การแนะแนวการฝึก (Training Guidance)

Page 1

2010

การแนะแนวการฝก(Training Guidance)

นายคมธัช รัตนคชและนายดนุพล คลอวุฒินันท กลุมงานพัฒนาระบบการฝก 21/10/2010


บทนํา การพัฒนาทักษะฝมือภาคแรงงานของประเทศถือเปนหัวใจสําคัญของการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอยางประเทศที่กําลังพัฒนาอยางประเทศไทย ซึ่งมีผูใชแรงงานในภาคสวนตางๆ ทั้ง ภาค เกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคธุรกิจบริการ ซึ่งแรงงานที่อยูในภาคอุตสาหกรรมเปนกลุมคนที่ สําคัญที่จะขับเคลื่อนใหภาคอุตสาหกรรมเจริญกาวหนา และสงเสริม สนับสนุนใหเศรษฐกิจของประเทศ กาวไปขางหนาอยางยั่งยืน กรมพัฒนาฝมือแรงงาน เปนหนวยงานที่รับผิดชอบโดยตรงในการพัฒนาฝมือแรงงาน เพื่อ แกปญหาดานทักษะฝมือของแรงงานใหสามารถรองรับกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอยางทัน เหตุการณ และใหแรงงานมีมาตรฐานในการปฏิบัติงาน สามารถตอบสนองตอความตองการของ ตลาดแรงงานไดอยางมีประสิทธิภาพ กรมพัฒนาฝมือแรงงาน โดยสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก มีหนาที่คิดคน และพัฒนา ระบบ รูปแบบและวิธีการฝกทักษะที่ตอบสนองตอ ความตองการดานแรงงาน มี มาตรฐานฝมือแรงงานและมาตรฐานการปฏิบัติงานในสาขาอาชีพตางๆ ที่สถานประกอบกิจการและ ภาคอุตสาหกรรมตองการ กลุมงานพัฒนาระบบการฝก กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ไดจัดทํา เอกสารทางวิชาการขึ้น เพื่อเผยแพร องคความรู และเผยแพรขอมูลขาวสารทางวิชาการที่เกี่ยวของกับการพัฒนาทักษะฝมือของผูรับการฝกใน สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค และศูนยพัฒนาฝมือแรงงานจังหวัด เพื่อให บุคลากร เจาหนาที่และผูที่ เกี่ยวของกับการพัฒนาทักษะฝมือแรงงานไดใชเพื่อการศึกษา คนควา และเปนแนวทางในการพัฒนาทักษะ ฝมือแรงงาน เพื่อประโยชนในการพัฒนาความสามารถของผูรับการฝกให บรรลุวัตถุประสงคในการฝก ทักษะฝมือแรงงานและมีมาตรฐานสมรรถนะสอดคลองกับงานและอาชีพตางๆ ที่สถานประกอบกิจการและ ภาคอุตสาหกรรมมีความตองการ ตอไป

กลุมงานพัฒนาระบบการฝก สํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก กรมพัฒนาฝมือแรงงาน


สารบัญ หนา บทที่5 การแนะแนวการฝก (Training Guidance) ความเปนมาของการแนะแนว ความหมายของการแนะแนว ประเภทของการแนะแนว การแนะแนวการฝก เครือ่ งมือที่ใชในการแนะแนวการฝกและแนะแนวอาชีพ (Training Guidance And Career Guidance) สื่อแนะแนวการฝกสําหรับเก็บขอมูลจากผูมารับสมัครเขารับการฝก สื่อการแนะแนวการฝกสําหรับใหความรูแ กผูมารับสมัครการฝก การแนะแนวอาชีพ (Vocational Guidance) การบริการแนะแนวอาชีพของกรมการจัดหางาน หลักการสําคัญของการแนะแนวอาชีพ ประโยชนของการแนะแนวอาชีพ ความสําคัญของการเลือกอาชีพ เอกสารและสิ่งอางอิง

1 1 2 2 3 5 5 6 7 8 8 10 10 12


1 บทที่5 การแนะแนวการฝก (Training Guidance) ในขั้นตอนแรกๆของกระบวนการพัฒนาฝมอื แรงงานนัน้ กอนการฝกทักษะฝมอื ของผูที่มา รับการฝก จะตองมีการใหคําแนะนํา และแนะแนวทางการฝกทักษะกอน เพือ่ อยางนอยผูที่มารับการ ฝกทักษะฝมอื จะไดทราบวาตนเองเหมาะกับหลักสูตรหรือกิจกรรมการฝกอะไร นอกจากความ สนใจในหลักสูตรการฝกตางๆ แลว จะไดรูถึงรายละเอียดของแตละกิจกรรมการฝกวาควรมีพื้นฐาน หรือตองเตรียมความพรอมดานรางกาย และจิตใจ หรือหลักสูตรนั้นตองใชสมรรถนะและ ความสามารถในเบือ้ งตนอะไรบาง ซึ่งตองใชกระบวนของการแนะแนวการฝก เขามาจัดการนัน่ เอง ความเปนมาของการแนะแนว ผูเ ขียนไดนําประวัติความเปนมาของการแนะแนว ซึ่ง วัชรี ทรัพยมี (2531) ไดอธิบายไว โดยสรุปดังนี้ การแนะแนวในสหรัฐอเมริกาไดเริ่มเปนรูปแบบขึ้นเมือ่ “แฟรงค พารสันส” (Frank Parsons) ไดกอ ตั้ง “สํานักงานการอาชีพ” (Vocational Bureau) ขึ้นทีเ่ มืองบอสตัน สหรัฐอเมริกา ใน ป ค.ศ. 1908 เขาไดแตงหนังสือเรือ่ ง “การเลือกอาชีพ” (Choosing a Vocation) และบัญญัตศิ ัพท “การแนะแนวอาชีพ” (Vocational Guidance) ขึ้น พารสนั สไดรับการยกยองวาเปนบิดาแหงการแนะ แนวอาชีพ เขายึดหลักในการแนะแนวอาชีพดังนี้ คือ 1. การวิเคราะหบุคคล นักแนะแนวจะชวยผูมารับบริการวิเคราะหคุณสมบัติตางๆ เชน ความสามารถ ความสนใจ ความถนัด บุคลิกภาพ เปนตน 2. การวิเคราะหอาชีพ นักแนะแนวจะชวยใหผูรับบริการมีความรูเกี่ยวกับอาชีพ เชน มี ความรูเกี่ยวกับลักษณะอาชีพ ความตองการของตลาดเกี่ยวกับอาชีพนั้นๆ เวลาและทุนทรัพยที่ใชใน การเตรียมตัวเพือ่ ประกอบอาชีพ 3. การใชวิจารณญาณในการตัดสินใจเลือกอาชีพ นักแนะแนวชวย ใหผูรับบริการตัดสินใจเลือกอาชีพ โดยอาศัยหลักการวิเคราะหตนเองและวิเคราะหอาชีพประกอบ กัน นับไดวา พารสันสเปนผูนําแนวความคิดในการพิจารณาวิเคราะหคณ ุ สมบัติของบุคคลกอน ตัดสินใจเลือกอาชีพ ตอจากนั้น มีการตื่นตัวเกีย่ วกับการใชกลวิธตี างๆ ในการวิเคราะหบุคคล ทั้ง กลวิธีที่ใชแบบทดสอบและไมใชแบบทดสอบ ไดมผี ูจัดทําแบบทดสอบตางๆ ขึ้น เชน แบบทดสอบ สติปญญา ความถนัด ความสนใจ และมีผูรวบรวมขอมูลเกีย่ วกับอาชีพขึน้ เพื่อใชในการแนะแนว อาชีพ


2 ความหมายของการแนะแนว (Guidance) ในบทนี้เปนการอธิบายถึงการแนะแนวซึ่งมีความหมายกวางพอสมควร แตผูเขียนจะแยก อธิบายเปน 2 ประเด็นที่เกี่ยวของกับกระบวนการพัฒนาฝมือแรงงานไดแก การแนะแนวการฝกและ การแนะแนวอาชีพ กอนอื่นจะกลาวถึงความหมายของคําวา การแนะแนวซึ่งมีผูใหคําจํากัดความ และความหมายในแงตางๆ พอสรุปไดดังนี้ วัชรี ทรัพยมี (2531) ไดใหความหมายไววา การแนะแนว (Guidance) หมายถึง กระบวนการชวยเหลือบุคคลใหเขาใจตนเองและสิ่งแวดลอม สรางเสริมใหเขามีคุณภาพเหมาะสม ตามความแตกตางระหวางบุคคล คนพบและพัฒนาศักยภาพของตน มีทกั ษะการดําเนินชีวิต มีวุฒิ ภาวะทางอารมณ ศีลธรรม จริยธรรม รูจักการเรียนรูในเชิงพหุปญหา รูจักคิด ตัดสินใจ แกปญหา ในชวงวิกฤติ วางแผนการศึกษาตอ ประกอบอาชีพ และสามารถปรับตัวไดอยางมีความสุขในชีวิต ไดพัฒนาตนเองใหถึงขีดสุด ในทุกดาน ทศพร ประเสริฐสุข (2549) ไดไหความหมายไววา การแนะแนว หมายถึง กระบวนการ ทางการศึกษาทีช่ วยให บุคคลรูจัก และเขาใจตนเองและสิ่งแวดลอม สามารถนําตนเองได แกปญหา ไดดวยตนเอง และพัฒนาตนเองไดตามศักยภาพ ปฏิบัติตนใหเปนสมาชิกที่ดีของสังคม การแนะแนวไมใชการแนะนํา อาจกลาวไดวาการแนะแนวเปนการชวยเหลือ ใหเขา สามารถชวยตนเองได จากที่กลาวมาพอสรุปไดวา การแนะแนว หมายถึง กระบวนการใหความชวยเหลือผูเ ขารับ การฝกใหรูจักและเขาใจตนเองและสิ่งแวดลอม ใหสามารถนําพาตนเองใหแกปญหาไดตาม ศักยภาพของตนเองในทุกดาน เชน ดานการศึกษา การปฏิบัติงานและในการดํารงชีวิตประจําวัน ประเภทของการแนะแนว ที่กลาวมาเปนความหมายพอสังเขปของการแนะแนวนอกจากนี้ ทศพร ประเสริฐสุข (2549) ไดกําหนดประเภทของการแนะแนวไว ดังนี้ 1. การแนะแนวการศึกษา (Education Guidance) 2. การแนะแนวอาชีพ (Vocational Guidance) 3. การแนะแนวสวนตัวและสังคม (Personal and Social Guidance) การนํากระบวนจัดการฝกอบรมทักษะฝมอื ของกรมพัฒนาฝมอื แรงงาน ไดนํากระบวนการ แนะแนวมาใชเพือ่ ใหความชวยเหลือผูมาสมัครเขารับการฝกในแตละศูนยพัฒนาฝมือแรงงานและ ในแตละสถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาคตางๆ ใหรูจัก เขาใจตนเองและใหสามารถเขารับการฝก ทักษะฝมอื ไดตรงกับความสนใจ และความถนัดหรือตรงกับความตองการดานทักษะฝมือของผูเขา


3 รับการฝก อยางแทจริง ซึ่งจะชวยใหผเู ขารับการฝกสามารถฝกอบรมทักษะฝมอื ไดอยางประสบ ผลสําเร็จตามวัตถุประสงคของการฝก การแนะแนวที่มีประสิทธิภาพจะเปนวิธีการเสริมแรงใหผูเขา รับการฝกเกิดความมั่นใจในตนเองและกระตุนใหเกิดความมุงมั่น เกิดความมุมานะพยามที่จะฝกให ประสบความสําเร็จยิ่งขึ้น อีกทั้งเปนเครือ่ งมือที่จะชวยลดจํานวนของผูที่ตอ งการออกระหวางการ ฝก(Dropout) ไดอีกดวย ในการจัดการฝกอบรมทักษะฝมอื ของกรมพัฒนาฝมือแรงงานมีการแนะแนว 2 ประเภทที่ นํามาใชในกระบวนการฝกอบรม ไดแก การแนะแนวการฝก(Training Guidance) และการแนะแนว อาชีพ (Vocational Guidance) ซึ่งในกระบวนการแนะแนวอาชีพจะเปนกระบวนการทีเ่ กิดขึน้ หลังผู เขารับการฝกจบการฝกอบรมจากกรมพัฒนาฝมอื แรงงานและมุงไปสูโลกการทํางาน การแนะแนว อาชีพจึงตกอยูก ับกรมจัดหางานตอไป

ภาพที่ 5.1 แสดงกระบวนการฝกอบรมของกรมพัฒนาฝมอื แรงงาน การแนะแนวการฝก สําหรับกระบวนการฝกทักษะฝมอื ของกรมพัฒนาฝมือแลว ดูเหมือนวาการนํากระบวนการ แนะแนว(Training Guidance) มาใชนั้น จะมีความแตกตางจากสถาบันการศึกษาและการฝกอบรม โดยทั่วไปอยูพอสมควร เหตุผลก็เพราะวากรมพัฒนาฝมอื แรงงานจัดการฝกอบรมที่เนนใหผรู ับการ ฝกเกิดทักษะฝมือ (Skill) ดังนั้นการจัดการฝกจึงเนนที่ภาคปฏิบตั ิอยางเปนขั้นเปนตอน (Process) ในแตหนวยการ ฝก (Module) หรือในแตละหลักสูตรตามมาตรฐานสมรรถนะ (Competency Standard) ที่กําหนดใน แตละงาน (Task) ของแตละสาขาอาชีพ (Occupational Area)


4

มีนักการฝกอบรมและนักการศึกษาไดใหความหมายไวหลายทานดวย ซึ่งพอจะสรุปไดพอ สังเขปดังตอไปนี้ การแนะแนวการฝก(Training Guidance) หมายถึง กระบวนการชวยเหลือผูเ ขารับการฝกให รูจัก เขาใจตนเองและใหสามารถเขารับการฝกทักษะฝมอื ไดตรงกับความสนใจ และความถนัด หรือ ตรงกับความตองการดานทักษะฝมอื ของผูเ ขารับการฝก เนื่องจากขัน้ ตอนดังกลาว เปนขั้นตอนทีต่ อเนื่องมาจากขั้นตอนการรับสมัคร และคัดเลือก ผูส นใจเขารับการฝกซึ่งจะมีขอ มูลพื้นฐานที่มคี วามสัมพันธเกี่ยวเนือ่ งกับขั้นตอนการเลือกหนวย การฝก หลักสูตรและกิจกรรมการฝกที่สอดคลองกับความตองการและทักษะพื้นฐานของผูเขารับ การฝกดังกลาว และในกระบวนการแนะแนวการฝก ผูมารับการฝกจะผานการตรวจสอบพื้นฐาน ดานตางๆ ตามทีก่ ําหนดไวในระบบการฝกของกรมฯ และจะผานการทดสอบดานตางๆ เชน ทดสอบความถนัด ทดสอบความสนใจ และทัศนคติในอาชีพตางๆ หรือ สาขาชางตางๆ ดวย เครือ่ งมือทดสอบที่ไดออกแบบไวอยางมีประสิทธิภาพ และสามารถประเมินผูมารับการฝกให สามารถฝกทักษะฝมอื ไดสอดคลองกับความสนใจ ความสามารถที่ตนมีอยู และชวยใหผูมารับการ ฝกสามารถฝกไดจนบรรลุวัตถุประสงคการฝกทักษะฝมอื ตอไป

รับสมัครเขารับการฝก

หนวยการฝก/หลักสูตร รูปแบบการฝก

ตรวจสอบคัดเลือก คุณสมบัติ ทดสอบความถนัด ประเมินผล/วิเคราะหความ ตองการ เลือกหนวยการฝก

เทคโนโลยีการฝก Methodology & Technique

Training Material

ประเมินความสามารถ ทักษะ

ความรู

เจตคติ

แนะนําการฝกอบรม

ออกใบรับรองความสามารถ

แนะแนวการฝก

การฝก

ภาพที่ 5.4 แสดงกระบวนการฝกทักษะฝมือ


5 เครื่องมือที่ใชในการแนะแนวการฝกและแนะแนวอาชีพ (Training Guidance and Career Guidance) ในกระบวนการฝกอบรมนัน้ จะแบงการใหความชวยเหลือผูเ ขารับการฝก 2 ชวง ซึ่งแบง ออกเปน การใหคําแนะนําในชวงที่1 เรียกวา "การแนะแนวการฝก" สําหรับการใหคําแนะนําหลังจากสิน้ สุดการฝกทักษะฝมือ คําแนะนําและการใหความ ชวยเหลือผูผ านการฝกทักษะฝมือในชวงที2่ นี้วา "การแนะแนวอาชีพ" ซึ่งเปนการใหความ ชวยเหลือและแนะแนวทางการไปประกอบอาชีพหลังจากสิ้นสุดการฝก แตความจริงแลวมันมีสิ่งที่ ตองใหความชวยเหลือมากกวาแคการแนะนําอาชีพ หรือแนวทางการประกอบอาชีพเพียงอยางเดียว ในสวนกิจกรรมการแนะแนวการฝกซึ่งเปนกิจกรรมทีเ่ กี่ยวของกับการฝกอบรมทักษะฝมอื ที่กรมฯ ตองนําสิ่งเหลานี้ไปใชเพือ่ ใหการฝกอบรมเกิดประสิทธิภาพและคุณภาพมากที่สุด จึงขออธิบาย เฉพาะการแนะแนวการฝกเพียงอยางเดียว ในการใหความชวยเหลือและการแนะแนวทางการ ฝกอบรมนั้น เจาหนาที่ผรู ับผิดชอบตองมีเครือ่ งมือสําหรับใชเก็บขอมูลผูมาสมัครเขารับการฝก เพือ่ นํามาวิเคราะหหาความสนใจ ความถนัดและความตองการที่แทจริงของผูมาสมัครเขารับการฝก และในขณะเดียวกันจะตองมีขอ มูลปอนกลับไปยังผูมารับสมัครเขารับการฝกดวย ความหมายก็คือ นอกจากจะเอาขอมูลจากผูมาสมัครแลวทางหนวยงานนัน้ ตองมีขอมูลที่จําเปนใหกับผูมารับสมัคร ดวย เชน ขอมูลเกี่ยวหนวยการฝก หรือหลักสูตรการฝกตางๆ ลักษณะการฝก ระยะเวลาการฝก การ นําทักษะ ความรูแ ละความสามารถที่ไดรับไปประกอบอาชีพตางๆ ทั้งโดยตรงและอาชีพทีเ่ กี่ยวของ นําเสนอในรูปแบบสื่อตางๆ เชน รูปแบบแผนพับ เอกสาร หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส เชน VCD, DVD เว็บไซตทเี่ กี่ยวของ เปนตน สื่อแนะแนวการฝกสําหรับเก็บขอมูลจากผูมารับสมัครเขารับการฝก ในสวนของการเก็บขอมูลจากผูมาสมัครเขารับการฝก เครือ่ งมือที่ใชในการเก็บขอมูล ไดแก · แบบทดสอบความสนใจในอาชีพ · แบบวัด ความถนัดในอาชีพ · แบบวัด ทัศ นคติในอาชีพ · แบบวัด ความถนัดทางชาง · แบบประเมินทักษะและความรูเบือ ้ งตน ซึ่งแบบประเมิน หรือ แบบทดสอบที่กลาวมา อาจบรรจุในรูปแบบ กระดาษ หรือ สื่อ อิเล็กทรอนิกสก็ได เชน โปรแกรมวัดความสนใจในอาชีพ เว็บไซตสําหรับประเมินความสนใจและ


6 ความถนัดในอาชีพ เปนตน ซึ่งมีตัวอยางใหนําไปทดลองใชกันซึ่งมีทั้งในประเทศและตางประเทศ เปนตน สื่อสําหรับการแนะแนวการฝกสําหรับใหความรูแกผูมารับสมัครการฝก สวนเอกสารทีส่ ามารถใหความความรูแกผูมารับสมัครฝกอบรม ก็มีหลายสื่อดวยกันที่จะ พอใหแนวทางและชวยการตัดสินใจแกผูมารับสมัครฝกอาชีพได เชน สือ่ รูปแบบ วีดิทศั น ที่ นําเสนออาชีพตางๆ กิจกรรมการทํางานของอาชีพตางๆ ในสถานที่จริง · สื่อเอกสารที่มเี นื้อหาเกี่ยวกับกิจกรรมการฝกและงานตางๆ ที่เกีย ่ วของในแตละสาขา อาชีพ · เว็บไซตเกี่ยวกับกิจกรรมการฝก ซึ่งถายจากสถานทีฝ ่ ก จริง · สื่อนําเสนอกิจกรรมการฝกหรือ นําเสนอผูที่ประสบความสําเร็จในการประกอบอาชีพ ตางๆ หลังผานการฝกอบรมจากกรมพัฒนาฝมอื แรงงาน หรือผูที่ประสบความสําเร็จในการ ประกอบอาชีพที่เกี่ยวตางๆ เปนตน เพือ่ เปนการสรางขวัญและกําลังใจใหแกผูมาเขารับสมัคร ฝกอบรมไดดเู ปนแนวทางและสรางความเชือ่ มั่นวาจะสามารถฝกจนประสบผลสําเร็จในหลักสูตรที่ ตนเองเลือก

ภาพที่ 5.5 แสดงสือ่ แนะแนวอาชีพและแนะแนวการฝกประเภทชุดการฝก


7

ภาพที่ 5.6 แสดงสือ่ แนะแนวอาชีพและแนะแนวการฝกประเภท CD ROM

ภาพที่ 5.7 แสดงสือ่ ที่ใชในการแนะแนวการฝกทักษะฝมอื การแนะแนวอาชีพ (Vocational Guidance) ในกระบวนการพัฒนาฝมอื แรงงานยังตองเกี่ยวของกับการแนะแนวอาชีพซึ่งเปน กระบวนการสําคัญสําหรับการใหความชวยเหลือใหผเู ขารับการฝกเตรียมความพรอมกอนเขาสูโ ลก ของการทํางานตอไป ซึ่งมีผูใหคําจัดความและใหความหมาย พอสรุปไดดังนี้


8

กองสงเสริมการมีงานทํา กรมการจัดหางาน(2552) ไดใหความหมายไววา การแนะแนว อาชีพ(Vocational Guidance) เปนกระบวนการเพือ่ สงเสริมใหบุคคลตัดสินใจเลือกประกอบอาชีพ ไดตรงกับความถนัด ความสนใจ บุคลิกภาพ และทักษะ ของตนเอง และใหสอดคลองกับความ ตองการของตลาดแรงงาน การแนะแนวอาชีพ เปนกระบวนการเพือ่ สงเสริมใหบุคคลตัดสินใจเลือกประกอบอาชีพได ตรงกับความถนัด ความสนใจ บุคลิกภาพ และทักษะ ของตนเอง และใหสอดคลองกับความตองการ ของตลาดแรงงาน (กองสงเสริมการมีงานทํา กรมจัดหางาน, 2552)

ภาพที่ 5.8 แสดงการฝกอบรมอาชีพ การบริการแนะแนวอาชีพของกรมการจัดหางาน คือการใหขอ มูล การแนะแนว แนะนํา หรือ บริการใหคําปรึกษา ซึ่งดําเนินการโดยกรมการ จัดหางานจะใหบริการในเรือ่ ง ตาง ๆ ดังนี้ - ขอมูลขาวสารตลาดแรงงาน - ขอมูลอาชีพ - แนวทางในการตัดสินใจเลือกอาชีพ - การใหคําปรึกษาดานอาชีพผูอ ยูในกรุงเทพมหานคร ที่ตองการใชบริการ สามารถติดตอไดที่ สํานักจัดหางานกรุงเทพเขตพื้นที่ 1-10 และผูทอี่ ยูตางจังหวัดติดตอไดทสี่ ํานักงานจัดหางานทุกจังหวัด - ศูนยขอ มูลอาชีพ หลักการสําคัญของการแนะแนวอาชีพ การแนะแนวอาชีพมีหลักการวา หากบุคคลใดไดศกึ ษาหรือทํางานที่ตรงกับความถนัด ความ สนใจ และอุปนิสยั ใจคอแลว เขายอมมีความสุขและ สามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพกวา


9 การที่ตองปฏิบัติงานในสิ่งที่ไมชอบ ไมถนัด หรือไมเหมาะสมกับอุปนิสัยของตน ดังนั้น ในการ แนะแนวอาชีพ จึงตองคํานึงถึงหลักการสําคัญดังตอไปนี้ คือ 1. การแนะแนวอาชีพ เปนการพัฒนาคนใหมีความสามารถ และมีโอกาสใช ศักยภาพของ ตนอยางเต็มที่ ในการผลิตงานที่จะกอใหเกิดประโยชนแกสังคม และทําใหบุคคลนัน้ เกิดความสุข จากความสําเร็จในการทํางาน 2. การแนะแนวอาชีพ เปนกระบวนการตอเนือ่ งโดยมีขั้นตอนตั้งแตการชวยบุคคลให 2.1 รูจักตนเองวาตนมีความถนัด มีความสนใจ มีความสามารถ บุคลิกภาพเปนเชนไร จะ ไดเลือกงานไดถูกตอง 2.2 รูจักขอมูลทางอาชีพอยางกวางขวางและแจมแจงวา อาชีพตาง ๆ มีลกั ษณะอยางไร ตองการคนที่มีคณ ุ สมบัติอยางไรบาง และมีทศั นคติที่ดีตอ สัมมาชีพ 2.3 รูจักตัดสินใจเลือกอาชีพทีเ่ หมาะสมกับตน โดยพิจารณาโอกาส ความเปนไปไดทั้ง ดานคุณสมบัติของตนเองและความตองการดานกําลังคนใน อาชีพนัน้ ๆ 2.4 ไดมีโอกาสศึกษา ฝกฝน อบรม หรือไดสัมผัสอาชีพนั้น ๆ ตามความเหมาะสมกับวัย เพื่อใหเกิดทักษะ ความสามารถที่จะออกไปประกอบอาชีพได ทันที หรือในบางกรณี เพื่อเปนการ สรางพื้นฐานและเพือ่ เปนการเตรียมตัวสําหรับการประกอบอาชีพของตนในอนาคต โดยมีการศึกษา ฝกฝนเพิ่มเติม 2.5 การแนะแนวอาชีพเปนกระบวนการทีต่ องการความรวมมือจากทุก ๆ ฝาย การ จัดบริการแนะแนวอาชีพในสถานศึกษาจําเปนตองอาศัยความรวม มือจากบุคคลทุกฝาย ใน สถานศึกษานัน้ และหนวยงานอื่นทีเ่ กี่ยวของ ตลอดจนความรวมมือของชุมชนในทองถิน่ ที่ สถานศึกษาหรือหนวยงานนัน้ ตั้งอยู จึงจะ ทําใหงานแนะแนวอาชีพเกิดประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลครอบคลุมในทุกดาน 2.6 การแนะแนวอาชีพเปนกระบวนการที่มุงใหบุคคลตัดสินใจดวยตนเอง โดยยึดหลัก ในเรือ่ งของการใหบุคคลเปนผูก ําหนดชีวิตของตน 2.7 มีงานทําหลังจากสําเร็จการศึกษา ซึ่งจะเปนอาชีพอิสระหรืออาชีพรับจางแลวแต กรณี


10 2.8 ไดรับการดูแลและติดตามผล หลังจากที่จบการศึกษาออกไป ประกอบอาชีพแลว วาบุคคลนัน้ ๆ มีความสามารถเหมาะสมกับงานเพียงใด สามารถ ปรับตัวใหเขากับงานไดหรือไม ไดทํางานตรงตามความรูความสามารถหรือไม เพียงใด ควรมีการแกไขหรือปรับปรุงในดานใดบาง ทั้งนี้ ควรมีโครงการตอ เนือ่ งในการเพิ่มพูนความรู ความสามารถ ระหวางปฏิบัติงาน (In Service Training) ดวย ประโยชนของการแนะแนวอาชีพ 1. รูจักเลือกอาชีพทีเ่ หมาะสมกับความสามารถของตน เชน ความถนัด ความสามารถ ความ สนใจ บุคลิกภาพ ความตองการของตนเอง เปนตน 2. ใหรูจักโลกของงานอาชีพ เชน อาชีพตาง ๆ ทีอ่ ยูในชุมชนนั้น ๆ ลักษณะงานของอาชีพ คุณสมบัติของบุคคลที่จะประกอบอาชีพ หรืองานยอยในอาชีพ ตาง ๆ ความกาวหนา รายได ความ มั่นคง การฝกอบรมที่จะเขาสูอาชีพตาง ๆ 3. ใหรูจักเตรียมตัวเพื่อประกอบอาชีพ เชน การเขารับการอบรมในอาชีพตาง ๆ เพือ่ ใหมี ความรูความสามารถในอาชีพนั้น ๆ เชน การซอมคอมพิวเตอร การแสวงหางาน การสมัครงาน การ เขารับการสัมภาษณ เปนตน

ภาพที่ 5.9 แสดงการฝกอบรมอาชีพจัดสวน ความสําคัญของการเลือกอาชีพ เนือ่ งจากอาชีพมีความสําคัญตอมนุษยมากดังที่ไดกลาวมาแลว การเลือกประกอบอาชีพจึงมี ความสําคัญตอมนุษยเปนอันมาก ในสังคมของเรามีอาชีพ มากมายหลายชนิด เชน อาชีพนักแสดง นักธุรกิจ และนักวิทยาศาสตร เปนตน อาชีพแตละอาชีพก็มีความแตกตางกันมาก อาชีพบางอยางก็ อาจเหมาะสมกับ บุคลิกภาพคนหนึ่ง แตกอ็ าจมาสอดคลองกับบุคลิกภาพของอีกคนหนึ่ง การเลือก


11 ประกอบอาชีพใหเหมาะสมกับบุคลิกภาพ ความสนใจ ความถนัดของแตละ บุคคล จึงมีความสําคัญ มาก คนทีเ่ ลือกประกอบอาชีพทีเ่ หมาะสมกับตน ยอมกอใหเกิดความเพลิดเพลินและเกิดความสุขใน การทํางานและยังมีโอกาสที่ จะประสบความสําเร็จในการประกอบอาชีพมาก ในทางตรงขาม ถา บุคคลประกอบอาชีพที่ไมเหมาะสมกับตนเองแลว ก็จะเกิดความเบื่อหนายในการทํางาน เนือ่ งจาก คนเราตองใชเวลาประกอบอาชีพภายหลังจากการศึกษาเปนเวลาชานาน ซึ่งการที่จะตองอดทนตอ กิจกรรมที่นาเบือ่ หนายเปนระยะเวลาอันแสนนาน เชนนี้ จึงทําใหชีวิตของคนไมมคี วามสุข การ ประกอบอาชีพที่ไมเหมาะสม หรือไมสอดคลองกับบุคลิกภาพ ความสนใจความถนัด นอกจากมี โอกาสประสบ ความสําเร็จในการประกอบอาชีพนอยแลว ยังเปนการทรมานชีวิตอยางหนึ่งอีกดวย การเลือกประกอบอาชีพที่ไมเหมาะสมกับตนเองยังกอใหเกิดผลเสียตอประเทศชาติเปนอัน มากอีกดวย ดังนั้น การประกอบอาชีพเกือบทุกชนิดจะตอง มีการเตรียมตัว คือ การศึกษาเลาเรียน อาชีพบางอยางตองใชเวลาในการศึกษาเลาเรียนหลายป จึงควรจะตองมีการศึกษาการประกอบ อาชีพอยางรอบคอบ จากที่กลาวมาพอสรุปไดวา ในการแนะแนวการฝกซึ่งเปนกิจกรรมในกระบวนการ ฝกอบรมของกรมพัฒนาฝมอื แรงงานนั้น จําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีการออกแบบและพัฒนาสือ่ การ แนะแนวและเครือ่ งมือสําหรับวัดและประเมินความตองการ ความถนัดและความสนใจในอาชีพ หรือความสนใจในการฝกอบรมในสาขาอาชีพตางๆ ของผูม ารับสมัครเพือ่ เขารับการฝกอยาง แทจริง เพือ่ ใหการฝกอบรมไดบรรลุตามวัตถุประสงคและผูเ ขารับการฝกประสบผลสําเร็จในการ ฝกและสามารถพัฒนาตนเองจนประกอบอาชีพไดในอนาคต ดังนั้นจึงตองมีเครือ่ งมือสําหรับเก็บ ขอมูลและนําไปใชในการวิเคราะหผล เพื่อใหการแนะแนวทางการฝกดําเนินไปไดอยางมี ประสิทธิภาพ ตอไป


12 เอกสารและสิ่งอางอิง วัชรี ทรัพยมี (2531). การแนะแนวในโรงเรียน. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพไทย วัฒนาพานิช, ทศพร ประเสริฐสุข (2549).จิตวิทยาการแนะแนว.[Online].Available:http://www.escd.or.th/ escd/escd_training/2006/escd_ex/executive_2.49/psychology.doc.,11/11/2552. กองสงเสริมการมีงานทํา กรมการจัดหางาน(2552). การแนะแนวอาชีพ (Vocational Guidance). [Online].Available:http://www.waknowledge.com/readarticle.php?article_id=59.,11/11/2 552. กลุมงานพัฒนาระบบการฝก (2553).เปรียบเทียบรูปแบบการฝกแบบเนนเนื้อหาวิชากับรูปแบบที่เนน สมรรถนะ. สํานักพัฒนาผูฝ ก และเทคโนโลยีการฝก.กรมพัฒนาฝมือแรงงาน. [Online]: Available.http://home.dsd.go.th/techno/trainingsystem/index.php?option=com_content& view=article&id=10&Itemid=15.,เปดอาน 12/03/2553.)


คณะดําเนินการ ที่ปรึกษา

๑.นายนคร ศิลปอาชา ๒.นายประพันธ มนทการติวงศ ๓.นายประวิทย เคียงผล ๔.หมอมหลวงปุณฑริก สมิติ ๕.นายสันโดษ เต็มแสวงเลิศ

ผูจัดทํา

๑.นายณรงค ฉ่ําบุญรอต ๒.นายคมธัช รัตนคช ๓.นายดนุพล คลอวุฒนิ ันท

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

นักวิชาการพัฒนาฝมือแรงงานชํานาญการพิเศษ นักวิชการพัฒนาฝมือแรงงานชํานาญการ นักวิชการพัฒนาฝมือแรงงานปฏิบัติการ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.