กรอบและแนวทางการจัดทําหลักสูตรตาม ความสามารถ
Developing A Competency Based Curriculum
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT) กลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก สํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก
กพร.47/2557
ปรับปรุงครั้งที่ วันที่ปรับปรุง
-
พิมพ์ครัง้ ที่ ๑
คํานํา การพัฒนาทักษะฝีมือภาคแรงงานของประเทศถือเป็นหัวใจสําคัญของการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะ อย่ า งประเทศที่ กํ า ลั ง พั ฒ นาอย่ า งประเทศไทย ซึ่ ง มี ผู้ ใ ช้ แ รงงานในภาคส่ ว นต่ า งๆ ทั้ ง ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคธุรกิจบริการ ซึ่งแรงงานที่อยู่ในภาคอุตสาหกรรมเป็นกลุ่มคนที่สําคัญที่จะขับเคลื่อน ให้ภาคอุตสาหกรรมเจริญก้าวหน้า และส่งเสริม สนับสนุนให้เศรษฐกิจของประเทศก้าวไปข้างหน้าอย่างยั่งยืน กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงในการพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อแก้ปัญหา ด้านทักษะฝีมือของแรงงานให้สามารถรองรับกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างทันเหตุการณ์ และให้ แรงงานมี ม าตรฐานในการปฏิ บั ติง าน สามารถตอบสนองต่อ ความต้อ งการของตลาดแรงงานได้ อ ย่า งมี ประสิทธิภาพ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน โดยสํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก มีหน้าที่คิดค้น และพัฒนา ระบบ รูปแบบและวิธีการฝึกทักษะที่ตอบสนองต่อความต้องการด้านแรงงาน มีมาตรฐานฝีมือแรงงานและ มาตรฐานการปฏิบัติงานในสาขาอาชีพต่างๆ ที่สถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรมต้องการ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน โดยสํ านักพั ฒนาผู้ ฝึก และเทคโนโลยี การฝึ ก จึงได้ จัด ทํา กรอบและแนว ทางการพัฒนาหลักสูตรตามความสามารถ(Developing A Competency Based Curriculum) เพื่อให้หน่วย ฝึกและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรการฝึกตามความสามารถ และให้บุคลากร เจ้าหน้าที่และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานได้ใช้เพื่อการศึกษา ค้นคว้า และเป็นแนวทางใน การพัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาความสามารถของผู้รับการฝึกให้บรรลุวัตถุประสงค์ ในการฝึกทักษะฝีมือแรงงานและมีมาตรฐานสมรรถนะสอดคล้องกับงานและอาชีพต่างๆ ที่สถานประกอบ กิจการและภาคอุตสาหกรรมมีความต้องการ ต่อไป
กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน กรกฏาคม ๒๕๕๗
สารบัญ เรื่อง
หน้า
กรอบและแนวทางการพัฒนาหลักสูตรตามความสามารถ -นิยาม หลักสูตรการฝึกตามความสามารถ (CBC) -แนวคิดเกี่ยวกับหลักสูตรตามความสามารถหรือหลักสูตรฐานสมรรถนะ -ที่มาของหลักสูตรตามความสามารถหรือหลักสูตรฐานสมรรถนะ -ลักษณะเด่นของหลักสูตรตามความสามารถหรือหลักสูตรฐานสมรรถนะ -ข้อดีของการจัดหลักสูตรการเรียนการสอนแบบฐานสมรรถนะหรือหลักสูตรตามความสามารถ -โมเดลที่เกี่ยวข้องกับระบบการฝึกตามความสามารถ(CBT Model) - โมเดลระบบการฝึกตามความสามารถ - โมเดลระบบการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรอิงสมรรถนะของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน -กรอบมาตรฐานความสามารถหรือมาตรฐานสมรรถนะ -องค์ประกอบของมาตรฐานความสามารถ -กรอบความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของมาตรฐานความสามารถและหลักสูตรตามความสามารถ -กรอบการพัฒนาหลักสูตรและโมดูลการฝึกตามความสามารถ - หลักการพัฒนาหลักสูตรและโมดุลการฝึกตามความสามารถ - โครงสร้างของโมดุลการฝึกหรือหน่วยการฝึก -กระบวนการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรและโมดุลการฝึกตามความสามารถ(CBT) - การกําหนดโครงสร้างและองค์ประกอบของหลักสูตรและโมดุลการฝึกCBT - กรอบการดําเนิน (Flow chart) การจัดหลักสูตรและโมดุลการฝึกตามความสามารถ
๑ ๑ ๑ ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๔ ๗ ๘ ๑๒ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๖ ๑๖ ๒๒
ขั้นตอนการจัดทําหลักสูตรตามความสามารถ(Developing A Competency Based Curriculum) - ระยะที่๑ กําหนดโครงสร้างและองค์ประกอบหลักสูตร(Course Structure) - ระยะที่๒ การจัดทํารายละเอียดหลักสูตรตามความสามารถ(Course Design)
๒๕ ๒๖ ๔๘
ขั้นตอนการจัดทําโมดุลการฝึกตามความสามารถ(Developing A Training of Modules) ๕๙ - ระยะที่๓ การจัดทํารายละเอียดโมดุลการฝึกตามความสามารถ(Developing A Training of Modules) ๖๐ - ระยะที่๔ การจัดทํารายละเอียดของหัวข้อวิชา(Count Outline) ๖๘ อภิธานศัพท์ เอกสารและสิ่งอ้างอิง ภาคผนวก คณะผู้จดั ทํา
๗๔ ๗๖ ๗๗ ๑๑๓
- ๑-
กรอบและแนวทางการพัฒนาหลักสูตรตามความสามารถ (Developing A Competency Based Curriculum: CBC) ๑. นิยาม หลักสูตรการฝึกตามความสามารถ คือ แบบแผนหรือกรอบสําหรับใช้ในการฝึกอบรมทีม่ ุ่งเน้นผลลัพธ์ของ การฝึก (Outcomes) เป็นสําคัญ และเป็นแนวทางในการพัฒนาความสามารถให้กับผู้เข้ารับการฝึกให้แสดงบุคลิก หรือพฤติกรรมที่สะท้อนให้เห็นถึง ความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์เฉพาะ (Attribute) ทีจ่ ะสามารถปฏิบัติงานหรือกิจกรรมนั้นๆ ให้ประสบผลสําเร็จตามมาตรฐานหรือเกณฑ์การปฏิบัติงาน ในอาชีพต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒. แนวคิดเกีย่ วกับหลักสูตรตามความสามารถหรือหลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency-Based Approach) “ความสามารถ” แปลมาจากคําว่า Competence หรือ Competency ซึ่งหมายถึง ความสามารถ ในการทําบางสิ่งได้เป็นอย่างดี (the ability to do something well: จาก Longman Dictionary) (ถ้าเป็น พหูพจน์ คําว่า “Competences” เป็นคําที่ใช้ในสหราชอาณาจักร ส่วนคําว่า “Competencies” ใช้ใน สหรัฐอเมริกา) ในที่นี้จะกล่าวถึงความสามารถในการทํางานหรือการประกอบอาชีพเป็นสําคัญ ซึ่งในการทํางานหรือ การประกอบอาชี พ นั้ น ต้ อ งใช้ ค วามสามารถที่ มี อ ยู่ ใ นตั ว บุ ค คล เพื่ อ จะทํ า ภารกิ จ ของงานนั้ น ถ้ า บุ ค คลใดมี ความสามารถในการทํางานได้ เรียกว่า เป็นคนที่มีความสามารถหรือสมรรถนะในการทํางาน และในทางตรงข้ามถ้า บุคคลใดไม่สามารถทํางานได้ก็เรียกว่าเป็นคนไม่มีความสามารถหรือสมรรถนะ การสร้างเสริมให้คนมีความสามารถ ในการทํางานเป็นการสร้างความสามารถหรือสมรรถนะให้เกิดขึ้นใน ตัวบุคคล และการออกแบบความสามารถหรือ สมรรถนะรวมถึงการฝึกอบรมคนให้มีความสามารถหรือสมรรถนะสําหรับการทํางานจึงเป็นสาระสําคัญของการ จัดการเรียนการสอนทางด้านอาชีวศึกษาและการฝึกอาชีพ (Vocational Education and Training หรือ VET) และการพัฒนาฝีมือแรงงานของกรม ๓. ที่มาของหลักสูตรตามความสามารถหรือหลักสูตรฐานสมรรถนะ ระบบตามความสามารถหรือระบบฐานสมรรถนะมี ๒ ระบบหลัก ได้แก่ ระบบของอังกฤษหรือสหราช อาณาจักร และระบบของสหรัฐอเมริกา โดยแต่ละระบบมีฐานแนวคิดและคุณลักษณะเฉพาะของตนเอง ซึ่งทั้ง ๒ ระบบ ไม่ได้มีความแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง และเมื่อได้ทําความเข้าใจทั้งสองระบบก็จะสามารถนําส่วนที่ดีที่สุดมา ประยุกต์ ใช้ได้อย่างเหมาะสมในบริบทที่ต้องการได้ในที่สดุ สาระสําคัญที่เป็นพื้นฐานของทั้งสองระบบจะได้แสดงใน ลําดับต่อไป หลักสูตรตามความสามารถหรือหลักสูตรฐานสมรรถนะ เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี ๑๙๗๐ ในประเทศ สหรัฐอเมริกา นิยมใช้ในการจัดหลักสูตรการฝึกอบรมแบบ Competency-based Training เช่น สหรัฐอเมริกา คานาดา อังกฤษ เกาหลี ออสเตรเลีย เพื่อควบคุมคุณภาพของบุคลากรในอาชีพต่าง ๆ เพื่อเพิ่มการแข่งขันกับ ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๒นานาชาติ เช่น ประเทศออสเตรเลียมี The National Training Board เป็นผู้กําหนดมาตรฐานความสามารถหรือ มาตรฐานสมรรถนะระดับชาติ ( National Competency Standards) ให้นโยบาย และแนวทางการดําเนินงาน ฝึกอบรม โดยคาดหวังสิ่งที่ผู้เข้าอบรมจะสามารถปฏิบัติ (Performance) ได้เมื่อจบหลักสูตร เช่น การฝึกอบรมด้าน ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับอาชีพต่าง ๆ เช่น ด้านอาหาร การโรงแรมท่องเที่ยวของTAFE ประเทศออสเตรเลียก็จัดการ ฝึกอบรมแบบ Competency Based Training in English Language Teaching และได้ปรับปรุงพัฒนา มาตรฐานความสามารถหรือมาตรฐานสมรรถนะของอาชีพต่าง ๆ จนถึงปัจจุบัน รวมถึงการเทียบความรู้และ ประสบการณ์ ปั จ จุ บั น สถาบั น การศึ ก ษาต่ า งๆ ในหลายประเทศ ได้ นํ า แนวทางการฝึ ก อบรมรู ป แบบตาม ความสามารถหรือการฝึกอบรมฐานสมรรถนะ (Competency Based Training) มาใช้กับการจัดหลักสูตร การศึกษาระดับต่างๆ เป็นหลักสูตรตามความสามารถหรือหลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency Based Curriculum) ซึ่งเป็นที่ยอมรับจากผู้กําหนดนโยบายและผู้นําด้านหลักสูตรของประเทศต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง ๔. ลักษณะเด่นของหลักสูตรการฝึกตามความสามารถหรือหลักสูตรฐานสมรรถนะ ๑. ในการพัฒนาหลักสูตรตามความสามารถหรือหลักสูตรฐานสมรรถนะ สิ่งแรกทีต่ อ้ งมีก่อนคือเอกสาร เกี่ยวกับมาตรฐานความสามารถ (Competency Standard) ๒. หลักสูตรตามความสามารถเป็นกรอบหรือแนวทางที่ใช้ในการพัฒนาให้ผเู้ ข้ารับการฝึกมีความสามารถ หรือสมรรถนะ อย่างมีขั้นตอนมีรูปแบบการฝึกและวิธีการประเมินความสามารถอย่างมีประสิทธิภาพ ๓. คุณลักษณะเฉพาะของหลักสูตรตามความสามารถจะคํานึงที่ผลลัพธ์(outcomes) เป็นสําคัญ ซึ่งจะ ประกอบไปด้วยความต้องการที่แท้จริงของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ๔. เมื่อใดที่มาตรฐานความสามารถหรือมาตรฐานสมรรถนะไม่สอดคล้องกับความต้องการของ ภาคอุตสาหกรรมหรือสถานประกอบกิจการ ผู้พัฒนาหลักสูตรจําเป็นต้องกําหนดวัตถุประสงค์ในการ ฝึกให้สอดคล้องกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม และมาตรฐานการปฏิบัติงานจะถูกกําหนดให้ สอดคล้องกับความต้องการของอุตสาหกรรมและความจําเป็นในอาชีพต่างๆ อีกครั้ง ๕. ข้อดีของการจัดหลักสูตรการเรียนการสอนแบบฐานสมรรถนะหรือหลักสูตรตามความสามารถ (CBC) ๑. กําหนดผลลัพธ์การเรียนรู้/ผลลัพธ์การฝึกอย่างชัดเจน ว่าผู้เรียนสามารถทําอะไรได้เมื่อจบหลักสูตร (Course Outcomes /Performance Outcomes) ๒. ใช้มาตรฐานสมรรถนะเป็นกรอบในการพัฒนาหลักสูตร กําหนดเนือ้ หา วางแผนการจัดการเรียนการ สอนและการประเมินผล ทําให้การเรียนการสอนเชือ่ มโยงกับการประเมินผล และการรับรองคุณวุฒิ ๓. มีเกณฑ์การปฏิบัติ (Performance Criteria) เพื่อใช้ในการประเมินผลผู้เรียนที่แน่นอน
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๓๖. โมเดลทีเ่ กีย่ วข้องกับระบบการฝึกตามความสามารถ (CBT Model) ๖.๑ โมเดลระบบการฝึกตามความสามารถ
กําหนดมาตรฐานความสามารถ/มาตรฐานสมรรถนะ /มาตรฐานอาชีพ
หน่วยความสามารถ
พัฒนามาตรฐานความสามารถ
โมดุลการฝึก
พัฒนาหลักสูตรตามความสามารถ
การให้การฝึกอบรม
(CBT)
สพท.ร่วมกับ สพภ./ศพจ.
การฝึกตาม ความสามารถ
นําไปฝึกอบรม
พัฒนาสื่อ/วัสดุในการฝึก/ชุดการฝึก/องค์ประกอบการฝึก
สถานประกอบ กิจการร่วมกับ กรม.
มาตรฐานฝีมือแรงงาน
การประเมินความสามารถ การให้การรับรองและเทียบโอนความสามารถ โมเดลระบบการฝึกตามความสามารถ(CBT) (ที่มา: สรุปผลการประชุม เรื่อง การพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Training: CBT) ในวันที่ ๒๒-๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ เวลา ๙.๐๐น. – ๑๖.๐๐ น. ณ ห้องประชุมอัมพร จุณณานนท์ ชั้น ๑๐ อาคารกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ผู้เข้าร่วมประชุม เป็นเจ้าหน้าทีแ่ ละบุคลากรทีผ่ า่ นการฝึกอบรมหลักสูตร Competency Based Training: CBT และ Instructional System Design โครงการ ADB จากต่างประเทศ และเจ้าหน้าทีส่ ่วนกลาง รวมทั้งสิ้น จํานวน ๔๕ คน)
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๔๖.๒ โมเดลระบบการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรอิงสมรรถนะของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (Department of Skills Development Competency-based Curriculum Design and Development System: DSD CDD System) เป็นกระบวนการสําหรับใช้ในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรการฝึกและการประเมินอิงสมรรถนะของ แรงงาน และเป็นแนวทางในการฝึกฝีมอื แรงงานตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการฝึก เพื่อเพิม่ ขีดความสามารถใน การจัดฝึกฝีมอื แรงงานของกรมพัฒนาฝีมอื แรงงานให้ทันสมัยและเป็นระบบ พัฒนามาจากต้นแบบระบบการออกแบบและพัฒนาการเรียนการสอน (Instructional System Design Model) ที่เรียกว่า ADDIE Model ได้นําต้นแบบดังกล่าวมากําหนดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาฝีมอื แรงงานตั้งแต่เริ่มต้นจนจบกระบวนการฝึก อย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ ตามรูป
ภาพแสดง โมเดลต้นแบบ
หมายเหตุ: หลักสูตรอิงสมรรถนะ หรือ หลักสูตรตามความสามารถ (Competency Based Curriculum) มี ความหมายเดียวกัน ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๕ระบบ DSD CDD System มีรายละเอียดของขั้นตอนและกิจกรรมต่างๆ ดังนี้ การวิเคราะห์ Analysis
การออกแบบ Design
การพัฒนา Development
วิเคราะห์ความจําเป็นใน การฝึกอบรม วิเคราะห์อาชีพ
เขียนวัตถุประสงค์การ เรียนรู้ กําหนดรูปแบบการฝึก
พัฒนาหลักสูตรการ ฝึกอบรม พัฒนาสื่อการฝึกอบรม
วิเคราะห์งาน
คัดเลือกอุปกรณ์ เครื่องมือ พัฒนาเครื่องมือประเมิน
วิเคราะห์ประชากร เป้าหมาย เขียนวัตถุประสงค์การ ปฏิบัติงานตามมาตรฐาน สมรรถนะ จัดทํามาตรฐานสมรรถนะ จัดทําข้อกําหนดในการ ฝึกอบรม
กําหนดสิ่งอํานวยความ สะดวกในการฝึก กําหนดคุณสมบัติ บุคคลากรฝึก
พัฒนาเอกสาร รายละเอียดวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ และสิ่งอํานวย ความสะดวกในการฝึก
การนําไปใช้ Implementation เตรียมสิ่งอํานวยความ สะดวก อุปกรณ์ฝึก เตรียมความพร้อมของ วิทยากร คัดเลือกผู้รับการฝึก จัดกระบวนการเรียนรู้
การประเมินผล Evaluation ประเมินผลหลักสูตร จัดทํารายงานผล เสนอแนวทางการปรับปรุง งาน กระบวนการและกลไกการ อนุมัติหลักสูตร
จัดการฝึกภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ฝึกขณะปฏิบัติงานจริง ประเมินทักษะการ ปฏิบัติงาน ประเมินความรู้
ตารางแสดง ระบบ DSD CDD System ขั้นตอนและกิจกรรม
ผลลัพธ์ทไี่ ด้
การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกฝีมือแรงงาน ประเมินความความต้องการสําหรับการฝึกอบรมและ ทางศึกษาทางอาชีพและเทคนิค วิเคราะห์ลักษณะทางอาชีพ วิเคราะห์งานย่อย จัดทํามาตรฐานสมรรถนะแห่งชาติหรือของสถาน ประกอบกิจการ จัดทําข้อกําหนดในการฝึกอบรม วิเคราะห์ประชากรเป้าหมาย
ข้อกําหนดด้านบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน ตามลักษณะ ทักษะทางวิชาชีพของภาคอุตสาหกรรมต่างๆ บัญชีรายการงานย่อย รายการทักษะ ความรู้ ทัศนคติ และข้อกําหนดอื่นๆ ตามที่จําเป็นต้องใช้สําหรับการปฏิบัติงานย่อยนั้นๆ ข้อมูลของกลุ่มผู้เข้ารับการฝึกอบรมทีม่ ีความพร้อม มาตรฐานสมรรถนะ ข้อกําหนดในการฝึกอบรมสําหรับกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้เข้ารับการฝึกอบรมที่มคี วามพร้อม และข้อมูล ของผู้เข้ารับการฝึกอบรม ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๖ขั้นตอนและกิจกรรม
ผลลัพธ์ทไี่ ด้
การออกแบบองค์ประกอบในการฝึกฝีมือแรงงาน ออกแบบแผนการประเมิน
ข้อกําหนดสําหรับการประเมินผล และหลักเกณฑ์ การประเมินผลการปฏิบัติทสี่ อดคล้องตามมาตรฐาน สมรรถนะ
กําหนดวัตถุประสงค์และโครงสร้างของหลักสูตร วิธีการฝึกอบรม ข้อกําหนดในการเข้ารับการฝึกอบรม
ข้อกําหนดของวัตถุประสงค์และโครงสร้างของ หลักสูตร วิธีการฝึกอบรม ข้อกําหนดในการเข้ารับ การฝึกอบรม
พัฒนาข้อกําหนดของการฝึกอบรม ซึ่งประกอบด้วย วัตถุประสงค์การเรียนรู้ และระยะเวลาการฝึกอบรม
ข้อกําหนดของการฝึกอบรม ซึ่งประกอบด้วย วัตถุประสงค์การเรียนรู้ และระยะเวลาการฝึกอบรม
กําหนดเงื่อนไขสิ่งอํานวยความสะดวกในการฝึกอบรม (ห้องปฏิบัติการ ห้องทดลอง ห้องฝึกอบรม) วัสดุ อุปกรณ์ เครือ่ งมือ และวิทยากร
ข้อกําหนดด้านสิ่งอํานวยความสะดวกในการ ฝึกอบรม อุปกรณ์ เครือ่ งมือ และวิทยากร
จัดทํากลไกในการพิจารณาอนุมัติเอกสารหลักสูตร
กลไกการอนุมัติเอกสารหลักสูตร ที่ได้รับการอนุมตั ิ โดยผู้บริหาร
การพัฒนาองค์ประกอบในการฝึกฝีมือแรงงาน จัดเตรียมสือ่ การเรียนการสอนสําหรับวิทยากร และผู้ เข้ารับการฝึกอบรม
สื่อวัสดุการฝึกอบรมสําหรับวิทยากรผู้ฝึกอบรม
ทดลองใช้ในการฝึกอบรมจริง และการปรับปรุงสื่อวัสดุ สําหรับการฝึกอบรม
สื่อวัสดุการฝึกอบรมสําหรับผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรม
พัฒนาเครื่องมือสําหรับการประเมินผล
เครื่องมือสําหรับการประเมินผล ในส่วนของ: ทักษะในการปฏิบัติงาน
การทดลองใช้สื่อและเครือ่ งมือการประเมินผล เพือ่ ตรวจสอบความถูกต้อง และความสามารถในการปรับใช้ กับสถานการณ์ต่างๆ
ความรู้ที่จําเป็นในการปฏิบัตงิ าน
การดําเนินงานฝึกฝีมือแรงงาน จัดหาและกําหนดสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับการ ฝึกอบรม ตลอดจนเครือ่ งมือและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
สถานที่ หรือสิง่ อํานวยความสะดวกตามที่กาํ หนดไว้ ในการฝึกอบรมไว้พร้อมสําหรับการจัดการฝึกอบรม
วิทยากรที่มีคณ ุ สมบัติเหมาะสม ให้สามารถจัดการ คัดเลือกผู้รับการฝึกอบรมตามหลักสูตรที่จะใช้ฝึกอบรม ฝึกอบรมและการประเมินผลได้ คัดเลือกและเตรียมความพร้อมให้กับวิทยากร
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๗ขั้นตอนและกิจกรรม
ผลลัพธ์ทไี่ ด้
จัดการฝึกอบรมภายในชั้นเรียน จัดฝึกอบรมในห้องปฏิบัติการ และห้องทดลอง การประเมินผล ทักษะในการปฏิบัติงาน ความรู้ที่จําเป็นในการปฏิบัตงิ าน
การจัดการฝึกอบรมทีม่ ีประสิทธิผล ใบระเบียนบันทึกผลสัมฤทธิ์การฝึกของผู้เข้ารับการ ฝึกอบรม ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีสมรรถนะเหมาะสมกับการ จ้างงาน
การดําเนินการประเมินผลสาระประโยชน์ทไี่ ด้รับจาก การฝึกอบรม และการประเมิน
การปรับปรุงสื่อวัสดุในการประเมินผล และการ ฝึกอบรม
การประเมินผลการฝึกฝีมือแรงงาน ทบทวนการจัดการฝึกอบรมและการประเมินผล ตลอดจนการให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปรับปรุง การออกแบบเครื่องมือสําหรับ แบบสํารวจสําหรับนายจ้าง และ แบบสํารวจสําหรับผู้ผ่านการฝึกอบรม การปรับปรุงหลักสูตรตามข้อคิดเห็นที่ได้รับจากผู้ที่ผ่าน การฝึกอบรม และนายจ้าง
รายงานการประเมินผลหลักสูตร และข้อเสนอแนะ สําหรับการปรับปรุง
ตารางแสดง รายละเอียดขั้นตอนและกิจกรรมของระบบ DSD CDD System (ที่มา: เอกสารประกอบการฝึกหลักสูตรการพัฒนาบุคลากรฝึก เรื่อง การออกแบบและพัฒนาหลักสูตรอิงสมรรถนะ (Department of Skills Development Competency –based Curriculum Design and Development System) ๗. กรอบมาตรฐานความสามารถหรือมาตรฐานสมรรถนะ (Competency Standards) มาตรฐานความสามารถหรือมาตรฐานสมรรถนะ เป็นข้อกําหนดความรู้ และทักษะ และนําความรู้ และทักษะนั้น ๆ ไปประยุกต์ใช้ในการทํางาน โดยปฏิบัติงานให้ได้ตามมาตรฐานที่กําหนด การจัดหลักสูตรการเรียนการสอนในหลักสูตรตามความสามารถหรือหลักสูตรแบบฐานสมรรถนะจึงมี กรอบมาตรฐานความสามารถหรือมาตรฐานสมรรถนะ เป็นตัวกําหนดความรู้ และทักษะ ที่คาดหวังว่าผู้รับการฝึก จะสามารถปฏิบัติงาน / ทํากิจกรรมต่างๆ ได้เมื่อจบหลักสูตร และสามารถวัดและประเมินผลได้ตามเกณฑ์การ ปฏิบัติที่กําหนด ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๘-
๘. องค์ประกอบของมาตรฐานความสามารถ (Competency Standard) ในการปฏิบัติงานในอาชีพ จะกําหนดความสามารถที่คาดหวังว่าผู้เข้ารับการฝึกหรือผู้เรียนจะสามารถ ปฏิบัติได้ ซึ่งประกอบด้วย • หน่วยความสามารถ (Unit of Competence / Competency) เป็นขอบข่ายกว้าง ๆ (Broad Area) ของงาน (Job) ในอาชีพหนึ่ง ๆหรือบางครั้งเรียกว่า หน้าที่ (Duty) ที่ผู้เรียนต้องปฏิบัติ โดยใช้ความรู้และ ทักษะ หรือ อาจรวมถึงเจตคติ • ความสามารถย่อย (Element of Competence) เป็นงานย่อยหรือภารกิจ (Task) ที่ประกอบขึ้น ภายใต้งานในหน่วยความสามารถนั้น ๆ • เกณฑ์การปฏิบัติ (Performance Criteria) เป็นกิจกรรมย่อย ๆ (sub-task) ภายใต้ความสามารถ ย่อย ซึ่งเป็นผลการเรียนรู้หรือการฝึก (Learning Outcomes) ที่คาดหวังว่าผู้เรียนหรือผู้รับการฝึกจะสามารถ ปฏิบัติได้เมื่อเรียนจบหลักสูตร • เงื่อนไข/ขอบเขตการปฏิบัติ (Conditions /Range of Variables) การปฏิบัติภายใต้เงื่อนไขที่ กําหนด อาจรวมถึง วัสดุ (Materials) เครื่องมือ (Tools) หรือ อุปกรณ์ต่าง ๆ (Equipment) ที่กําหนดให้ (หรือ ไม่ให้ใช้) เพื่อให้การปฏิบัติงานนั้นสําเร็จ เมื่อได้กรอบมาตรฐานความสามารถแล้ว การจัดหลักสูตรการเรียนการสอน การกําหนดเนื้อหา และ กิจกรรมการเรียนการสอน จะสร้างขึ้นภายใต้กรอบมาตรฐานความสามารถที่กําหนด และจะเชื่อมโยงกับการวัด และประเมินผล ซึ่งอาจเรียกว่า การทดสอบตามความสามารถ (Competency Test)
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๙ตัวอย่างที่๑ มาตรฐานความสามารถ (CS) สาขา การตรวจซ่อมไมโครคอมพิวเตอร์ ระดับ๑ หน่วยความสามารถ (Competency Unit): ความสามารถย่อย (Competency Elements): เกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria): เกณฑ์การประเมิน (Assessment Criteria):
ขอบเขตการปฏิบัติงานและ สภาพการปฏิบัติงาน(Rage of Statement)
ถอด-ประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ ติดตั้งหน่วยประมวลผลกลางบนแผงวงจรหลัก หน่วยประมวลผลกลาง(CPU Chip) ถูกติดตัง้ บนแผงวงจรหลัก(MB) ได้ตามคู่มือ การติดตั้งแต่ละยี่หอ้ /รุ่น - จับหน่วยประมวลผลกลางได้ถกู วิธีโดยไม่ทําให้เกิดความเสียหาย - ติดตั้งหน่วยประมวลผลกลางได้ถูกตําแหน่งของซ๊อกเก็ต - ใส่ซลิ โิ คนระบายความร้อนในปริมาณเหมาะสม ไม่นอ้ ยหรือมากเกินไปจนล้น ออกนอกตัวหน่วยประมวลผลกลาง - ติดตั้งชุดระบายความร้อนได้ตามคู่มอื การติดตัง้ ของแต่ละยี่หอ้ /รุ่น เครื่องมือและอุปกรณ์ที่จําเป็น (Tools and Equipment) ได้แก่ - คอมพิวเตอร์ใช้ฝึก 1 ชุด - ไขควงชุด คีมปากจิ้งจก ไขควงเทสไฟ ปากคีบแบบโลหะ ( SMD Tweezers) ชุดเครือ่ งเป่าลม แปรงปัดฝุ่น วัสดุที่จําเป็น (Materials) ได้แก่ - น๊อตเกลียวหยาบ น๊อตเกลียวละเอียด ซิลโิ คลระบายความร้อนชนิดหลอด หรือชนิดแผ่น(Thermal Pad) ผ้าทําความสะอาด ชิ้นส่วนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (Components) ได้แก่ - หน่วยประมวลผลกลาง(CPU) พร้อมชุดระบายความร้อน แผงวงจรหลัก(Mainboard) ตัวถังเครื่องคอมพิวเตอร์(Case Computer) แผ่น ยางรองโต๊ะปฏิบัติงาน ปลั๊กพ่วง เอกสาร คู่มือ (Manual, Instruction) ได้แก่ - คู่มือแผ่งวงจรหลัก(Main board PC) คูม่ ือคุณลักษณะของชิ้นส่วน คอมพิวเตอร์ เทคนิคการตรวจสอบตามข้อกําหนดของบริษัท(Industry accepted techniques) ได้แก่ -ทดสอบด้วยการจ่ายกําลังไฟ, ตรวจสอบด้วยตาเปล่า ลักษณะการปฏิบัติงาน(Services) ได้แก่ -ถอด, เปลี่ยน, ติดตั้ง, เติมสารระบายความร้อนให้ชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๑๐แนวทางการประเมิน (Assessment Guide):
ความรู้ที่จําเป็นในการ ปฏิบัติงาน(Essential Knowledge)
รูปแบบการประเมิน(Form of Assessment) -ประเมินทักษะ ด้วยการสังเกตการปฏิบัติงาน และผลการปฏิบัติงาน และดูจากการสาธิตการปฏิบัติงาน -ประเมินความรู้ ด้วยการซักถามด้วยวาจา สภาพการประเมิน(Assessment Context) -ประเมินความสามารถในสถานประกอบกิจการ หรือ จําลองการปฏิบัติงาน เงื่อนไขการประเมิน(Assessment Condition) -ผู้ประเมินต้องจัดเตรียม เครือ่ งมือ อุปกรณ์ วัสดุและเอกสารต่างๆให้ผู้รับการ ประเมิน แต่ละคน -ผู้รับการประเมินต้องทําการประเมินภายในกรอบเวลาทีก่ ําหนดสอดคล้องกับ การปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบกิจการหรือในโรงงาน ข้อควรระวังและความปลอดภัย(Critical Aspects) -การปฏิบัติงานอยู่ภายใต้ระเบียบ ข้อกําหนดด้านความปลอดภัย -ปัญหาและอุปสรรคทีอ่ าจเกิดขึ้นระหว่างการปฏิบัติงาน จะถูกควบคุมตามความ เหมาะสมและจําเป็น ตามข้อกําหนดหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน - วิธีการติดตั้งหน่วยประมวลผลกลาง(CPU) บนแผงวงจรหลัก(MB) - วิธีการติดตั้งชุดระบายความร้อนบนหน่วยประมวลผลกลาง
ผู้พัฒนาหลักสูตรจะกําหนดรายละเอียดโครงร่างหลักสูตรขึ้นก่อนตามขัน้ ตอนของระบบการออกแบบและ พัฒนาหลักสูตรอิงสมรรถนะ(DSD CDD System) แล้วจึงจะพัฒนาเป็นเอกสารหลักสูตรสําหรับใช้งานจริงต่อไป ซึ่งจะกําหนดเนื้อหาทั้งด้านทักษะ(Skills)และด้านความรู้(Knowledges)โดยอ้างอิงมาจากเอกสารมาตรฐาน ความสามารถ(Competency Standard) มีหลักการดังนี้ - ด้านทักษะ(Skills) กําหนดขึ้นจาก เกณฑ์การปฏิบัติงาน(Performance Criteria:PC) - ด้านความรู้ (Knowledge) กําหนดขึ้นจาก ความรู้ที่จําเป็นในการปฏิบัตงิ าน(Essential Knowledge) รายละเอียด ตามตัวอย่าง ดังต่อไปนี้
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๑๑ตัวอย่างที่๒ การกําหนดเนื้อหาการฝึกอบรม ~ ด้านทักษะ(Skills) หน่วยสมรรถนะ (CU): ถอด-ประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ สมรรถนะย่อยที่๑ : ติดตั้งหน่วยประมวลผลกลาง(CPU) บนแผงวงจรหลัก(MB) เกณฑ์การปฏิบัติ(PC) โครงร่างหลักสูตรการฝึกด้านทักษะ หน่วยประมวลผลกลาง(CPU Chip) ถูกติดตัง้ บน - จับหน่วยประมวลผลกลาง(CPU) แผงวงจรหลัก(MB) ได้ตามคูม่ ือการติดตั้งแต่ละยี่หอ้ - ติดตั้งหน่วยประมวลผลกลางบนแผงวงจรหลัก - ใส่ซลิ โิ คนระบายความร้อนบนแกนของ CPU - ติดตั้งชุดระบายความร้อนบนแกนของ CPU (เป็นส่วนที่เชื่อมโยงกับมาตรฐานความสามารถ (CS) สาขา การตรวจซ่อมไมโครคอมพิวเตอร์ ระดับ๑ หรือ ที่เกี่ยวข้อง)
ตัวอย่างที่๓ การกําหนดเนื้อหาการฝึกอบรม ~ ด้านความรู้ที่จําเป็น (Essential Knowledge) หน่วยสมรรถนะ (CU): ถอด-ประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ สมรรถนะย่อยที่๑ : ติดตั้งหน่วยประมวลผลกลาง(CPU) บนแผงวงจรหลัก(MB) ความรู้ที่จําเป็น (EK) โครงร่างหลักสูตรการฝึกด้านความรู้ - วิธีการติดตั้งหน่วยประมวลผลกลาง(CPU) บน - ลักษณะของหน่วยประมวลผลกลาง(CPU) แต่ละรุ่น/ ยี่ห้อ แผงวงจรหลัก(MB) - ลักษณะของช่องเสียบ (SOCKET) หน่วยประมวลผล กลางแต่ละรุ่น/ยี่ห้อ (เป็นส่วนที่เชื่อมโยงกับมาตรฐานความสามารถ (CS) - ขั้นตอนการติดตั้งอย่างถูกวิธี สาขา การตรวจซ่อมไมโครคอมพิวเตอร์ ระดับ๑ - ประเภทของซิลิโคนระบายความร้อน หรือ ที่เกี่ยวข้อง) หลังจากที่ออกแบบ(Design) โครงร่างหลักสูตรในแต่ละหน่วยความสามารถเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไป เป็นการกําหนดรายละเอียดของหลักสูตรการฝึกตามความสามารถ(CBC) ซึ่งจะสอดคล้องและสัมพันธ์กับมาตรฐาน ความ(CS)และพัฒนาเป็นหลักสูตรการฝึกในสาขาต่างๆ ต่อไป ตามขั้นตอนในระบบการออกแบบและพัฒนา หลักสูตรอิงสมรรถนะ (DSD CDD System)
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๑๒๙. กรอบความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของมาตรฐานความสามารถ(Competency Standard) และ หลักสูตรตามความสามารถ (Competency Based Curriculum) มาตรฐานความสามารถ หน่วยความสามารถ รายละเอียดหน่วยความสามารถ
หลักสูตรตามความสามารถ ชื่อหลักสูตร รายละเอียดโมดุลการฝึก ระดับวุฒิบัตร/ใบรับรอง
ความสามารถย่อย เกณฑ์การปฏิบัติงาน ขอบเขตการปฏิบัติงาน ร่องรอยหลักฐานการปฏิบัติงาน
ชื่อโมดุลการฝึก ผลลัพธ์การฝึกที่ต้องการ/วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เกณฑ์การประเมิน เนื้อหา หัวข้อที่ใช้ฝึก เงื่อนไขการฝึก วิธีการประเมิน
ภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างมาตรฐานความสามารถ(CS)กับหลักสูตรการฝึกตามความสามารถ(CBC) จากกรอบความสัมพันธ์ดังกล่าว สามารถแปลงจากมาตรฐานความสามารถ ให้เป็นหลักสูตรและโมดุลการ ฝึกตามความสามารถ ซึ่งหลักสูตรที่ได้จะมีลกั ษณะเป็นโมดุลการฝึก เพื่อนําไปใช้ในการฝึกภายใต้รูปแบบการฝึก ตามความสามารถต่อไป
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๑๓-
กรอบการพัฒนาหลักสูตรและโมดุลการฝึกตาม ความสามารถ (Developing A Competency Based Curriculum)
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๑๔๑๐. กรอบการพัฒนาหลักสูตรและโมดุลการฝึกตามความสามารถ (Developing A Competency Based Curriculum)
มาตรฐานความสามารถ หน่วยความสามารถ
ความสามารถย่อย ๑
ความสามารถย่อย ๒
ความสามารถย่อย ๓
วิเคราะห์และแปลงเป็นหลักสูตร
หลักสูตรและโมดุลการฝึกตามความสามารถ ประกอบด้วย ๓ ส่วน ดังนี้ ๑.
รายละเอียดหลักสูตรตามความสามารถ
๒. รายละเอียดโมดุลการฝึก ๑ ๓. รายละเอียดหัวข้อวิชา ๑
๒ ๒
๓ ๓
ภาพแสดง กรอบการพัฒนาหลักสูตรและโมดุลการฝึกตามความสามารถ ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๑๕๑๐.๑ หลักการพัฒนาหลักสูตรและโมดุลการฝึกตามความสามารถ(Competency Based Curriculum) ในการพัฒนาหลักสูตรและโมดุลการฝึกตามความสามารถ(Competency Based Curriculum) ต้องเริ่มต้น ดังนี้ ๑. ให้นํามาตรฐานความสามารถ(Competency Standard) ของสาขาอาชีพนั้นมาใช้เป็นฐานอ้างอิงใน การพัฒนาหลักสูตรตามความสามารถ เช่น มาตรฐานฝีมอื แรงงาน หรือมาตรฐานความต้องการของผู้ประกอบ กิจการ ๒. ต้องวิเคราะห์พื้นฐานความรู้(Know ledges) ทักษะ(Skills) ความสามารถและคุณลักษณะ(Attribute) เบื้องต้นของผูร้ ับการฝึกก่อน กระบวนการพัฒนาหลักสูตร ประกอบด้วยกลุ่มคนทีม่ ีความเกี่ยวข้องกับภาคอุตสาหกรรมและการฝึก ได้แก่ ผูแ้ ทน หรือผู้เชี่ยวชาญในอาชีพหรืองานนั้นๆ จากสถานประกอบกิจการ นักพัฒนาหลักสูตรและครูฝึกหรือ วิทยากรที่มีประสบการณ์ในเนื้อหาวิชาหรือในสาขาอาชีพของอุตสาหกรรมดังกล่าว หากใช้กลุ่มคนในกระบวนการพัฒนาหลักสูตรแตกต่างจากนี้ โครงสร้างและหน้าตาหลักสูตรที่ได้กจ็ ะมี ความแตกออกไป อาจจะไม่ตรงกับวัตถุประสงค์ที่คาดหวังก็เป็นได้ สิ่งสําคัญที่ได้จากกระบวนการพัฒนาหลักสูตรคือผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ตอ้ งการ (LO: Learning Outcomes) และการประเมินผล (Assessment) การฝึกของผู้รับการฝึกในหลักสูตรที่ตอ้ งเชี่ยมโยงกับมาตรฐาน การทํางานของภาคอุตสาหกรรมหรือสถานประกอบกิจการ ส่วนประกอบหลักๆ ของหลักสูตร มีดังนี้ ๑. กรอบหลักสูตรตามความสามารถ (Course Design) ๒. กรอบโมดุลการฝึกหรือหน่วยการฝึก (Modules) ๓. กรอบหัวข้อวิชา(Contents Outline) หรือผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ตอ้ งการ(LO)
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๑๖๑๐.๒ โครงสร้างของโมดุลการฝึก หรือหน่วยการฝึก (Modules) ๑หลักสูตร(Course) หน่วยความสามารถ Unit of Competency
โมดุลการฝึก
๑ หน่วยความสามารถ พัฒนาเป็น ๑ โมดุลการฝึก หรือ ๑หลักสูตรการฝึก (Course) ๑หลักสูตร(Course) หน่วยความสามารถ Unit of Competency
ความสามารถย่อย๑
โมดุลการฝึก ๑
๒
๓
๒
๓
ชุดของโมดุลการฝึก (Sets of Modules)
๑ หน่วยความสามารถ พัฒนาเป็น ชุดของโมดุลการฝึก หรือ ๑หลักสูตรการฝึก (Course) ภาพแสดงโครงสร้างของโมดุลการฝึก หรือ หน่วยการฝึก (Modules) / หลักสูตรการฝึก(Course) การออกแบบและพัฒนาหลักสูตรตามความสามารถ ผู้พัฒนาสามารถกําหนดให้ ๑ หน่วยความสามารถ เป็น ๑ โมดุลการฝึก หรือ ๑ หลักสูตรการฝึก(Course) แต่ในบางครั้งเมื่อขอบเขตของการปฏิบัติงานกว้างหรือ ซับซ้อน ผู้พัฒนาสามารถจัดทําเป็นหลายโมดุลการฝึก (Sets of Modules: ชุดของโมดุลการฝึก) ใน ๑ หน่วย ความสามารถ ก็ได้ เรียกว่าเป็น ๑ หลักสูตรการฝึก(Course) เช่นกัน รายละเอียดเพิ่มเติม ดูจาก ภาคผนวก๒ ข. ๑๑. กระบวนการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรและโมดุลการฝึกตามความสามารถ (CBT) ๑๑.๑ การกําหนดโครงสร้างและองค์ประกอบของหลักสูตรและโมดุลการฝึกCBT การพัฒนาหลักสูตรตามความสามารถ/ฐานสมรรถนะ เป็นการนํามาตรฐานความสามารถหรือ มาตรฐานสมรรถนะ (Competency Standards) ที่กําหนดขึ้นในสาขาอาชีพนั้นๆ มาใช้เป็นฐานในการพัฒนา หลักสูตรการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum) โดยมี การกําหนดมาตรฐานหลักสูตร ได้แก่ การกําหนดกรอบหรือหัวข้อที่เป็นองค์ประกอบของหลักสูตรการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum) เพื่อเป็นมาตรฐานในการพัฒนาหลักสูตรต่างๆ ทีม่ ีโครงร่าง (Template) เดียวกัน มี ๒ รูปแบบ ดังนี้ ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๑๗รูปแบบที๑่ หลักสูตรการฝึกตามความสามารถ(Competency Based Curriculum) ประกอบด้วย ๓ ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ ๑ รายละเอียดหลักสูตร (COURSE OUTLINE) ส่วนที่ ๒ รายละเอียดโมดุลการฝึก (MODULE OUTLINE) ส่วนที่ ๓ รายละเอียดหัวข้อวิชา (CONTENT OUTLINE) ในแต่ละหลักสูตรจะประกอบด้วยโมดุลการฝึกต่างๆ และแต่ละโมดุลการฝึกจะประกอบด้วยหัวข้อ วิชาต่างๆ รายละเอียดมีดังนี้ ส่วนที่ ๑ รายละเอียดหลักสูตร (COURSE OUTLINE) ประกอบด้วยรายการดังนี้ ๑. ชือ่ หลักสูตร (Course Title) ๒. ระยะเวลาการฝึกอบรม (Nominal Duration) ๓. ขอบเขตหลักสูตร (Course Description) ๔. คุณสมบัตผิ สู้ มัครเข้ารับการฝึกอบรม (Trainee entry requirements) ๕. โครงสร้างและองค์ประกอบของหลักสูตร (Course structure) ๕.๑ หน่วยความสามารถ (Unit of competency) ๕.๒ ชือ่ โมดุลการฝึก (Module title) ๕.๓ ผลลัพธ์การเรียนรู้/รายการความสามารถที่ตอ้ งการ (Learning Outcome) ในแต่ ละโมดุลการฝึก ๕.๔ ระยะเวลาการฝึกของโมดุล (Nominal hours) ๖. วิธีการประเมินผล (Assessment Method) ๗. วิธีการฝึกอบรม (Methodologies) ๘. สรุปเครือ่ งมือและอุปกรณ์ (Resources) และจํานวนที่ใช้ในหลักสูตร ๘.๑ ระบุรายการและจํานวนเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ (Equipment) ๘.๒ ระบุรายการและจํานวนวัสดุ วัตถุดิบและเอกสาร คู่มือการฝึก (Material) ๙. ระบุชอื่ และจํานวน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ (Resource) ทีใ่ ช้ในการประเมิน ความสามารถของ ผรฝ. ๙.๑ ระบุรายการและจํานวนเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ (Equipment) ๙.๒ ระบุรายการและจํานวนวัสดุ วัตถุดิบและเอกสาร คู่มือการฝึก (Material) ๑๐. คุณสมบัตขิ องครูฝึกหรือวิทยากร (Qualification of Instructors or Trainers)
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๑๘ส่วนที่ ๒ รายละเอียดโมดุลการฝึก (MODULE OUTLINE) ประกอบด้วยรายการดังนี้ ๑. ชือ่ หลักสูตร (Course Title) ๒. ชือ่ โมดุลการฝึก (Module Title) ๓. ระยะเวลาการฝึก (Nominal Duration) ๔. ขอบเขตโมดุลการฝึก (Module Description) ๕. พื้นฐานความสามารถของ ผรฝ. ในโมดุลการฝึก (Prerequisite) ๖. ผลลัพธ์การเรียนรู้/รายการความสามารถที่ตอ้ งการ (Learning Outcome) ของโมดุลการฝึก ส่วนที่ ๓ รายละเอียดหัวข้อวิชา (Content outline) ประกอบด้วย รายการดังนี้ ๑. ชือ่ หลักสูตร (Course Title) ๒. ชือ่ โมดุลการฝึก (Module Title) ๓. ชือ่ หัวข้อวิชา (Content Title) ๔. เกณฑ์การประเมิน (Assessment Criteria) ๕. รายละเอียดเนื้อหาวิชา (Content Outline) ๖. ระบุชอื่ และจํานวนเครื่องมือและอุปกรณ์ (Resources) ของโมดุลการฝึกนี้ ๖.๑ ระบุรายการเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ (Equipment) ที่ใช้ฝึก ๖.๒ ระบุรายการวัสดุ และเอกสาร (Material) ที่ใช้ฝึก ๗. เงื่อนไขการฝึกอื่นๆ (Condition) (ถ้าจําเป็นต้องมี) เช่น - คู่มือปฏิบตั ิงาน วิธีปฏิบัติและเอกสารอ้างอิง (Condition) ๘. วิธีการฝึกอบรม (Methodologies) ๙. วิธีการประเมินผล (Assessment Method) รายละเอียดเพิ่มเติม ดูจากภาคผนวกที่๑ ก.
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๑๙รูปแบบที่ ๒ หลักสูตรการฝึกตามความสามารถของTESDA (รูปแบบการจัดการอาชีวศึกษาและฝึกอบรมของ ประเทศฟิลปิ ปินส์) ประเทศฟิลิปปินส์ (Philippine) มีการใช้รูปแบบการฝึกฐานสมรรถนะในการจัดการอาชีวศึกษาและ ฝึกอบรม โดยการพัฒนาหลักสูตรการฝึกฐานสมรรถนะ (Competency-based Curriculum Training course) ในรูปแบบโมดูลการฝึกตามมาตรฐานสมรรถนะ (Competency Standard) มีการแบ่งโครงสร้างหลักสูตรออกเป็น ๓ ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ ๑ รายละเอียดหลักสูตร (COURSE OUTLINE) ส่วนที่ ๒ รายละเอียดโมดุลการฝึก (MODULE OUTLINE) ส่วนที่ ๓ รายละเอียดผลลัพธ์การเรียนรู้/รายการความสามารถที่ต้องการ (LEARNING OUTCOMES) รายละเอียด ดังนี้ ส่วนที๑่ . รายละเอียดหลักสูตร (COURSE OUTLINE) ประกอบด้วยรายการดังนี้ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙.
ชื่อหลักสูตร (Course Title) ขอบเขตของโมดุลการฝึก (Module Description) ระดับวุฒิบัตร (Level of Certification) ชื่อโมดุลการฝึก (Module Title) ผลลัพธ์การเรียนรู้/รายการความสามารถทีต่ อ้ งการ (Summary of Learning Outcomes) เกณฑ์การประเมิน (Assessment Criteria) เนื้อหาการฝึกภาคความรู้และทักษะ (Content) เงื่อนไขการฝึก (Condition) วิธีการประเมินผล (Assessment Method)
ส่วนที๒่ รายละเอียดโมดุลการฝึก (Module) ประกอบด้วยรายการดังนี้ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕.
ชื่อหน่วยความสามารถ (Unit Title) ชื่อโมดุลการฝึก (Module Title) ขอบเขตของโมดุลการฝึก (Module Descriptor) ระดับวุฒิบัตร (Level) ระยะเวลาการฝึก (Nominal Duration)
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๒๐ส่วนที่ ๓ รายละเอียดผลลัพธ์การเรียนรู้/รายการความสามารถที่ต้องการ (Learning Outcomes) ๑. ผลลัพธ์การเรียนรู้/รายการความสามารถ (Learning Outcome) - ผลลัพธ์การเรียนรู้/รายการความสามารถที่๑ (Learning outcome ๑) - ผลลัพธ์การเรียนรู้/รายการความสามารถที่๒ (Learning outcome ๒) - ผลลัพธ์การเรียนรู้/รายการความสามารถที่๓ (Learning outcome ๓) รายละเอียดในแต่ละผลลัพธ์การเรียนรู้/รายการความสามารถ(LO) ประกอบด้วยรายการดังนี้ - ผลลัพธ์การเรียนรู้/รายการความสามารถที่๑ (Learning outcome ๑) ประกอบด้วยรายการ ดังนี้ เกณฑ์การประเมิน (Assessment Criteria) เงื่อนไขการฝึกและการประเมิน(Conditions) หัวข้อวิชาและเนื้อหาในการฝึก(Content) วิธีการฝึกอบรม(Methodology) o การบรรยาย(Traditional/Lecture type) o การฝึกอบรมแบบควบคู่(Dual training) o การเรียนด้วยตนเอง(Self-pace) o การเรียนแบบกลุ่ม(Community based) o การเรียนทางไกล(Distance gloves) วิธีการวัดและประเมินผล(Assessment Method) o การสอบสัมภาษณ์(Interview) o การสอบข้อเขียน(Written) o การสอบปฏิบัติ(Practical) o การสังเกตพฤติกรรม(Direct observation) รายละเอียดเพิ่มเติม ดูจากภาคผนวกที่๒ ก. ข้อสังเกต: หากมีจํานวนผลลัพธ์การฝึก (Learning outcomes) มากกว่า ๑ ก็ใช้หัวข้อและรายละเอียด เดียวกัน โดยสรุป ทั้งสองรูปแบบ มีความเหมือนกันในส่วนที่๑ และส่วนที่๒ แต่มคี วามแตกต่างกันบ้างในส่วนที่๓ โดยที่รูปแบบที่๑ ส่วนที๓่ : จะเป็นรายละเอียดของหัวข้อวิชา (Content outline) และส่วนที๓่ ของรูปแบบที่๒ คือ ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ตอ้ งการ (Learning Outcomes) หรือรายการความสามารถทีต่ อ้ งการ นั่นเอง
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๒๑-
กรอบการดําเนินงาน(Flow chart) การจัดทําหลักสูตรตามความสามารถ (Developing A Competency Based Curriculum)
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๒๒๑๑.๒ กรอบการดําเนินงาน(Flow chart) การจัดทําหลักสูตรและโมดุลการฝึกตามความสามารถ (CBT) ผังดําเนินงาน ก.
เริ่มต้น
๑. นํามาตรฐานความสามารถ (Competency Standard) มาทําหลักสูตรตามความสามารถ (Competency Based Curriculum: CBC)
๒.กําหนดโครงสร้างและองค์ประกอบ หลักสูตร (Course Structure)
ไม่ถูกต้อง
รายละเอียด
กําหนดโครงสร้างหลักสูตร ถูกต้องหรือไม่?
ถูกต้อง
๑.) ให้นํามาตรฐานความสามารถ(Competency Standard)ของสาขาอาชีพนัน้ มาใช้ เป็นฐานอ้างอิงใน การพัฒนาหลักสูตรตามความสามารถ เช่น มาตรฐาน ฝีมอื แรงงานกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน (บางหน่วยงาน เรียกหลักสูตรอิงสมรรถนะ) หรือ ๒.) ให้นํามาตรฐานตามความต้องการของผู้ประกอบ กิจการเป็นฐานอ้างอิงในการพัฒนาหลักสูตรตาม ความสามารถ (นํามาตรฐานต่างๆ ที่มอี ยู่มาจัดทําหลักสูตรการฝึกCBT ) จัดทําหัวข้อและรายละเอียดของหลักสูตรเพื่อทําเป็น กรอบโครงสร้างหลักสูตรตามความสามารถ โดยมีหัวข้อ ต่างๆ เช่น - ชื่อหลักสูตร(Course Title) - ระยะเวลาการฝึก(Nominal Duration) - คําอธิบายหลักสูตร(Course Description) - คุณสมบัติของผู้รับการฝึก(Entry Requirements) - โครงสร้างและองค์ประกอบหลักสูตร(Course Structure) - ชื่อหน่วยความสามารถ (Unit of Competency) - ชื่อโมดุลการฝึก (Module Title) - วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม /ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ ต้องการ(Learning Outcomes) - ระยะเวลาการฝึกในโมดุล(Nominal Duration) - วิธีการประเมิน(Assessment Methods) - วิธีการฝึก(Course Delivery) - สิ่งสนับสนุนการฝึก (Resources) (เช่น วัสดุ เครื่องมือ อุปกรณ์การฝึก และสื่อการฝึก สิ่งอํานวยความสะดวก เป็น ต้น) - คุณสมบัติของครูฝึก/วิทยากร (Trainer’s Qualifications)
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๒๓-
๓. จัดทํารายละเอียดและจัดกลุ่มรายการ ความสามารถ (Competency List)
ไม่ใช่
จัดทํารายละเอียดและ จัดกลุ่มรายการความสามารถ ได้ครบถ้วน แล้วใช่หรือไม่
ใช่
จัดทํารายละเอียดและจัดกลุ่มรายการความสามารถต่างๆ ที่ ต้องการทําเป็นโมดุลการฝึกในหลักสูตรตามความสามารถ โดยพิจารณารายละเอียดจากมาตรฐานความสามารถ (Competency Standard) ในหัวข้อต่อไปนี้ - หน่วยความสามารถ (unit of competency) ซึ่งประกอบด้วย - รายละเอียดหน่วยความสามารถ (Unit descriptor) - ความสามารถย่อย(Element of competency) - เกณฑ์การปฏิบัติงาน(Performance Assessment) - ขอบเขตการปฏิบัติงาน(Rage of variable) - หลักฐานการปฏิบัติงาน (Evidence guide) พิจารณา จัดทํากลุ่มรายการความสามารถทีต่ ้องการฝึก เช่น - ความสามารถพืน้ ฐานการทํางาน(Basic Competency) - ความสามารถร่วมทางช่าง(Common Competency) - ความสามารถหลักในตําแหน่งงาน(Core Competency)
จัดทํารายละเอียดและกําหนดโครงสร้างโดยกําหนดหัวข้อ ต่างๆเป็นกรอบของโมดุลการฝึกโดยพิจารณาจาก องค์ประกอบของหน่วยความสามารถและโครงสร้างของ หลักสูตรและหาความสัมพันธ์ระหว่างกัน โดยมีหัวข้อ ดังนี้
๔.จัดทํารายละเอียดของโมดุลการฝึก (Module Outline)
- ชื่อมาตรฐานความสามารถ(Competency Standard Title) - ชื่อหน่วยความสามารถ(Unit of Competency) - รหัสโมดุลการฝึก(Module Code) - ชื่อโมดุลการฝึก(Module Title) - คําอธิบายรายละเอียดโมดุลการฝึก(Module Description) -ระยะเวลาการฝึก(Norminal Duration) - คุณสมบัติทตี่ ้องมีมาก่อน(Pre-requisite) - กําหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม/ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ต้องการ (Learning Outcomes)แต่ละโมดุล - กําหนดเกณฑ์การประเมิน(Assessment Criteria) - กําหนดเนื้อหาการฝึก(Contents) - กําหนด วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ คุณสมบัติครูฝึก - กําหนดวิธีการฝึก(Methodologies) เป็นต้น
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๒๔-
๕. กําหนดวิธกี ารประเมินผลการฝึก
๖. จัดทําเอกสารหลักสูตรการฝึกตาม ความสามารถ (CBC)
๗.ตรวจสอบและพิจารณาความถูกต้อง ทดลองใช้งานและเผยแพร่
ก.
ใช่
มีการเปลี่ยนแปลง มาตรฐานความสามารถ ใช่หรือไม่?
ขั้นตอนสุดท้ายผู้จัดทําต้องกําหนดวิธีการประเมินผลผูร้ ับ การฝึกในแต่ละวัตถุประสงค์ที่ตอ้ งการให้ผรู้ ับการฝึก บรรลุ(Learning Outcomes) ในแต่ละโมดุลการฝึก โดยการกําหนด - วิธีการประเมินผลผู้รับการฝึก(AssessmentMethods) ในแต่ละวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ต้องการให้ผู้รับการ ฝึกบรรลุ (Learning Outcomes) และต้องเชือ่ มโยงกับเกณฑ์การประเมิน(Assessment Criteria)ในแต่ละวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ได้กําหนด ไว้แต่แรกด้วย จัดทําเป็นเอกสารหลักสูตรตามโครงสร้างและ องค์ประกอบหลักสูตร (Course Structure)และ รายละเอียดของหลักสูตรที่กาํ หนดไว้ ตรวจสอบและพิจารณาความถูกต้องของหลักสูตรและ โมดุลการฝึก โดยคณะทํางานจัดทําหลักสูตรและผู้มสี ่วน ได้เสีย นําไปทดลองใช้งานและจัดทําเป็นเอกสาร เผยแพร่ เพือ่ ใช้เป็นแนวทางการฝึกอบรมต่อไป การปรับปรุงและเปลี่ยนแปลง(update)หลักสูตรจะ เป็นไปตามการเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานความสามารถ (Competency Standard) เท่านั้น
ไม่ใช่ สิ้นสุด
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๒๕-
ขั้นตอนการจัดทําหลักสูตรตามความสามารถ (Developing A Competency Based Curriculum)
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๒๖-
การจัดทําหลักสูตรการฝึกตามความสามารถ(Competency Based Curriculum) หลักสูตรการฝึกตามความสามารถ แบ่งออกเป็น ๓ ส่วน คือ ๑. รายละเอียดหลักสูตร(Course Outline) ๒. รายละเอียดโมดุการฝึก(Module Outline) ๓. รายละเอียดหัวข้อวิชา(Content Outline) หรือผลลัพธ์การ เรียนรู้ที่ต้องการ(LO) การเขียนโครงสร้างหลักสูตรในแต่ละส่วน กลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก สํานักพัฒนาผู้ฝึกและ เทคโนโลยีการฝึก ได้กําหนดเป็นแนวทางในการเขียนดังนี้ ระยะที่๑ (Phase)
กําหนดโครงสร้างและองค์ประกอบหลักสูตร (Course Structure) ผู้พัฒนาควรเริ่มต้นด้วยการกําหนดโครงสร้างและองค์ประกอบหลักสูตรการฝึก ซึ่งเป็นการ เรียงลําดับของโมดุลการฝึกหรือหัวข้อวิชาและระยะเวลาการฝึกในแต่ละโมดุลการฝึกของหลักสูตร รวมถึงการเรียงลําดับและจัดกลุ่มหน่วยความสามารถหรือรายการความสามารถย่อย และกําหนด โครงสร้างหลักสูตรให้สอดคล้องกับกิจกรรมการฝึก เช่น การฝึกเตรียมเข้าทํางาน การฝึกยกระดับ เป็นต้น และผูพ้ ัฒนาควรตรวจสอบโครงสร้างและองค์ประกอบของหลักสูตรให้เรียบร้อยก่อน ดําเนินการในขัน้ ตอนต่อไป
๑. จัดกลุ่มรายการความสามารถ ตัวอย่าง : โครงสร้างและองค์ประกอบของหลักสูตร (COURSE STRUCTURE :) กิจกรรมการฝึกเตรียมเข้าทํางาน หลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทํางาน โดยหน่วยฝึกของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน แบ่งตามความสามารถเป็น ๓ กลุ่มความสามารถ ใช้ระยะเวลาในการฝึก...................................(จํานวน)ชั่วโมง ประกอบด้วยกลุ่มความสามารถ ดังนี้ - กลุ่มความสามารถพื้นฐานการทํางาน(Basic Competency)................................................(จํานวน)โมดูล - กลุ่มความสามารถร่วมทางช่าง(Common Competency)...................................................(จํานวน)โมดูล - กลุ่มความสามารถหลักในงาน(Core Competency)............................................................(จํานวน)โมดูล ๒. กําหนดรายละเอียดในแต่ละกลุ่มความสามารถ ตัวอย่าง: ตารางการวิเคราะห์กลุ่มความสามารถ: กิจกรรมการฝึกเตรียมเข้าทํางาน หน่วยความสามารถ ๑. มีส่วนร่วมในการ สื่อสารในทีท่ ํางาน
รหัส/ชื่อโมดูล ผลลัพธ์การเรียนรู้ กลุ่มความสามารถพื้นฐานการทํางาน ๑.๑ การติดต่อสือ่ สารใน ๑.๑.๑ รับและสื่อข้อมูลในสถานที่ทํางาน ที่ทํางาน ๑.๑.๒ มีส่วนร่วมในการประชุมและการ อภิปราย
ระยะเวลา ๑๘ ชม. ๔
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๒๗หน่วยความสามารถ
รหัส/ชื่อโมดูล
๒. ทํางานในสภาวะ แวดล้อมของทีมงาน
๒.๑ ทํางานร่วมกับผู้อนื่
๓. ปฏิบัติงานอย่างมือ อาชีพ
๓.๑ ปฏิบัติงานอย่างมือ อาชีพ
ผลลัพธ์การเรียนรู้ ๑.๑.๓ ทํางานเอกสารที่เกี่ยวข้องได้สมบูรณ์ ๒.๑.๑ อธิบายและกําหนดบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบในทีมงาน ๒.๑.๒ ทํางานเป็นสมาชิกในทีม
๓.๑.๑ บูรณาการวัตถุประสงค์ส่วนบุคคลกับ เป้าหมายขององค์กร ๓.๑.๒ กําหนดและตรงตามลําดับความสําคัญ ของงาน ๔. ปฏิบัติตามวิธีการ ๔.๑ ปฏิบัตติ ามวิธีการ ๔.๑.๑ ระบุอันตรายและความเสี่ยง อย่างปลอดภัยและถูก อย่างปลอดภัยและถูก ๔.๑.๒ ประเมินอันตรายและความเสี่ยง สุขลักษณะตามอาชีพ สุขลักษณะตามอาชีพ ๔.๑.๓ ควบคุมอันตรายและความเสี่ยง ๔.๑.๔ รักษาและตระหนักรูใ้ นความปลอดภัย และสุขภาพในสายอาชีพ กลุ่มความสามารถร่วมทางช่าง ๑.ประยุกต์ใช้มาตรฐาน ๑.๑ ประยุกต์ใช้ ๑.๑.๑ ระเมินคุณภาพของวัสดุที่ได้รับ คุณภาพ มาตรฐานคุณภาพ ๑.๑.๒ ประเมินการทํางานของตัวเอง ๑.๑.๓ ร่วมในการพัฒนาคุณภาพ ๒.ปฏิบัติงาน ๒.๑ ปฏิบัติงาน ๒.๑.๑ ประยุกต์ใช้วิธีการทํางานพื้นฐานของ คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ ๒.๑.๒ จัดระเบียบและจัดการกับไฟล์ ๒.๑.๓ ติดตั้ง กําหนดค่า และทํางานด้วย โปรแกรมประยุกต์ ๒.๑.๔ ทํางานด้วยอินเทอร์เนต ๒.๑.๕ ออกจากระบบคอมพิวเตอร์
กลุ่มความสามารถหลักในงาน ๑. ติดต่อสือ่ สารอย่างมี ๑.๑ ติดต่อสือ่ สารอย่างมี ๑.๑.๑ วิเคราะห์กระบวนการสื่อสาร ประสิทธิภาพในศูนย์ ประสิทธิภาพในศูนย์ ๑.๑.๒ ติดต่อสือ่ สารและฟังอย่างกระตือรือร้น ติดต่อฝ่ายบริการลูกค้า ติดต่อฝ่ายบริการลูกค้า ๑.๑.๔ ระบุและใช้ตัวชี้นําการ สื่อสาร paralanguage
ระยะเวลา ๔
๕
๕
๑๘ ชม. ๘ ๑๐
๓๒๐ ชม. ๑๒๐
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๒๘หน่วยความสามารถ ๒. ให้บริการลูกค้า อย่างมีคุณภาพ
รหัส/ชื่อโมดูล ผลลัพธ์การเรียนรู้ ๒.๑ ให้บริการลูกค้าอย่าง ๒.๑.๑ แสดงให้เห็นถึงความเข้าใจ มีคุณภาพ ของ BFO / อุตสาหกรรม Call Center ๒.๑.๒ ส่ง / เรียกไปยัง / จากลูกค้า ๒.๑.๓ จัดการข้อร้องเรียนของลูกค้า ๒.๑.๔ ให้บริการหลังการขายและบริการ เอกสาร ๓.ปฏิบัติงาน ๓.๑ ปฏิบัติงาน ๓.๑.๑ ประยุกต์ใช้ขั้นตอนการทํางาน คอมพิวเตอร์พนื้ ฐาน คอมพิวเตอร์พนื้ ฐานและ คอมพิวเตอร์พนื้ ฐาน และท่องอินเทอร์เนต ท่องอินเทอร์เนต ๓.๑.๒ จัดระเบียบและจัดการกับไฟล์ ๓.๑.๓ ติดตั้ง กําหนดค่า และทํางานด้วย โปรแกรมประยุกต์ ๓.๑.๔ ทํางานด้วยอินเทอร์เนต ๓.๑.๕ ออกจากระบบคอมพิวเตอร์ ๔.๑ แสดงให้เห็นถึงความ ๔.๑.๑ ประยุกต์ใช้ความรูต้ ัวแปรทาง ๔. แสดงให้เห็นถึง ความเข้าใจและความรู้ เข้าใจและความรู้เกี่ยวกับ วัฒนธรรมร่วมกัน ๔.๑.๒ ประยุกต์ใช้ความรู้ภูมศิ าสตร์อเมริกนั เกี่ยวกับวัฒนธรรมของ วัฒนธรรมของชาว อเมริกันและภูมิศาสตร์ ชาวอเมริกันและ ภูมิศาสตร์
ระยะเวลา ๑๒๐
๔๐
๔๐
ข้อแนะนํา: การกํา หนดโครงสร้างหลั กสู ต รตามความสามารถ ผู้ พัฒนาต้ องทํ า การวิ เ คราะห์ หน่ วยความสามารถ (Competency Unit) และความสามารถย่อย (Elements of Competency) เพื่อจัดกลุ่มความสามารถต่างๆ ชื่อโมดูลการฝึก (Module Title) และกําหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ (LO) และจํานวนชั่วโมงที่ใช้ในการฝึก (Nominal Duration) ซึ่งมีลักษณะเป็นตารางการวิเคราะห์ความสามารถ และจะถูกนําไปจัดทํารายละเอียดของหลักสูตรใน ลําดับต่อไปตามโครงร่าง (Template) หลักสูตร ที่ได้กําหนดไว้ ผู้พัฒนาควรตรวจสอบความถูกต้องของกลุ่ม ความสามารถ หรือ รายการความสามารถที่กําหนดขึ้นทุกครั้ง - หลักสูตรการฝึกเตรียม โครงสร้างหลักสูตรจะประกอบด้วย กลุ่มความสามารถที่ครอบคลุมทุกด้าน เช่น - กลุ่มความสามารถพื้นฐานการทํางาน(Basic Competency)..................................................(จํานวน)โมดูล - กลุ่มความสามารถร่วมทางช่าง(Common Competency)....................................................(จํานวน)โมดูล - กลุ่มความสามารถหลักในงาน(Core Competency).............................................................(จํานวน)โมดูล หลักสูตรการฝึกยกระดับ โครงสร้างหลักสูตรจะประกอบไปด้วย กลุ่มความสามารถเฉพาะ เช่น - กลุ่มความสามารถหลักในงาน(Core Competency)............................................................(จํานวน)โมดูล ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๒๙ตัวอย่าง โครงสร้างและองค์ประกอบหลักสูตรการฝึกตามความสามารถ: กิจกรรมการฝึกยกระดับ โครงสร้าง: ส่วนที่ ๑ ให้กําหนดรายละเอียดหลักสูตร (Course Outline) ๑.ชื่อหลักสูตร: …………………….................................................... รหัส : ……………. …………………………………………………………………. ๒.ระยะเวลาการฝึกอบรม ………………. ชั่วโมง ทฤษฎี .......ชั่วโมง ปฏิบัติ ..... ชั่วโมง (Nominal duration) : ๓.ขอบเขตของหลักสูตร (Course Description) : หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นให้ครอบคลุมความสามารถด้านความรู้ ทักษะและเจตคติแก่ผู้เข้ารับการฝึกในสาขา อาชีพช่าง / งาน …..............................................................เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้ ดังนี้ ๑. .……………………………………………………………………………………………………………. ๒. ……………………………………………………………………………………………………………… ๓. ............................................................................................................................ ๔. ........................................................................................................................... ๔.คุณสมบัตผิ สู้ มัครเข้ารับ ตามระเบียบกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน ว่าด้วยคุณสมบัติของผู้สมัคร การฝึกอบรม (Trainee กิจกรรมฝึกยกระดับฝีมอื ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ผู้สมัครเข้ารับการฝึกต้องมี entry requirements) ๑. อายุตั้งแต่ ๑๘ ปีขึ้นไป ๒. ประสบการณ์การทํางานเกี่ยวกับช่าง……………………………หรือมี พื้นฐานความรู้ทางช่าง…………………………………………………………. ๓. มีสภาพร่างการและจิตใจพร้อมเข้ารับการฝึก
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๓๐โครงสร้าง: ส่วนที่ ๑ ให้กําหนดรายละเอียดหลักสูตร (Course Outline) ๑.ชื่อหลักสูตร: …………………….................................................... รหัส : ……………. …………………………………………………………………. ๕.โครงสร้างและองค์ประกอบของหลักสูตร (Course Structure) หน่วยความสามารถ ชื่อโมดุลการ รายการความสามารถทีต่ ้องการ ระยะเวลา (Unit of ฝึก (Module (ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ตอ้ งการ) (Nominal Competence) Title) (Learning Outcome) hours) : ชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ ๑. .......................... ๑.................... ๑.............................................................. .............................. ....................... ๒.............................................................. …….. …….. .............................. ....................... ๓.............................................................. ............................. ....................... ๔.............................................................. ๒. ............................ ๒.................... ๑.............................................................. ................................. ....................... ๒.............................................................. …….. …….. ................................. ....................... ๓.............................................................. ................................ ....................... ๔.............................................................. ๓. ............................ ๓.................... ๑.............................................................. ................................. ....................... ๒.............................................................. …….. …….. ................................. ....................... ๓.............................................................. ................................ ....................... ๔.............................................................. ๔. ............................ ๔.................... ๑.............................................................. ................................. ....................... ๒.............................................................. …….. …….. ................................. ....................... ๓.............................................................. ................................ ....................... ๔.............................................................. รวม …….. …….. ๖. วิธีการประเมินผล (Assessment Method) :
๑. .............................................................................. ๒. .............................................................................. ๓. .............................................................................. ๔. .............................................................................. ๕. .............................................................................. ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๓๑โครงสร้าง: ส่วนที่ ๑ ให้กําหนดรายละเอียดหลักสูตร (Course Outline) ๑.ชื่อหลักสูตร: …………………….................................................... รหัส : ……………. …………………………………………………………………. ๗. วิธกี ารฝึกอบรม: (Methodologies) ๑. .............................................................................. ๒. .............................................................................. ๓. .............................................................................. ๔. .............................................................................. ๕. .............................................................................. ๘. สรุปเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ (Resources) ในหลักสูตร ๘.๑ระบุชื่อและจํานวน เครือ่ งจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ ๑. ................................................................. ๒. .................................................................. ๓. .................................................................. ๔. .................................................................. ๕. .................................................................. ๖. .................................................................. ๗. .................................................................. ๘. .................................................................. ๙. .................................................................. ๑๐. .................................................................
จํานวน ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... .......................
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๓๒โครงสร้าง: ส่วนที่ ๑ ให้กําหนดรายละเอียดหลักสูตร (Course Outline) ๑.ชื่อหลักสูตร: …………………….................................................... รหัส : ……………. …………………………………………………………………. ๘.๒ ระบุชื่อและจํานวน วัสดุ วัตถุดบิ ๑. .................................................................. ๒. .................................................................. ๓. .................................................................. ๔. .................................................................. ๕. .................................................................. ๖. .................................................................. ๗. .................................................................. ๘. .................................................................. ๙. .................................................................. ๑๐. .................................................................
จํานวน ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... .......................
๘.๓ ระบุชื่อและจํานวน เอกสาร คู่มือการฝึก ๑. .................................................................. ๒. .................................................................. ๓. .................................................................. ๔. .................................................................. ๕. ..................................................................
จํานวน ....................... ....................... ....................... ....................... .......................
๙. ระบุชื่อและจํานวน เครือ่ งมือ วัสดุ และอุปกรณ์ (Resources) ในการประเมินผล ๙.๑ ระบุเครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ จํานวน ๑. .................................................................. .................................. ๒. .................................................................. ................................ ๓. .................................................................. .................................. ๔. .................................................................. ................................ ๕. .................................................................. ..................................
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๓๓โครงสร้าง: ส่วนที่ ๑ ให้กําหนดรายละเอียดหลักสูตร (Course Outline) ๑.ชื่อหลักสูตร: …………………….................................................... รหัส : ……………. …………………………………………………………………. ๙.๒ ระบุ วัสดุ วัตถุดบิ ๑. .................................................................. ๒. .................................................................. ๓. .................................................................. ๔. .................................................................. ๕. ..................................................................
จํานวน .................................. ................................ .................................. ................................ ..................................
๙.๓ ระบุชื่อและจํานวน เอกสาร คู่มือการประเมิน ๑. .................................................................. ๒. .................................................................. ๓. .................................................................. ๔. .................................................................. ๕. ..................................................................
จํานวน .................................. ................................ .................................. ................................ ..................................
๑๐. คุณสมบัติของครูฝกึ /วิทยากร (Qualification of Instructors or Trainers) ผู้เข้ารับการฝึกจะได้รับการฝึกทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยวิทยากรจากกรมพัฒนา ฝีมอื แรงงานและจากผู้ชํานาญการในอาชีพ /งาน............................................... โดยมีคณ ุ สมบัติ ๑. ผ่านการคัดเลือกตามระเบียบกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน ปี ๒๕๔๗ ๒. ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร ทักษะการถ่ายทอดงานและการประเมินผลการฝึก รูปแบบCBT ๓. มีความสามารถในการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์และคอมพิวเตอร์
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๓๔โครงสร้าง: ส่วนที่ ๒ ให้กําหนดรายละเอียดโมดุลการฝึก (Module Outline) ........................................................................................... ๑.ชื่อหลักสูตร : รหัส : ............... ........................................................................................... ........................................................................................... ๒.ชื่อโมดุลการฝึก: รหัส : …………….. ........................................................................................... ๓.ระยะเวลาการฝึก: รวม............... ชั่วโมง ทฤษฎี.....ชั่วโมง ปฏิบัติ ....... ชั่วโมง ๔.ขอบเขตของโมดุล ………………………………………………………………………………………………………….... การฝึก : ……………………………………………………………………………………………………………. ๕.พื้นฐานความสามารถของ ผรฝ. ในโมดุลการฝึก (Prerequisite) :
๑. ..................................................................................... ๒. .................................................................................... ๓. ....................................................................................
๖.ผลลัพธ์การเรียนรู้/รายการความสามารถที่ต้องการ (Learning Outcomes) : เมือ่ สําเร็จการฝึกใน โมดุลการฝึกนี้ ผู้เข้ารับการฝึกสามารถปฏิบัตงิ านโดยมีความสามารถ และระยะเวลาการฝึก ดังนี้ ผลลัพธ์การเรียนรู้/รายการ ความสามารถที่ต้องการ (LO) ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ………………………………
ชื่อหัวข้อวิชา(Content)
ชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ
หัวข้อที่๑:………………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๒:………………………………… ………. ……… ………………………………………………. หัวข้อที่๓:………………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๔:………………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๕:………………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๖:………………………………… ………. ………. ………………………………………………. รวมทั้งสิ้น ………. ……….
รวม …….. …….. ……… ……… ……… ……… ……..
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๓๕โครงสร้าง: ส่วนที่ ๓ ให้กําหนดรายละเอียดหัวข้อวิชาที่๑ (Content Outline) …………………………………………………………………… ๑.ชื่อหลักสูตร : รหัส : …………… ………………………………………………………………. …………………………………………………………………… ๒.ชื่อโมดุลการฝึก : รหัส : …………… ………………………………………………………………. …………………………………………………………………… ๓.ชื่อหัวข้อวิชา (Content) : รหัส : …………… ………………………………………………………………. ๔.เกณฑ์การประเมิน (Assessment Criteria) เมือ่ ผ่านการฝึกในหัวข้อวิชานีแ้ ล้วผูเ้ ข้ารับการฝึก สามารถ ปฏิบัติงานได้ตามเกณฑ์ ดังนี้ ๑. ………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ………………………………………………………………………………………………………………… ๔. ………………………………………………………………………………………………………………… ๕. ………………………………………………………………………………………………………………… ๕.รายละเอียดเนื้อหา (Contents) ๑. ………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ………………………………………………………………………………………………………………… ๔. ………………………………………………………………………………………………………………… ๕. ………………………………………………………………………………………………………………… ๖.ระบุชื่อและจํานวน วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือ (Resources) ของโมดุลการฝึกนี้ ๖.๑ อุปกรณ์ เครื่องมือ จํานวน ๑. ………………………………………………………….. ………………………………. ๒. ………………………………………………………….. ………………………………. ๓. ………………………………………………….………. ………………………………. ๔. …………………………………………….……………. ………………………………. ๕. ………………………………………………………….. ………………………………. ๖. ………………………………………………………….. ………………………………. ๗. ………………………………………………….………. ………………………………. ๘. …………………………………………….……………. ………………………………. ๙. ………………………………………………….………. ………………………………. ๑๐. …………………………………………….……………. ……………………………….
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๓๖…………………………………………………………………… รหัส : …………… ………………………………………………………………. …………………………………………………………………… ๒.ชื่อโมดุลการฝึก : รหัส : …………… ………………………………………………………………. …………………………………………………………………… ๓.ชื่อหัวข้อวิชา (Content) : รหัส : …………… ………………………………………………………………. ๖.๒ วัสดุ วัตถุดิบ จํานวน ๑. ………………………………………………………….. ………………………………. ๒. ………………………………………………………….. ………………………………. ๓. . ………………………………………………….………. ………………………………. ๔. …………………………………………….……………. ………………………………. ๕. …………………………………………….……………. ……………………………….
๑.ชื่อหลักสูตร :
๗. เงื่อนไขการฝึกอื่นๆ (ถ้าจําเป็นต้องมี): หน่วยฝึกต้องจัดเตรียมสิ่งเหล่านี้ให้ผู้เข้ารับการฝึก ได้แก่ ๑. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๒. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๓. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๔. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๘. คู่มือ วิธีปฏิบัติ และเอกสารอ้างอิง ๑. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๒. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๓. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๔. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๙.วิธกี ารฝึกอบรม (Methodologies) ๑๐.วิธกี ารประเมินผล (Assessment Methods)
๑. .…………………………………………………………………………............. ๒. .…………………………………………………………………………............. ๓. .…………………………………………………………………………............. ๑. .…………………………………………………………………………............. ๒. .…………………………………………………………………………............. ๓. .………………………………………………………………………….............
ผู้เห็นชอบหลักสูตร........................................................ ..................................................................................... วันที่.................................................................................
ผู้อนุมัติหลักสูตร…………………………………… ..................................................................... วันที่..............................................................
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๓๗ตัวอย่าง รายละเอียดหลักสูตรการฝึกตามความสามารถ: กิจกรรมการฝึกเตรียมเข้าทํางาน โครงสร้าง: ส่วนที่ ๑ ให้กําหนดรายละเอียดหลักสูตร (Course Outline) หลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทํางาน ชื่อหลักสูตร:.................................................... รหัสหลักสูตร(๐๙xxxxxxxxxx) ระยะเวลาฝึก………………ชั่วโมง กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน กระทรวงแรงงาน ๑.ชื่อหลักสูตร ………………………………………………………………………………….………………… (Course Title): ………………………………………………………………………………….……………….. ๒.ระยะเวลาการ ฝึกอบรม ………………. ชั่วโมง ทฤษฎี .......ชั่วโมง ปฏิบัติ ..... ชั่วโมง (Nominal duration) : ๓.ขอบเขตของหลักสูตร (Course Description) : หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นให้ครอบคลุมความสามารถด้านความรู้ ทักษะและเจตคติแก่ผู้เข้ารับการฝึกในสาขา อาชีพช่าง / งาน …..............................................................เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้ ดังนี้ ๑. .……………………………………………………………………………………………………………. ๒. ……………………………………………………………………………………………………………… ๓. ............................................................................................................................ ๔. ........................................................................................................................... ๔.คุณสมบัตผิ สู้ มัครเข้ารับ ตามระเบียบกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน ว่าด้วยคุณสมบัติของผู้สมัคร การฝึกอบรม (Trainee กิจกรรมฝึกยกระดับฝีมอื ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ผู้สมัครเข้ารับการฝึกต้องมี entry requirements) ๑. อายุตั้งแต่ ๑๘ ปีขึ้นไป ๒. ประสบการณ์การทํางานเกี่ยวกับช่าง……………………………หรือมี พื้นฐานความรู้ทางช่าง…………………………………………………………. ๓. มีสภาพร่างการและจิตใจพร้อมเข้ารับการฝึก
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๓๘โครงสร้าง: ส่วนที่ ๑ ให้กําหนดรายละเอียดหลักสูตร (Course Outline) หลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทํางาน ชื่อหลักสูตร:.................................................... รหัสหลักสูตร(๐๙xxxxxxxxxx) ระยะเวลาฝึก………………ชั่วโมง กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน กระทรวงแรงงาน ๕.โครงสร้างและองค์ประกอบของหลักสูตร (Course Structure) กลุ่มความสามารถพื้นฐานการทํางาน หน่วยความสามารถ ชื่อโมดุลการ รายการความสามารถทีต่ ้องการ ระยะเวลา (Unit of ฝึก (Module (ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ตอ้ งการ) (Nominal Competence) Title) (Learning Outcome) hours) : ชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ ๑. .......................... ๑.................... ๑.............................................................. .............................. ....................... ๒.............................................................. …….. …….. .............................. ....................... ๓.............................................................. ............................. ....................... ๔.............................................................. ๒. ............................ ๒.................... ๑.............................................................. ................................. ....................... ๒.............................................................. …….. …….. ................................. ....................... ๓.............................................................. ................................ ....................... ๔.............................................................. ๓. ............................ ๓.................... ๑.............................................................. ................................. ....................... ๒.............................................................. …….. …….. ................................. ....................... ๓.............................................................. ................................ ....................... ๔.............................................................. ๔. ............................ ๔.................... ๑.............................................................. ................................. ....................... ๒.............................................................. …….. …….. ................................. ....................... ๓.............................................................. ................................ ....................... ๔.............................................................. รวม …….. ……..
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๓๙โครงสร้าง: ส่วนที่ ๑ ให้กําหนดรายละเอียดหลักสูตร (Course Outline) หลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทํางาน ชื่อหลักสูตร:.................................................... รหัสหลักสูตร(๐๙xxxxxxxxxx) ระยะเวลาฝึก………………ชั่วโมง กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน กระทรวงแรงงาน หน่วยความสามารถ (Unit of Competence)
กลุ่มความสามารถร่วมทางช่าง ชื่อโมดุลการ รายการความสามารถทีต่ ้องการ ฝึก (Module (ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ตอ้ งการ) Title) (Learning Outcome)
๑. .......................... .............................. .............................. ............................. ๒. ............................ ................................. ................................. ................................ ๓. ............................ ................................. ................................. ................................ ๔. ............................ ................................. ................................. ................................
๑.................... ....................... ....................... ....................... ๒.................... ....................... ....................... ....................... ๓.................... ....................... ....................... ....................... ๔.................... ....................... ....................... .......................
๑.............................................................. ๒.............................................................. ๓.............................................................. ๔.............................................................. ๑.............................................................. ๒.............................................................. ๓.............................................................. ๔.............................................................. ๑.............................................................. ๒.............................................................. ๓.............................................................. ๔.............................................................. ๑.............................................................. ๒.............................................................. ๓.............................................................. ๔.............................................................. รวม
ระยะเวลา (Nominal hours) : ชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ ……..
……..
……..
……..
……..
……..
……..
……..
……..
……..
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๔๐โครงสร้าง: ส่วนที่ ๑ ให้กําหนดรายละเอียดหลักสูตร (Course Outline) หลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทํางาน ชื่อหลักสูตร:.................................................... รหัสหลักสูตร(๐๙xxxxxxxxxx) ระยะเวลาฝึก………………ชั่วโมง กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน กระทรวงแรงงาน กลุ่มความสามารถหลักในงาน ระยะเวลา หน่วยความสามารถ ชื่อโมดุลการ รายการความสามารถทีต่ ้องการ (Nominal (Unit of ฝึก (Module (ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ตอ้ งการ) hours) : ชั่วโมง Competence) Title) (Learning Outcome) ทฤษฎี ปฏิบัติ ๑. .......................... ๑.................... ๑.............................................................. .............................. ....................... ๒.............................................................. …….. …….. .............................. ....................... ๓.............................................................. ............................. ....................... ๔.............................................................. ๒. ............................ ๒.................... ๑.............................................................. ................................. ....................... ๒.............................................................. …….. …….. ................................. ....................... ๓.............................................................. ................................ ....................... ๔.............................................................. ๓. ............................ ๓.................... ๑.............................................................. ................................. ....................... ๒.............................................................. …….. …….. ................................. ....................... ๓.............................................................. ................................ ....................... ๔.............................................................. ๔. ............................ ๔.................... ๑.............................................................. ................................. ....................... ๒.............................................................. …….. …….. ................................. ....................... ๓.............................................................. ................................ ....................... ๔.............................................................. รวม …….. …….. ๖. วิธีการประเมินผล (Assessment Method) :
๑. .............................................................................. ๒. .............................................................................. ๓. .............................................................................. ๔. .............................................................................. ๕. .............................................................................. ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๔๑โครงสร้าง: ส่วนที่ ๑ ให้กําหนดรายละเอียดหลักสูตร (Course Outline) หลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทํางาน ชื่อหลักสูตร:.................................................... รหัสหลักสูตร(๐๙xxxxxxxxxx) ระยะเวลาฝึก………………ชั่วโมง กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน กระทรวงแรงงาน ๗. วิธกี ารฝึกอบรม: (Methodologies) ๑. .............................................................................. ๒. .............................................................................. ๓. .............................................................................. ๔. .............................................................................. ๕. .............................................................................. ๘. สรุปเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ (Resources) ในหลักสูตร ๘.๑ระบุชื่อและจํานวน เครือ่ งจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ ๑. ................................................................. ๒. .................................................................. ๓. .................................................................. ๔. .................................................................. ๕. .................................................................. ๖. .................................................................. ๗. .................................................................. ๘. .................................................................. ๙. .................................................................. ๑๐. .................................................................
จํานวน ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... .......................
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๔๒โครงสร้าง: ส่วนที่ ๑ ให้กําหนดรายละเอียดหลักสูตร (Course Outline) หลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทํางาน ชื่อหลักสูตร:.................................................... รหัสหลักสูตร(๐๙xxxxxxxxxx) ระยะเวลาฝึก………………ชั่วโมง กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน กระทรวงแรงงาน ๘.๒ ระบุชื่อและจํานวน วัสดุ วัตถุดบิ จํานวน ๑. .................................................................. ....................... ๒. .................................................................. ....................... ๓. .................................................................. ....................... ๔. .................................................................. ....................... ๕. .................................................................. ....................... ๖. .................................................................. ....................... ๗. .................................................................. ....................... ๘. .................................................................. ....................... ๙. .................................................................. ....................... ๑๐. ................................................................. ....................... ๘.๓ ระบุชื่อและจํานวน เอกสาร คู่มือการฝึก ๑. .................................................................. ๒. .................................................................. ๓. .................................................................. ๔. .................................................................. ๕. ..................................................................
จํานวน ....................... ....................... ....................... ....................... .......................
๙. ระบุชื่อและจํานวน เครือ่ งมือ วัสดุ และอุปกรณ์ (Resources) ในการประเมินผล ๙.๑ ระบุเครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ จํานวน ๑. .................................................................. ............................... ๒. .................................................................. ............................... ๓. .................................................................. ............................... ๔. .................................................................. ............................... ๕. .................................................................. ...............................
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๔๓โครงสร้าง: ส่วนที่ ๑ ให้กําหนดรายละเอียดหลักสูตร (Course Outline) หลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทํางาน ชื่อหลักสูตร:.................................................... รหัสหลักสูตร(๐๙xxxxxxxxxx) ระยะเวลาฝึก………………ชั่วโมง กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน กระทรวงแรงงาน ๙.๒ ระบุ วัสดุ วัตถุดบิ จํานวน ๑. .................................................................. ............................... ๒. .................................................................. ............................... ๓. .................................................................. ............................... ๔. .................................................................. ............................... ๕. .................................................................. ............................... ๙.๓ ระบุชื่อและจํานวน เอกสาร คู่มือการประเมิน ๑. .................................................................. ๒. .................................................................. ๓. .................................................................. ๔. .................................................................. ๕. ..................................................................
จํานวน ............................... ............................... ............................... ............................... ...............................
๑๐. คุณสมบัติของครูฝกึ /วิทยากร (Qualification of Instructors or Trainers) ผู้เข้ารับการฝึกจะได้รับการฝึกทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยวิทยากรจากกรมพัฒนา ฝีมอื แรงงานและจากผู้ชํานาญการในอาชีพ /งาน............................................... โดยมีคณ ุ สมบัติ ๑. ผ่านการคัดเลือกตามระเบียบกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน ปี ๒๕๔๗ ๒. ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร ทักษะการถ่ายทอดงานและการประเมินผลการฝึก รูปแบบCBT ๓. มีความสามารถในการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์และคอมพิวเตอร์
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๔๔โครงสร้าง:ส่วนที่ ๒ ให้กําหนดรายละเอียดโมดุลการฝึก (Module Outline) ........................................................................................... ๑.ชื่อหลักสูตร : รหัส : ............... ........................................................................................... ........................................................................................... ๒.ชื่อโมดุลการฝึก: รหัส : …………….. ........................................................................................... ๓.ระยะเวลาการฝึก: รวม............... ชั่วโมง ทฤษฎี.....ชั่วโมง ปฏิบัติ ....... ชั่วโมง ๔.ขอบเขตของโมดุล ………………………………………………………………………………………………………….... การฝึก : ……………………………………………………………………………………………………………. ๕.พื้นฐานความสามารถของ ผรฝ. ในโมดุลการฝึก (Prerequisite) :
๑. ..................................................................................... ๒. .................................................................................... ๓. ....................................................................................
๖.ผลลัพธ์การเรียนรู้/รายการความสามารถที่ต้องการ (Learning Outcomes) : เมือ่ สําเร็จการฝึกใน โมดุลการฝึกนี้ ผู้เข้ารับการฝึกสามารถปฏิบัตงิ านโดยมีความสามารถ และระยะเวลาการฝึก ดังนี้ กลุ่มความสามารถพื้นฐานการทํางาน ผลลัพธ์การเรียนรู้/รายการ ความสามารถที่ต้องการ (LO) ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ………………………………
ชื่อหัวข้อวิชา(Content)
ชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ
หัวข้อที่๑:………………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๒:………………………………… ………. ……… ………………………………………………. หัวข้อที่๓:………………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๔:………………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๕:………………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๖:………………………………… ………. ………. ………………………………………………. รวมทั้งสิ้น ………. ……….
รวม …….. …….. ……… ……… ……… ……… ……..
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๔๕กลุ่มความสามารถร่วมทางช่าง ผลลัพธ์การเรียนรู้/รายการ ความสามารถที่ต้องการ (LO)
ชื่อหัวข้อวิชา(Content)
ชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ
หัวข้อที่๑:………………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๒:………………………………… ……………………………… ………. ……… ………………………………………………. หัวข้อที่๓:………………………………… ……………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๔:………………………………… ……………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๕:………………………………… ……………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๖:………………………………… ……………………………… ………. ………. ………………………………………………. รวมทั้งสิ้น ………. ………. กลุ่มความสามารถหลักในงาน ชั่วโมง ผลลัพธ์การเรียนรู้/รายการ ชื่อหัวข้อวิชา(Content) ความสามารถที่ต้องการ (LO) ทฤษฎี ปฏิบัติ หัวข้อที่๑:………………………………… ……………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๒:………………………………… ……………………………… ………. ……… ………………………………………………. หัวข้อที่๓:………………………………… ……………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๔:………………………………… ……………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๕:………………………………… ……………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๖:………………………………… ……………………………… ………. ………. ………………………………………………. รวมทั้งสิ้น ………. ………. ………………………………
รวม …….. …….. ……… ……… ……… ……… ……..
รวม …….. …….. ……… ……… ……… ……… ……..
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๔๖โครงสร้าง: ส่วนที่ ๓ ให้กําหนดรายละเอียดหัวข้อวิชา (Content Outline) ในแต่ละกลุ่มความสามารถ …………………………………………………………………… ๑.ชื่อหลักสูตร : รหัส : …………… ………………………………………………………………. …………………………………………………………………… ๒.ชื่อโมดุลการฝึก : รหัส : …………… ………………………………………………………………. …………………………………………………………………… ๓.ชื่อหัวข้อวิชา (Content) : รหัส : …………… ………………………………………………………………. ๔.เกณฑ์การประเมิน (Assessment Criteria) เมือ่ ผ่านการฝึกในหัวข้อวิชานีแ้ ล้วผูเ้ ข้ารับการฝึก สามารถ ปฏิบัติงานได้ตามเกณฑ์ ดังนี้ ๑. ………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ………………………………………………………………………………………………………………… ๔. ………………………………………………………………………………………………………………… ๕. ………………………………………………………………………………………………………………… ๕.รายละเอียดเนื้อหา (Contents) ๑. ………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ………………………………………………………………………………………………………………… ๔. ………………………………………………………………………………………………………………… ๕. ………………………………………………………………………………………………………………… ๖.ระบุชื่อและจํานวน วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือ (Resources) ของโมดุลการฝึกนี้ ๖.๑ อุปกรณ์ เครื่องมือ จํานวน ๑. ………………………………………………………….. ………………………………. ๒. ………………………………………………………….. ………………………………. ๓. ………………………………………………….………. ………………………………. ๔. …………………………………………….……………. ………………………………. ๕. ………………………………………………………….. ………………………………. ๖. ………………………………………………………….. ………………………………. ๗. ………………………………………………….………. ………………………………. ๘. …………………………………………….……………. ………………………………. ๙. ………………………………………………….………. ………………………………. ๑๐. …………………………………………….……………. ……………………………….
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๔๗…………………………………………………………………… รหัส : …………… ………………………………………………………………. …………………………………………………………………… ๒.ชื่อโมดุลการฝึก : รหัส : …………… ………………………………………………………………. …………………………………………………………………… ๓.ชื่อหัวข้อวิชา (Content) : รหัส : …………… ………………………………………………………………. ๖.๒ วัสดุ วัตถุดิบ จํานวน ๑. ………………………………………………………….. ………………………………. ๒. ………………………………………………………….. ………………………………. ๓. . ………………………………………………….………. ………………………………. ๔. …………………………………………….……………. ………………………………. ๕. …………………………………………….……………. ……………………………….
๑.ชื่อหลักสูตร :
๗. เงื่อนไขการฝึกอื่นๆ (ถ้าจําเป็นต้องมี): หน่วยฝึกต้องจัดเตรียมสิ่งเหล่านี้ให้ผู้เข้ารับการฝึก ได้แก่ ๑. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๒. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๓. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๔. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๘. คู่มือ วิธีปฏิบัติ และเอกสารอ้างอิง ๑. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๒. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๓. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๔. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๙.วิธกี ารฝึกอบรม (Methodologies) ๑๐.วิธกี ารประเมินผล (Assessment Methods)
๑. .…………………………………………………………………………............. ๒. .…………………………………………………………………………............. ๓. .…………………………………………………………………………............. ๑. .…………………………………………………………………………............. ๒. .…………………………………………………………………………............. ๓. .………………………………………………………………………….............
ผู้เห็นชอบหลักสูตร........................................................ ..................................................................................... วันที่.................................................................................
ผู้อนุมัติหลักสูตร…………………………………… ..................................................................... วันที่..............................................................
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๔๘ระยะที่๒ (Phase)
การจัดทํารายละเอียดหลักสูตรตามความสามารถ (Course Design)
เป็นขั้นตอนต่อเนื่องหลังจากที่ผู้พัฒนาได้โครงสร้างและองค์ประกอบของหลักสูตรตาม ความสามารถ(CBT) หรือ ได้โครงร่าง(Template)หลักสูตรแล้ว ผู้พัฒนาจะทําการเขียน รายละเอียดต่างๆ ที่ได้จากการวิเคราะห์หน่วยความสามารถ(Unit of Competency) หรือ รายการความสามารถย่อย (Elements of Competency) เช่น กําหนดชือ่ โมดุลการฝึก(Module Title) ผลลัพธ์การเรียนรู้(LO) หรือรายการความสามารถที่ตอ้ งการ ระยะเวลาการฝึกหรือชั่วโมง ฝึก (Nominal Duration) และเกณฑ์การประเมิน(Assessment Criteria) เป็นต้น โดยมีแนวทางการจัดทํา ดังนี้ ส่วนที่ ๑: เขียนรายละเอียดของหลักสูตรการฝึกตามความสามารถ (Course Outline) มี ๑๑ ขัน้ ตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่๑
ตั้งชื่อหลักสูตรการฝึก (Course Title) รายละเอียด: การตั้งชือ่ หลักสูตรการฝึกสามารถกําหนดขึน้ ได้จากการวิเคราะห์ความสามารถในการปฏิบัติงาน หรือตั้งชือ่ ตามมาตรฐานความสามารถหรือมาตรฐานฝีมอื แรงงานที่มีหรือทีใ่ ช้อ้างอิงเพือ่ พัฒนา หลักสูตร ชือ่ หลักสูตรการฝึกที่ตั้งขึ้นควรเป็นข้อความทีอ่ ่านแล้วเข้าใจง่ายและรู้ได้ว่าเกี่ยวข้องกับ งานหรืออาชีพอะไร
ตัวอย่าง : การตั้งชื่อหลักสูตรการฝึก Course Title: ชื่อหลักสูตรการฝึก : ขั้นตอนที่๒
COMPUTER HARDWARE SERVICING NCII หลักสูตรการฝึกตามความสามารถ ช่างซ่อมคอมพิวเตอร์ (มาตรฐานฝีมือแรงงาน แห่งชาติ) ระดับ ๒
กําหนดระยะเวลาการฝึก (Course Duration) รายละเอียด: เป็นการกําหนดระยะเวลาการฝึกทั้งหลักสูตรโดยประมาณการในภาพรวม (เป็นชั่วโมงฝึก หรือ เป็นปี )ได้จากการรวมระยะเวลาการฝึกภาคทฤษฎี/ภาคปฏิบัติ และการทดสอบเข้าด้วยกัน
ตัวอย่าง : การกําหนดระยะเวลาการฝึกของหลักสูตร Nominal Duration: ระยะเวลาการฝึก :
392 hours ๓๙๒ ชัว่ โมง
Knowledge 100 hours ทฤษฎี ๑๐๐ ชั่วโมง
Skills 292 hours ปฏิบัติ ๒๙๒ ชั่วโมง
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๔๙ขั้นตอนที่๓
กําหนดระดับคุณวุฒวิ ิชาชีพหรือระดับความสามารถ (Qualification Level) (ถ้ามี) รายละเอียด: การกําหนดระดับของคุณวุฒิวิชาชีพหรือระดับความสามารถของผูท้ ี่ผ่านหลักสูตรนี้ ให้กําหนดจาก ระดับของมาตรฐานความสามารถ (Competency Standard) หรือมาตรฐานฝีมอื แรงงานที่กรม กําหนดขึ้น
ตัวอย่าง : การกําหนดระดับคุณวุฒวิ ชิ าชีพ หรือความสามารถ (ถ้ามี) Qualification Level: COMPUTER HARDWARE SERVICING NCII ระดับคุณวุฒิ/ หลักสูตรการฝึกตามความสามารถ ช่างซ่อมคอมพิวเตอร์ (มาตรฐานฝีมือแรงงาน ความสามารถ : แห่งชาติ) ระดับ ๒ ขั้นตอนที่๔
เขียนคําอธิบายขอบเขตหลักสูตร (Course Description) รายละเอียด: คําอธิบายขอบเขตหรือรายละเอียดหลักสูตรมีขอบเขตเนือ้ หาและทักษะความสามารถที่สถาน ประกอบกิจการมีความต้องการและความสามารถที่ผู้รับการฝึกได้รับหลังจบการฝึกในหลักสูตรนี้ ให้เขียนจากรายละเอียดของหน่วยความสามารถ(Competency Unit) ตามที่มาตรฐาน ความสามารถ (Competency Standard) หรือมาตรฐานฝีมอื แรงงานที่กรมฯ กําหนดไว้ มาตรฐานความสามารถ หน่วยความสามารถ
รายละเอียดหน่วยความสามารถ
หลักสูตรตามความสามารถ ชื่อหลักสูตร รายละเอียดหลักสูตร/โมดุลการฝึก ระดับวุฒิบัตร/ใบรับรอง
ความสามารถย่อย เกณฑ์การปฏิบัติงาน ขอบเขตการปฏิบัติงาน ร่องรอยหลักฐานการปฏิบัติงาน
ชื่อโมดุลการฝึก ผลลัพธ์การฝึก/รายการความสามารถที่ต้องการ เกณฑ์การประเมิน เนื้อหา หัวข้อที่ใช้ฝึก เงื่อนไขการฝึก วิธีการประเมิน
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๕๐ตัวอย่าง : การเขียนคําอธิบายขอบเขตของหลักสูตร (Course Description) ขอบเขตหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นให้ครอบคลุมความสามารถด้านความรู้ ทักษะและเจตคติแก่ผู้เข้ารับ (Course Description): การฝึก ในสาขาอาชีพช่างซ่อมคอมพิวเตอร์ (มาตรฐานฝีมอื แรงงานแห่งชาติ) ระดับ๒ เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้ ดังนี้ ๑. ประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลได้ ๒. ตั้งค่าไบออสของเครือ่ งคอมพิวเตอร์ได้ ๓. ติดตั้งระบบปฏิบัติการวินโดสว์ ได้ ๔. ติดตั้งอุปกรณ์ตอ่ พ่วง และไดรเวอร์ ได้ ๕. บํารุงรักษาคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและระบบเครือข่ายได้ ขั้นตอนที่๕
เขียนอธิบายผลลัพธ์ทผี่ ู้รบั การฝึกได้จากหลักสูตร (Course Outcomes) รายละเอียด: เป็นการระบุผลการฝึกที่คาดว่าผู้รับการฝึกจะได้รับจากโมดุลการฝึกของหลักสูตรนี้ รวมถึงรายการ ความสามารถและผลการปฏิบัติงานที่ตอ้ งเกิดขึ้นจริงในสถานประกอบกิจการซึ่งผู้รับการฝึกต้องมี หลังผ่านการฝึกในหลักสูตรนี้ (*จะใส่ไว้ในหลักสูตรหรือไม่ใส่ก็ได้)
ตัวอย่าง : การเขียนคําอธิบายผลลัพธ์ที่ผรู้ ับการฝึกได้จากหลักสูตร (Course Outcomes) ผลลัพธ์ที่ ผรฝ. ได้จาก หลังจากที่ ผรฝ. ผ่านการฝึกในหลักสูตรนี้แล้ว จะสามารถ หลักสูตร (Course ๑. ประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลได้ Outcomes): ๒. ตั้งค่าไบออสของเครือ่ งคอมพิวเตอร์ได้ ๓. ติดตั้งระบบปฏิบัติการวินโดสว์ ได้ ๔. ติดตั้งอุปกรณ์ตอ่ พ่วง และไดรเวอร์ ได้ (* ถ้ามีการกําหนดขอบเขตหลักสูตร(Course Description)แล้ว ก็ไม่ต้องใส่ไว้)
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๕๑ขั้นตอนที่๖
ตั้งชื่อหน่วยความสามารถ (Units of Competency) รายละเอียด: ชื่อหน่วยความสามารถ(Units of Competency) ให้ตั้งชื่อตามหน่วยความสามารถของมาตรฐานความสามารถ(Competency Standard)หรือ มาตรฐานฝีมอื แรงงานที่กําหนดไว้และวิเคราะห์หน่วยความสามารถเพื่อกําหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ และจัดกลุ่มรายการความสามารถที่เกี่ยวข้องกัน เช่น ในกรณีเป็นหลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทํางาน อาจจะกําหนด ดังนี้ - กลุม่ ความสามารถพื้นฐานการทํางาน(Basic Competency) - กลุม่ ความสามารถร่วมทางช่าง(Common Competency) - กลุม่ ความสามารถหลักในงาน(Core Competency) โดยทําเป็นตารางการวิเคราะห์หน่วยความสามารถ การตั้งชื่อหน่วยความสามารถ(Competency Unit) ต้องสัมพันธ์กับชื่อโมดุลการฝึก(Module Title) เพื่อกําหนดในโครงร่างหลักสูตรต่อไป ชื่อโมดุลการฝึก(Module Title) ให้ตั้งชื่อตามชือ่ หน่วยความสามารถ(Units of Competency) หรือ ตั้งขึ้นจากความสามารถย่อย (Elements of Competency) ก็ได้ โดย ให้ใส่ คําว่า “การ” ไว้หน้าชื่อหน่วยความสามารถ
ตัวอย่าง : การตั้งชื่อหน่วยความสามารถ และชื่อโมดุลการฝึก ชื่อหน่วยความสามารถ (Unit of Competency): ใช้งานเครือ่ งมือติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์ (Use hand tools) ติดตั้งหน่วยประมวลผลกลางเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วน บุคคล(Install CPU) ติดตั้งแผงวงจรหลักในเครือ่ งคอมพิวเตอร์สว่ นบุคคล (Install Main board) ติดตั้งฮาร์ดไดร์แบบSATAในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วน บุคคล (Install Hard Drive) บํารุงรักษาคอมพิวเตอร์และเครือข่าย(Maintain Computer Systems and Networks)
ชื่อโมดุลการฝึก(Module Title) การใช้งานเครือ่ งมือติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์ (Using hand tools) การติดตั้งหน่วยประมวลผลกลางเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วน บุคคล (Installing CPU) การติดตั้งแผงวงจรหลักในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Installing Main board) การติดตั้งฮาร์ดไดร์แบบSATAในเครือ่ งคอมพิวเตอร์ส่วน บุคคล (Installing Hard Drive) การบํารุงรักษาคอมพิวเตอร์และเครือข่าย(Maintain Computer Systems and Networks)
สรุป : การตั้งชื่อหน่วยความสามารถหลักและหน่วยความสามารถย่อย มีหลักการดังนี้ - ให้เขียนในรูปของ กริยา + กรรม +เงื่อนไข/บริบทหรือเงื่อนไขที่แสดงด้วยคําวิเศษณ์ของสิ่งที่ถูกกระทําหรือการ กระทํา (Verb + Object + Condition/Context) เช่น กริยา กรรม เงื่อนไขหรือบริบท ติดตั้ง แผงวงจรหลัก ในเครือ่ งคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ติดตั้ง ฮาร์ดไดร์ แบบSATAในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๕๒ตัวอย่าง: การจัดกลุ่มหน่วยความสามารถ และตารางการวิเคราะห์หน่วยความสามารถ กลุ่มความสามารถพื้นฐานการทํางาน (BASIC COMPETENCIES) (๑๘ ชั่วโมง) ผลลัพธ์การเรียนรู้ / รายการความสามารถที่ หน่วยความสามารถ ชื่อโมดุลการฝึก ต้องการ ๑.มีส่วนร่วมในการสื่อสาร ๑.๑ การมีส่วนร่วมในการ ๑.๑.๑ สามารถขอรับและถ่ายทอดข้อมูลในสถานที่ ในสถานที่ทํางาน สื่อสารในสถานที่ทํางาน ทํางานได้ถูกต้อง ๑.๑.๒ สามารถจัดทําเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการ ปฏิบัติงานได้ถูกต้อง ๑.๑.๓ สามารถเข้ามีส่วนร่วมในการประชุมและ สนทนาในสถานที่ทาํ งานได้อย่างเหมาะสม ๒.ทํางานเป็นทีม ๒.๒.๑ การทํางานเป็นทีม ๒.๑ สามารถอธิบายและระบุบทบาทและความ รับผิดชอบของทีมงานได้ถูกต้อง ๒.๒ สามารถอธิบายการทํางานในฐานะที่เป็น สมาชิกคนหนึ่งในทีมงานได้ถูกต้อง ๓.ปฏิบัตงิ านอย่างมืออาชีพ ๓.๑ การปฏิบัตงิ านอย่างมือ ๓.๑.๑ สามารถบูรณาการวัตถุประสงค์ส่วนบุคคล อาชีพ เข้ากับเป้าหมายขององค์กรได้ได้อย่างเหมาะสม ๓.๑.๒ สามารถจัดลําดับความสําคัญและตอบสนอง การทํางานได้ถูกต้อง ๓.๑.๓ สามารถรักษาความก้าวหน้าและพัฒนา ระดับความเป็นมืออาชีพได้อย่างเหมาะสม ๔.ปฏิบัตงิ านด้านอาชีวอนา ๔.๑ การปฏิบัตงิ านด้านอาชีว ๔.๑.๑ สามารถระบุอันตรายและความเสี่ยงที่อาจ มัยและขั้นตอนความ อนามัยและขั้นตอนความ เกิดขึ้นในการปฏิบัติงานได้ถูกต้อง ปลอดภัย ปลอดภัย ๔.๑.๒ สามารถประเมินอันตรายและความเสี่ยงได้ ถูกต้อง ๔.๑.๓ สามารถควบคุมอันตรายและความเสี่ยงได้ อย่างเหมาะสม ๔.๑.๔ สามารถรักษาอาชีวอนามัยและมีการ ตระหนักถึงความปลอดภัยได้อย่างเหมาะสม
ระยะเวลา ฝึก ๔ ชั่วโมง
๔ ชั่วโมง
๕ ชั่วโมง
๕ ชั่วโมง
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๕๓กลุ่มความสามารถร่วมทางช่าง (COMMON COMPETENCIES) (๕๔ ชั่วโมง) หน่วยความสามารถ ๑.ใช้มาตรฐานทีม่ ี คุณภาพ ๒.ปฏิบัตงิ านด้าน คอมพิวเตอร์
๓.ปฏิบัติการวัดและ คํานวณ ๔.เตรียมความพร้อม และอ่านแบบทาง เทคนิค ๕.ใช้เครื่องมือ
๖.ยกเลิก/เชื่อมต่อวงจร ไฟและวงจร อิเล็กทรอนิกส์
ชื่อโมดุลการฝึก
ผลลัพธ์การเรียนรู้ / รายการความสามารถที่ตอ้ งการ
๑.๑ การใช้มาตรฐานที่มี ๑.๑.๑ สามารถประเมินคุณภาพของวัสดุที่ได้รับได้ถูกต้อง คุณภาพ ๑.๑.๒ สามารถประเมินผลงานของตัวเองได้ถูกต้อง ๑.๑.๓ สามารถเข้ามีส่วนร่วมในการปรับปรุงคุณภาพได้อย่าง เหมาะสม ๒.๑ การปฏิบัตงิ านด้าน ๒.๑.๑ สามารถวางแผนและเตรียมความพร้อมสําหรับงานที่ คอมพิวเตอร์ จะดําเนินการได้ถูกต้อง ๒.๑.๒ สามารถป้อนข้อมูลลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ถูกต้อง ๒.๑.๓ สามารถเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ได้ ถูกต้อง ๒.๑.๔ สามารถดําเนินการกับผลลัพธ์หรือข้อมูลโดยใช้ระบบ คอมพิวเตอร์ได้ถกู ต้อง ๒.๑.๕ สามารถใช้งานฟังก์ชั่นพื้นฐานของเว็บเบราเซอร์เพื่อ ค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตได้ถูกต้อง ๒.๑.๖ สามารถบํารุงรักษาอุปกรณ์และระบบคอมพิวเตอร์ได้ ถูกต้อง ๓.๑ การปฏิบัติการวัด ๓.๑.๑ สามารถเลือกเครื่องมือวัดได้ถูกต้อง และคํานวณ ๓.๑.๒ สามารถทําการวัดและคํานวณได้ถูกต้อง ๓.๑.๓ สามารถบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได้ถูกต้อง ๔.๑ การเตรียมความ ๔.๑.๑ สามารถระบุความแตกต่างของแบบทางเทคนิคได้ พร้อมและอ่านแบบทาง ถูกต้อง เทคนิคได้ ๔.๑.๒ สามารถอ่านแบบได้ถูกต้อง ๔.๑.๓ สามารถเตรียมหรือเปลี่ยนแปลงแบบวงจรทางไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ได้อย่างเหมาะสม ๕.๑ การใช้เครื่องมือ ๕.๑.๑ สามารถวางแผนและเตรียมความพร้อมเครือ่ งมือ สําหรับงานที่จะดําเนินการได้อย่างเหมาะสม ๕.๑.๒ สามารถเตรียมเครื่องมือได้ถูกต้อง ๕.๑.๓ สามารถใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ทดสอบได้ถูกต้อง ๕.๑.๔ สามารถบํารุงรักษาเครื่องมือได้ถูกต้อง ๖.๑ การยกเลิก/ ๖.๑.๑ สามารถวางแผนและเตรียมความพร้อมสําหรับการ เชื่อมต่อวงจรไฟฟ้ากับ ยกเลิก / เชื่อมต่อวงจรไฟฟ้าหรือวงจรอิเล็กทรอนิกส์ได้ วงจรอิเล็กทรอนิกส์ ถูกต้อง ๖.๑.๒ สามารถปฏิบัติการยกเลิก/เชื่อมต่อวงจรไฟฟ้าหรือ วงจรอิเล็กทรอนิกส์ได้ถูกต้อง ๖.๑.๓ สามารถทดสอบการยกเลิก/เชื่อมต่อวงจรไฟฟ้าหรือวงจร อิเล็กทรอนิกส์ได้ถูกต้อง
ระยะเวลา ฝึก ๙ ชั่วโมง
๙ ชั่วโมง
๙ ชั่วโมง ๙ ชั่วโมง
๙ ชั่วโมง
๙ ชั่วโมง
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๕๔กลุ่มความสามารถหลักในงาน (CORE COMPETENCIES) (๓๒๐ ชั่วโมง) ผลลัพธ์การเรียนรู้ / รายการความสามารถที่ ระยะเวลา หน่วยความสามารถ ชื่อโมดุลการฝึก ต้องการ การฝึก ๑.ติดตั้งระบบและเครือข่าย ๑.๑ การติดตั้งระบบและ ๑.๑.๑ สามารถวางแผนและเตรียมการสําหรับติดตั้ง ๖๐ ชั่วโมง คอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ได้อย่างเหมาะสม ๑.๑.๒ สามารถติดตัง้ อุปกรณ์ของระบบ คอมพิวเตอร์ได้ถกู ต้อง ๑.๑.๓ สามารถทดสอบการทํางานได้ถูกต้อง ๒.วิเคราะห์และแก้ปัญหา ๒.๑ การวิเคราะห์และ ๒.๑.๑ สามารถวางแผนและเตรียมความพร้อม ๑๐๐ ชั่วโมง ระบบคอมพิวเตอร์ แก้ปัญหาระบบคอมพิวเตอร์ สําหรับการวิเคราะห์ความผิดพลาดของระบบ คอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม ๒.๑.๒ สามารถวิเคราะห์ปัญหาของระบบ คอมพิวเตอร์ได้ถกู ต้อง ๒.๑.๓ สามารถตรวจซ่อมข้อบกพร่องของระบบ คอมพิวเตอร์และเครือข่ายได้ถูกต้อง ๒.๑.๔ สามารถทดสอบการทํางานของระบบ คอมพิวเตอร์และเครือข่ายได้ถูกต้อง ๓. กําหนดค่าระบบ ๓.๑ การกําหนดค่าระบบ ๓.๑.๑ สามารถวางแผนและเตรียมความพร้อม ๑๐๐ ชั่วโมง คอมพิวเตอร์และเครือข่าย คอมพิวเตอร์และเครือข่าย สําหรับการกําหนดค่าได้อย่างเหมาะสม ๓.๑.๒ สามารถกําหนดค่าระบบคอมพิวเตอร์และ เครือข่ายได้ถูกต้อง ๓.๑.๓ สามารถตรวจสอบและทดสอบการ กําหนดค่าระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายได้ ถูกต้อง ๖๐ ชั่วโมง ๔. บํารุงรักษาระบบ ๔.๑ การบํารุงรักษาระบบ ๔.๑.๑ สามารถวางแผนและเตรียมความพร้อม คอมพิวเตอร์และเครือข่าย คอมพิวเตอร์และเครือข่าย สําหรับการบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์และ เครือข่ายได้อย่างเหมาะสม ๔.๑.๒ สามารถบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ได้ ถูกต้อง ๔.๑.๓ สามารถบํารุงรักษาระบบเครือข่ายได้ถูกต้อง ๔.๑.๔ สามารถตรวจสอบและทดสอบการ กําหนดค่าระบบคอมพิวเตอร์ หรือซ่อมแซมระบบ คอมพิวเตอร์และเครือข่ายได้ถูกต้อง
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๕๕ขั้นตอนที่๗
กําหนดคุณสมบัติของผูส้ มัครเข้ารับการฝึก (Entry Requirements) รายละเอียด: เป็นการกําหนดคุณสมบัติของผู้สมัครเข้ารับการฝึกที่จําเป็นในหลักสูตรนี้ เช่น อายุของผู้สมัครเข้า รับการฝึกหรือคุณสมบัติเฉพาะที่จําเป็นอื่นๆ เช่น ประสบการณ์การทํางานที่เกี่ยวข้อง สภาพ ร่างกายและจิตใจ ซึ่งเป็นไปตามระเบียบกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน ว่าด้วยคุณสมบัติของสมัคร กิจกรรมการฝึกยกระดับหรือเตรียมเข้าทํางาน
ตัวอย่าง : คุณสมบัติของผูส้ มัครเข้ารับการฝึก คุณสมบัติของผู้สมัครเข้า รับการฝึก (Entry Requirement):
ขั้นตอนที่๘
ผู้เข้ารับการฝึกในหลักสูตรช่าง………………………. จะต้องมีคุณสมบัติ ตามระเบียบ กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน ว่าด้วยคุณสมบัตขิ องผู้สมัครกิจกรรมการฝึกยกระดับฝีมอื ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ๑. อายุตั้งแต่ ๑๘ ปีขึ้นไป ๒. มีประสบการณ์การทํางานเกี่ยวกับช่าง..................................หรือมีพื้นฐานความรู้ ทางช่าง.............................................. ๓. มีสภาพร่างการและจิตใจพร้อมเข้ารับการฝึก
กําหนดวิธกี ารฝึก (Course Delivery) รายละเอียด: เป็นการระบุวิธีการนําเสนอเนื้อหาของหลักสูตร และระบุวิธีการและกลไกการถ่ายทอดเนื้อหาที่ สอดคล้องกับความสามารถแต่ละด้าน และสนับสนุน เชื่อมโยงกับภาคอุตสาหกรรม เพือ่ ให้เกิด ประสิทธิภาพในการฝึกมากทีส่ ุด
ตัวอย่าง : วิธกี ารฝึกอบรม (Course Delivery) COURSE DELIVERY: Lecture-demonstration Self-paced instruction Group discussion วิธกี ารฝึก: การบรรยายและสาธิตการปฏิบัติงาน การเรียนรู้ตามความก้าวหน้าของตนเอง การอภิปรายกลุ่ม ข้อแนะนํา: วิธีการฝึก ควรสอดคล้องกับวิธีการประเมิน เกณฑ์การประเมินและสัมพันธ์กับหลักฐานการปฏิบัติงาน ขอบเขตการทํางานที่ต้องการ หรือ เกณฑ์การปฏิบัติงานที่ระบุในมาตรฐานความสามารถ ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๕๖ขั้นตอนที่๙
กําหนดวิธกี ารประเมิน (Assessment Method) รายละเอียด: เป็นการอธิบายแนวทางการประเมินและวิธีการที่ใช้ประเมินเกี่ยวข้องกับผลการฝึกอย่างไรและจะ ตัดสินหรือให้คะแนนความสามารถของผูร้ ับการฝึกได้อย่างไร
ตัวอย่าง : วิธกี ารประเมิน (Assessment Method) ASSESSMENT METHODS:
วิธกี ารประเมินผล:
Hands on Direct observation Practical demonstration Oral and written exam โดยการใช้แบบทดสอบ โดยการสังเกตพฤติกรรมโดยตรง โดยการสาธิตการปฏิบัติ โดยการทดสอบปากเปล่าและข้อเขียน
ขั้นตอนที่๑๐ วัสดุ วัตถุดิบ เครื่องมือ อุปกรณ์และเครื่องอํานวยความสะดวกของหลักสูตร (Resources) รายละเอียด: เป็นการเขียนสรุป วัสดุ อุปกรณ์ เครือ่ งมือ เครื่องใช้และเครื่องอํานวยความสะดวกที่จําเป็นในการ ฝึกของหลักสูตรนี้ในภาพรวม พร้อมใส่จํานวน
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๕๗ตัวอย่าง : สรุป วัสดุ วัตถุดบิ เครื่องมือ อุปกรณ์ (Resources) ในหลักสูตร เครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ ๑. เครือ่ งเชื่อม มิก/แม็ก ๒. เครือ่ งเจียรไนแบบมือถือ ๓. ชุดปรับความดันแก๊ส ๔. ท่อบรรจุแก๊ส ๕.หน้ากากเชื่อมแบบสวมศีรษะ ๖. ตะไบ ๗. ฉากเหล็ก ๘. เหล็กขีด ๙.สกัด ๑๐. ค้อนหัวกลม. วัสดุ วัตถุดิบ ๑. เหล็กแผ่นขนาด ๑๐๐x๒๐๐x๑๐ มิลลิเมตร
จํานวน ๑ เครือ่ ง ๑ เครือ่ ง ๑ ชุด ๑ ท่อ ๑ อัน ๑ อัน ๑ อัน ๑ อัน ๑ อัน ๑ อัน จํานวน ๒๔ แผ่น
๒. เหล็กแผ่นขนาด ๒๕๐x๒๕๐x๖ มิลลิเมตร
๔ แผ่น
๓. ท่อเหล็กขนาด๑๐๐x๖ มิลลิเมตรโต ๖ นิ้ว
๔ ท่อน
๔. ใบหินเจียรไนขนาด ๔ นิ้ว หนา ๒ มิลลิเมตร
๘ ใบ
๕. ชอล์คเขียนเหล็ก
๑ แท่ง
๖. แก๊สปกป้อง (เฉพาะเนื้อแก๊ส)
๑ ท่อ
๗. กระจกกรองแสง
๒ แผ่น
๘. กระจกใส ๙. ล้อเหล็กขัดชิ้นงาน หรือแปลงลวดทําความสะอาดชิ้นงาน
๑๐ แผ่น ๑ อัน
ขั้นตอนที่๑๑ กําหนดคุณสมบัติของวิทยากร/ครูฝกึ (Qualification of Instructors) รายละเอียด: เป็นการระบุคณ ุ สมบัติขั้นต่ําของวิทยากร/ครูฝึก ที่จําเป็นของหลักสูตร ได้แก่ คุณวุฒทิ างการ ศึกษา ประสบการณ์ในการทํางาน และความรู้ความสามารถของวิทยากรหรือครูฝึก และคุณสมบัติ พิเศษอื่นๆ ที่จาํ เป็นของหลักสูตร ควรกําหนดไว้ถ้าจําเป็น
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๕๘ตัวอย่าง : คุณสมบัติของวิทยากร/ครูฝกึ (Qualification of Instructors) คุณสมบัตวิ ิทยากร/ครูฝกึ ผู้เข้ารับการฝึกจะได้รับการฝึกทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยวิทยากรจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงานและ จากผู้ชํานาญการใน สาขาอาชีพ / งาน .........................................โดยมีคณ ุ สมบัติ ผ่านการคัดเลือกตามระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ปี ๒๕๔๗ ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรทักษะการถ่ายทอดงานและการประเมินผลการฝึกรูปแบบCBT มีความสามารถในการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์และคอมพิวเตอร์
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๕๙-
ขั้นตอนการจัดทําโมดุลการฝึกตามความสามารถ (Developing A Training of modules)
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๖๐ระยะที่๓ (Phase)
การจัดทํารายละเอียดโมดุลการฝึกตามความสามารถ(Developing A Training of modules) เป็นขั้นตอนการจัดทํารายละเอียดของโมดุลการฝึกหรือหน่วยการฝึก ซึ่งต้องดําเนินการต่อเนื่อง จากการจัดทํารายละเอียดหลักสูตร(Course Outline) ตามโครงสร้างหลักสูตรที่กําหนด มี ๕ ขั้นตอน โดยเริ่มจากส่วนที่๒ ดังนี้ ส่วนที่ ๒: เขียนรายละเอียดของโมดุลการฝึกตามความสามารถ (Module Outline) มี ๕ ขัน้ ตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่๑
ตั้งชื่อโมดุลการฝึก (Module Title)
แนวทาง : การตั้งชื่อโมดุลการฝึก - ให้วิเคราะห์หน่วยความสามารถ (Competency Unit) และหน่วยความสามารถย่อย (Element) ที่กรมกําหนดขึน้ หรือได้จากหน่วยงานอื่นๆ ตั้งชือ่ ตามชือ่ หน่วยความสามารถ หรือตั้งตามความสามารถย่อยก็ได้ เพราะชือ่ ของหน่วยความสามารถและชือ่ ความสามารถ ย่อยจะสอดคล้องกัน ซึ่งโครงสร้างของหน่วยความสามารถ โดยทั่วไปจะประกอบด้วย มาตรฐานความสามารถ ชื่อหน่วยความสามารถ รายละเอียดหน่วยความสามารถ
หลักสูตรตามความสามารถ ชื่อหลักสูตร รายละเอียดหลักสูตร/โมดุลการฝึก ระดับวุฒิบัตร/ใบรับรอง
ชื่อความสามารถย่อย เกณฑ์การปฏิบัติงาน ขอบเขตการปฏิบัติงาน ร่องรอยหลักฐานการปฏิบัติงาน
ชื่อโมดุลการฝึก ผลลัพธ์การเรียนรู้/วัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่ต้องการ เกณฑ์การประเมิน เนื้อหา หัวข้อ ที่ใช้ฝึก เงื่อนไขการฝึก วิธีการประเมิน
- ให้ตั้งชื่อโมดุลการฝึก โดยใช้โครงสร้าง และวิธีการ ดังต่อไปนี้ ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๖๑-
หน่วยความสามารถ Unit of Competency
หน่วยความสามารถ Unit of Competency ความสามารถย่อย ความสามารถย่อย ความสามารถย่อย ความสามารถย่อย ความสามารถย่อย ความสามารถย่อย
โมดุลการฝึก
โมดุลการฝึก ๑
๒
๓
ชุดของโมดุลการฝึก (Sets of Modules) โมดุลการฝึก โมดุลการฝึก ๑
๒
โมดุลการฝึก โมดุลการฝึก ๒ โมดุลการฝึก ๑
๓
รายละเอียด: หลังจากได้หน่วยความสามารถแล้ว(กําหนดเองหรือมีการกําหนดในมาตรฐานความสามารถหรือมาตรฐาน ฝีมอื แรงงานอยู่แล้ว) ให้นํามากําหนดเป็นชือ่ โมดุลการฝึก โดยตั้งชื่อให้สอดคล้องกับหน่วยความสามารถ(Unit of Competency) และความสามารถย่อย (Element) นั้นๆ ชื่อโมดุลการฝึกที่ตั้งขึ้น อาจจะมีผลต่อการเลือกใช้วิธีการฝึกอบรม ซึ่งเป็นที่รับรู้กันในหมู่นักพัฒนาฝีมอื แรงงาน ดังนั้นจึงควรตั้งชือ่ ทีส่ ามารถเห็นรายละเอียดทีช่ ัดเจนของโมดุลการฝึก และชือ่ ของโมดุลการฝึกทีต่ ั้งเป็นตัว บ่งบอกได้ดีที่สดุ ว่าในโมดุลการฝึกนั้นผู้รับการฝึกจะได้ประโยชน์อะไร การตั้งชือ่ โมดุลการฝึกจึงต้องใช้คาํ กริยา ขึ้นต้นด้วย “การ” จึงจะเหมาะสม รายละเอียดเพิ่มเติมดูจาก ภาคผนวก๒ ข.
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๖๒ตัวอย่าง : การตั้งชื่อโมดุลการฝึก
โมดุลการฝึก
หน่วยความสามารถ
หน่วยความสามารถ (Unit of Competency) ความสามารถย่อย (Element) 1. วางแผนและเตรียมงาน (Plan and prepare for work) 2.เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ทสี่ ิ่งจําเป็น(Prepare hardware, tools and equipment) 3. ตรวจสอบความถูกต้องของระบบ(Erect ERS)
ติดตั้งระบบกูค้ ืนโครงสร้างฉุกเฉิน(ERS)
ชื่อโมดุลการฝึก (Module Title) “การติดตั้งระบบกู้คืนโครงสร้าง ฉุกเฉิน (ERS)” สรุป : การตั้งชื่อโมดุลการฝึก มีหลักการดังนี้ - ให้ใส่ “การ” ไว้ข้างหน้า ชือ่ หน่วยความสามารถ / ความสามารถย่อย หรือ - ให้เขียนในรูปของ การ+กริยา + กรรม +เงื่อนไข/บริบทหรือเงือ่ นไขที่แสดงด้วยคําวิเศษณ์ของสิ่งที่ถูกกระทําหรือ การกระทํา (Verb+ing + Object + Condition/Context) เช่น การ+กริยา การ ติดตั้ง การ ติดตั้ง
กรรม แผงวงจรหลัก ฮาร์ดไดร์
เงื่อนไขหรือบริบท ในเครือ่ งคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล แบบSATAในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๖๓ชุดของโมดุลการฝึก ความสามารถย่อย ความสามารถย่อย ความสามารถย่อย
โมดุลการฝึก โมดุลการฝึก ๑
ความสามารถย่อย
โมดุลการฝึก
หน่วยความสามารถ (Unit of Competency)
โมดุลการฝึก
๓
๒
ปฏิบัติงานกับคอมพิวเตอร์(Perform Computer Operation)
ความสามารถย่อย (Element) 1. วางแผนและเตรียมการดําเนินงาน 2. ป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ 3. ประมวลผลข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ 4. บํารุงรักษาอุปกรณ์และระบบคอมพิวเตอร์ ชื่อโมดุลการฝึก ว่า “การจัดการข้อมูลคอมพิวเตอร์” (Managing computer data) ชื่อโมดุลการฝึก ว่า “การบํารุงรักษาอุปกรณ์และระบบคอมพิวเตอร์”(Maintaining equipment and system) การตั้งชือ่ ให้ใส่คําว่า “การ” ไว้ข้างหน้า เช่น ความสามารถย่อย : บํารุงรักษาอุปกรณ์และระบบคอมพิวเตอร์
ชื่อโมดุลการฝึก : การ บํารุงรักษาอุปกรณ์และระบบคอมพิวเตอร์
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๖๔ขั้นตอนที่๒
กําหนดระยะเวลาการฝึกโดยประมาณ (Nominal Duration)
แนวทาง : การกําหนดระยะเวลาการฝึกโดยประมาณ - เป็นการจัดจํานวนชั่วโมงฝึกโดยประมาณ(ระยะเวลาฝึก) ที่ใช้ฝึกในแต่ละวัตถุประสงค์การฝึก หรือแต่ละผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ตอ้ งการ(LO: Learning Outcome) หรือในรายการ ความสามารถในแต่ละโมดุลการฝึกหรือแต่ละหน่วยการฝึก - การใส่ระยะเวลาการฝึกทั้งหมดของโมดุลการฝึกนั้น ขึ้นอยู่กับระยะเวลาที่กําหนดในแต่ละ วัตถุประสงค์ หรือผลลัพธ์การเรียนรู้(LO) หรือรายการความสามารถทีต่ อ้ งการ ของโมดุลการ ฝึกนั้น ซึ่งจะได้ผลรวมของระยะเวลาการฝึกทั้งหมดของแต่ละโมดุลการฝึกนั่นเอง (การ กําหนดเวลารวมของโมดุลการฝึก ได้จากผลรวมของการกําหนดระยะเวลาฝึกย่อยๆ ใน แต่ละวัตถุประสงค์ หรือแต่ละผลลัพธ์การเรียนรู(้ LO) / รายการความสามารถที่ต้องการ ย่อยๆ ที่เกิดขึน้ ในโมดุลการฝึกนัน้ ) (*สามารถตรวจสอบและแก้ไขได้หากจําเป็น) รายละเอียด: การกําหนดระยะเวลาการฝึกโดยประมาณ ในการกําหนดชั่วโมงฝึกโดยเฉลี่ย ผู้จดั ทําจะต้องพิจารณาตัดสินใจกําหนดจากจํานวนครั้งของการฝึก ที่ ผู้รับการฝึกต้องฝึกให้จบและต้องผ่านการประเมินหรือบรรลุผลการฝึกของโมดุลนั้นด้วย (ต้องมีการเผื่อระยะเวลา สําหรับการฝึกซ้ํา หรือการฝึกทบทวน ในกรณีผู้รบั การฝึกบางรายที่อาจจะต้องฝึกซ้ําไว้ดว้ ย) ตัวอย่าง : ผลลัพธ์การฝึก / รายการความสามารถทีต่ ้องการ (Learning จํานวนชัว่ โมงฝึกโดยประมาณ Outcome) (วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม) (Estimated number of hour) ๑. ระบุภัยและอันตรายจากการทํางานได้ตามข้อกําหนดด้านความปลอดภัย ๒ ๒. ประเมินผลกระทบจากภัยและอันตรายจากการทํางานได้ตามข้อกําหนด ๔ ด้านความปลอดภัย ๓. ควบคุมไม่ให้เกิดภัยและอันตรายจากการทํางานได้ตามข้อกําหนดด้าน ๖ ความปลอดภัย ๔. เฝ้าระวังและตระหนักถึงภัยและอันตรายจากการทํางานได้ตามข้อกําหน ๖ ด้านความปลอดภัย รวม (Total) ๑๘ เป็นจํานวนชั่วโมงฝึกที่กําหนดขึ้นโดยประมาณของโมดุลการฝึก ซึ่งการกําหนด ชั่วโมงฝึกดังกล่าว มีหลักว่าหากผู้รบั การฝึกต้องฝึกและผ่านการประเมินในระดับ ความสามารถขั้นสูงทีส่ ุดในงานนั้น จะต้องใช้เวลาเท่าไหร่ ? ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๖๕ขั้นตอนที่๓
กําหนดขอบเขตและรายละเอียดโมดุลการฝึก (Module Descriptor)
แนวทาง : การเขียนขอบเขตและรายละเอียดของโมดุลการฝึก - จัดทําโดยใช้การอธิบายสั้นๆ ถึงขอบเขตของโมดุลการฝึกนั้น ให้ครอบคลุมความสามารถด้าน ต่างๆ อย่างย่อๆ กว้างๆ (ด้านความรู้ ด้านทักษะและเจตคติที่จําเป็นต่อการปฏิบัติงาน) - เป็นการชี้แจงเจตนารมณ์ของโมดุลการฝึกนี้ และบอกแนวทางในการทํางานหรือต้อง ปฏิบัติงานในสถานประกอบกิจการหรือในโรงงาน รายละเอียด: โมดุลการฝึกเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนหรือการฝึกอบรมทีม่ ีวัตถุประสงค์เฉพาะ ให้เขียนเป็นประโยคสั้นๆ ที่เน้นอธิบายถึงภาพรวมของโมดุลการฝึก โดยมุ่งเน้นไปที่ผลลัพธ์การฝึกทีต่ อ้ งการ(LO) เป็นสําคัญ ในแต่ละโมดุลการฝึกจะมีการเชื่อมโยงกับหน่วยความสามารถ(Unit of Competency) ของมาตรฐาน ความสามารถ (Competency Standard) ผู้จัดทําหลักสูตรต้องพิจารณาหน่วยความสามารถ (Unit of Competency) เหล่านั้นอย่างถ่องแท้และ ต้องมั่นใจว่าได้ทําความเข้าใจผลลัพธ์การฝึกที่ตอ้ งการ (LO) เป็นอย่างดีว่าเมื่อผู้รับการฝึกจบโมดุลการฝึกดังกล่าว แล้วสามารถทําอะไรได้บ้าง ตัวอย่าง : การเขียนขอบเขตของโมดุลการฝึก โมดุลการฝึกนีพ้ ัฒนาขึ้นให้ครอบคลุมความสามารถด้านความรู้ ทักษะและเจตคติที่จําเป็นแก่ผู้เข้ารับการ ฝึกในสาขาอาชีพ / งาน............................เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้ ดังนี้ ๑. .................................................................................................. ๒. ................................................................................................. ๓. ................................................................................................. ๔. .................................................................................................
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๖๖ขั้นตอนที่๔
กําหนดความรู้ ทักษะ ความสามารถพื้นฐาน (Pre-Requisite)
แนวทาง : การกําหนดความรู้ ทักษะ ความสามารถพืน้ ฐาน - เป็นการระบุความสามารถพื้นฐานที่ผู้รับการฝึกต้องมีกอ่ นเข้าสู่โมดุลการฝึกนี้(ต้องมีการระบุ ไว้หากจําเป็นต้องมี) รายละเอียด: เป็นโมดุลพื้นฐานหรือความสามารถพื้นฐานที่ผู้รับการฝึกต้องจบฝึกมาก่อนหรือมีผลการประเมิน การฝึกมาแล้ว (ผ่านการประเมินขั้นสุดท้ายแล้ว) ก่อนที่จะเข้ารับการฝึกในโมดุลดังกล่าว หรือหลักสูตรถัดไป ตัวอย่าง : - ต้องผ่านการฝึกและผ่านการประเมิน ใน โมดุลการฝึก: การใช้งานเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า ระดับ ๑ ขั้นตอนที่๕
เขียนรายการความสามารถ / ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ต้องการ (Summary of Learning Outcome)
แนวทาง : การเขียนรายการความสามารถ / ผลลัพธ์การเรียนรูท้ ี่ต้องการโดยสรุป ของแต่ละโมดุลการ ฝึก - เป็นการสรุปรายการความสามารถ / ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ตอ้ งการทั้งหมดหลังผ่านการฝึกใน แต่ละหน่วยการฝึก (สรุปผลลัพธ์การเรียนรู้/ความสามารถที่ตอ้ งการหลังฝึก) - เป็นการอธิบายผลการฝึกของความสามารถย่อยๆ ที่ผู้รับการฝึกต้องฝึก ที่จําเป็นต่อการ ทํางานในสถานประกอบกิจการตามสาขาอาชีพนั้นๆ (*ต้องสามารถตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไขได้หากจําเป็น) รายละเอียด: ในการเขียนผลการฝึกทีต่ ้องการให้ผู้รับการฝึกบรรลุนั้น จะต้องตรวจสอบหน่วยความสามารถอย่าง ละเอียด เพือ่ ให้แน่ใจว่าผู้รับการฝึกจําเป็นต้องฝึกตามผลการฝึกที่กําหนดไว้จริง ผลลัพธ์การเรียนรู้หรือความสามารถทีต่ ้องการ คือวัตถุประสงค์การฝึกของแต่ละโมดุลการฝึก ดังนัน้ จึงต้อง เขียนบรรยายในงานหรือกิจกรรมที่ผรู้ ับการฝึกต้องฝึก จึงต้องเขียนเป็นประโยคทีช่ ดั เจน เข้าใจง่าย ในการเขียนผลลัพธ์การฝึก หรือความสามารถที่ตอ้ งการ เขียนเรียงกันลงมาโดยให้ขึ้นต้นประโยคด้วย คํากริยา ทีแ่ สดงการกระทํา โดยมีหลักว่า - ขึ้นต้นประโยคด้วยคํา “กริยาการกระทํา” (งาน/ภารกิจ) - มีเงื่อนไขการกระทําหรือสถานการณ์(condition) และเกณฑ์หรือมาตรฐานการปฏิบัติ(criteria) ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๖๗ตัวอย่าง : การเขียนผลลัพธ์การเรียนรู้ / รายการความสามารถ แบบย่อๆ (Summary of Learning Outcome) เมื่อผู้รบั การฝึกได้ผ่านโมดุลการฝึกนีแ้ ล้ว ต้องสามารถ ๑. ระบุภัยและอันตรายจากการทํางานได้ตามข้อกําหนดด้านความปลอดภัย ๒. ประเมินผลกระทบจากภัยและอันตรายจากการทํางานได้ตามมาตรฐานบริษัท ๓. ควบคุมไม่ไห้เกิดภัยและอันตรายจากการทํางานได้ตามมาตรฐานบริษัท ๔. เฝ้าระวังและตระหนักถึงภัยและอันตรายจากการทํางานได้ตามมาตรฐานบริษทั งานย่อย/ภารกิจ (Task)
เงื่อนไข / สถานการณ์
เกณฑ์ /มาตรฐาน
ข้อควรจํา: การเขียนผลลัพธ์การเรียนรู้ / รายการความสามารถทีต่ อ้ งการ จะสัมพันธ์กับเนื้อหาวิชา(Content) ที่ใช้ใน การฝึก ซึ่งจะครอบคลุมความสามารถด้านต่างๆ เช่น ความสามารถด้านความรู้ ด้านทักษะและเจตคติรวมถึงเวลาที่ ใช้ในการฝึกด้วย ตัวอย่าง: ผลลัพธ์การเรียนรู้/รายการ ชื่อหัวข้อวิชา(Content Title) ความสามารถ(LO) สามารถติดตั้งหน่วยความจําหลัก ๑. ประเภทหน่วยความจําหลัก(แรม) ได้อย่างถูกต้อง ๒. คุณลักษณะเฉพาะของหน่วยความจํา หลัก(แรม)และลักษณะช่องติดตั้ง ๓. ขั้นตอนการติดตั้ง ๔.ปฏิบัติการติดตั้งหน่วยความจําหลัก(แรม) ลงบนแผงวงจรหลัก(เมนบอร์ด) รวม
ชั่วโมงฝึก ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม ๑๐นาที ๑๐นาที ๑๐นาที ๑๐นาที ๑๐นาที -
๑๐นาที ๓๐นาที ๓๐นาที
๓๐นาที
๓๐นาที ๖๐นาที
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๖๘ระยะที่๔ (Phase)
การจัดทํารายละเอียดของหัวข้อวิชา (Content Outline)
เป็นขั้นตอนการจัดทํารายละเอียดของหัวข้อวิชา ซึ่งต้องดําเนินการต่อเนือ่ งจากการจัดทํา รายละเอียดโมดุลการฝึก(Module Outline) ตามโครงสร้างหลักสูตรที่กําหนด แนวทางการเขียนในส่วนที่ ๓ ดังนี้ ส่วนที่ ๓: เขียนรายละเอียดของหัวข้อวิชา (Content Outline) มี ๕ ขัน้ ตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่๑
กําหนดหัวข้อและเนื้อหาในการฝึก (Contents)
แนวทาง : การกําหนดหัวข้อและเนื้อหาในการฝึก - เป็นการกําหนดหัวข้อวิชาหรือเนื้อหาที่ตอ้ งฝึกเพื่อพัฒนาความสามารถด้านความรู้เฉพาะ(EK) ด้านทักษะเฉพาะ(ES)และคุณลักษณะที่จําเป็น(A) ต่อการปฏิบัติงาน ซึ่งจะระบุไว้ใน วัตถุประสงค์หรือผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ตอ้ งการ(LO) หรือรายการความสามารถที่ตอ้ งการ ดังนี้ o รายการความรู้ที่จําเป็นต่อการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพ o การเก็บร่องรอยหลักฐานด้านความรู้ที่จําเป็นต่อการปฏิบัติงาน เช่น ความรู้ หรือ หลักการปฏิบัติงาน ระเบียบการปฏิบัติงาน ต่างๆ เป็นต้น o พื้นฐานความรู้อื่นๆ ทีท่ ําให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ ได้แก่ ความสามารถ พื้นฐานทั่วๆไป (ด้านการสื่อสาร พื้นฐานทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์) และ ทักษะเฉพาะในสาขาอาชีพหรือในอุตสาหกรรม นั่นๆ รายละเอียด: ขั้นตอนนี้เป็นการกําหนดขอบเขตของเนื้อหาที่ใช้ฝึก(ขอบเขตการฝึก) ได้แก่ ความรู้ทจี่ ําเป็น (Underpinning Knowledge) หรือเนือ้ หาความที่ช่วยให้ผู้รับการฝึกบรรลุผลการฝึกที่ตอ้ งการ เนื้อหาที่ใช้ฝกึ ดังกล่าวมีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ตอ้ งการ/ความสามารถที่ตอ้ งการ (Learning Outcomes) หากมีการเพิ่มส่วนนี้เข้าไปในโมดุลการฝึก (หากมีการเพิ่ม ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ต้องการ/ ความสามารถที่ต้องการ (LO) ผู้จัดทําต้องใส่หวั ข้อและเนื้อหา (Contents) ที่เกี่ยวข้อง เพิ่มเข้าไปด้วย) ข้อควรระวัง อย่าพยายามใส่เนื้อหาหรือหัวข้อวิชาด้วยการสมมติขึ้น หรือไม่ได้เกิดจากการวิเคราะห์งาน จริงๆ เข้าไป แต่ควรใส่เนื้อหาหรือหัวข้อทีม่ าจากประเด็นทีใ่ ช้ในกระบวนการวัดและเมินการฝึกในแต่ละโมดุลการ ฝึก หรือ เนือ้ หานั้นมีการกําหนดเข้าไปไว้ในเกณฑ์การประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ตอ้ งการ / ความสามารถที่ ต้องการ (ถ้าจะประเมินเกีย่ วกับสิ่งใด ก็ควรสอนหรือฝึกผูร้ ับการฝึกเกี่ยวกับสิง่ นัน้ ด้วย)
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๖๙ตัวอย่าง : หัวข้อวิชา เนือ้ หาที่ใช้ฝกึ (Contents) - ประเภทและชนิดของอุปกรณ์และเครือ่ งมือติดตั้ง - การใช้งานเครือ่ งมือและอุปกรณ์วัด - อุปกรณ์ปอ้ งกันส่วนบุคคล - เครื่องมือ อุปกรณ์การวัดและสัญลักษณ์การวัด ขั้นตอนที่๒
กําหนดวัตถุประสงค์ / เกณฑ์การประเมินการฝึกอบรม (Assessment Criteria) ในแต่ละ หัวข้อวิชา
แนวทาง : การกําหนดวัตถุประสงค์ หรือ เกณฑ์ประเมินในแต่ละหัวข้อวิชา - เป็นการกําหนดเกณฑ์การประเมินของแต่ละวัตถุประสงค์หรือผลลัพธ์การเรียนรู้(LO) / รายการความสามารถทีต่ ้องการ ทั้งหมดของโมดุลการฝึกนั้น - เกณฑ์การประเมิน ต้องกําหนดผลการปฏิบัติงานที่ปรากฏออกมาให้เห็นเป็นที่ประจักษ์ (Performance Outcome) ที่แสดงให้เห็นถึงการใช้ความรู้ ทักษะและเจตคติในการปฏิบัติงานนั้น ซึ่งผู้รับการฝึก จะต้องแสดงให้เห็นถึงภาพรวมของแต่ละวัตถุประสงค์ หรือผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ตอ้ งการ(LO) * (สามารถตรวจสอบหรือแก้ไขหากมีความจําเป็น) รายละเอียด: การกําหนดวัตถุประสงค์ / เกณฑ์การประเมิน (Assessment Criteria) เกณฑ์การประเมินที่กําหนดขึน้ จะถูกนําไปใช้เป็นแนวทางในการตัดสินผูร้ ับการฝึกว่าบรรลุวัตถุประสงค์ การฝึกหรือไม่ สําหรับผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ตอ้ งการในแต่ละรายการ จะมีเกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินว่าผู้รบั การฝึกได้บรรลุ วัตถุประสงค์การฝึกทุกรายการ ซึ่งในแต่ละวัตถุประสงค์หรือผลลัพธ์การเรียนรู้(LO) / ความสามารถทีต่ อ้ งการแต่ละรายการ เกณฑ์การ ประเมินดังกล่าวจะถูกนําไปใช้เพื่อตัดสินใจว่าผู้รับการฝึกผ่านเกณฑ์ความสามารถทีต่ ั้งไว้หรือไม่ (ถ้าผ่าน ไปฝึก โมดุลต่อไป ถ้าไม่ผ่านให้ฝึกซ้ําหรือทบทวน)
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๗๐ตัวอย่าง : ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ต้องการ/รายการความสามารถที่ต้องการ (LO1): สามารถระบุ เครื่องมือ อุปกรณ์ เครือ่ งมือวัด และวัสดุที่จาํ เป็น ในการติดตั้งได้ถูกต้องตามมาตรฐานบริษัท
ขั้นตอนที่๓
วัตถุประสงค์การฝึก หรือเกณฑ์การประเมิน (Assessment Criteria) ๑. วัสดุที่จําเป็นในการติดตั้งถูกระบุและ จัดเตรียมครบถ้วนตามคู่มอื การปฏิบัติงาน ๒. ชนิดเครื่องมือและประเภทของอุปกรณ์ที่ จําเป็นต่อการติดตั้งถูกระบุและจัดเตรียม ครบถ้วนตามมาตรฐานการติดตั้ง ๓. อุปกรณ์ทดสอบและเครือ่ งมือปฏิบัติงานที่ จําเป็นสําหรับการติดตั้งถูกระบุไว้และ จัดเตรียมครบถ้วนตามคู่มอื การใช้งาน ๔. อุปกรณ์ปอ้ งกันส่วนบุคคลถูกใช้งานตาม ข้อกําหนดของอาชีวอนามัยและข้อกําหนด ด้านความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
เขียนรายละเอียดของหัวข้อวิชาที่ฝกึ
แนวทาง : การเขียนรายละเอียดของหัวข้อวิชาที่ฝกึ - ขั้นตอนนีต้ ้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ หรือ เกณฑ์การประเมินในแต่ละหัวข้อตามลําดับ เป็นการเขียนรายละเอียดของเนื้อหาที่ผู้เข้ารับการฝึกจําเป็นต้องได้รับการฝึก ตามหัวข้อที่ กําหนด รายละเอียด: การเขียนรายละเอียดของหัวข้อวิชาทีฝ่ ึก รายละเอียดเนื้อหา ๑. ................................................................................... ๒. ................................................................................... ๓. ...................................................................................
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๗๑ขั้นตอนที่๔
กําหนดวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ และเงื่อนไขการฝึก (Condition)
แนวทาง : การกําหนดวัสดุ วัตถุดิบ อุปกรณ์ เครื่องมือ และเงื่อนไขการฝึก - ขั้นตอนนีต้ ้องอ้างมาจากมาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานฝีมือแรงงานโดยเฉพาะหัวข้อที่ เกี่ยวกับเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ในการปฏิบัติงานในอาชีพนั้นๆ - เป็นการระบุเงื่อนไขตามที่การฝึกและการประเมินผลการฝึกที่เกิดขึ้น ซึง่ รวมไปถึงรายการ เครื่องมือ อุปกรณ์และแหล่งเรียนรู้ทผี่ ู้รับการฝึกสามารถเข้าถึง และคูม่ ือการใช้งานและ ประเภทของเครื่องอํานวยความสะดวกในการฝึกด้วย รายละเอียด: การกําหนดเงือ่ นไขการฝึก เป็นการบอกรายละเอียดเกี่ยวกับทรัพยากรที่จําเป็นต่อการฝึก ประกอบด้วยรายการ วัสดุ เครือ่ งมือ อุปกรณ์ เครือ่ งอํานวยความสะดวกและเครื่องใช้ต่างๆ ในโมดุลการฝึกนั้นๆ นอกจากนี้ยังเป็นการแนะนําแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ที่ทันสมัย เหมาะสมและเป็นประโยชน์แก่ผู้รับการฝึก ตัวอย่าง : เงื่อนไขการฝึก(Condition) หน่วยฝึกต้องจัดเตรียมสิง่ ต่อไปนี้ให้ผู้เข้ารับการฝึก -
ชุดหรืออุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล แนวทางการฝึก/คู่มือการฝึกในหลักสูตรนั้นๆ สื่อต่างๆ เช่น CD, Tape (ที่ผู้รับการฝึกต้องใช้เรียน) คู่มือต่างๆ o คู่มือเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝึก (เอกสารความปลอดภัย นิสัยอุตสาหกรรม) o คู่มือเกี่ยวกับข้อควรระวังในการฝึกในหลักสูตรทีฝ่ ึก o คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานหรือมาตรฐานอาชีพ เป็นต้น
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๗๒ขั้นตอนที่๕
กําหนดวิธกี ารฝึก (Methodology)
แนวทาง : การกําหนดวิธีการฝึก - ขั้นตอนนี้เป็นการกําหนดระเบียบวิธีการถ่ายทอดเนือ้ หาของหลักสูตรนั่นเอง ซึ่งมีหลายวิธี เช่น o เรียนตามความก้าวหน้าของตนเอง หรือ แบบโมดุล o การอภิปรายกลุ่ม o เรียนผ่านสื่อวีดิทัศน์ o การเรียนแบบตัวต่อตัว รายละเอียด: ในการถ่ายทอดเนื้อหาสาระของหลักสูตรนัน้ มีเทคนิค ระเบียบวิธีการนําเสนอและถ่ายทอดที่หลากหลาย ที่จะนํามาใช้ในกระบวนการฝึก ตัวอย่าง : ขั้นตอนที่๕
อภิปรายกลุ่ม(Group discussion) กรณีศกึ ษา(Case Study) เรียนตามความก้าวหน้าของตนเอง(Self-paced learning) การเรียนแบบบรรยาย(Lecture) การสาธิตทักษะ(Skill Demonstration) เป็นต้น
กําหนดวิธกี ารประเมิน (Assessment Method)
แนวทาง : การกําหนดวิธีการฝึก - ขั้นตอนนี้เป็นการกําหนดวิธีการประเมินผลที่ตอ้ งการ/ความสามารถทีต่ อ้ งการ(LO) มีการ ประเมินหลายวิธี เช่น o การสังเกตโดยตรง o การประเมินด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ แบบทดสอบกระดาษ o การสัมภาษณ์หรือสอบปากเปล่า o การสาธิตการปฏิบัติงาน ในการฝึกสามารถกําหนดวิธกี ารประเมินอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือผสมผสานกันก็ได้ รายละเอียด: ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๗๓มีการระบุหลักฐานที่จําเป็นในการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้/ผลลัพธ์การฝึก ในขณะเดียวกันเราต้อง พิจารณาวิธีการประเมินด้วยเพื่อสนับสนุนการเก็บหลักฐาน ที่ปรากฏในการฝึก วิธีการประเมินที่เป็นไปได้ เราควรใช้แนวทางการประเมินแบบองค์รวม แนวทางการประเมินความสามารถ แบบองค์รวมเป็นหนึ่งในหลายแนวทางการประเมินความสามารถ เช่น ความสามารถในการวาดภาพ ซึ่งเป็น ความสามารถที่ผสมผสานและมีความหลากหลายของความสามารถด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านทักษะ ด้านความรู้ และทัศนคติทจี่ ําเป็นในการวาดภาพ เป็นต้น ในการประเมินต้องมีการระบุหลักฐานที่จําเป็นในการประเมินผลการฝึกด้วย โดยสามารถพิจารณาจาก วิธีการประเมินที่ใช้ในการฝึกซึ่งจะบอกได้ว่า หลักฐานที่เกิดขึ้นควรเป็นอะไร (เช่น ถ้าประเมินความรู้ โดยใช้ แบบทดสอบทีเ่ ป็นกระดาษ หลักฐาน คือ ผลคะแนนทดสอบของผู้รับการฝึกและกระดาษคําตอบ) ในทางปฏิบัติควรเลือกวิธีประเมินให้ครบทั้งสามด้าน คือ ด้านความรู้ ทักษะและเจตคติ โดยเก็บหลักฐาน ประกอบทุกความสามารถทีป่ ระเมิน ตัวอย่าง : การประเมินด้านต่างๆ - การประเมินด้านความรู้ (K) วิธีประเมิน : ประเมินผลจากแบบทดสอบก่อนฝึกและแบบทดสอบหลังฝึก หลักฐาน คือ คะแนนทดสอบก่อนฝึกและหลังฝึกของผู้รบั การฝึกและกระดาษคําตอบ - การประเมินด้านทักษะ (S) วิธีประเมิน: ประเมินผลจากแบบสังเกตการปฏิบัติงานของผู้รับการฝึก และแบบบันทึกผลการปฏิบัติงาน หลักฐาน คือ คะแนนปฏิบตั ขิ องผู้รับการฝึกและผลงานหรือชิ้นงาน - การประเมินด้านคุณลักษณะเชิงพฤติกรรม (A) วิธีประเมิน: ประเมินผลจากแบบสังเกตการปฏิบัติงานของผู้รับการฝึกและบันทึกพฤติกรรม ผรฝ. หลักฐาน คือ คะแนนพฤติกรรมจากการปฏิบัติงานของผูร้ ับการฝึกและผลที่เกิดหลังการ ปฏิบัติงาน
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๗๔อภิธานศัพท์ สมรรถนะ (Competency) หมายถึง ความสามารถในการปฏิบัติงานที่สะท้อนให้เห็นถึงการใช้ความรู้(K) ทักษะ(S) เจตคติ (A)และ คุณลักษณะทีจ่ าํ เป็นต่อการปฏิบัติงานภายใต้เงื่อนไขและใช้เครือ่ งมือ วัสดุ อุปกรณ์ที่ระบุไว้ ให้ได้มาตรฐานตาม เกณฑ์การปฏิบัติงานและมีหลักฐานการปฏิบัติงานที่สามารถประเมินและตรวจสอบได้ มาตรฐานสมรรถนะ (Competency Standard) หมายถึง ข้อกําหนดทางวิชาการที่ระบุขอ้ ความเกี่ยวกับสิ่งที่คาดหวังในการปฏิบัติงาน รวมถึงความรู้ ใน ตําแหน่งงาน ในงาน หรือในสาขาอาชีพต่างๆ เพื่อเป็นมาตรฐานในการปฏิบัติงานของสถานประกอบกิจการ ซึ่ง กําหนดโดยกลุม่ คนหรือเจ้าของอาชีพ หน่วยสมรรถนะ (Competency Unit) หมายถึง ขอบข่ายกว้าง ๆ ของงาน (Job) ในอาชีพหนึ่ง ๆ ที่ตอ้ งปฏิบัติ โดยใช้ความรู้และทักษะ หรือ อาจ รวมถึงเจคติ สมรรถนะย่อย (Competency Element) หมายถึง ภาระงาน (Task)หรืองานย่อยที่ประกอบขึ้นภายใต้งานในหน่วยสมรรถนะนั้น ๆ เกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance criteria) หมายถึง ข้อกําหนดที่แสดงถึงผลลัพท์(Outcomes) ที่คาดหวังในการปฏิบัติงานแต่ละงานย่อยหรือภาร งาน (Task) เป็นกิจกรรมย่อยๆ (Sub-task) การฝึกอิงฐานสมรรถนะ (CBT) หมายถึง การเรียนรู้ควบคู่ไปกับการปฏิบัติงาน โดยที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะแสดงออกถึงสมรรถนะทีต่ นมี อยู่ เพือ่ นํามาใช้ในการปฏิบัตงิ านตามมาตรฐานสมรรถนะ (Competency Standard: CS) ในหน่วยสมรรถนะ (Competency Unit: CU) นั้น การวัดและประเมินผลอิงฐานสมรรถนะ (CBA) (Competency Based Assessment: CBA) หมายถึง การเก็บรวบรวมข้อมูล หลักฐาน เพื่อใช้ในการพิจารณาความรู้ ทักษะและเจตคติของผู้เข้ารับการฝึกหรือผู้ เข้าทดสอบ โดยเน้นการปฎิบัติงานเป็นหลัก หรือประเมินผลการปฏิบัติงาน ว่าเป็นไปตามมาตรฐานสมรรถนะที่กําหนดไว้ หรือไม่ หรือเป็นไปตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน(Performance Criteria: PC) หรือไม่ ซึ่งเป็นการประเมินแบบอิงเกณฑ์ที่กําหนด ในมาตรฐานสมรรถนะ ผลการประเมิน มี2 อย่าง คือ“มีสมรรถนะ (Competent)” หรือ “ไม่มีสมรรถนะ (Not Competent Yet)” หากผู้รับการฝึก หรือ ผู้รับการทดสอบผ่านเกณฑ์การปฏิบัติงาน (PC) ตามสมรรถนะที่กําหนดไว้ จะได้รับการรับรอง ว่า “มีสมรรถนะ (Competent)” ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๗๕เกณฑ์การประเมิน (Assessment Criteria) หมายถึง ข้อความที่ระบุถึงสมรรถนะในการปฏิบัติงานได้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กําหนด ที่ผู้เข้ารับการฝึก หรือผูร้ ับการประเมินแต่ละคนปฏิบัติได้ ทั้งด้านความรู้และด้านทักษะ โดยแสดงถึงความพร้อมในการทํางานใน สถานประกอบกิจการของผู้เข้ารับการฝึกหรือผู้รับการประเมินแต่ละคน โดยครูฝกึ (Trainer)หรือผู้ประเมิน (Assessor) ทําเครื่องหมาย (Tick) หรือ ระบุข้อความ ดังนี้ ผ่าน (C) หมายถึง ได้แสดงความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐาน หรือ มี ความสามารถ (Competent) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่กําหนด ไม่ผ่าน (NCY) หมายถึง ยังไม่ได้แสดงความรู้ ความสามารถในการปฏิบตั ิงานตามเกณฑ์มาตรฐานที่กําหนด หรือไม่ มีความสามารถเพียงพอ (Not Yet Competent) หรือ ยังไม่มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์พอ การประเมิน (Evaluation) หมาย ถึงการเก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารหลักฐาน เพื่อนํามาใช้ในการพิจารณาความรู้ ความสามารถ เจตคติของผู้เข้ารับการฝึกอบรมนั้นๆ ตามมาตรฐานสมรรถนะที่กําหนด วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้(Learning Objective) หมายถึง การอธิบายถึงสิ่งที่คาดหวังให้ผู้เรียนรู้หรือผู้เข้ารับการฝึกอบรมต้องสามารถทําได้หลังจบการ ฝึกอบรม และสามารถสังเกต วัดและประเมินผลได้ รูปแบบการเขียนวัตถุประสงค์ (ABCD) ประกอบด้วย A (Actor) B (Behavior) C (Condition) D (Degree or Standard) ผู้รับการฝึก/ผู้เรียน พฤติกรรมที่คาดหวัง เงื่อนไข/สภาพการ ระดับสมรรถนะ/มาตรฐาน/เกณฑ์ที่ ปฏิบัติงาน กําหนด
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๗๖-
เอกสารและสิ่งอ้างอิง กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน. มปป. รายงานการวิเคราะห์สมรรถนะ โครงการศึกษารูปแบบและแนวทางเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการพัฒนาฝีมือแรงงาน กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน.กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน. กระทรวงแรงงาน. กลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก. ๒๕๕๔. เอกสารสรุปผลการประชุม เรื่อง การพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตาม ความสามารถ (Competency Based Training: CBT). กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน. เอกสารและสิ่งอ้างอิงต่างประเทศ TESDA. ๒๕๕๔. หลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency Based Curriculum:CBC) Computer Services NC II. Technical Education and Skills Development Authority (TESDA). ฟิลิปินส์. TESDA. ๒๕๕๔. หลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency Based Curriculum).Technical Education And Skills Development Authority (TESDA). (Online) Available. http://www.tesda.gov.ph/program.aspx?page_id=29., 20 ก.ค.2554. TESDA. มปป. แผ่นใส่นําเสนออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องCompetency Based Curriculum Development. Technical Education And Skills Development Authority (TESDA). ฟิลิปินส์. สํานักพัฒนาผูฝ้ ึกและเทคโนโลยีการฝึก.๒๕๕๗.เอกสารประกอบการฝึกหลักสูตรการพัฒนาบุคลากรฝึก เรื่อง การ ออกแบบและพัฒนาหลักสูตรอิงสมรรถนะ (DSD CDD System). กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน. กระทรวงแรงงาน.
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๗๗-
ภาคผนวก
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๗๘-
ภาคผนวก ๑ โครงร่าง (Template) หลักสูตรและโมดุลการฝึกตามความสามารถ
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๗๙ภาคผนวก ๑ ก.โครงร่าง(Template) รูปแบบที่๑ หลักสูตรและโมดุลการฝึกตามความสามารถ (กิจกรรมการฝึกยกระดับ) ส่วนที่ ๑: รายละเอียดหลักสูตร (Course Outline) ๑.ชื่อหลักสูตร: …………………….................................................... รหัส : ……………. …………………………………………………………………. ๒.ระยะเวลาการฝึกอบรม ………………. ชั่วโมง ทฤษฎี .......ชั่วโมง ปฏิบัติ ..... ชั่วโมง (Nominal duration) : ๓.ขอบเขตของหลักสูตร (Course Description) : หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นให้ครอบคลุมความสามารถด้านความรู้ ทักษะและเจตคติแก่ผู้เข้ารับการฝึกในสาขา อาชีพช่าง / งาน …..............................................................เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้ ดังนี้ ๑. .……………………………………………………………………………………………………………. ๒. ……………………………………………………………………………………………………………… ๓. ............................................................................................................................ ๔. ........................................................................................................................... ๔.คุณสมบัตผิ สู้ มัครเข้ารับ ตามระเบียบกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน ว่าด้วยคุณสมบัติของผู้สมัคร การฝึกอบรม (Trainee กิจกรรมฝึกยกระดับฝีมอื ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ผู้สมัครเข้ารับการฝึกต้องมี entry requirements) ๑. อายุตั้งแต่ ๑๘ ปีขึ้นไป ๒. ประสบการณ์การทํางานเกี่ยวกับช่าง……………………………หรือมี พื้นฐานความรู้ทางช่าง…………………………………………………………. ๓. มีสภาพร่างการและจิตใจพร้อมเข้ารับการฝึก
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๘๐ส่วนที่ ๑: รายละเอียดหลักสูตร (Course Outline) ๑.ชื่อหลักสูตร: …………………….................................................... รหัส : ……………. …………………………………………………………………. ๕.โครงสร้างและองค์ประกอบของหลักสูตร (Course Structure) หน่วยความสามารถ ชื่อโมดุลการ รายการความสามารถทีต่ ้องการ ระยะเวลา (Unit of ฝึก (Module (ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ตอ้ งการ) (Nominal Competence) Title) (Learning Outcome) hours) : ชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ ๑. .......................... ๑.................... ๑.............................................................. .............................. ....................... ๒.............................................................. …….. …….. .............................. ....................... ๓.............................................................. ............................. ....................... ๔.............................................................. ๒. ............................ ๒.................... ๑.............................................................. ................................. ....................... ๒.............................................................. …….. …….. ................................. ....................... ๓.............................................................. ................................ ....................... ๔.............................................................. ๓. ............................ ๓.................... ๑.............................................................. ................................. ....................... ๒.............................................................. …….. …….. ................................. ....................... ๓.............................................................. ................................ ....................... ๔.............................................................. ๔. ............................ ๔.................... ๑.............................................................. ................................. ....................... ๒.............................................................. …….. …….. ................................. ....................... ๓.............................................................. ................................ ....................... ๔.............................................................. รวม …….. …….. ๖. วิธีการประเมินผล (Assessment Method) :
๑. .............................................................................. ๒. .............................................................................. ๓. .............................................................................. ๔. .............................................................................. ๕. .............................................................................. ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๘๑ส่วนที่ ๑: รายละเอียดหลักสูตร (Course Outline) ๑.ชื่อหลักสูตร: …………………….................................................... รหัส : ……………. …………………………………………………………………. ๗. วิธกี ารฝึกอบรม: (Methodologies) ๑. .............................................................................. ๒. .............................................................................. ๓. .............................................................................. ๔. .............................................................................. ๕. .............................................................................. ๘. สรุปเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ (Resource) ในหลักสูตร ๘.๑ระบุชื่อและจํานวน เครือ่ งจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ ๑. ................................................................. ๒. .................................................................. ๓. .................................................................. ๔. .................................................................. ๕. .................................................................. ๖. .................................................................. ๗. .................................................................. ๘. .................................................................. ๙. .................................................................. ๑๐. .................................................................
จํานวน ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... .......................
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๘๒ส่วนที่ ๑: รายละเอียดหลักสูตร (Course Outline) ๑.ชื่อหลักสูตร: …………………….................................................... รหัส : ……………. …………………………………………………………………. ๘.๒ ระบุชื่อและจํานวน วัสดุ วัตถุดบิ ๑. .................................................................. ๒. .................................................................. ๓. .................................................................. ๔. .................................................................. ๕. .................................................................. ๖. .................................................................. ๗. .................................................................. ๘. .................................................................. ๙. .................................................................. ๑๐. .................................................................
จํานวน ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... .......................
๘.๓ ระบุชื่อและจํานวน เอกสาร คู่มือการฝึก ๑. .................................................................. ๒. .................................................................. ๓. .................................................................. ๔. .................................................................. ๕. ..................................................................
จํานวน ....................... ....................... ....................... ....................... .......................
๙. ระบุชื่อและจํานวน เครือ่ งมือ วัสดุ และอุปกรณ์ (Resource) ในการประเมินผล ๙.๑ ระบุเครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ จํานวน ๑. .................................................................. .................................. ๒. .................................................................. ................................ ๓. .................................................................. .................................. ๔. .................................................................. ................................ ๕. .................................................................. ..................................
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๘๓ส่วนที่ ๑: รายละเอียดหลักสูตร (Course Outline) ๑.ชื่อหลักสูตร: …………………….................................................... รหัส : ……………. …………………………………………………………………. ๙.๒ ระบุ วัสดุ วัตถุดบิ ๑. .................................................................. ๒. .................................................................. ๓. .................................................................. ๔. .................................................................. ๕. ..................................................................
จํานวน .................................. ................................ .................................. ................................ ..................................
๙.๓ ระบุชื่อและจํานวน เอกสาร คู่มือการประเมิน ๑. .................................................................. ๒. .................................................................. ๓. .................................................................. ๔. .................................................................. ๕. ..................................................................
จํานวน .................................. ................................ .................................. ................................ ..................................
๑๐. คุณสมบัติของครูฝกึ /วิทยากร (Qualification of Instructors or Trainers) ผู้เข้ารับการฝึกจะได้รับการฝึกทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยวิทยากรจากกรมพัฒนา ฝีมอื แรงงานและจากผู้ชํานาญการในอาชีพ /งาน............................................... โดยมีคณ ุ สมบัติ ๑. ผ่านการคัดเลือกตามระเบียบกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน ปี ๒๕๔๗ ๒. ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร ทักษะการถ่ายทอดงานและการประเมินผลการฝึก รูปแบบCBT ๓. มีความสามารถในการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์และคอมพิวเตอร์
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๘๔-
๑.ชื่อหลักสูตร : ๒.ชื่อโมดุลการฝึก: ๓.ระยะเวลาการฝึก: ๔.ขอบเขตของโมดุล การฝึก :
ส่วนที่ ๒: รายละเอียดโมดุลการฝึก (Module Outline) ........................................................................................... รหัส : ............... ........................................................................................... ........................................................................................... รหัส : …………….. ........................................................................................... รวม............... ชั่วโมง ทฤษฎี.....ชั่วโมง ปฏิบัติ ....... ชั่วโมง ………………………………………………………………………………………………………….... …………………………………………………………………………………………………………….
๕.พื้นฐานความสามารถของ ผรฝ. ในโมดุลการฝึก (Prerequisite) :
๑. ..................................................................................... ๒. .................................................................................... ๓. ....................................................................................
๖.ผลลัพธ์การเรียนรู้/รายการความสามารถที่ต้องการ (Learning Outcomes) : เมือ่ สําเร็จการฝึกใน โมดุลการฝึกนี้ ผู้เข้ารับการฝึกสามารถปฏิบัตงิ านโดยมีความสามารถ และระยะเวลาการฝึก ดังนี้ ผลลัพธ์การเรียนรู้/รายการ ความสามารถที่ต้องการ (LO) ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ………………………………
ชื่อหัวข้อวิชา(Content)
ชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ
หัวข้อที่๑:………………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๒:………………………………… ………. ……… ………………………………………………. หัวข้อที่๓:………………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๔:………………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๕:………………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๖:………………………………… ………. ………. ………………………………………………. รวมทั้งสิ้น ………. ……….
รวม …….. …….. ……… ……… ……… ……… ……..
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๘๕ส่วนที่ ๓: รายละเอียดหัวข้อวิชาที่๑ (Content Outline) …………………………………………………………………… ๑.ชื่อหลักสูตร : รหัส : …………… ………………………………………………………………. …………………………………………………………………… ๒.ชื่อโมดุลการฝึก : รหัส : …………… ………………………………………………………………. …………………………………………………………………… ๓.ชื่อหัวข้อวิชา (Content) : รหัส : …………… ………………………………………………………………. ๔.เกณฑ์การประเมิน (Assessment Criteria) เมือ่ ผ่านการฝึกในหัวข้อวิชานีแ้ ล้วผูเ้ ข้ารับการฝึก สามารถ ปฏิบัติงานได้ตามเกณฑ์ ดังนี้ ๑. ………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ………………………………………………………………………………………………………………… ๔. ………………………………………………………………………………………………………………… ๕. ………………………………………………………………………………………………………………… ๕.รายละเอียดเนื้อหา (Contents) ๑. ………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ………………………………………………………………………………………………………………… ๔. ………………………………………………………………………………………………………………… ๕. ………………………………………………………………………………………………………………… ๖.ระบุชื่อและจํานวน วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือ (Resources) ของโมดุลการฝึกนี้ ๖.๑ อุปกรณ์ เครื่องมือ จํานวน ๑. ………………………………………………………….. ………………………………. ๒. ………………………………………………………….. ………………………………. ๓. ………………………………………………….………. ………………………………. ๔. …………………………………………….……………. ………………………………. ๕. ………………………………………………………….. ………………………………. ๖. ………………………………………………………….. ………………………………. ๗. ………………………………………………….………. ………………………………. ๘. …………………………………………….……………. ………………………………. ๙. ………………………………………………….………. ………………………………. ๑๐. …………………………………………….……………. ……………………………….
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๘๖…………………………………………………………………… รหัส : …………… ………………………………………………………………. …………………………………………………………………… ๒.ชื่อโมดุลการฝึก : รหัส : …………… ………………………………………………………………. …………………………………………………………………… ๓.ชื่อหัวข้อวิชา (Content) : รหัส : …………… ………………………………………………………………. ๖.๒ วัสดุ วัตถุดิบ จํานวน ๑. ………………………………………………………….. ………………………………. ๒. ………………………………………………………….. ………………………………. ๓. . ………………………………………………….………. ………………………………. ๔. …………………………………………….……………. ………………………………. ๕. …………………………………………….……………. ……………………………….
๑.ชื่อหลักสูตร :
๗. เงื่อนไขการฝึกอื่นๆ (ถ้าจําเป็นต้องมี): หน่วยฝึกต้องจัดเตรียมสิ่งเหล่านี้ให้ผู้เข้ารับการฝึก ได้แก่ ๑. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๒. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๓. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๔. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๘. คู่มือ วิธีปฏิบัติ และเอกสารอ้างอิง ๑. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๒. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๓. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๔. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๙.วิธกี ารฝึกอบรม (Methodologies) ๑๐.วิธกี ารประเมินผล (Assessment Methods)
๑. .…………………………………………………………………………............. ๒. .…………………………………………………………………………............. ๓. .…………………………………………………………………………............. ๑. .…………………………………………………………………………............. ๒. .…………………………………………………………………………............. ๓. .………………………………………………………………………….............
ผู้เห็นชอบหลักสูตร........................................................ ..................................................................................... วันที่.................................................................................
ผู้อนุมัติหลักสูตร…………………………………… ..................................................................... วันที่..............................................................
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๘๗ภาคผนวก๑ ข.โครงร่าง(Template) รูปแบบที่๑ หลักสูตรการฝึกตามความสามารถ ( กิจกรรมการฝึกเตรียมเข้าทํางาน) ส่วนที่ ๑: รายละเอียดหลักสูตร (Course Outline) หลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทํางาน ชื่อหลักสูตร:.................................................... รหัสหลักสูตร(๐๙xxxxxxxxxx) ระยะเวลาฝึก………………ชั่วโมง กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน กระทรวงแรงงาน ………………………………………………………………………………….………………… ………………………………………………………………………………….………………..
๑.ชื่อหลักสูตร (Course Title): ๒.ระยะเวลาการ ฝึกอบรม ………………. ชั่วโมง ทฤษฎี .......ชั่วโมง ปฏิบัติ ..... ชั่วโมง (Nominal duration) : ๓.ขอบเขตของหลักสูตร (Course Description) : หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นให้ครอบคลุมความสามารถด้านความรู้ ทักษะและเจตคติแก่ผู้เข้ารับการฝึกในสาขา อาชีพช่าง / งาน …..............................................................เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้ ดังนี้ ๑. .……………………………………………………………………………………………………………. ๒. ……………………………………………………………………………………………………………… ๓. ............................................................................................................................ ๔. ........................................................................................................................... ๔.คุณสมบัตผิ สู้ มัครเข้ารับ ตามระเบียบกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน ว่าด้วยคุณสมบัติของผู้สมัคร การฝึกอบรม (Trainee กิจกรรมฝึกยกระดับฝีมอื ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ผู้สมัครเข้ารับการฝึกต้องมี entry requirements) ๑. อายุตั้งแต่ ๑๘ ปีขึ้นไป ๒. ประสบการณ์การทํางานเกี่ยวกับช่าง……………………………หรือมี พื้นฐานความรู้ทางช่าง…………………………………………………………. ๓. มีสภาพร่างการและจิตใจพร้อมเข้ารับการฝึก
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๘๘ส่วนที่ ๑: รายละเอียดหลักสูตร (Course Outline) หลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทํางาน ชื่อหลักสูตร:.................................................... รหัสหลักสูตร(๐๙xxxxxxxxxx) ระยะเวลาฝึก………………ชั่วโมง กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน กระทรวงแรงงาน ๕.โครงสร้างและองค์ประกอบของหลักสูตร (Course Structure) หน่วยความสามารถ ชื่อโมดุลการ รายการความสามารถทีต่ ้องการ ระยะเวลา (Unit of ฝึก (Module (ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ตอ้ งการ) (Nominal Competence) Title) (Learning Outcome) hours) : ชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ ๑. .......................... ๑.................... ๑.............................................................. .............................. ....................... ๒.............................................................. …….. …….. .............................. ....................... ๓.............................................................. ............................. ....................... ๔.............................................................. ๒. ............................ ๒.................... ๑.............................................................. ................................. ....................... ๒.............................................................. …….. …….. ................................. ....................... ๓.............................................................. ................................ ....................... ๔.............................................................. ๓. ............................ ๓.................... ๑.............................................................. ................................. ....................... ๒.............................................................. …….. …….. ................................. ....................... ๓.............................................................. ................................ ....................... ๔.............................................................. ๔. ............................ ๔.................... ๑.............................................................. ................................. ....................... ๒.............................................................. …….. …….. ................................. ....................... ๓.............................................................. ................................ ....................... ๔.............................................................. รวม …….. ……..
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๘๙ส่วนที่ ๑: รายละเอียดหลักสูตร (Course Outline) หลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทํางาน ชื่อหลักสูตร:.................................................... รหัสหลักสูตร(๐๙xxxxxxxxxx) ระยะเวลาฝึก………………ชั่วโมง กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน กระทรวงแรงงาน ๖. วิธีการประเมินผล (Assessment ๑. .............................................................................. Method) : ๒. .............................................................................. ๓. .............................................................................. ๔. .............................................................................. ๕. .............................................................................. ๗. วิธกี ารฝึกอบรม: (Methodologies) ๑. .............................................................................. ๒. .............................................................................. ๓. .............................................................................. ๔. .............................................................................. ๕. .............................................................................. ๘. สรุปเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ (Resource) ในหลักสูตร ๘.๑ระบุชื่อและจํานวน เครือ่ งจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ ๑. ................................................................. ๒. .................................................................. ๓. .................................................................. ๔. .................................................................. ๕. .................................................................. ๖. .................................................................. ๗. .................................................................. ๘. .................................................................. ๙. .................................................................. ๑๐. .................................................................
จํานวน ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... .......................
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๙๐ส่วนที่ ๑: รายละเอียดหลักสูตร (Course Outline) หลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทํางาน ชื่อหลักสูตร:.................................................... รหัสหลักสูตร(๐๙xxxxxxxxxx) ระยะเวลาฝึก………………ชั่วโมง กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน กระทรวงแรงงาน ๘.๒ ระบุชื่อและจํานวน วัสดุ วัตถุดบิ จํานวน ๑. .................................................................. ....................... ๒. .................................................................. ....................... ๓. .................................................................. ....................... ๔. .................................................................. ....................... ๕. .................................................................. ....................... ๖. .................................................................. ....................... ๗. .................................................................. ....................... ๘. .................................................................. ....................... ๙. .................................................................. ....................... ๑๐. ................................................................. ....................... ๘.๓ ระบุชื่อและจํานวน เอกสาร คู่มือการฝึก ๑. .................................................................. ๒. .................................................................. ๓. .................................................................. ๔. .................................................................. ๕. ..................................................................
จํานวน ....................... ....................... ....................... ....................... .......................
๙. ระบุชื่อและจํานวน เครือ่ งมือ วัสดุ และอุปกรณ์ (Resource) ในการประเมินผล ๙.๑ ระบุเครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ จํานวน ๑. .................................................................. .................................. ๒. .................................................................. ................................ ๓. .................................................................. .................................. ๔. .................................................................. ................................ ๕. .................................................................. ..................................
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๙๑ส่วนที่ ๑: รายละเอียดหลักสูตร (Course Outline) หลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทํางาน ชื่อหลักสูตร:.................................................... รหัสหลักสูตร(๐๙xxxxxxxxxx) ระยะเวลาฝึก………………ชั่วโมง กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน กระทรวงแรงงาน ๙.๒ ระบุ วัสดุ วัตถุดบิ จํานวน ๑. .................................................................. .................................. ๒. .................................................................. ................................ ๓. .................................................................. .................................. ๔. .................................................................. ................................ ๕. .................................................................. .................................. ๙.๓ ระบุชื่อและจํานวน เอกสาร คู่มือการประเมิน ๑. .................................................................. ๒. .................................................................. ๓. .................................................................. ๔. .................................................................. ๕. ..................................................................
จํานวน .................................. ................................ .................................. ................................ ..................................
๑๐. คุณสมบัติของครูฝกึ /วิทยากร (Qualification of Instructors or Trainers) ผู้เข้ารับการฝึกจะได้รับการฝึกทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยวิทยากรจากกรมพัฒนา ฝีมอื แรงงานและจากผู้ชํานาญการในอาชีพ /งาน............................................... โดยมีคณ ุ สมบัติ ๑. ผ่านการคัดเลือกตามระเบียบกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน ปี ๒๕๔๗ ๒. ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร ทักษะการถ่ายทอดงานและการประเมินผลการฝึก รูปแบบCBT ๓. มีความสามารถในการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์และคอมพิวเตอร์
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๙๒-
๑.ชื่อหลักสูตร : ๒.ชื่อโมดุลการฝึก: ๓.ระยะเวลาการฝึก: ๔.ขอบเขตของโมดุล การฝึก :
ส่วนที่ ๒: รายละเอียดโมดุลการฝึก (Module Outline) ........................................................................................... รหัส : ............... ........................................................................................... ........................................................................................... รหัส : …………….. ........................................................................................... รวม............... ชั่วโมง ทฤษฎี.....ชั่วโมง ปฏิบัติ ....... ชั่วโมง ………………………………………………………………………………………………………….... …………………………………………………………………………………………………………….
๕.พื้นฐานความสามารถของ ผรฝ. ในโมดุลการฝึก (Prerequisite) :
๑. ..................................................................................... ๒. .................................................................................... ๓. ....................................................................................
๖.ผลลัพธ์การเรียนรู้/รายการความสามารถที่ต้องการ (Learning Outcomes) : เมือ่ สําเร็จการฝึกใน โมดุลการฝึกนี้ ผู้เข้ารับการฝึกสามารถปฏิบัตงิ านโดยมีความสามารถ และระยะเวลาการฝึก ดังนี้ กลุ่มความสามารถพื้นฐานการทํางาน ผลลัพธ์การเรียนรู้/รายการ ความสามารถที่ต้องการ (LO) ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ………………………………
ชื่อหัวข้อวิชา(Content)
ชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ
หัวข้อที่๑:………………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๒:………………………………… ………. ……… ………………………………………………. หัวข้อที่๓:………………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๔:………………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๕:………………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๖:………………………………… ………. ………. ………………………………………………. รวมทั้งสิ้น ………. ……….
รวม …….. …….. ……… ……… ……… ……… ……..
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๙๓กลุ่มความสามารถร่วมทางช่าง ผลลัพธ์การเรียนรู้/รายการ ความสามารถที่ต้องการ (LO)
ชื่อหัวข้อวิชา(Content)
ชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ
หัวข้อที่๑:………………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๒:………………………………… ……………………………… ………. ……… ………………………………………………. หัวข้อที่๓:………………………………… ……………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๔:………………………………… ……………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๕:………………………………… ……………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๖:………………………………… ……………………………… ………. ………. ………………………………………………. รวมทั้งสิ้น ………. ………. กลุ่มความสามารถหลักในงาน ชั่วโมง ผลลัพธ์การเรียนรู้/รายการ ชื่อหัวข้อวิชา(Content) ความสามารถที่ต้องการ (LO) ทฤษฎี ปฏิบัติ หัวข้อที่๑:………………………………… ……………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๒:………………………………… ……………………………… ………. ……… ………………………………………………. หัวข้อที่๓:………………………………… ……………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๔:………………………………… ……………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๕:………………………………… ……………………………… ………. ………. ………………………………………………. หัวข้อที่๖:………………………………… ……………………………… ………. ………. ………………………………………………. รวมทั้งสิ้น ………. ………. ………………………………
รวม …….. …….. ……… ……… ……… ……… ……..
รวม …….. …….. ……… ……… ……… ……… ……..
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๙๔ส่วนที่ ๓:รายละเอียดหัวข้อวิชา (Content Outline) ในแต่ละกลุ่มความสามารถ …………………………………………………………………… ๑.ชื่อหลักสูตร : รหัส : …………… ………………………………………………………………. …………………………………………………………………… ๒.ชื่อโมดุลการฝึก : รหัส : …………… ………………………………………………………………. …………………………………………………………………… ๓.ชื่อหัวข้อวิชา (Content) : รหัส : …………… ………………………………………………………………. ๔.เกณฑ์การประเมิน (Assessment Criteria) เมือ่ ผ่านการฝึกในหัวข้อวิชานีแ้ ล้วผูเ้ ข้ารับการฝึก สามารถ ปฏิบัติงานได้ตามเกณฑ์ ดังนี้ ๑. ………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ………………………………………………………………………………………………………………… ๔. ………………………………………………………………………………………………………………… ๕. ………………………………………………………………………………………………………………… ๕.รายละเอียดเนื้อหา (Contents) ๑. ………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ………………………………………………………………………………………………………………… ๔. ………………………………………………………………………………………………………………… ๕. ………………………………………………………………………………………………………………… ๖.ระบุชื่อและจํานวน วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือ (Resources) ของโมดุลการฝึกนี้ ๖.๑ อุปกรณ์ เครื่องมือ จํานวน ๑. ………………………………………………………….. ………………………………. ๒. ………………………………………………………….. ………………………………. ๓. ………………………………………………….………. ………………………………. ๔. …………………………………………….……………. ………………………………. ๕. ………………………………………………………….. ………………………………. ๖. ………………………………………………………….. ………………………………. ๗. ………………………………………………….………. ………………………………. ๘. …………………………………………….……………. ………………………………. ๙. ………………………………………………….………. ………………………………. ๑๐. …………………………………………….……………. ……………………………….
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๙๕…………………………………………………………………… รหัส : …………… ………………………………………………………………. …………………………………………………………………… ๒.ชื่อโมดุลการฝึก : รหัส : …………… ………………………………………………………………. …………………………………………………………………… ๓.ชื่อหัวข้อวิชา (Content) : รหัส : …………… ………………………………………………………………. ๖.๒ วัสดุ วัตถุดิบ จํานวน ๑. ………………………………………………………….. ………………………………. ๒. ………………………………………………………….. ………………………………. ๓. . ………………………………………………….………. ………………………………. ๔. …………………………………………….……………. ………………………………. ๕. …………………………………………….……………. ……………………………….
๑.ชื่อหลักสูตร :
๗. เงื่อนไขการฝึกอื่นๆ (ถ้าจําเป็นต้องมี): หน่วยฝึกต้องจัดเตรียมสิ่งเหล่านี้ให้ผู้เข้ารับการฝึก ได้แก่ ๑. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๒. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๓. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๔. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๘. คู่มือ วิธีปฏิบัติ และเอกสารอ้างอิง ๑. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๒. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๓. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๔. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๙.วิธกี ารฝึกอบรม ๑. .…………………………………………………………………………............. (Methodologies) ๒. .…………………………………………………………………………............. ๓. .…………………………………………………………………………............. ๑๐.วิธกี ารประเมินผล ๑. .…………………………………………………………………………............. (Assessment Methods) ๒. .…………………………………………………………………………............. ๓. .…………………………………………………………………………............. ผู้เห็นชอบหลักสูตร........................................................ ..................................................................................... วันที่.................................................................................
ผู้อนุมัติหลักสูตร…………………………………… ..................................................................... วันที่..............................................................
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๙๖ภาคผนวก๑ ค. โครงร่าง(Template) รูปแบบที่ ๒ หลักสูตรการฝึก ชื่อหลักสูตร รหัสหลักสูตร ระยะเวลาฝึก
ระดับ..........
กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน กระทรวงแรงงาน ส่วนที่ ๑; รายละเอียดหลักสูตร รายละเอียดหลักสูตร (Course outline) ๑. ชื่อหลักสูตร (Course Title): ๒. ระยะเวลาการฝึกอบรม (Nominal Duration): ๓. ขอบเขตของหลักสูตร (Course Descriptor):
(ระดับ..........) (Nominal duration):
รหัส....................
ชั่วโมง
๔. คุณสมบัตผิ ู้สมัครเข้ารับ การฝึกอบรม (Trainee entry requirements):
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๙๗โครงสร้างและองค์ประกอบของหลักสูตร (Course Structure) ๕. หน่วยความสามารถ ชื่อ Module รายการความสามารถ/ผลลัพธ์การ (Unit Title): เรียนรู้ที่ต้องการ (Learning Outcome)
๖. วิธีการประเมินผล (Assessment Method): สอบข้อเขียน/สอบปากเปล่า สอบปฏิบัติ สังเกตโดยตรง
ระยะเวลา: ชั่วโมง
๗. วิธีการฝึกอบรม (Methodologies):
บรรยาย/สาธิต เรียนรู้ตามความก้าวหน้าของตน/โมดูล ระบบฝึกหัด Dual Training System การเรียนทางไกล บทบาทสมมุติ เพื่อนสอน/Peer Teaching / Mentoring
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๙๘๘. เครื่องมือและอุปกรณ์ (Resource) เครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์และ สิ่งอํานวยความสะดวก
วัตถุดิบ วัสดุ
๘. คุณสมบัตขิ องครูฝกึ /วิทยากร (Qualification of Instructors or Trainers) ผู้เข้ารับการฝึกจะได้รับการฝึกทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยวิทยากรจากกรมพัฒนาฝีมือ แรงงานและจากผู้ชํานาญการในงาน.............................โดยมีคุณสมบัติ 1. ผ่านการคัดเลือกตามระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ปี 2547 2. ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร ทักษะการถ่ายทอดงานและการประเมินผลการฝึกรูปแบบCBT 3. มีความสามารถในการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์และคอมพิวเตอร์ 4. 5. 6.
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๙๙ส่วนที่ ๒ ; รายละเอียดของโมดุลการฝึก ๑. ชื่อหน่วยความสามารถ (Unit Title): ๒. ชื่อโมดุลการฝึก (Module Title): ๓. ขอบเขตของโมดุลการฝึก (Descriptor):
รหัส..... รหัส.....
๔. ระยะเวลาฝึกอบรม (Nominal Duration): ๕. ระดับวุฒบิ ตั ร (Level of Certificated): ๖. พื้นฐานความสามารถ ของ ผรฝ. ในโมดุลการฝึก (Pre-requisites): ๗. ผลลัพธ์การเรียนรู้/รายการสมรรถนะที่ต้องการ(Learning Outcomes) : เมื่อสําเร็จการฝึกในโมดุลการ ฝึกนี้ผู้เข้ารับการฝึกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความสามารถ และระยะเวลาการฝึก ดังนี้ รหัส
ผลลัพธ์การเรียนรู้/ รายการความสามารถที่ ต้องการ(LO)
ชื่อหัวข้อวิชา(Content)
ชั่วโมงฝึก ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๑๐๐ส่วนที่ ๓ : รายละเอียดผลลัพธ์การเรียนรู/้ รายการความสามารถที่ต้องการ (Learning Outcome) ๑. ชื่อโมดุล (Module ................................................................................................. รหัส Title): ................................................................................................. โมดูล………. ๒. ชื่อผลลัพธ์การเรียนรู้ รหัส................ (Learning Outcomes) ๓. เกณฑ์การประเมินผล (Assessment criteria): ๔. เนื้อหา (Contents):
๕.เงื่อนไขการฝึก (Condition):
๖.วิธกี ารฝึกอบรม (Methodology)
๗.วิธกี ารประเมินผล (Assessment Methods)
อุปกรณ์ เครือ่ งมือ คู่มือ เอกสารอ้างอิง จะต้องจัดสิ่งต่อไปนี้แก่ผู้รับการฝึก วัสดุการเขียน เช่น (ปากกา & กระดาษ) หนังสืออ้างอิง คู่มือวิธีปฏิบัติ ขั้นตอนและวิธกี ารตรวจความพร้อมด้วยวิธีการ ประชุมก่อนเข้างาน (Morning Meeting) ……………………………………………………….. การอภิปรายกลุ่ม การสาธิตปฏิบัติ การบรรยาย การรายงาน ………………………………………………………… สอบข้อเขียน สอบปฏิบัติ สัมภาษณ์ ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๑๐๑ส่วนที่ ๓: รายละเอียดผลลัพธ์การเรียนรู้/รายการความสามารถที่ต้องการ(Training Outcome) ชื่อโมดุล(Module .................................................................................................. รหัสโมดูล………. Titles): .................................................................................................. ชื่อผลลัพธ์การเรียนรู้ รหัส................ (Learning outcomes): เกณฑ์การประเมินผล (Assessment Criteria): เนื้อหา(Contents):
เงื่อนไขการฝึก (Condition):
วิธกี ารฝึกอบรม (Methodology):
วิธกี ารประเมินผล (Assessment Methods)
อุปกรณ์ เครือ่ งมือ คู่มือ เอกสารอ้างอิง จะต้องจัดสิ่งต่อไปนี้แก่ผู้รับการฝึก วัสดุการเขียน เช่น (ปากกา & กระดาษ) หนังสืออ้างอิง คู่มือวิธีปฏิบัติ ขั้นตอนและวิธกี ารตรวจความพร้อมด้วยวิธีการ ประชุมก่อนเข้างาน (Morning Meeting) ……………………………………………………….. การอภิปรายกลุ่ม การสาธิตปฏิบัติ การบรรยาย การรายงาน สอบข้อเขียน สอบปฏิบัติ สัมภาษณ์ .................................................................
ผู้เห็นชอบหลักสูตร........................................................ .....................................................................................
ผู้อนุมัติหลักสูตร…………………………………… .....................................................................
วันที่................................................................................. วันที่..............................................................
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๑๐๒-
ภาคผนวก ๒ ตัวอย่างหลักสูตรตามความสามารถ
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๑๐๓ภาคผนวก๒ ก. ตัวอย่างหลักสูตรตามความสามารถ หลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทํางาน ชื่อหลักสูตร ติดต่อศูนย์บริการ รหัสหลักสูตร(09XXXXXXXXXXX) ระยะเวลาฝึก 356 ชัว่ โมง กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน กระทรวงแรงงาน ....................................................................................................................................... 1. ชื่อหลักสูตร : ติดต่อศูนย์บริการ (CONTACT CENTER SERVICES NC II) 2. ระยะเวลาฝึก : 356 ชั่วโมง 3. คําอธิบายขอบเขตหลักสูตร : หลักสูตรนีอ้ อกแบบมาเพื่อส่งเสริมความรู้ ทักษะและเจตคติแก่ ผู้รบั การฝึกเกี่ยวกับการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ,การบริการลูกค้าอย่างมีคุณภาพ,ปฏิบัติงาน คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เนต, แสดงถึงความเข้าใจและความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมอเมริกันและภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง กับมาตรฐานอุตสาหกรรม ซึง่ จะรวมถึงความสามารถร่วมทางช่าง เช่น; ประยุกต์ใช้มาตรฐานคุณภาพ ปฏิบัติตาม การดําเนินงานคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ยงั รวมถึงสมรรถนะพื้นฐานการทํางาน เช่น มีส่วนร่วมในการสื่อสารในที่ ทํางาน ทํางานในสภาพแวดล้อมของทีมงาน ปฏิบัติงานวิชาชีพและปฏิบัติตามกระบวนงานความปลอดภัยและ สุขอนามัยในสาขาอาชีพ 4. คุณสมบัติของผู้รับการฝึก: สามารถสือ่ สารด้วยคําพูดและการเขียน จบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มีความประพฤติตามศิลธรรม มีสุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตดี ผ่านการทดสอบความสนใจความถนัดในอาชีพ เป็นต้น 5.โครงสร้างหลักสูตร (Course Structure) 5.1 หลักสูตรการฝึกโดยหน่วยงานฝึกของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแบ่งตามความสามารถเป็น 3 กลุ่มความสามารถ ใช้ระยะเวลาในการฝึก...................................ชั่วโมง โดยจําแนกรายละเอียดได้ ดังนี้ กลุ่มความสามารถพื้นฐานการทํางาน...................................................................... (จํานวน)โมดูล กลุ่มความสามารถร่วมทางช่าง................................................................................. (จํานวน)โมดูล กลุ่มความสามารถหลักในงาน................................................................................. (จํานวน)โมดูล
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๑๐๔5.2 โมดูลการฝึก หน่วยความสามารถ รหัส/ชื่อโมดูล ความสามารถพื้นฐานการทํางาน
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1.มีส่วนร่วมในการ สื่อสารในทีท่ ํางาน
1.1 การติดต่อสื่อสารในที่ 1.1.1 รับและสื่อข้อมูลในสถานที่ทํางาน ทํางาน 1.1.2 มีส่วนร่วมในการประชุมและการ อภิปราย 1.1.3 ทํางานเอกสารที่เกี่ยวข้องได้สมบูรณ์ 2. ทํางานในสภาวะ 2.1 ทํางานร่วมกับผู้อื่น 2.1.1 อธิบายและกําหนดบทบาท หน้าที่ความ แวดล้อมของทีมงาน รับผิดชอบในทีมงาน 2.1.2 ทํางานเป็นสมาชิกในทีม 3. ปฏิบัติงานอย่างมือ 3.1 ปฏิบัติงานอย่างมือ 3.1.1 บูรณาการวัตถุประสงค์ส่วนบุคคลกับ อาชีพ อาชีพ เป้าหมายขององค์กร 3.1.2 กําหนดและตรงตามลําดับความสําคัญ ของงาน 4. ปฏิบัติตามวิธีการ 4.1 ปฏิบัติตามวิธีการ 4.1.1 ระบุอันตรายและความเสี่ยง อย่างปลอดภัยและถูก อย่างปลอดภัยและถูก 4.1.2 ประเมินอันตรายและความเสี่ยง สุขลักษณะตามอาชีพ สุขลักษณะตามอาชีพ 4.1.3 ควบคุมอันตรายและความเสี่ยง 4.1.4 รักษาและตระหนักรู้ในความปลอดภัย และสุขภาพในสายอาชีพ ความสามารถร่วมทางช่าง 1.ประยุกต์ใช้มาตรฐาน 1.1 ประยุกต์ใช้มาตรฐาน 1.1.1 ประเมินคุณภาพของวัสดุที่ได้รับ คุณภาพ คุณภาพ 1.1.2 ประเมินการทํางานของตัวเอง 1.1.3 ร่วมในการพัฒนาคุณภาพ 2. ปฏิบัติงาน 2.1 ปฏิบัติงาน 2.1.1 ประยุกต์ใช้วิธีการทํางานพื้นฐานของ คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ 2.1.2 จัดระเบียบและจัดการกับไฟล์ 2.1.3 ติดตั้ง กําหนดค่า และทํางานด้วย โปรแกรมประยุกต์ 2.1.4 ทํางานด้วยอินเทอร์เนต 2.1.5 ออกจากระบบคอมพิวเตอร์
ระยะเวลา 18 ชม. 4
4 5
5
18 ชม. 8 10
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๑๐๕หน่วยความสามารถ รหัส/ชื่อโมดูล ความสามารถหลักในงาน 1. ติดต่อสือ่ สารอย่างมี 1.1 ติดต่อสื่อสารอย่างมี ประสิทธิภาพในศูนย์ ประสิทธิภาพในศูนย์ ติดต่อฝ่ายบริการลูกค้า ติดต่อฝ่ายบริการลูกค้า 2. ให้บริการลูกค้าอย่าง 2.1 ให้บริการลูกค้าอย่าง มีคุณภาพ มีคุณภาพ
3.ปฏิบัติงาน คอมพิวเตอร์พนื้ ฐาน และท่องอินเทอร์เนต
3.1 ปฏิบัติงาน คอมพิวเตอร์พนื้ ฐานและ ท่องอินเทอร์เนต
4. แสดงให้เห็นถึงความ เข้าใจและความรู้ เกี่ยวกับวัฒนธรรมของ ชาวอเมริกันและ ภูมิศาสตร์
4.1 แสดงให้เห็นถึงความ เข้าใจและความรู้เกี่ยวกับ วัฒนธรรมของชาว อเมริกันและภูมิศาสตร์
ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1.1.1 วิเคราะห์กระบวนการสื่อสาร 1.1.2 ติดต่อสื่อสารและฟังอย่างกระตือรือร้น
1.1.3 ระบุและใช้ตัวชี้นําการ สื่อสาร paralanguage 2.1.1 แสดงให้เห็นถึงความเข้าใจ ของ BFO / อุตสาหกรรม Call Center 2.1.2 ส่ง / เรียกไปยัง / จากลูกค้า 2.1.3 จัดการข้อร้องเรียนของลูกค้า 2.1.4 ให้บริการหลังการขายและบริการ เอกสาร 3.1.1 ประยุกต์ใช้ขั้นตอนการทํางาน คอมพิวเตอร์พนื้ ฐาน 3.1.2 จัดระเบียบและจัดการกับไฟล์ 3.1.3 ติดตั้ง กําหนดค่า และทํางานด้วย โปรแกรมประยุกต์ 3.1.4 ทํางานด้วยอินเทอร์เนต 3.1.5 ออกจากระบบคอมพิวเตอร์ 4.1.1 ประยุกต์ใช้ความรูต้ ัวแปรทางวัฒนธรรม ร่วมกัน 4.1.2 ประยุกต์ใช้ความรู้ภูมศิ าสตร์อเมริกนั
ระยะเวลา 320 ชม. 120
120
40
40
5.3 วิธกี ารประเมิน เขียน / การสอบปากเปล่า สาธิตของทักษะการปฏิบัติ การสังเกตโดยตรง
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๑๐๖5.4 วิธกี ารฝึกอบรม บรรยาย / สาธิต ตามความก้าวหน้าของตนเอง ระบบการฝึกอบรมแบบ Dual การเรียนรู้ทางไกล บทบาทสมมุติ เพื่อนสอน / ให้คําปรึกษา 5.5 แหล่งทรัพยากร รายการเครื่องมือ อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์กบั อุปกรณ์ตอ่ พ่วง โต๊ะคอมพิวเตอร์และเก้าอี้ทถี่ ูกสุขลักษณะ Dialer การสมัครสมาชิกอินเทอร์เน็ต โทรศัพท์ ชุดหูฟัง UPS Server Hub -- 24 พอร์ต โมเด็ม เครื่องFax เครื่องบันทึกเสียง กล้องวีดโี อพีซี ระบบการตอบสนองเสียงแบบบูรณาการ (IVRS) แผง/ สวิตช์ กระดานไวท์บอร์ด
รายการวัสดุ โปรแกรมซอฟท์แวร์ เสียงและข้อมูลติดต่อ Solution Center Call master RJ 45 UTP cable Contact cleaner เทปเสียง Bond paper ตัวอย่างเสียง คู่มือบริษัท/คูม่ ือปฏิบัติงาน วารสารวิชาการ หนังสืออ้างอิง โมดูล Hand-outs อินเทอร์เน็ต
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๑๐๗5.6 คุณสมบัตวิ ิทยากร / ครูฝึก ต้องได้คุณวุฒติ ามมาตรฐานฝีมอื แรงงาน ระดับ..................... มีประสบการณ์ในงานสาขา/อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย ๒ ปี ผ่านการฝึกอบรมเทคนิคการสอน มีพื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี 6. รายละเอียดของโมดูลการฝึก 6.1 ชื่อหน่วยความสามารถ : รับและสื่อข้อมูลในสถานทีท่ ํางาน 6.2 ชื่อโมดูล :
รับและสื่อข้อมูลในสถานทีท่ ํางาน
6.3 คําอธิบายขอบเขต :
โมดูลนี้จะครอบคลุมถึงความรู้ ทักษะและทัศนคติที่ จําเป็นในการแปลความหมายและการถ่ายทอด ข้อมูลในการตอบสนองต่อความต้องการของสถาน ประกอบการ
6.4 ระยะเวลาฝึกอบรม :
4 ชั่วโมง
6.5 ระดับวุฒิบัตร :
ความสามารถแห่งชาติระดับ 2
6.6 คุณสมบัติที่มีมาก่อน :
รับและสนองต่อการทํางานการสื่อสาร (ความสามารถ แห่งชาติระดับ 1)
6.7 ผลการเรียนรู้ :
เมื่อสําเร็จการฝึกในหน่วยการฝึกนี้ ผู้เข้ารับการฝึก สามารถปฏิบัตงิ านโดยมีสมรรถนะและระยะเวลา การพัฒนาความสามารถ ดังนี้ ชื่อผลการเรียนรู้ที่ต้องการ 1. รับและสื่อข้อมูลในทีท่ ํางาน 2. มีส่วนร่วมในการประชุมและการ อภิปราย 3. ทํางานเอกสารได้สมบูรณ์
รหัส..................... รหัส.....................
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๑๐๘7. รายละเอียดผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ต้องการ (Learning Outcome) 7.1 ชื่อโมดูล : มีส่วนร่วมในการติดต่อสื่อสารในทีท่ ํางาน 7.2 ชื่อผลการเรียนรู้
: รับและสื่อข้อมูลในทีท่ ํางาน
7.3 เกณฑ์การ ประเมินผล
:
1. ข้อมูลเฉพาะทีเ่ กี่ยวข้องสามารถเข้าถึงได้จาก แหล่งที่เหมาะสม 2. ประสิทธิภาพของคําถาม,ทักษะการพูดและ การฟังที่ถูกใช้เพื่อรวบรวมและนําเสนอ ข้อมูล 3. สื่อที่เหมาะสมในการถ่ายโอนข้อมูลและ ความคิด 4. การสื่อสารด้วยคําพูดถูกใช้อย่างเหมาะสม 5. เส้นทางการสื่อสารที่เหมาะสมต่อ ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนร่วมงานจะมีการ ระบุและปฏิบตั ิตาม 6. ระบุขั้นตอนการทํางานที่กําหนดไว้สําหรับ สถานที่และจัดเก็บข้อมูลที่ใช้ 7. ปฏิสัมพันธ์ส่วนบุคคลจะดําเนินการอย่าง ชัดเจนและรัดกุม
7.4 เนื้อหา
:
ส่วนต่างๆ ของคําพูด โครงสร้างของประโยค สือ่ สารอย่างมีประสิทธิภาพ
7.5 เงื่อนไข
: อุปกรณ์ เครือ่ งมือ คู่มือ เอกสารอ้างอิง จะต้องจัดสิ่งต่อไปนี้แก่ผู้รับการฝึก วัสดุการเขียน เช่น (ปากกา & กระดาษ) หนังสืออ้างอิง คู่มือวิธีปฏิบัติ ขั้นตอนและวิธกี ารตรวจความพร้อมด้วย วิธีการประชุมก่อนเข้างาน (Morning Meeting)
รหัสโมดูล......
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๑๐๙-
7.6 วิธกี ารฝึกอบรม
:
7.7 วิธกี ารประเมินผล
:
การอภิปรายกลุ่ม Interaction การบรรยาย การรายงาน
สอบข้อเขียน สอบปฏิบัติ สัมภาษณ์
ผู้เห็นชอบหลักสูตร........................................................ ผู้อนุมัติหลักสูตร……………………………………… ..................................................................................... ............................................................................. วันที่................................................................................. วันที่.................................................................
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๑๑๐ภาคผนวก๒ ข. ผังวิเคราะห์งาน (DACUM Chart) ตําแหน่ง พนักงานคอมพิวเตอร์ ระดับ1 DUTY (งาน/หน้าที่) A: การประกอบ-ติดตั้ง เครื่องคอมพิวเตอร์
B: การติดตั้ง ระบบปฏิบัติการ
ติดตั้ง CPU A-1 ต่อสาย Front Panel A-5 ติดตั้งวงจง เครือข่ายไร้สาย A-9 ติดตั้งโปรแกรม ระบบปฏิบัติการ B-1
TASK (งานย่อย/ภารกิจ) ติดตั้ง RAM ติดตั้งภาคจ่ายไฟ A-2 A-3 ติดตั้งฮาร์ดดิสก์ ติดตั้งดีวิดี รอม ไดร์ฟ A-6 A-7 ติดตั้ง Sound เดินสายสัญญาณ Card และสายกําลัง A-10 A-11
ติดตั้งMain Board A-4 ติดตั้ง Display Card A-8 ตั้งค่าไบออส A-12
สร้างบัญชีผใู้ ช้งาน B-2
C: การติดตั้งไดรเวอร์
ติดตั้งไดรเวอร์ แผงวงจรหลัก C-1 ติดตั้งไดรเวอร์ เครื่องพิมพ์ C-5
ติดตั้งไดรเวอร์ แผงวงจรแสดงผล C-2
ติดตั้งไดรเวอร์ แผงวงจรเสียง C-3
ติดตั้งไดรเวอร์วงจร เครือข่ายไร้สาย C-4
D: การติดตั้งโปรแกรม ประยุกต์และสํารอง ข้อมูล
ติดตั้งโปรแกรม Microsoft office D-1 ติดตั้งโปรแกรมดู ภาพ
ติดตั้งโปรแกรม แอนตี้ไวรัส
ติดตั้งโปรแกรมดู หนัง
ติดตั้งโปรแกรมฟัง เพลง
D-2 ติดตั้งโปรแกรม อ่านเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ D-6
D-3 สํารองข้อมูล (Backup)
D-4 กู้คืนข้อมูล (Restore)
D-7
D-8
D-5 E: การวิเคราะห์และตรวจ ตรวจซ่อมอาการ ซ่อมคอมพิวเตอร์ เสียที่เกิดจาก ซอฟต์แวร์ E-1
ตรวจซ่อมอาการ เสียที่เกิดจาก ฮาร์ดแวร์ E-2 ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๑๑๑การนําผังวิเคราะห์งาน (DACUM Chart) ไปจัดทําเป็นหลักสูตร มีหลักการ ดังนี้ DUTY (งาน/หน้าที่) จัดทําเป็น หน่วยสมรรถนะ (Competency Unit) หรือ หลักสูตร (Course) TASK (งานย่อย/ภารกิจ) จัดทําเป็น โมดูลการฝึก (สมรรถนะย่อย: Competency Element) ตัวอย่างเช่น Duty A: การประกอบ-ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ หน่วยสมรรถนะ (CU) ประกอบ-ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์
โมดูล A-1 A-2 A-3 A-4 A-5 A-6 A-7 A-8 A-9 A-10 A-11 A-12
ชื่อโมดูล การติดตั้ง CPU การติดตั้ง RAM การติดตั้ง ภาคจ่ายไฟ การติดตั้ง Main Board การต่อสาย Front Panel การติดตั้งฮาร์ดดิสก์ การติดตั้งดีวิดี รอม ไดร์ฟ การติดตั้ง Display Card การติดตั้งวงจงเครือข่ายไร้สาย การติดตั้ง Sound Card การเดินสายสัญญาณและสายกําลัง การตั้งค่าไบออส
Duty E: การวิเคราะห์และตรวจซ่อมคอมพิวเตอร์ หน่วยสมรรถนะ (CU) โมดูล ชื่อโมดูล การวิเคราะห์และตรวจซ่อมคอมพิวเตอร์ E-1 การตรวจซ่อมอาการเสียที่เกิดจาก ซอฟต์แวร์ E-2 การตรวจซ่อมอาการเสียที่เกิดจาก ฮาร์ดแวร์
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๑๑๒ภาคผนวก๒ ค. สมรรถนะอาชีพ ช่างซ่อมไมโครคอมพิวเตอร์ แผนที่สมรรถนะอาชีพช่างซ่อมไมโครคอมพิวเตอร์ BASIC COMPETENCY กฎ ระเบียบ ความ กิจกรรมสร้างเสริม ปลอดภัยในการทํางาน นิสัยการทํางาน วางแผนการทํางาน และบริหารจัดการงาน
(หลักสูตร CBT สาขา การตรวจซ่อมไมโครคอมพิวเตอร์ ระดับ1)
คํานวณและอ่านค่า ทางช่าง
ภาษาและการสื่อสาร ในอาชีพ
ทํางานเป็นทีม
COMMON COMPETENCY ปฏิบัติงานซ่อมเครือ่ ง มีความรู้เกี่ยวกับ ไมโครคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ อย่างปลอดภัย
ตรวจและใช้เครื่องมือ มีความรู้เกี่ยวกับ วัสดุและอุปกรณ์ในการ พรบ.คอมพิวเตอร์ ซ่อมไมโครคอมพิวเตอร์
ใช้งานคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์สื่อสาร
อ่านแบบและผังวงจร อิเล็กทรอนิกส์และ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใช้เครื่องมือวัดและ วิเคราะห์ทางไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์
ประยุกต์ใช้มาตรฐาน การทํางานของสถาน ประกอบการ
ทดสอบอุปกรณ์ ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์
ใช้เครื่องมือบัดกรีและ ถอนบัดกรีอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ขนาด เล็ก
ตั้งค่าไบออส คอมพิวเตอร์ส่วน บุคคล
ติดตั้งระบบปฏิบัตกิ าร
ติดตั้งไดรเวอร์ (Driver)
ติดตั้งโปรแกรม ประยุกต์
วิเคราะห์และตรวจซ่อม เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ เบื้องต้น
ปรับปรุงและ บํารุงรักษาเครื่อง (Upgrade hardware)
เปลี่ยนฮาร์ดแวร์ คอมพิวเตอร์
ติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง
ติดตั้งระบบเชื่อมตอ อินเตอรเน็ต
ติดตั้ง วิเคราะห์และ แก้ปัญหาระบบรักษาความ ปลอดภัยเครือข่าย คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ต่อพ่วง
กําหนดระบบแบ่งบัน ติดตั้งระบบปฏิบัติการ ทรัพยากรในระบบ แบบ Multi OS เครือข่าย
ถอด ประกอบ อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์บน แผงวงจร คอมพิวเตอร์
กําหนดระบบความ ปลอดภัยบน เครือขาย คอมพิวเตอร
CORE COMPETENCY ประกอบเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์
ใช้งานอุปกรณ์ สํานักงาน
ต่อสายและเข้าหัว สายนําสัญญาณและ สายเชื่อมต่ออุปกรณ์ ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์
สํารองข้อมูล (Backup) และการกู้ คืนข้อมูล (Restore)บน ฮาร์ดดิสก์ ติดตั้งและแก้ปัญหา ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ (Computer Network) วิเคราะห์ แก้ปัญหา คอมพิวเตอร์ผ่าน ระบบเครือข่ายปกติ และทางไกล (Remote)
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
- ๑๑๓-
คณะผู้จัดทํา ที่ปรึกษา นายนคร นายวิชัย นายเจริญ นางสาวสมลักษณ์
ศิลปอาชา คงรัตนชาติ ยิ่งล้ํา สุวรรณพรหมา
อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ผู้อํานวยการสํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก ผู้อํานวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก
ผู้จัดทํา ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ กลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก สํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก หัวหน้าฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT) นางสาวบุปผา สุวรรณวรางกูล นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานชํานาญการพิเศษ ผู้เขียนและเรียบเรียง นายคมธัช
รัตนคช
นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานชํานาญการ สํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก
รัตนคช
นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานชํานาญการ สํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก
ออกแบบรูปเล่ม นายคมธัช
ฝ่ายพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ(CBT)
Developing A Competency Based Curriculum
ข้อปฎิบตั ิเพื่อการเป็นช่างที่ดี ตรงต่อเวลา เอาใจใส่หน้าที่ มีความอดทน รีบหาความรู้ใหม่ หัดบํารุงรักษาเครื่องมือ ใฝ่คิดสร้างสรรค์
รักษาวินัย สมานสามัคคี หมั่นฝึกฝนอาชีพ ใช้วัสดุประหยัด ถือกฎความปลอดภัย ยึดมั่นคุณธรรม (ภาวนุช)
จัดทําโดย กลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก สํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน โทร.02 245 7791 โทรสาร. 02 245 4360 http://home.dsd.go.th/techno/trainingsystem Facebook : www.facebook.com/cbtsystem