความพรอม มีความสนใจที่จะแกปญหานั้นกันแลว ผูส อนก็ควรจะ เริ่มใหเนื้อหาดวยการกลาวถึงหลักทฤษฎีทเี่ กี่ยวของ อธิบายลักษณะงานวิธีการทํางาน โดยมี รายละเอียดตามลําดับดังนี้ - แสดงใหผูเรียนดูวาทักษะที่จะเรียนกันนั้นปฏิบัติไดจริง - สาธิตพรอม ๆ กับอธิบายงานวา จะทําอะไร (What), ทําอยางไร (How), และทําไมจึง ตองทําเชนนั้น (Why) อาจจะทําการอธิบายประกอบคําถามก็ได - สาธิตซ้ําอีกครั้ง แตสรุปเทาที่จําเปนทีส่ ําคัญจริง ๆ - ทวนซ้ําอีกครั้ง (ถาจําเปน) 3. ขั้นการสาธิตจากผูเ รียน (Demonstration from the Learner) ควรจะใหโอกาสแกผูเรียน ไดสาธิตดวยทั้งนี้โดยมีจุดมุงหมายเพื่อ - ใหผูเรียนลองปฏิบัติใหดูวาทําไดหรือไม พรอมกับใหการตรวจ-ปรับ - อาจใหผเู รียนปฏิบัติพรอมกับการอธิบาย โดยผูส อนตองคอยถามจุดสําคัญของเนือ้ หา ในแตละชวงดวยคําถาม “ทําอะไร” “ทําอยางไร” “ทําไมตองทําอยางนั้น” - ใหผเู รียนหมุนเวียนกันสาธิต พรอมอธิบายสรุปเฉพาะจุดสําคัญ


20

- ผูส อนตองมั่นใจวาผูเรียนทําไดโดยไมผดิ พลาด หากไมแนใจใหผูเรียนทําซ้ําใหดูใหม จนแนใจ 4. ขั้นใหแบบฝกหัดและตรวจผลสําเร็จ (Exercise and Progress) เมื่อแนใจวา ผูเ รียนทํา ไดแลวโดยไมผิดพลาด จึงจะมอบหมายใหทํางานไดเพราะการฝกทักษะปฏิบัติโดยการใช เครือ่ งจักรมีอันตรายมาก และอีกประการหนึ่งคือ ทักษะทีฝ่ ก จะลืมไดยากดังนั้นหากฝกในทางที่ ผิด ยอมแกไขใหดีไดยาก ในขั้นนีผ้ สู อนอาจทําตามลําดับขั้นตอน ดังนี้ - มอบงานฝกใหผเู รียนไปปฏิบัติ - คอยตรวจสอบขณะปฏิบัตอิ ยูเ สมอดวยการถาม สังเกตพฤติกรรมและตรวจดูชนิ้ งานที่ ฝก - ชมเชย เสริมกําลังใจ เมื่อผูเ รียนทําไดสําเร็จ และใหการตรวจ-ปรับ แกไขเมือ่ ผลงาน ไมสําเร็จผล รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของบุญญศักดิ์ ใจจงกิจ บุญญศักดิ์ ใจจงกิจ (2519: 147-148) ไดกลาวถึงวิธกี ารภาคปฏิบัตแิ บงไดเปนขัน้ ตอนได 4 ขั้น ตามวิธีการของ TWI – Method (TWI = Training Within Industry) (ที่มา: http://www.chontech.ac.th/~abhichat .,17/7/ 2552) คือ ระเบียบวิธกี ารสอน (Methodology) 1. ขั้นเตรียมการสอน ผูสอนจะตองเตรียมตัวเพือ่ สอน เตรียมแบบ เตรียม อธิบาย ลักษณะงานที่จะใหนักเรียนทํา เตรียมวิธกี ารที่จะเรงเราความสนใจใหนักเรียนอยาก ทํา และใหเขาใจงานนั้นใหดีเสียกอน ขั้นตอนนีเ้ ปนหนาที่ของผูส อน นักเรียนเปนผูฟง 2. ขั้นครูทาํ ใหดู ขั้นตอนทีค่ รูผสู อนจะตองสาธิตวิธีทํางานที่ถกู ตอง หรือทักษะใหมให นักเรียนดู พรอมกับอธิบายดวยคําพูดทีช่ ัดเจน ขั้นตอนนี้ นักเรียนเปนผูสังเกต 3. ขั้นนักเรียนทดลองทําดู ขั้นตอนนี้นกั เรียนเริ่มทดลองทําตามวิธีที่ครูไดสาธิตไว ครู จะตองตามคอยสังเกต ชวยเหลือแกไขและแนะนําวิธีที่ถกู ให 4. ขั้นปฏิบตั ิ เมื่อไดแนใจวานักเรียนเขาใจและทําไดถูกตองวิธแี ลว ครูจะอนุญาตให


21

นักเรียนลงมือปฏิบัติได ครูจะเปนผูก ําหนดชิ้นงานและควบคุมคุณภาพหรือตรวจใหคะแนน ชิ้นงานนั้น ๆ รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของปรียาพร วงศอนุตรโรจน ปรียาพร วงศอนุตรโรจน (2548: 101-103) ไดกลาวถึง การสอนทักษะปฏิบัติมขี ั้นตอน ดังนี้ (ที่มา: http://www.chontech.ac.th/~abhichat .,17/7/ 2552) ระเบียบวิธกี ารสอน (Methodology) 1. วิเคราะหทกั ษะนั้น ตองพิจารณาแยกแยะรายละเอียดของทักษะนัน้ ออกมา 2. ตรวจสอบความสามารถเบือ้ งตนทีเ่ กี่ยวกับทักษะของผูเ รียน วามีอะไร เพียงใด ให ทดสอบการปฏิบตั ิเบือ้ งตนตาง ๆ ตามลําดับกอนหลัง 3. จัดการฝกหนวยยอยตาง ๆ และฝกหนักในหนวยที่ขาดไป และอาจจะฝกสิ่งที่เขาพอ เปนอยูแ ลวใหช ํานาญเต็มที่ และใหความสนใจในสิ่งที่ยังไมชํานาญ 4. ขั้นอธิบายและสาธิตทักษะใหผเู รียน เปนการแสดงทักษะทั้งหมด ทั้งการอธิบาย และ การแสดงใหเห็นตัวอยาง โดยใหผเู รียนดูภาพยนตรหรือผูเ ชี่ยวชาญแสดงใหดู ในขั้นตนไม จําเปนตองอธิบายมาก ใหผูเรียนดูตัวอยางและสังเกตเอง เพราะถาอธิบายมากจะเปนสิ่งรบกวนการ สังเกตของผูเรียน การใชภาพยนตรสอนทักษะตาง ๆ นัน้ มีคุณคาอยางยิ่ง ในขั้นแรกของการ เรียน และขั้นสุดทายของการเรียน เพราะเมื่อผูเ รียนมีทักษะในขั้นสูงแลว ก็อาจจะหันมาพิจารณา รายละเอียดจากภาพยนตรอกี ครั้งหนึ่ง การใชภาพยนตรนนั้ เมือ่ ดูแลวควรอภิปรายโดยใหผเู รียน อธิบายเปนคําพูดของเขาเอง และควรจะฉายใหดูอกี ครั้งกอนที่จะลงมือปฏิบัติ 5. ขั้นจัดภาวะเพือ่ การเรียน 3 ประการ คือ 5.1 จัดลําดับขัน้ สิ่งเราและการตอบสนอง ใหผเู รียนไดปฏิบัตอิ ยางถูกตองตามลําดับ กอนหลัง สิ่งใดทีเ่ กี่ยวกันตองจัดใหติดตอกัน 5.2 การปฏิบตั ิ ตองจัดกําหนดเวลาของการปฏิบตั ิใหดี จะใชเวลาแตละครั้งนาน เทาใด หรือแตละครั้งจะมีการหยุดพักมากนอยเพียงใด การฝกแตละอยางอาจใชครั้งเดียวหรือ หลายครั้ง จะตองคิดพิจารณาใหดี จะใชการปฏิบัตแิ บบแบงปฏิบัติหรือฝกแบบรวดเร็ว


22

เดียวกัน ขึ้นอยูก ับขัน้ ตาง ๆ ของการเรียนทักษะ ในขั้นสุดทายของการเรียนทักษะอาจจะใชการ ฝกฝนนานได 5.3 ใหรูผลของการปฏิบัติ การรูผ ลนัน้ มี 2 อยาง คือ รูจากคําบอกเลาของครูผูสอนและรู ผลโดยตัวเอง ในขั้นแรก ๆ บอกเลาวาเขามีขอบกพรองอยางไร แบบนี้เปนการรูผ ลจากภายนอก เปนการบอกใหรูวาจะแกไขอยางไร พอผูเ รียนกาวหนาไปถึงขั้นทีส่ องและขั้นที่สาม คือมีความ ชํานาญมากขึ้น เขาจะสังเกตตัวเอง เปนการรูผลจากตัวเองโดยดูจากผลของการเคลื่อนไหว รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของชม ภูมิภาค ชม ภูมภิ าค (2516: 236-237) (ที่มา: http://www.chontech.ac.th/~abhichat .,17/7/ 2552) ได กลาวถึง การสอนทักษะใด ๆ ก็ตามยอมจะมีขั้นตอนตาง ๆ ดังนี้ คือ ระเบียบวิธกี ารสอน (Methodology) 1. วิเคราะหทกั ษะนั้น ตองพิจารณาแยกแยะรายละเอียดของทักษะนัน้ ออกมา จัดลําดับ การกระทํากอน หลัง ไวใหดี 2. ตรวจสอบความสามารถเบือ้ งตนทีเ่ กี่ยวกับทักษะของผูเ รียนวามีอะไร เพียงใดให ทดสอบการปฏิบตั ิเบือ้ งตนตาง ๆ ตามลําดับกอน หลัง ตองฝกหนวยที่ขาดเสียกอน 3. จัดการฝกหนวยตาง ๆ โดยเฉพาะในหนวยที่ขาดไป หรืออาจจะฝกสิ่งทีเ่ ขาพอเปนอยู แลว ใหชํานาญเต็มที่ 4. ขั้นอธิบายและสาธิตทักษะใหผเู รียน ในขั้นนีเ้ ปนการแสดงทักษะทั้งหมด เปนการ อธิบาย เปนการแสดงใหเห็นตัวอยาง ใหผเู รียนดูวิดีโอ ดูภาพยนตร หรือใหผูเชีย่ วชาญแสดงใหดู 5. จัดภาวะเพื่อการเรียนทักษะ 3 ประการให ในเรื่องนี้กค็ อื การจัดลําดับสิ่งเราและการ ตอบสนองใหนักเรียนไดปฏิบัตถิ ูกตอง ตามลําดับกอน หลัง สิ่งใดที่เกี่ยวเนื่องกันตองจัดให ติดตอกัน การปฏิบัตนิ ั้นตองจัดกําหนดเวลาของการปฏิบตั ิใหดี จะใชเวลาแตละครั้งนาน เพียงใด หรือแตละครั้งจะมีการหยุดพักมากนอยเพียงใด การฝกแตละอยางจะใชครั้งเดียวหรือกี่ ครั้งจะใชการปฏิบตั ิแบบแบงปฏิบัติ หรือฝกแบบรวดเดียวนั้นขึ้นอยูก ับขัน้ ตาง ๆ ของการเรียน ทักษะ ในขั้นสุดทายของการเรียนทักษะอาจจะใชเวลาฝกฝนนาน ๆ ได และสิ่งทีส่ ําคัญคือ การรูผ ล


23

การปฏิบตั ิ การรูผ ลนั้นก็มี 2 อยางคือ รูผ ลจากภายนอก คือจากคําบอกกลาวของผูสอนหรือครู และ การรูผ ลภายในตัวเอง เขาจะสังเกตตนเอง เปนความรูส ึกภายใน 2.5 รูปแบบการเรียนการสอนที่เนนทักษะปฏิบัติสําหรับครูวิชาอาชีพ (ทิศนา แขมมณี. 2548 : 103-106) (ที่มา: http://www.chontech.ac.th/~abhichat .,17/7/ 2552) การเรียนการสอนวิชาอาชีพ สวนใหญจะเนนทักษะปฏิบตั ิ โดยอาศัยแนวคิด และ หลักการเกีย่ วกับการพัฒนาทักษะปฏิบัติ 9 ประการ โดยสรุปวา การพัฒนาผูเ รียนใหเกิดทักษะ ปฏิบัติ ที่ดนี ั้น ผูส อนควรเริ่มตั้งแตการวิเคราะหงานที่จะใหผเู รียนทําโดยแบงงานออกเปน สวนยอยๆ และลําดับงานจากงายไปหายาก แลวใหผูเรียนไดฝก ทํางานยอย ๆ มีความรูเ ขาใจงานที่ จะทํา เรียนรูล ักษณะนิสัยที่ดีในการทํางาน ฝกทํางานในสถานการณใกลเคียง นวลจิตต เชาวกีรติ พงศ เปนผูพัฒนารูปแบบนีข้ ึ้น พ.ศ. 2535 รูปแบบการเรียนการสอน ประกอบดวย เทคนิควิธีการ หรือ ยุทธวิธี 3 ยุทธวิธี ใหผสู อนไดเลือกใชใหเหมาะสม ระเบียบวิธกี ารสอน (Methodology) และเทคนิค เทคนิควิธีที่ 1 การสอนทฤษฏีกอ นสอนงานปฏิบัติ เหมาะสําหรับการสอนเนื้อหาปฏิบัติที่มลี ักษณะซับซอน เสี่ยงอันตราย และเนือ้ หา สามารถแยกสวนภาคทฤษฏีและปฏิบัติไดช ัดเจน 1. ขั้นนํา แนะนํางาน กระตุน ใหผเู รียนเกิดความสนใจ และเห็นคุณคาในงานนัน้ 2. ขั้นใหความรู ใหความรูความเขาใจเกี่ยวกับงานที่จะทํา 3. ขั้นฝกปฏิบัติ ผูเ รียนลงมือทํางาน ทําตามแบบหรือเลียนแบบ หรือลองผิดลองถูก กอนแลวลองทําเอง ครูคอยสังเกตใหขอ มูลยอนกลับเปนระยะ ๆ จนทําไดถูกตอง ฝกหลายครั้งจน ชํานาญ 4. ขั้นประเมินผล นักเรียนไดรับการประเมินทักษะปฏิบตั ิ และลักษะนิสัยในการ ทํางาน และความยั่งยืนคงทน โดยดูความชํานาญ ถาชํานาญก็จะจําไดดีและนาน


24

เทคนิควิธีที่ 2 การสอนงานปฏิบตั ิกอ นสอนทฤษฏี เหมาะสําหรับเนื้อหางานปฏิบตั ิที่มีลกั ษณะไมซับซอนหรือเปนงานปฏิบัติทผี่ เู รียนเคยมี ประสบการณมาบางแลว เปนงานเสี่ยงตอชีวิตนอย 1. ขั้นนํา แนะนํางาน กระตุน ความสนใจ และเห็นคุณคา 2. ขั้นใหผเู รียนปฏิบตั ิ และสังเกตการณ นักเรียนมีการปฏิบัติ สังเกต และจดบันทึก 3. ขั้นวิเคราะหการปฏิบัตแิ ละสังเกตการณ รวมกันวิเคราะห พฤติกรรมการปฏิบัติ และอภิปรายผล 4. ขั้นเสริมความรู จากผลการวิเคราะหและอภิปรายการปฏิบตั ิ ผูส อนเสริมความรูที่ เปนประโยชน 5. ขั้นใหผเู รียนปฏิบตั ิงานใหม เพือ่ ปรับปรุงแกไข ขอบกพรอง 6. ขั้นประเมินผล ประเมินทักษะปฏิบตั ิ ลักษณะนิสัย และความคงทนของการเรียนรู จากความชํานาญ เทคนิควิธีที่ 3 การสอนทฤษฏีและปฏิบัติไปพรอม ๆ กัน เหมาะสําหรับบทเรียนที่มลี ักษณะของเนื้อหาภาคทฤษฏีและปฏิบัติ ที่ไมสามารถ แยกจากกันไดเด็ดขาด 1. ขั้นนํา แนะนํางาน กระตุน ใหผเู รียนเกิดความสนใจ และเห็นคุณคาในงานนัน้ 2. ขั้นใหความรู ใหปฏิบัติ และใหขอมูลยอนกลับไปพรอม ๆ กัน 3. ขั้นใหปฏิบัติงานตามลําพัง 4. ขั้นประเมินผล นักเรียนไดรับการประเมินทักษะปฏิบตั ิ ลักษณะนิสัยในการทํางาน และความยั่งยืนคงทน โดยดูความชํานาญ


25

เพื่อใหนักเรียน มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับงานที่ทํา และเกิดทักษะในการทํางานนั้นได อยางชํานาญตามเกณฑ รวมทั้งมีเจตคติทดี่ แี ละลักษณะนิสัยที่ดีในการทํางานดวย จากที่กลาวมา สามารถสรุปไดวา ในการฝกอบรมทีเ่ นนดานทักษะ ความสามารถนั้น รูปแบบการฝกทีเ่ หมาะสมและสามารถตอบสนองตอกิจกรรมการเกิดขึน้ คือ รูปแบบการฝกทีเ่ นน การปฏิบตั ิ เชน รูปแบบการฝกแบบเนนสมรรถนะ(Competency-based Training) ซึ่งในรูปแบบการ ดังกลาวจะประกอบไปดวยขั้นตอน หรือระเบียบวิธีการฝกและเทคนิคที่ใชในการฝกอบรมแบบ เฉพาะที่ใชกับการฝกทีเ่ นนทักษะ สมรรถนะความสามารถ ซึ่ง ระเบียบ วิธกี ารและเทคนิคการฝก (Methodology and Technique) อาจแบงออกไดเปน 1. ระเบียบวิธกี ารฝก (Methodology) 2. เทคนิควิธกี ารสอน/การฝกอบรม(Techniques ) รูปแบบการฝก Methodology & Technique เนนสมรรถนะเปนสําคัญ ไดแก - จัดการฝกที่มุงเนนผลงาน - จัดการฝกที่มุงเนนความสามารถ - จัดฝกอบรมที่เนนภาระงาน และในการจัดการฝกตองมีระเบียบวิธีในการกําหนดเครือ่ งมือที่ สัมพันธกับขั้นตอนการปฏิบัติงาน (procedural tools) เชน -จัดเครื่องมืออุปกรณ สื่อการฝกใหสอดคลองการปฏิบตั ิ -จัดเครื่องมือใหสอดคลองกับงานที่ปฏิบัติ / สมรรถนะที่ ตองการ ในการฝกอบรมควรเนนการปฏิบตั ิจริง หรือใหเกิดประสบการณจริง ดวยวิธีตอไปนี้ - เรียนดวยการกระทํา (Learning by Doing) - การฝกอบรมในงานจริง (On the Job Training) - การฝกอบรมตามการปฏิบตั ิงาน (Job Instruction Training) - การฝกอบรมงานชางฝมอื (Apprenticeship Training) เทคนิควิธกี ารฝก ควรมีการกําหนดพฤติกรรมตัวอยางให(ใหดูผลงาน จริง)โดยมีเครือ่ งมือพื้นฐานในการออกแบบการฝก ดังนี้


26

- ใชวิธีการพัฒนาระบบการสอน (Instructional System Development-ISD) กอนเพือ่ เตรียมการฝกลวงหนา - ใชเครือ่ งชวยงาน (job aids) - มีการกําหนดพฤติกรรมตัวอยาง (behavior modeling) ใหผู เขาฝกดู -ใช กลยุทธในการเรียนรู (Learning strategies)ในทุกกิจกรรม การฝกและควรมีการฝกแบบรายบุคคลในบางสาขาอาชีพ หรือ บาง งาน เนนความรูเปนสําคัญ

มีลักษณะการเรียนรูแ ละฝกตอไปนี้ - จัดฝกอบรมแบบจัดแผนการศึกษา (Program Instruction) - จัดการเรียนโดยยึดเนื้อหาและเวลาเปนหลัก - จัดการฝกอบรมตามเนือ้ หาและระยะเวลาในแตละเนื้อหาวิชา - จัดฝกอบรมครั้งละมากๆ ในชัน้ เรียน/ในหองฝกอบรม (Class-room Training Method)

ใชวิธีการเรียนการสอน หรือ ฝกอบรมดังนี้ - บรรยาย(Lecture) - นําเสนอสือ่ ประกอบการเรียน (Preview Media) - อภิปรายกลุม (Group Discussion) - จัดประชุม สัมมนา (Conference) - การสาธิต (Demonstration) - ทําแบบฝกหัด (Practice) - จัดประชุมคณะกรรมการ(Panel Forum) -จัดประชุมอภิปรายปญหา Symposium ตารางที่ 3.5 แสดงรูปแบบการฝกและระเบียบวิธีการฝก


27

เปรียบเทียบรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนการพัฒนาดานทักษะพิสัย (Psycho-motor) เปนรูปแบบการเรียนการสอนที่มุงชวยพัฒนาความสามารถของผูเ รียนทางดานการปฏิบัติ การกระทําหรือการแสดงออกตางๆ ซึ่งจําเปนตองใชหลักการ วิธีการทีแ่ ตกตางไปจากการพัฒนา ทางดานจิตพิสัย(Affective) หรือพุทธิพสิ ัย (Cognitive) รูปแบบการเรียนการสอนที่จะเปรียบเทียบ คือ 1. รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัตแิ บบซิมพซัน 2. รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัตแิ บบแฮรโรว 3. รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัตแิ บบเดวีส ประเด็น/รูปแบบ ผูคิดคน/พัฒนา/ป ทฤษฎี/หลักการ/ แนวคิดรูปแบบ

ซิมพซัน ซิมพซัน(Simpson,1972) เปนเรื่องที่มีความเกี่ยวขอ งกับ การ พัฒนาการของผูเรียน สามารถ พัฒนาการดวยการฝกฝน

แฮรโรว แฮรโรว(Harrow,1972) ไดจัดลําดับขั้นของการ เรียนรูทางดานทักษะ ปฏิบัติ 5 ขั้นโดยเริ่มจาก ลําดับที่ซบั ซอนนอยไป จนถึงระดับที่มีความ ซับ ซอนมาก

วัตถุประสงค

ใหผูเรียนสามารถปฏิบัติหรือ ทํางานที่ตองอาศัยการเคลื่อนไหว หรือการประสานงานของ กลามเนื้อทั้งหลายไดอยางดี

ใหผูเรียนเกิด ความสามารถทางดาน ทักษะปฏิบัติตางๆ อยาง สมบูรณและชํานาญ

กระบวนการ เรียนการสอน/ ขั้นตอน/ระเบียบ วิธี

ขั้นที่1 ขั้นการรับรู ขั้นที่2 ขั้นการเตรียมความพรอม ขั้นที่3 ขั้นการสนองตอบภายใต การควบคุม ขั้นที่4 ขั้นการใหลงมือกระทํา ขั้นที่5 ขั้นการกระทําอยางชํานาญ ขั้นที่6 ขั้นการปรับ ปรุงและ ประยุกตใช

ขั้นที่1 ขั้นการเลียนแบบ ขั้นที่2 ขั้นการลงมือ กระทําตามคําสั่ง ขั้นที่3 ขั้นการกระทํา อยางสมบูรณ ขั้นที่4 ขั้นการแสดงออก ขั้นที่5 ขั้นการกระทํา อยางเปนธรรมชาติ

เดวีส เดวีส(Davies,1971) การพัฒนาทักษะปฏิบัติ ซึ่งทักษะสวนใหญจะ ประกอบไปดวยทักษะ ยอยๆ จํานวนมาก การฝก ใหผูเรียนสามารถทํา ทักษะยอยๆ เหลานั้นได กอนแลวคอยเชื่อมไปยัง ทักษะยอยอื่นๆ มุงชวยพัฒนา ความสามารถทางดาน ทักษะปฏิบ ัติของผูเรียน โดยเฉพาะอยางยิ่งทักษะ ทีป่ ระกอบดวยทักษะยอย จํานวนมาก ขั้นที่1 ขั้นสาธิตทักษะ หรือการกระทํา ขั้นที่2 ขั้นสาธิตและให ผูเรียนปฏิบัตทิ ักษะยอย ขั้นที่3 ขั้นใหผูเรียน ปฏิบัติทักษะยอย ขั้นที่4 ขั้นใหเทคนิค วิธีการ


28

ประเด็น/รูปแบบ

สื่อที่เหมาะสม กับรูปแบบ/ กระบวนการ

ผลที่ผูเรียนจะ ไดรับ

ซิมพซ ัน ขั้นที่7 ขั้นการคิดริเริ่มเมื่อผูเรียน สามารถปฏิบ ัติไดอยางชํานาญ อุปกรณตางๆ ที่ใชในการแสดง พฤติกรรม เพื่อใหผูเรียนฝกฝน เกิดทักษะความชํานาญ

สามารถกระทําหรือแสดงออก อยางคลองแคลว ชํานาญในสิ่งที่ ตองการสามารถใหผเู รียนทําได นอกจากนี้ยังชวยพัฒนาความคิด สรางสรรคและความอดทนให ผูเรียนดวย

เดวีส ขั้นที่5 ขั้นใหผูเรียน เชื่อมโยงทักษะยอยๆ อุปกรณตางๆ ที่ใหผูเรียน อุปกรณทใี่ ชในการสาธิต กระทํา ที่ตองการเรียนรู ใหผูเรียนดู ตั้งแตตนจน โดยไมมีแบบอยางหรือ จบ เชน สวนประกอบ คูมือการใช ของคอมพิวเตอร เพื่อ ประกอบเปนเครื่อง คอมพิวเตอรขึ้นมา ผูเรียนจะเกิดการพัฒนา ผูเรียนจะสามารถปฏิบัติ ทางดานทักษะปฏิบ ัติ จน ทักษะไดอยางดีมี สามารถกระทําไดอยาง ประสิทธิภาพ ถูกตองสมบูรณ แฮรโรว

ที่มาเว็บไซต:http://www.aruktalad.th.gs ตารางที่ 3.6 แสดงการเปรียบเทียบรูปแบบการเรียนการสอนที่เปนสากลเนนการพัฒนาดาน ทักษะพิสัย จากตารางพบวา รูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาผูเรียนดานทักษะพิสัยทั้ง3รูปแบบ สามารถประยุกตใชกับการพัฒนาทักษะปฏิบัติของแรงงานได และนํามาใชในการฝกทักษะฝมือ ของผูรับการฝกไดอยางดี โดยเฉพาะรูปแบบการเรียนการสอนของเดวีส ที่พฒ ั นาทักษะปฏิบัตดิ วย วิธีการวิเคราะหงานออกมาเปนงานยอยๆ จํานวนมาก และมีลําดับขั้นตอนและระเบียบวิธกี ารฝกที่ สอดคลองและเหมาะสมกับการพัฒนาฝมอื แรงงาน เพราะกิจกรรมการฝกที่กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ฝกใหกับผูรับการฝก มีลักษณะการฝกเฉพาะดาน หรือเฉพาะงานซึ่งตองมีการวิเคราะหงานออกมา เปนหนวยการฝกยอยๆ (Elements) และใชกระบวนการหรือขัน้ ตอนการฝกโดยครูฝกเปนผูส าธิต หรือทําใหดูเปนตัวอยางและใหผรู ับการฝกทําตาม ฝกจนชํานาญและผานเกณฑการปฏิบัติงานหรือ มาตรฐานสมรรถนะทีก่ ําหนดไว จึงจะไปฝกในงานอื่นๆ หรือหนวยการฝกอื่นๆ ตอไป แตอยางไรก็ ตามรูปแบบการฝกที่นํามาเปรียบเทียบทั้ง3รูปแบบนั้น มีความสามารถในการพัฒนาการดานทักษะ ดวยกันทั้งขึ้นอยูกับลักษณะของกิจกรรม หรืองาน หรือสมรรถนะที่ครูตองเปนผูวเิ คราะหและนํา รูปแบบใดรูปแบบหนึ่งไปใช หรือผสมผสานในกิจกรรมการฝกนั้นๆ ซึ่งเหมาะกับรูปแบบการฝก ฐานสมรรถนะ(CBT) เพือ่ ใหเกิดการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลในการเรียนรู


29

รูปแบบการฝกทีเ่ นนสมรรถนะจะกลาวโดยละเอียดอีกครั้งในบทตอไป รูปแบบการจัดการอาชีวศึกษาและฝกอบรม(VET) ของตางประเทศ ในการจัดการอาชีวศึกษาและฝกอบรม(VET) นั้น ในทุกประเทศจะมีระบบ กระบวนการ และขัน้ ตอนการฝกอบรม ทีแ่ ตกตางกันไปตามสภาพการศึกษา สังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรม รวมถึงนโยบายรัฐของแตละประเทศ ซึ่งเราสามารถนํามาประกอบการอธิบายและทําการศึกษาได ณ ขณะนี้มอี ยูหลายแบบดวยกัน ซึ่งจะไดยกตัวอยางบางประเทศทีน่ าสนใจ เชน ประเทศ ออสเตรเลีย ประเทศแถบยุโรปและประเทศในภูมิภาคเดียวกับไทยอยางประเทศฟลิปปน เพือ่ เปน แนวทางในการพัฒนารูปแบบการจัดการฝกทักษะฝมือของประเทศไทยที่จะตองพัฒนาในอนาคต ขางหนา รูปแบบการจัดการอาชีวศึกษาและฝกอบรมของประเทศออสเตรเลีย ประเทศออสเตรเลีย มีการจัดการอาชีวศึกษาและฝกอบรมรูปแบบฐานสมรรถนะ(CBT: Competency-based Training) ซึ่งมีความสัมพันธและตอบสนองกับภาคอุตสาหกรรมของประเทศ ออสเตรเลีย โดยโปรแกรมการฝกอบรมแบบฐานสมรรถนะมีคุณลักษณะทีน่ าสนใจ สรุปไดดังนี้ (SmithและKeating, 1997อางถึงใน ชนะ กสิภาร, 2548) - อยูบนฐานของมาตรฐานสมรรถนะ หรือมาตรฐานอาชีพ - เนนผลลัพธ(Outcomes) ไมใชปจจัยนําเขา (Input) - สัมพันธกับภาคอุตสาหกรรม - นําไปพิจารณาการเทียบโอนคุณวุฒิวิชาชีพได (RPL: Recognition of Prior Learning) - จัดการฝกแบบโมดูล (Modules of Training) - เรียนรูตามความสามารถของตนเอง - การประเมินผลอยูบนฐานของการแสดงทักษะฝมือ (ทําอะไรได) มากกวารูอ ะไรบาง - ประเมินผลแบบอิงเกณฑสมรรถนะ/เกณฑการปฏิบัติงาน และไมมเี กรด - การจัดการฝกอบรมมีความยืดหยุน - สมรรถนะเปนทีย่ อมรับของสถานประกอบกิจการ/อุตสาหกรรมอยางกวางขวาง


30

ที่กลาวมาเปนคุณลักษณะสําคัญๆ ของการจัดการอาชีวศึกษาและฝกอบรมรูปแบบฐาน สมรรถนะทีอ่ อสเตรเลียนํามาใชและเปนที่ยอมรับในสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม อยางกวางขวาง รูปแบบการจัดการอาชีวศึกษาและฝกอบรมที่ใชสัมพันธกบั ภาคสวนตางๆ พอสรุปไดดังนี้ (ชนะ กสิภาร, 2548) รูปแบบการฝกฐานสมรรถนะ(CBT) กับภาคอุตสาหกรรมของออสเตรเลีย 1. รูปแบบการฝกฐานสมรรถนะ (CBT)เปนสะพานเชือ่ มกันระหวางลูกคาของ อุตสาหกรรมและผูจัดอาชีวศึกษาและฝกอบรมอาชีพ โดยมีมาตรฐานสมรรถนะเปนตัวเชื่อมโยง ระหวางหนวยงานที่ทําหนาที่จัดการอาชีวศึกษาและฝกอบรมวิชาชีพ(VET) ใหดําเนินงาน สอดคลองกับความตองการของการฝกอบรมของภาคอุตสาหกรรม 2. รูปแบบการฝกฐานสมรรถนะ (CBT)จะไดรับการสนับสนุนอยางดีจาก ภาคอุตสาหกรรมของออสเตรเลีย ไมวาจะเปนนายจาง ผูจัดการทรัพยากรมนุษย ผูจัดการการ ฝกอบรม หัวหนางาน และ Industry Training Advisory Bodies (ITABs) ซึ่งทั้งหมดทีก่ ลาวมามี ความพึงพอใจและสนับสนุนรูปแบบการฝกCBT 3. รูปแบบการฝกฐานสมรรถนะ (CBT) สามารถนํามาดําเนินการใชอยางกวางขวางใน ภาคอุตสาหกรรมสวนใหญของออสเตรเลีย ซึง่ พบไดจากผลการศึกษาและมีหลักฐานวา ภาคอุตสาหกรรมเกือบทั้งหมดในออสเตรเลีย พบวามีการใหการรับรองมาตรฐานอุตสาหกรรม แหงชาติ หรือมาตรฐานวิสาหกิจ หลังมีการใชรูปแบบการฝกดังกลาว 4. หลักสูตรและโปรแกรมการฝกอบรม ดําเนินการจัดการฝกบนฐานของมาตรฐาน สมรรถนะ หรือมาตรฐานอาชีพ และมีจัดการฝกฝกในรูปแบบฐานสมรรถนะ (CBT) ซึ่งยังมีการ ศึกษาวิจัยไมมากนัก แตมีหลักฐานการดําเนินการใชในการฝกดวยรูปแบบดังกลาวอยางมากในชวง ทศวรรษ 1990 รูปแบบการฝกฐานสมรรถนะ(CBT) กับผูใชแรงงานของออสเตรเลีย รูปแบบการฝกฐานสมรรถนะ (CBT) เปนรูปแบบการจัดการฝกที่มีประสิทธิผลในการ ฝกทักษะฝมอื ในงาน (Work-based Training) และนําไปจัดวิธีการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพในสถาน ประกอบกิจการได ซึ่งเปนการชวยเพิ่มจํานวนทักษะฝมือปรงงานโดยใหผูทผี่ านการฝกอบรม


31

รูปแบบฐานสมรรถนะ ไดรับคุณวุฒิวิชาชีพในกรอบคุณวุฒิวิชาชีพของออสเตรเลีย (Australia Qualification Framework: AQF) 1. รูปแบบการฝกฐานสมรรถนะ (CBT) ประสบความสําเร็จเฉพาะทางได สามารถทําให แรงงานมีทกั ษะดานเทคนิคเฉพาะทาง การปฏิบัติงานดานอาชีพโดยการฝกอบรมรูปแบบฐาน สมรรถนะ ไมใชแคเพียงตอบสนองมาตรฐานอุตสาหกรรมแหงชาติอยางเดียวเทานั้น แตสนองตอ มาตรฐานของธุรกิจเฉพาะดานอีกดวย 2. รูปแบบการฝกฐานสมรรถนะ (CBT)มีประสิทธิผลโดยเฉพาะอยางยิ่งดานความรู ขั้นตอนการปฏิบัติงาน และดานทักษะการแกปญ  หาในงานประจํา จึงเหมาะสมอยางยิ่งสําหรับการ ไดทักษะทางดานเทคนิค แตก็ไมเหมาะสมกับการพัฒนาความรูดานมโนทัศน 3. รูปแบบการฝกฐานสมรรถนะ (CBT)อานจะประสบผลสําเร็จนอยในการพัฒนาฝมอื แรงงานแบบยืดหยุน ความสามารถในการปรับเปลี่ยนงาน และฝกอบรมดานนวัตกรรมสมัยใหม ที่ เนนองคประกอบที่จําเปนสําหรับแรงงานที่จะสามารถแขงขันในตลาดแรงงานสากลทีเ่ ปลี่ยนแปลง อยางรวดเร็ว 4. บางคนอาจคิดวา รูปแบบการฝกฐานสมรรถนะ (CBT)มีปญหาในการสราง ความสามารถในการพัฒนาผูรับการฝกดานทักษะที่ถายทอดได ซึ่งการพัฒนาทักษะดานนี้ จะ ประสบความสําเร็จหากครูฝก ที่มีประสบการณในงานและใชหลักวิชาครูเพิ่มเขาไปในการฝก รูปแบบฐานสมรรถนะ รูปแบบการฝกฐานสมรรถนะ(CBT) กับครูฝกและผูจ ัดการอาชีวศึกษาและฝกอบรม (VET) ของ ออสเตรเลีย 1. ครูและครูฝกที่ไมไดมาจาก Technical and Further Education (TAFE) มองวารูปแบบ การฝกฐานสมรรถนะ (CBT) เปนเชิงบวกมากกวาครูที่มาจาก TAFE ครูฝก ทีส่ อนในระดับลางของ AQF (Australia Qualification Framework)มักจะใชรูปแบบการฝกฐานสมรรถนะ(CBT) มากกวา ครูฝกทีส่ อนระดับประกาศนียบัตรวิช าชีพ( Diploma) 2. ครูฝกบางคนของการอาชีวศึกษาและฝกอบรมเห็นวารูปแบบการฝกฐานสมรรถนะ


32

(CBT) สงผลใหลดความเปนอิสระของอาชีพ โดยใชมาตรฐานสมรรถนะ หรือมาตรฐานอาชีพของ ภาคอุตสาหกรรม และใหประสบการณการเรียนรูที่แคบ ซึง่ รวมถึงการแตกเปนสมรรถนะยอย สําหรับการจัดการฝกอบรม 3. มีคนจํานวนไมนอยมีความคิดเห็นวา การพัฒนาบุคลากรและพัฒนาอาชีพที่ สนับสนุนรูปแบบการฝกฐานสมรรถนะ (CBT) ใหแกครูและครูฝก ไมเหมาะสม และไมสามารถ สนองตอบความตองการการพัฒนาอาชีพที่ตอ เนื่องอยางเต็มที่ 4. มีการโตเถียงตลอดเวลาเกี่ยวกับวิธกี ารประเมินสมรรถนะของรูปแบบการฝกฐาน สมรรถนะ (CBT) โดยเฉพาะการประเมินสมรรถนะ ที่ไมใหเกรดในการฝกอบรมในรูปแบบฐาน สมรรถนะ ซึ่งเปนการประเมินตามเกณฑที่ครอบคุลมดานความรู ทักษะและเจตคติและจริยธรรม ในการประกอบอาชีพ เพือ่ ใหบรรลุการประเมินผลขององครวมมากขึน้ และลดการประเมินแบบ ยอยลงไป จากที่กลาวมาสรุปไดวา ประเทศออสเตรเลียมีการจัดการอาชีวศึกษาและฝกอบรมใน รูปแบบฐานสมรรถนะ(CBT: Competency-based Training) โดยอยูบนฐานของมาตรฐานอาชีพ (Occupational Standard)และเปนไปตามความตองการของสถานประกอบกิจการหรือความตองการ ของภาคอุตสาหกรรม รูปแบบการฝกฐานสมรรถนะ(CBT) จะเชือ่ มโยงและมีความสัมพันธกับทุก ภาคสวนตั้งแตภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจตางๆ ผูใชแรงงาน และหนวยฝกอบรมรวมถึงครูฝก นอกจากนีอ้ อสเตรเลียยังไดพัฒนาหลักสูตรการอาชีวศึกษาและฝกอบรมในรูปแบบโมดูลการฝก ซึ่งออสเตรเลียเรียกวา Training Packages สําหรับใชในการอาชีวศึกษาและฝกอบรม รูปแบบของโมดูลการฝก(Modules of Training) ในการจัดการอาชีวศึกษาและฝกอบรมของออสเตรเลียและประเทศตางๆที่จัดการ อาชีวศึกษาและฝกอบรมฐานสมรรถนะนัน้ นอกจากมีการใชรูปแบบฐานสมรรถนะ(CBT: Competency-based Training) แลวยังไดออกแบบหลักสูตรการฝกเปนแบบโมดูลสําหรับจัดการ ฝกอบรมรูปแบบฐานสมรรถนะ สวนประเทศอืน่ ๆ จะเรียกแตกตางกันไป ตามมาตรฐานอาชีพเนน สมรรถนะในรูปผลงาน(Outcome) เชน อังกฤษและสกอตแลนด เรียกมาตรฐานดังกลาววา Occupational Standards ออสเตรเลียเรียกวา Competency Standards สวนนิวซีแลนดเรียกวา Unit Standards และเรียกชุดการฝกหรือชุดการเรียนแตกตางกันซึ่งประเทศออสเตรเลียเรียกโมดูลการฝก


33

นั่นวา Training Packages ประกอบไปดวย องคประกอบบังคับและไมบังคับ ประเทศอื่นๆ เรียกชุด การฝกหรือโมดูลการฝก Training Packages ของออสเตรเลีย ประกอบดวย องคประกอบบังคับ ไดแก 1. มาตรฐานสมรรถนะหรือมาตรฐานอาชีพ (Competency Standard)* 2. แนวทางการประเมินผล (Assessment Guidelines) 3. คุณวุฒิวิชาชีพ(Qualifications) องคประกอบไมบังคับ 1. ยุทธศาสตรการเรียนรู( Learning Strategy) 2. ทรัพยากรการประเมิน(Assessment Resources) 3. วัสดุสําหรับการพัฒนาอาชีพ(Professional Development Materials) *หมายเหตุ มาตรฐานสมรรถนะหรือมาตรฐานอาชีพ ประกอบไปดวย หนวยสมรรถนะ(Unit of Competency) หนวยสมรรถนะ ประกอบไปดวย สมรรถนะยอย(Elements of Competency) สมรรถนะยอย ประกอบไปดวย - เกณฑการปฏิบตั ิงาน (Performance Criteria) - ขอบเขต (Range Statement) - รองรอยหลักฐาน (Evidence Guide) ประกอบดวย o ความรูและทักษะจําเปนที่จะตองประเมิน o ความเชื่อมโยงกับหนวยสมรรถนะอื่น o เกณฑการประเมิน o องคประกอบของการประเมินและทรัพยากรในการประเมิน o วิธีการประเมิน o สมรรถนะหลัก(Key Competencies)ในหนวยนี้ ตัวอยางโมดูลการฝกของออสเตรเลีย ประกอบดวย (ชนะ กสิภาร, 2548)


34

1. Module details - Module name - Suggested structured learning time - Module code - Discipline code 2. Module purpose 3. Learning pathway - Intended use in the structured learning program - Recommended prerequisites 4. Relationship to competency standard 5. Content 6. Assessment strategy - Assessment methods - Conditions of assessment 7. Learning outcome details - Learning outcome 1 Assessment criteria - Learning outcome 2 Assessment criteria - Learning outcome 3 Assessment criteria - Learning outcome 4 Assessment criteria 8. Delivery of the module - Delivery strategy - Resource requirements - Occupational health and safety requirements ตัวอยางโมดูลการฝกของUniversity of North London ประกอบดวย (ชนะ กสิภาร, 2548)


35

1. ชือ่ Module 2. Module Code 3. Contents - Module decryption - Learning outcomes - Module assessment - Assessment criteria - Reading for the module - Week by week program me - Appendix นอกจากนี้ ทางแถบยุโรปโดย European Training Foundation ยังไดพัฒนาโมดูลการฝก โดยมีองคประกอบและขอกําหนด ดังนี้ (ชนะ กสิภาร, 2548) โดยการนําเอาสมรรถนะยอย (Element of competency) ของมาตรฐานอาชีพมาจัดทําเปน Module การฝก โดยแตละ Module จะมี ขอกําหนด 3 ขอ ดังนี้ 1. ขอกําหนดของการจางงาน(Employment specification)(สิ่งที่ตองการในการทํางาน) ซึ่ง ไดมาจากเกณฑการปฏิบัติงาน (Performance criteria) และ ขอบเขต (Range) 2. ขอกําหนดการเรียนรู( Learning specification)(ความรูและทักษะทีน่ ักเรียนจําเปนที่จะตอง เรียนรู เพื่อสนองตอบตอขอกําหนดของการจางงาน) ซึ่งไดมาจากทักษะทีผ่ ูรับการฝกหรือนักเรียน ตองมี และความรูทผี่ ูรับการฝกหรือนักเรียนจําเปนตองเรียนรู 3. ขอกําหนดในการประเมินผล (Assessment specification)(รองรอยหลักฐานที่จําเปนเพื่อ แสดงสมรรถนะ)ซึ่งไดมาจากรองรอยหลักฐานของสมรรถนะยอยในมาตรฐานอาชีพ รูปแบบการจัดการอาชีวศึกษาและฝกอบรมของประเทศฟลิปปน ประเทศในแถบเอเชียบางประเทศก็มกี ารจัดการอาชีวศึกษาและฝกอบรมในรูปแบบฐาน สมรรถนะเชนเดียวกับประเทศในแถบยุโรปหรือประเทศทีพ่ ัฒนาแลวอยางออสเตรเลีย ประเทศ ฟลิปปน (Philippine) มีการใชรูปแบบการฝกฐานสมรรถนะในการจัดการอาชีวศึกษาและฝกอบรม โดยการพัฒนาหลักสูตรการฝกฐานสมรรถนะ (Competency-based Curriculum Training course)


36

ในรูปแบบโมดูลการฝกตามมาตรฐานสมรรถนะ ซึ่งเรียกวา Competency Standard มีองคประกอบ ดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

Course Title Module Description Level of Certification Module Title Summary of Learning Outcomes Assessment Criteria Content Condition Assessment Method

ตัวอยางโมดูลการฝกของ Technical Education and Skills Development Authority ประเทศ ฟลิปปน (Philippine) ประกอบดวย 1. Unit Title 2. Module Title 3. Module Descriptor 4. Level 5. Nominal Duration 6. Learning Outcome - Learning outcome 1 - Learning outcome 2 - Learning outcome 3 7. Assessment Criteria 8. Conditions 9. Content 10. Methodology - Traditional/Lecture type - Dual training - Self-pace - Community based


37

- Distance gloves 11. Assessment Method - Interview - Written - Practical - Direct observation จากที่กลาวมาพอสรุปไดวา ประเทศตางๆ ที่มีการจัดการอาชีวศึกษาและฝกอบรมโดยใช รูปแบบฐานสมรรถนะ(CBT) นั้น ไดมีการพัฒนาหลักสูตรการฝกอยูบนฐานสมรรถนะ (CBC: Competency-based Curriculum) ควบคูกนั ไปดวยเพือ่ ใหการจัดการอาชีวศึกษาและฝกอบรมมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึน้ และสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและ ภาคอุตสาหกรรมอยางแทจริง และนําไปจัดการฝกอบรมและการเรียนการสอนในรูปแบบโมดูล การฝก (Modules of Training) ตามมาตรฐานสมรรถนะและมาตรฐานการปฏิบตั ิงานนัน่ เอง


38

เอกสารอางอิง ชนะ กสิภาร (2548). หลักการศึกษาและการอาชีวศึกษาและฝกอบรมของ UNESCO (2549)(เอกสารประกอบการสัมมนา),กรุงเทพมหานคร:คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม.สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ. Technical Education and Skills Development Authority (2000). Competency-based Curriculum Development (เอกสารประกอบการบรรยาย). Taguig City.Metro Manila. Philippine.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.