ข้อกำหนดมาตรฐานคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน

Page 1

สารบัญ หน้า

ขอก ้ าหนดมาตรฐานคุณภาพ การพัฒนาฝี มอ ื แรงงาน กรมพัฒนาฝี มอ ื แรงงาน

1. ขอก ื แรงงาน ้ าหนดมาตรฐานคุณภาพการพัฒนาฝี มอ

1

2. ข้อกาหนดทั่วไป

3

3. ข้อกาหนดดานมาตรฐานคุ ณภาพการบริหารระบบคุณภาพ ้

8

4. ขอก ณภาพ ้ าหนดดานมาตรฐานคุ ้ กระบวนการกอนการฝึ กฝี ม อ ื แรงงาน ่

18

5. ขอก ณภาพ ้ าหนดดานมาตรฐานคุ ้ การบวนการฝึ กฝี มอ ื แรงงาน

23

6. ขอก ณภาพ กระบวนการหลังการฝึ ก ้ าหนดดานมาตรฐานคุ ้

32


ขอก ้ าหนดมาตรฐานคุณภาพ การพัฒนาฝี มอ ื แรงงาน กรมพัฒนาฝี มอ ื แรงงาน ---------------------------------------------------------------------

ระบบประกั น คุ ณ ภาพ การพั ฒ นาฝี มื อ แรงงานยึ ด หลั ก กา รจั ด ท า ข้อกาหนดมาตรฐานคุณภาพการพัฒนาฝี มอ ื แรงงานจากปัจจัยทีเ่ กีย ่ วข้องกับการ พัฒ นาฝี มือ แรงงานส าหรับ ใช้ เป็ นกรอบการด าเนิ น งานเพื่อ น าไปสู่ การผลิต ผู้สาเร็ จการฝึ กทีม ่ ค ี ุณ ภาพ ข้อก าหนดมาตรฐานคุณภาพ จ านวน 5 กลุ่ม มาตรฐานคุณภาพ ดังนี้ 1. ขอก ้ าหนดทัว่ ไป 2. ขอก ณภาพ : การบริหารระบบคุณภาพ ้ าหนดดานมาตรฐานคุ ้ 3. ข้อกาหนดด้านมาตรฐานคุณภาพ : กระบวนการกอนการฝึ กฝี มือ ่ แรงงาน 4. ข้อกาหนดด้านมาตรฐานคุณภาพ : กระบวนการฝึ กฝี มอ ื แรงงาน 5. ขอก าหนดด านมาตรฐานคุ ณ ภาพ : กระบวนการหลั ง การฝึ ก ้ ้ (การสนองตอความต องการของผู รั บ บริ ก าร) ่ ้ ้

ขอ ้ 2 การบริหารระบบ คุณภาพ 2.1 การบริหาร ระบบคุณภาพ 2.2 ความ รับผิดชอบ ของฝ่าย บริหาร 2.3 การควบคุม กรณีทไี่ ม่ เป็ นไปตาม ขอก ้ าหนด 2.4 การปรับปรุง ระบบบริหาร อยางต อเนื ่ ่ ่อง 2.5 การตรวจ ประเมิน คุณภาพ ภายใน 2.6 การเฝ้า ติดตาม การวัด กระบวนการ และประเมิน การฝึ ก 2.7 คณะกรรมการ ทีเ่ กีย ่ วข้อง

ขอ ้ 3 กระบวนการ กอนการฝึ ก ่ 3.1 ความ ตองการของ ้ ตลาดฝี มอ ื แรงงานฝี มอ ื (Skill demand) 3.2 ผูเข ้ ารั ้ บ การฝึ ก 3.3 เครือ ่ งมือ เครือ ่ งจักร อุปกรณ ์ สิ่ งอานวย ความสะดวก 3.4 สถานทีฝ ่ ึก

ขอ ้ 4 กระบวนการฝึ ก 4.1 ครูฝึก 4.2 ผูเข ้ ารั ้ บ การฝึ ก 4.3 วิธก ี ารฝึ ก 4.4 วัสดุ ครุภณ ั ฑ์ เครือ ่ งมือ 4.5 กระบวน การฝากฝึ ก 4.6 การประเมิน ระบบการฝึ ก 4.7 งบประมาณ

3.5 บุคลากรทุก คนทุกระดับ 3.6 หลักสูตร 3.7 การประชา สั มพันธ ์ 3.8 งบประมาณ

2.8 ขอก ้ าหนด ทางดาน ้ เอกสาร

1

2

ขอ ้ 5 กระบวนการ หลังการฝึ ก 5.1 การสนองตอ ่ ความพึง พอใจลูกคา้ /ตลาด (ผูรั ้ บบริการ/ สถาน ประกอบ การของ ผูรั ้ บบริการ) 5.2 ผูส ้ าเร็จ การฝึ ก


1. ข้อกาหนดทัว่ ไป

1.1 นิยามและความหมายทั่วไป คุณภาพ หมายถึงคุณสมบัตท ิ ง้ั หมดของผูส ่ ง่ ้ าเร็จการฝึ กหรือบริการทีบ บอกความสามารถในการทีจ ่ ะสนองตอบความตองการที ร ่ ะบุ ไ ว หรื อ คาดหวั ง ้ ้ ไว้ การพัฒนาฝี มือแรงงาน ครอบคลุมถึงการดาเนินงาน ส่งเสริม สนับสนุ นให้เกิดการดาเนินงานการพัฒนาให้มีฝีมอ ื ความรู้ความสามารถ ในการทางาน สอดคลองกั บ งานหรื อ ต าแหน งงานที ม ่ อ ี ยูตามความต องการ ้ ่ ่ ้ ของตลาดแรงงาน (สมชาติ เลขาลาวัลย ์ : ปรัชญาการพัฒนาฝี มอ ื แรงงานโดยสั งเขป) การประกันคุณภาพ หมายถึง การจัดระบบบริหารเพือ ่ การประกัน คุณภาพทีอ ่ งคกรได ตกลงไว กั บ ลู ก ค าว าจะบรรลุ ผ ลอย างแน ้ ้ ้ ่ ่ ่ นอน โดยมี ์ หลักวา่ 1.ทาความเข้าใจกับขอก ้ าหนดมาตรฐานคุณภาพ 2. เขียนบทบัญญัตริ ะบบคุณภาพให้สอดคลองกั บจุดมุงหมายของ ้ ่ ขอก าหนดมาตรฐานคุ ณ ภาพ ้ 3.ยึดมัน ่ ปฏิบต ั ต ิ ามบทบัญญัตท ิ เี่ ขียนไว้แลวอย างครบถ วนและเคร งครั ด ้ ่ ้ ่ ข้อกาหนดมาตรฐานคุณภาพการพัฒนาฝี มือแรงงาน หมายถึง เกณฑมาตรฐานที ก ่ าหนดขึน ้ และเป็ นทีย ่ อมรับในกิจกรรมทีเ่ กีย ่ วข้องและมี ์ ผลกระทบตอคุ ื แรงงาน ซึง่ มัน ่ ใจไดว ่ ปฏิบต ั ไิ ด้ ่ ณภาพการพัฒนาฝี มอ ้ าเมื ่ อ ตามหลักเกณฑดั ง กล าวแล ว จะท าให ผู ส าเร็ จ การฝึ กมี ค ณ ุ ภาพเป็ นที ่ ่ ้ ้ ้ ์ ยอมรับของสถานประกอบกิจการและตลาดแรงงาน 1.2 นิยามและความหมายเฉพาะในข้อกาหนดมาตรฐานคุณภาพการ พัฒนาฝี มือแรงงาน ลูกค้า หมายถึง สถานประกอบการ บริษัท ห้างร้าน องคกรธุ รกิจ ์ โรงงานอุตสาหกรรม ฯลฯ หรือผู้ทีต ่ องการผ านการฝึ กและพัฒนาฝี มอ ื ้ ่ แรงงานจากสถาบัน/ศูนยพั ื แรงงาน ์ ฒนาฝี มอ ผลิตภัณฑ ์ หมายถึง ผู้เข้ารับการฝึ กหรือผู้ทีไ่ ดรั ้ บบริการจากสถาบัน/ ศูนยพั ื แรงงานด้านการพัฒนาฝี มอ ื แรงงาน ์ ฒนาฝี มอ องคกร หมายถึง สถาบันพัฒนาฝี มอ ื แรงงานหรือศูนยพั ื ์ ์ ฒนาฝี มอ แรงงานสั งกัดกรมพัฒนาฝี มอ ื แรงงาน

3

4


ผู้บริหารระดับสูง หมายถึง ผูอ ื ้ านวยการสถาบัน/ศูนยพั ์ ฒนาฝี มอ แรงงานทีน ่ าระบบประกันคุณภาพมาใช้ในการบริหารคุณภาพการพัฒนา ฝี มอ ื แรงงาน ฝ่ายบริหาร หมายถึง คณะบุคคลระดับสูงของสถาบัน/ศูนยพั ื ์ ฒนาฝี มอ แรงงานทีต ่ องรั บ ผิ ด ชอบเป็ นอั น ดั บ แรกในความส าเร็ จ หรื อ ความล มเหลวของ ้ ้ สถาบัน/ศูนยพั ื แรงงานแห่งนั้น ์ ฒนาฝี มอ ระบบบริหารคุณภาพ หมายถึง การบริหารงานในส่วนทีม ่ ผ ี ลกระทบ ตอคุ ณ ภาพ โดยยึ ด หลั ก การบริ ห ารงานการปรั บ ใช ข อก าหนดมาตรฐาน ่ ้ ้ คุณภาพเป็ นหลักในการบริหารองคกร โดยเป็ นขอก ้ าหนดทีไ่ ดรั ้ บความ ์ เชือ ่ มัน ่ วาจะสามารถให ผู ส าเร็ จ การฝึ ก มี ค ณ ุ ภาพตามความต องการ ่ ้ ้ ้ ขอบกพร องหรื อตาหนิ (Defect) หมายถึง ลักษณะดอยคุ ณภาพของ ้ ่ ้ ผลิตภัณฑ ์ หรือไมสอดคล องหรื อ ไม เป็ นไปตามเกณฑ ในข อก าหนดที ต ่ ง้ั ไว้ ่ ้ ่ ้ ์ ของเสี ย (Defective) หมายถึง ผลิตภัณฑที ม ่ ข ี อบกพร องหรื อ ไม ้ ่ ่ ์ เป็ นไปตามเกณฑที ่ าหนด ์ ก การแกไข (Correction) หมายถึง การซ่อมหรือการทาซา้ หรือการ ้ ทาตามคาวินิจฉัยแกไข ซึง่ เป็ นการกระทาลงไปบนตัวผลิตภัณฑที ้ ้ ์ ไ่ ดตรวจ พบวามี ข อบกพร อง ่ ้ ่ ปฏิบต ั ก ิ ารเพือ ่ การแกไข (Corrective action) หมายถึง วิธก ี าร ้ ดาเนินการคนหาสาเหตุ ข องข อบกพร อง แล วก าจั ด สาเหตุ ท ป ่ ี รากฏนั ้นเสี ย ้ ้ ่ ้ เพือ ่ ไมให เกิ ด ข อบกพร องซ า เดิ ม ขึ น ้ มาได อี ก เป็ นการปรั บ กระบวนการ ้ ่ ้ ้ ่ ้ หรือปรับวิธก ี ารดาเนิน หรือซ่อม ปรับแตงเครื อ ่ งมือเครือ ่ งจักร ฯลฯ ซึง่ ่ เป็ นสาเหตุของขอบกพร องของผลิ ต ภั ณ ฑ โดยมิ ไ ด กระท าลงไปบนตัว ้ ่ ้ ์ ผลิตภัณฑที ม ่ ข ี อบกพร องแต อย างใด ้ ่ ่ ่ ์ การป้องกัน (Prevention) หมายถึง การลดแนวโน้มหรือกาจัดตนตอ ้ ทีม ่ าของสาเหตุการเกิดขอบกพร องในทุ กจุดทีแ ่ นวโน้มหรือมีทาที ้ ่ ่ ให้เห็นวา่ เป็ นทีต ่ ง้ั ของสาเหตุแห่งขอบกพร องได ้ ่ ้ ปฏิบต ั ก ิ ารป้องกัน (Prevention action) หมายถึง มาตรการสาหรับการ ลงมือปฏิบต ั เิ พือ ่ คนหาสาเหตุ ของขอบกพร องทั ง้ ทีเ่ กิดขึน ้ แลวและน ้ ้ ่ ้ ่ าจะเกิด รวมทัง้ หาจุดทีม ่ แ ี นวโน้มวาน าจะเกิ ด สาเหตุ ข องข อบกพร องขึ น ้ ได ่ ่ ้ ่ ้ แลวท ้ า การกาจัดตนตอเหล านั ้ น เพื อ ่ ไม ให เกิ ด สาเหตุ ท ท ่ ี าให เกิ ด ข อบกพร องนั ้ น ๆ ้ ่ ่ ้ ้ ้ ่ ขึน ้ มาอีก ซึง่ ในลักษณะเช่นนี้กลาวได ว าปฏิ บ ต ั ก ิ ารเพื อ ่ ป องกั น จะเป็ น ่ ้ ่ ้ ปฏิบต ั ก ิ ารเพือ ่ แกไขไม ให องนั ้นเอง ้ ่ ้เกิดสาเหตุของขอบกพร ้ ่ นโยบายคุณภาพ (Quality Policy) หมายถึง ถอยค าทีร่ ะบุถงึ แนวทาง ้ และเป้าหมาย รวมทัง้ พันธกิจทางดานคุ ณ ภาพขององค กร ซึง่ แสดงออกตอ ้ ่ ์ ลูกคาหรื อ สาธารณชนหรื อ แม แต บุ ค ลากรภายในองค กรของตนเอง เพือ ่ เป็ น ้ ้ ่ ์ การบงบอกหรื อประกาศถึงความมุงมั ่ ตอคุ ่ ะเกิดจากการดาเนินการ ่ ่ น ่ ณภาพทีจ นโยบาย 5

คุณภาพมุงเน ณภาพเป็ นสาคัญ ซึง่ ส่วนหนึ่งของนโยบายการ ่ ้ นเฉพาะดานคุ ้ บริหารของสถาบัน/ศูนยพั ฒ ื แรงงานทัง้ จากนโยบายทีไ ่ ดรั ้ บจากรม ์ นาฝี มอ พัฒนาฝี มอ ื แรงงาน หรือกระทรวงแรงงาน หรือนโยบายบริหารทีส ่ ถาบัน / ศูนยพั ฒ นาฝี ม อ ื แรงงานใช ในการบริ ห ารงาน ้ ์ คูมื ิ องระบบ ่ อคุณภาพ (Quality Manual) หมายถึง บทบัญญัตข คุณภาพซึง่ ระบุวา่ “องคกรต องจั ด เรื อ ่ งอะไรบ าง” เพื อ ่ จะสร างความมั น ่ ใจวา่ ้ ้ ้ ์ สิ่ งทีเ่ ป็ นขอก าหนดในด านคุ ณ ภาพจะบรรลุ ผ ลอย างแน นอนซึ ง ่ ข อก าหนด ้ ้ ่ ่ ้ มาตรฐานคุณภาพการพัฒนาฝี มือแรงงานกาหนดไว้ ดวยเหตุ นี้ เนื้อหาของ ้ คูมื งควรระบุไวว การจัดการเพือ ่ ประกัน ่ อคุณภาพขององคกรจึ ้ า่ องคกรมี ์ ์ คุณภาพหรือสรางความมั น ่ ใจในคุ ณ ภาพตามข อก าหนดมาตรฐานคุ ณภาพการ ้ ้ พัฒนาฝี มอ ื อยางไร โดยต องระบุ ใ ห ชั ด เจนว า การจั ด แต ละข อก าหนดนั ้น ่ ้ ้ ่ ่ ้ เพือ ่ ให้เกิดความมัน ่ ใจวา่ จะไดหรื อ มี ห รื อ เกิ ด ผลอะไรขึ น ้ บ าง ้ ้ วิธก ี ารปฏิบต ั ด ิ านคุ ณภาพ (Produce Manual) หมายถึง บทบัญญัตท ิ ี่ ้ แสดงวิธก ี ารดาเนินการหรือวิธป ี ฏิบต ั ใิ นประเด็นหรือหัวขอที ก ่ าหนดไว ในคู มื ้ ้ ่ อ โดยระบุในลักษณะทีว่ า่ เพือ ่ ให้บรรลุผลไปตามแนวทางของการบริหารงาน หรือเมือ ่ มีการนาแนวทางทีก ่ าหนดไวมาใช ั จ ิ ริงอยางเป็ นรูปธรรม จะมี ้ ้ปฏิบต ่ ลาดับขัน ้ ตอนหลักๆ ของการดาเนินการเป็ นอยางไร โดยใครที เ่ ป็ นผูมี ่ ้ อานาจหน้าทีห ่ รือความรับผิดชอบในแตละล าดั บ ขั น ้ ตอนนั ้ น กล าวอี กนัยหนึ่ง ่ ่ วา่ Quality procedure คือ บทบัญญัตซ ิ งึ่ กาหนดอานาจหน้าทีแ ่ ละความ รับผิดชอบในกิจกรรมทีเ่ กีย ่ วข้องกับคุณภาพ ขอก ั งิ าน (Work Instruction) หมายถึง ้ าหนดกากับการปฏิบต บทบัญญัตแ ิ สดงรายละเอียดของวิธป ี ฏิบต ั งิ านสาหรับกิจกรรมหนึ่งๆ โดยระบุ วา่ เพือ ่ ให้กิจกรรมนั้นบรรลุผลตามทีก ่ าหนดกิจกรรมดังกลาวจะต องมี ลาดับ ่ ้ ขัน ้ ตอนการปฏิบต ั โิ ดยละเอียดอยางไร ่ แผนคุณภาพ (Quality Plan) หมายถึง กาหนดการ และ/หรือแนวทาง ดาเนินงานขององคกรที จ ่ ะชีใ้ ห้เห็นวาข ่ อก ้ าหนดการและ/หรือขอก ้ าหนดของ ์ โครงการ หรือ ขอก าหนดในสั ญ ญา สามารถบรรลุ ผ ลเป็ นรู ป ธรรมไดจริ ้ ้ ง ดวยกิ จ กรรม และก าหนดการที ป ่ รากฏอยู ในแผนคุ ณ ภาพ ซึ ง ่ ในทางปฏิ บต ั ิ ้ ่ มักจะทาแผนคุณภาพเป็ น 2 ลักษณะคือ 1.แผนคุณภาพทั่วไป ซึง่ ใช้กับคุณภาพผลิตภัณฑปกติ ทอ ี่ งคกรส ่ งมอบ ์ ์ ให้ลูกคา้ 2.แผนคุณภาพเฉพาะ ใช้ในกรณีนอกเหนือจากคุณภาพทัว ่ ไปทีอ ่ งคกร ์ ส่งมอบให้กับลูกคา้ ซึง่ ไดมาจากข อสรุ ป ในการท าข อตกลงกั บ ลู ก ค าเป็ ้ ้ ้ ้ นการ เฉพาะ มักจะใช้ประกอบสั ญญาวาจ อประกอบในใบเสนอราคาหรือเป็ น ่ างหรื ้ เอกสารประกอบการยืน ่ ซองประกวดราคา เป็ นตน ้

6


บัน ทึกคุ ณ ภาพ หมายถึง เอกสารซึ่ง ข้อกาหนดมาตรฐานคุณภาพ กาหนดไว้ให้องคกรจะต ้องมีการกาหนดวิธีการดาเนินการไว้เป็ นระเบียบ ์ ปฏิบต ั ท ิ ี่เป็ นลายลักษณอั ก ี าแนกบันทึกคุณภาพและให้ ์ ษรโดยกาหนดวิธจ ระบุวธ ิ ค ี วบคุมบันทึกคุณภาพ การตรวจประเมินคุณภาพ (Quality Audit) หมายถึง การตรวจสอบ อยางเป็ นระบบและอิสระจากสิ่ งทีต ่ รวจเพือ ่ จะดูวากิ ณภาพและ ่ ่ จกรรมดานคุ ้ ผลลัพธที เ ่ กี ย ่ วข องมี ค วามสอดคล องกั บ แผนการด าเนิ น การที ไ ่ ด ้ ้ ้จัดวางไว้ ์ หรือ ไม่ ได้ มีก ารด าเนิ น การตามที่ไ ด้ก าหนดหรือ จัด วางไว้ จริง อย่ างมี ประสิ ทธิผลหรือไม่ และเหมาะสมแกการที จ ่ ะบรรลุวต ั ถุประสงคหรื ่ ์ อไม่ การตรวจสอบติด ตามภายใน (Internal Audit) หมายถึง การ ตรวจสอบกิจกรรมหรือการดาเนินการทางด้านคุณภาพขององคกร และ ์ ตรวจดูประสิ ทธิผลของระบบคุณภาพ ณ จุดตางๆ โดยมี ว ต ั ถุ ป ระสงค ่ ์ เบือ ้ งตนดั ้ งนี้ 1.ตรวจดู ว่ าบรรดากิจ กรรมด้ านคุ ณ ภาพเป็ นไปตามที่ ก าหนดไว้ หรือไม่ 2.ผลลัพธของกิ จกรรมทีถ ่ ก ู ตรวจเป็ นไปตามทีก ่ าหนดไวหรื ้ อไม่ ์ 3.ประเมินประสิ ทธิผลของระบบคุณภาพขององคกรว าเป็ ่ นอยางไร ่ ์ 1.3 ข้อกาหนดทั่วไป สถาบัน /ศู น ย พั ์ ฒ นาฝี มือ แรงงาน ต้ องจัด ตั้ง จัด ท าเอกสารการ ปฏิบต ั งิ าน และคงรักษาไว้ซึ่งระบบบริหารคุณ ภาพที่สอดคล้องกับความ ตองการของข ้ ้อกาหนดมาตรฐานด้านคุณภาพฉบับนี้ และมีการปรับปรุ ง ระบบบริหารคุณภาพอยางต อเนื ่ ่ ่อง โดยมีการดาเนินงานครอบคลุม ดังนี้ 1. มีการกาหนดกระบวนการทีจ ่ าเป็ นสาหรับระบบบริหารคุณภาพและนา กระบวนการเหลานี ไ ้ ปใช ทั ว ่ ทั ง ้ องค กร ่ ้ ์ 2. กาหนดลาดับกอนหลั ง และความสั มพันธของกระบวนการเหล านี ่ ่ ้ ์ 3. ก าหนดเกณฑ ์การยอมรั บ และวิ ธี ก ารที่ จ าเป็ น เพื่ อ ให้ มั่น ใจว่ า กระบวนการในการปฏิบ ัต ิแ ละควบคุ ม ที่ ก าหนดขึ้น นี้ จ ะก่ อให้ เกิด การ พัฒนาฝี มอ ื แรงงานทีม ่ ค ี ุณภาพ 4. มั่น ใจว่ ามี ค วามพร้ อมของทรั พ ยากรและข้ อมู ล ที่ จ าเป็ นต่ อการ สนับสนุ นการปฏิบต ั ิ และการเฝ้าติดตามกระบวนการ 5. มีการเฝ้าติดตาม การวัดและการวิเคราะหกระบวนการต างๆ ในการ ่ ์ ปฏิบ ัต ิง าน การด าเนิ น งานเพื่อ ที่จ ะท าให้ บรรลุ ผ ลคุ ณ ภาพ และการ ปรับปรุงกระบวนการอยางต อเนื ่องนั้น กระบวนการตางๆ ตองได รั ่ ่ ่ ้ ้ บการ จัด การให้ สอดคล้ องกับ ข้ อก าหนดมาตรฐานคุ ณ ภาพการพัฒ นาฝี มื อ แรงงานฉบับนี้ 6. การด าเนิ น งานเพื่ อ ที่ จ ะท าให้ บรรลุ ผ ลคุ ณ ภาพและการปรับ ปรุ ง กระบวนการอยางต อเนื ่องนั้น กระบวนการตางๆ ตองได รั ่ ่ ่ ้ ้ บการจัดการให้ สอดคลองกั บ ข อก าหนดมาตรฐานคุ ณ ภาพการพั ฒ นาฝี ม อ ื แรงงานฉบั บนี้ ้ ้ 7

7. กระบวนการใดทีม ่ ผ ี ลกระทบตอความสอดคล องตามข อก ่ ้ ้ าหนด มาตรฐานคุณภาพการพัฒนาฝี มือแรงงานทีม ่ ก ี ารให้หน่วยงานภายนอก ดาเนินการแทน ตองท าให้มัน ่ ใจวามี ้ ่ การควบคุมกระบวนการเหลานั ่ ้น ซึง่ ตองมี ก ารบ งชี ก ้ ระบวนการเหล านั ้ น ไว ในระบบบริ ห ารคุ ณ ภาพของ ้ ่ ่ ้ องคกร ์

8


2. ขอก ้ าหนดมาตรฐานคุณภาพการบริหารระบบคุณภาพ 2.1 การบริหารระบบคุณภาพ 2.1.1 นโยบายคุณภาพ (Quality Policy) ผู้ บริห ารสถาบัน /ศูน ย พั ์ ฒ นาฝี มือ แรงงานจะต้ องก าหนด นโยบายคุณภาพของสถาบัน /ศูนยพั ฒ นาฝี มือแรงงาน กาหนดวัตถุประสงค ์ ์ ด้านคุ ณ ภาพ และก าหนดพัน ธกิจ ทางด้านคุ ณ ภาพขององค กรไว ้ เป็ นลาย ์ ลักษณอั ก ษร และนโยบายที ก ่ าหนดต องสั ม พั น ธ กั น ทั ง ้ เป าหมายขององค กร ้ ้ ์ ์ ์ ความคาดหวังและความตองการของลู ก ค า ทั ง ้ นี ้ น โยบายดั ง กล าวจะต องเป็ นที ่ ้ ้ ่ ้ เขาใจของทุ ก คนในองค กรและมี ก ารน าไปปฏิ บ ต ั แ ิ ละยึ ด มั น ่ ในการปฏิ บ ต ั อ ิ ย าง ้ ่ ์ จริงจัง 2.1.2 วัตถุประสงคคุ ์ ณภาพ (Objective of Quality) สถาบัน /ศูนย พั ์ ฒ นาฝี มือแรงงานต้องก าหนดวัต ถุป ระสงค ์ ด้านคุณภาพขึน ้ โดยความมีส่วนร่วมระหว่างผู้บริหารระดับสูงและผู้บริหาร ระดับ กลางของทุ ก แผนก เพื่ อ เป็ นการให้ การสนั บ สนุ น นโยบายคุ ณ ภาพ และสามารถทาให้ระบบบริหารคุณภาพดาเนินไปอยางมี ประสิ ทธิผล และทุก ่ แผนกจาเป็ นต้องมีเป้าหมาย (Goals) และวัตถุประสงคคุ ์ ณภาพเป็ นของ ตนเองในอันที่จ ะท าให้ บรรลุ เ ป้ าหมายของสถาบัน/ศูน ย พั ฒ นาฝี มือ แรงงาน ์ และจ าเป็ นต้องสื่ อเป้ าหมายและวัต ถุป ระสงค ด านคุ ณ ภาพให ้ พนัก งานได้รับ ์ ้ ทราบและมีความเขาใจ ้ 2.1.3 การจัดองคกร ์ บุคคลในองคกรซึ ่งทาหน้าทีอ ่ น ั มีผลกระทบตอคุ ่ ณภาพโดย ์ ทัง้ การบริหาร การดาเนินงานและการตรวจสอบ จะต้องมีการกาหนดภาระ รับผิดชอบ อานาจหน้าทีแ ่ ละความสั มพันธระหว างบุ คคลในองคกรไว ่ ้เป็ นลาย ์ ์ ลักษณอั ก ษร ์ 2.1.4 การวางแผนคุณภาพ สถาบัน/ศูนยพั าหนด วิธก ี าร ้ ์ ฒนาฝี มือแรงงานจาเป็ นตองก ทาให้ข้อกาหนดมาตรฐานดานคุ ณ ภาพบรรลุ ผ ลเป็ นรู ป ธรรม โดยจั ด ท าแผน ้ คุณ ภาพไว้ เป็ นลายลัก ษณอั ์ ก ษร การวางแผนคุ ณภาพต้องท าให้ เกิด ความ สอดคล้ องกับ ข้ อก าหนดมาตรฐานคุ ณ ภาพการพั ฒ นาฝี มื อ แรงงานและ เหมาะสมกับการดาเนินงานของสถาบัน /ศูนยพั ์ ฒนาฝี มือแรงงาน เพื่อทาให้ การฝึ กหรือโครงการ บรรลุผลตามเกณฑข อก ์ ้ าหนด 2.2 ความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร 2.2.1 การจัดสรรทรัพยากร สถาบัน/ศูนยพั ์ ฒนาฝี มือแรงงาน จะต้องกาหนดและจัดให้ มีทรัพยากรที่จาเป็ นสาหรับ การนาไปปฏิบต ั แ ิ ละรักษาระบบบริหารคุณภาพ และการปรับปรุงประสิ ทธิภาพ 9

2.2.2 ทรัพยากรมนุ ษย ์ บุ ค คลในองค กรซึ ่ง มีห น้ าที่อ น ั มีผ ลกระทบต่อคุ ณ ภาพของ ์ การฝึ กต้องเป็ นผู้ที่มค ี ุณ สมบัตเิ หมาะสมทั้งด้านการศึ กษา การฝึ กอบรม ทักษะและประสบการณ ์ โดยองคกรต อง ้ ์ 1. กาหนดความสามารถที่จาเป็ นสาหรับบุคคลที่ทางานที่มผ ี ลกระทบ ตอคุ ื แรงงาน ่ ณภาพการพัฒนาฝี มอ 2. จัดให้มีการฝึ กอบรมหรือดาเนินการอืน ่ ทีส ่ นองตอบตอความจ าเป็ น ่ ตามทีก ่ าหนดใน 1 3. ประเมินประสิ ทธิผลของบุคคลทีม ่ ผ ี ลกระทบต่อคุณภาพการพัฒนา ฝี มอ ื แรงงาน 4. เก็ บ บัน ทึ ก ข้ อก าหนดความสามารถที่ จ าเป็ น และการประเมิน ประสิ ทธิภ าพของบุ ค คลที่ม ีผ ลกระทบต่อคุ ณ ภาพการพัฒ นาฝี มือ แรงงาน 2.2.3 ความรับผิดชอบและอานาจ ผู้ บริห ารระดับ สู ง ต้ องท าให้ มั่น ใจว่ า มีก ารก าหนดความ รับ ผิด ชอบ อ านาจของบุ ค คลที่ม ีผ ลกระทบต่อคุ ณ ภาพการพัฒ นาฝี มือ แรงงาน และสื่ อสารให้เป็ นทีท ่ ราบอยางทั ว ่ ถึง ่ 2.2.4 ตัวแทนฝ่ายบริหาร ผู้บริห ารระดับ สู ง ต้องแต่งตั้ง บุ ค คลขึ้น เป็ นตัว แทนของฝ่ าย บริห าร โดยตัว แทนของฝ่ ายบริห ารนี้ นอกจากมีค วามรับผิด ชอบและ อานาจของตนแลวยั ความรับผิดชอบและมีอานาจทีด ่ งั นี้ ้ งตองมี ้ 1. ให้ กระบวนการที่ต้ องการเพื่อ บริห ารระบบบริห ารคุ ณ ภาพ มี การนาไปถือปฏิบต ั แ ิ ละรักษาไว้อยางต อเนื ่ ่ ่ อง 2. รายงานตอผู ่ ้บริหารระดับสูงให้ทราบถึงประสิ ทธิภาพของระบบ บริหารคุณภาพและการปรับปรุงทีต ่ องมี ้ 3. สร้างความมัน ่ ใจไดว ้ ่ามีการส่งเสริมไปยังทุกหน่วยในสถาบัน/ ศูนยพั ื แรงงานให้มีจต ิ สานึกในการปฏิบต ั แ ิ ละรักษาไว้ซึง่ ์ ฒนาฝี มอ ระบบบริหารคุณภาพ 2.2.5 การทบทวนของฝ่ายบริหาร ผู้บริห ารระดับ สู ง ต้องทบทวนระบบบริห ารคุ ณ ภาพขององค กรตาม ์ ช่วงเวลาทีไ่ ดวางแผนไว ่ ทาให้มัน ่ ใจว่ามีความเหมะสมเพียงพอและมี ้ ้ เพือ ประสิ ทธิผลอย่างต่อเนื่ องของระบบบริหารคุณภาพ การทบทวนต้องรวม การประเมิน โอกาสส าหรับ การปรับ ปรุ ง และความจ าเป็ นส าหรับ การ เปลี่ย นแปลงในระบบบริห ารคุ ณ ภาพเข้ าด้วย รวมทั้ง นโยบายคุ ณ ภาพ และวัต ถุ ป ระสงค ด ์ ้ านคุ ณ ภาพ การทบทวนของฝ่ ายบริห ารต้ องมีก าร บัน ทึ ก และเก็ บ รัก ษาไว้ ตามระบบควบคุ ม เอกสารและบัน ทึ ก โดยมีก าร ทบทวนในดาน ้ 10


1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ผลของการตรวจติดตามและการประเมินภายในและภายนอก ขอมู บของลูกคา้ ทัง้ ทีเ่ ป็ นทางการและไมเป็ ้ ลยอนกลั ้ ่ นทางการ ประสิ ทธิภาพของกระบวนการและการเป็ นไปตามขอก ้ าหนดมาตรฐานฯ สถานะของการปฏิบต ั ก ิ ารแกไขและการปฏิ บ ต ั ก ิ ารป ้ ้ องกัน การติดตามผลการดาเนินการจากการทบทวนของฝ่ายบริหารครัง้ ทีผ ่ านมา ่ การเปลีย ่ นแปลงตาง ๆ ที อ ่ าจส งผลกระทบต อระบบบริ ห ารคุ ณ ภาพ ่ ่ ่ การเสนอแนะสาหรับการปรับปรุง

2.3 การควบคุมกรณีทไ ี่ มเป็ ่ นไปตามตามข้อกาหนด สถาบัน/ศูนยพั ่ ให้เกิดความมัน ่ ใจว่า มีการ ์ ฒนาฝี มือแรงงานต้องดาเนินการเพือ ประเมินผลรายการทีไ ่ มเป็ ่ าหนดในแตละขั น ้ ตอนและสามารถ ่ นไปตามเกณฑที ่ ์ ก แสดงผลได้ และมีการควบคุมให้อยู่ในข้อกาหนดได้ โดยต้องบันทึกเกีย ่ วกับ สิ่ งที่ไ ม่เป็ นไปตามข้ อก าหนด และการปฏิบ ต ั ก ิ ารอื่น ใดที่เ กิด ขึ้น หลัง จากนั้ น และมีการปรับปรุงแกไขให ้ ้เป็ นไปตามข้อกาหนด 2.4 การปรับปรุงระบบบริหารอยางต อเนื ่ อง ่ ่ สถาบัน/ศูนยพั ฒ นาฝี มื อ แรงงานต องด าเนิ นงานเพือ ่ กอให ้ ่ ้เกิดการปรับปรุงอยาง ่ ์ ต่ อเนื่ อ งของระบบบริ ห ารคุ ณ ภาพ โดยผ่ านทางการใช้ นโยบายคุ ณ ภาพ วัตถุประสงค ์ ผลการตรวจประเมิน การวิเคราะหข ั ก ิ ารแกไข ้ ์ ้อมูล การปฏิบต และป้องกันและการทบทวนของฝ่ายบริหาร 2.4.1 การปฏิบต ั ก ิ ารแกไข ้ สถาบัน /ศูน ย พั ฒ นาฝี มือ แรงงานต้องด าเนิน การปฏิบต ั ก ิ ารแก้ไข ์ เพื่อกาจัดต้นเหตุของสิ่ งทีไ ่ มเป็ นไปตามข อก าหนดของการฝึ ก และข ่ ้ ้อกาหนด มาตรฐานดานคุ ณ ภาพการพั ฒ นาฝี มื อ แรงงานเพื อ ่ ที จ ่ ะป องกั น การกลั บ มาเกิ ดขึน ้ ้ ้ ซา้ อีก การจั ด ท าเ อกส าร เพื่ อ แส ด งขั้ น ตอ นการด าเนิ นงานในกา ร ปฏิบต ั ก ิ ารแกไขต องประกอบด วย ้ ้ ้ 1. รายละเอียดสิ่ งทีไ่ มเป็ นไปตามข ก (รวมถึงการร้องเรียน ่ ้อกาหนดดานการฝึ ้ ตางๆ ที เ ่ กิ ด ขึ น ้ จากการรั บ ผู ส าเร็ จ การฝึ ก เข าท างาน) ่ ้ ้ 2. สาเหตุของสิ่ งทีท ่ าให้เกิดการไมเป็ ก ่ นไปตามขอก ้ าหนดดานการฝึ ้ 3. การดาเนินการเพือ ่ ให้มั่นใจว่าสิ่ งที่ไมเป็ นไปตามข อก าหนดด านการฝึ กจะ ่ ้ ้ ไมเกิ ด ขึ น ้ ซ า ้ ่ 4. การนามาประยุกตใช ั ก ิ ารแกไข ้ ์ ้ในการปฏิบต 5. บันทึกผลการปฏิบต ั ก ิ าร 6. ทบทวนการปฏิบต ั ก ิ ารแกไข ้

11

2.4.2 การปฏิบต ั ก ิ ารป้องกัน สถาบัน/ศูนยพั ื แรงงานตองหามาตรการเพื อ ่ ดาเนินการป้องกัน ้ ์ ฒนาฝี มอ ก่ อนที่ ส าเหตุ ที่ ท าให้ เกิด สิ่ งที่ ไ ม่ เป็ นไปตามข้ อก าหนดด้ านการฝึ กและ ข้อกาหนดมาตรฐานดานคุ ณภาพการพัฒนาฝี มอ ื แรงงานจะเกิดขึน ้ ้ การจัดทาเอกสารเพือ ่ แสดงขัน ้ ตอนการดาเนินงานในการปฏิบต ั ก ิ าร ป้องกันจะตองประกอบด วย ้ ้ (1) รายละเอียดสิ่ งทีไ่ มเป็ ่ ะเกิดขึน ้ และสาเหตุ ่ นไปตามข้อกาหนดทีจ (2) ประเมินและคนหาปฏิ บต ั ก ิ ารทีจ ่ าเป็ นเพือ ่ ป้องกันสิ่ งทีไ่ มเป็ ้ ่ นไปตาม ข้อกาหนด (3) กาหนดและประยุกตใช ั ก ิ าร ์ ้ปฏิบต (4) บันทึกผลลัพธที ้ จากการปฏิบต ั ก ิ ารป้องกัน ์ เ่ กิดขึน (5) ทบทวนการปฏิบต ั ก ิ ารป้องกันทีไ่ ดด ้ าเนินการไปแล้ว 2.5 การตรวจติดตามภายใน สถาบัน /ศูน ย พั ์ ฒ นาฝี มือ แรงงาน ต้ องด าเนิ น กิจ กรรมตรวจติด ตาม ภายในตามระยะเวลาทีว่ างไว้ เพือ ่ ระบุวาระบบบริ หารคุณภาพทีด ่ าเนินอยู่ ่ (1) สอดคล้องกับแผนทีว ่ างไว้ สอดคล้องกับข้อกาหนดมาตรฐานด้าน คุณภาพการพัฒนาฝี มือแรงงาน และสอดคล้องกับความต้องการของระบบ บริหารคุณภาพทีอ ่ งคกรได ก ้ าหนด ์ (2) มีก ารประยุ ก ต ใช ์ ้ และยัง คงด าเนิ น การไปอย่ างต่ อเนื่ อ งและมี ประสิ ทธิภาพ โปรแกรมการตรวจติดตามต้องมีการวางแผนไว้โดยคานึงถึง สถานะ และความสาคัญของกระบวนการและพืน ้ ที่ ที่จะถูก ตรวจติดตามและให้ ดู ผลลัพธของการตรวจติ ดตามในครัง้ ทีผ ่ านมาด วย ่ ้ ์ โปรแกรมการตรวจติดตามต้องมีการกาหนดเกณฑ ์ ขอบข่าย ความถี่ และวิธก ี ารทีจ ่ ะใช้ในการตรวจติดตาม การคัดเลือกผู้ตรวจติดตามและการดาเนินการตรวจติดตาม ต้องทาให้ มัน ่ ใจได้ว่าเป็ นกระบวนการตรวจติดตาม ที่ยึดข้อเท็ จจริงและมีความเป็ น ธรรม ผู้ ตรวจติด ตามต้ องไม่ ท าการตรวจติด ตามในงานที่เ ป็ นงานของ ตนเอง สถาบัน/ศูน ยพั ั ิ เป็ นเอกสาร ์ ฒนาฝี มือ แรงงานต้องเขีย นวิธีก ารปฏิบต การปฏิ บ ัต ิ ง านในเรื่ อ งของการตรวจติ ด ตามภายใน เกี่ ย วกับ ความ รับผิดชอบ ความต้องการสาหรับการวางแผนการตรวจติดตาม และการ ตรวจติด ตาม และการเขี ย นรายงานการตรวจติด ตามโดยจัด เก็ บ และ ควบคุมตามข้อกาหนดการควบคุมเอกสารไว้เป็ นลายลักษณอั ์ กษร ผู้บริหารทีร่ บ ั ผิดชอบพืน ้ ทีท ่ ถ ี่ ูกตรวจติดตามต้องทาให้มัน ่ ใจได้ว่ามีการ ขจัดข้อบกพร่องที่พบจากการตรวจติดตาม และสาเหตุของความบกพร่อง กิจ กรรมการติด ตามผล รวมถึง การทวนสอบการด าเนิ น การที่ไ ด้ ท าไป และรายงานผลการทวนสอบ 12


2.6 การเฝ้าติดตาม การวัดกระบวนการและผลการฝึ ก สถาบัน/ศูนยพั าวิธก ี ารทีเ่ หมาะสมไปใช้สาหรับ ้ ์ ฒนาฝี มือแรงงานตองน การเฝ้าติดตามและการวัดกระบวนการตางๆ ของระบบบริ หารคุณภาพ ่ (1) วิธีก ารดัง กล่าวต้องแสดงให้ เห็ น ว่ากระบวนการ ที่ด าเนิ น การมี ความสามารถที่จะทาให้ไดผลลั พธที ้ ้ ้บรรลุผล หากผลลัพธที ์ ่ไดวางแผนไว ์ ่ วางแผนไมได ผล ต องมี ก ารแก ไขให ถู ก ต อง และมี ก ารปฏิ บ ต ั ก ิ ารแก ไขที ่ ่ ้ ้ ้ ้ ้ ้ เหมาะสม เพื่ อ ให้ มี ค วามมั่น ใจว่ าสามารถฝึ กได้ อย่ างมี คุ ณ ภาพตาม ขอก ้ าหนด (2) การเฝ้าติดตามและประเมินผู้เข้ารับการฝึ กเพือ ่ ที่ จะทวนสอบไดว ้ า่ ได้ ผลตามความต้ องการที่ ก าหนด การเฝ้ าติด ตามต้ องด าเนิ น การใน ขัน ้ ตอนทีเ่ หมาะสม โดยสอดรับกับการจัดการตางๆ ที่ได้วางแผนไว้และ ่ ต้องมีก ารบัน ทึก และเก็ บ เป็ นหลัก ฐานของการเป็ นไปตามข้ อก าหนดของ เกณฑการยอมรั บได้ โดยมีบุคคลทีร่ บ ั ผิดชอบอนุ มต ั ิ ์ ต้ องไม่ มี ก ารปล่ อยให้ ผู้ ไม่ เข้ าเกณฑ ์การประ เมิ น ผ่ านการฝึ กไป จนกว่าจะได้มีก ารปฏิบต ั แ ิ ก้ไขจนเป็ นที่น่ าพอใจ เว้นแต่กรณี ที่ได้รับการ อนุ ม ต ั โิ ดยผู้มีอ านาจที่เ กี่ย วข้ องหรือ สถานประกอบการที่จ ะรับเข้ าท างาน ถาเป็ ้ นไปได้ 2.7 คณะกรรมการทีเ่ กีย ่ วข้อง สถาบัน /ศูน ย พั ่ วข้องกับ ์ ฒ นาฝี มือ แรงงานต้องจัดตั้ง คณะทางานที่เ กีย ระบบประกันคุณภาพดังนี้ 2.7.1 คณะกรรมการบริหารระบบประกันคุณภาพ (Quality Management Representative: QMR) ท าหน้ าที่ ร ับ ผิ ด ชอบเพื่ อ ให้ เกิด ผลส าเร็ จ ด้ านการประกัน คุณ ภาพขึ้น อย่างต่อเนื่ อ งในสถาบัน /ศูน ย พั ์ ฒ นาฝี มือ แรงงาน โดยมีก าร กาหนดระยะเวลาการประชุม แผนงานการดาเนินงาน การทบทวน การ ประเมิน ปรับ ปรุ ง รวมทั้ง ความจ าเป็ นต้ องมีก ารเปลี่ย นแปลงในระบบ บริห ารคุ ณ ภาพ เพื่ อ ให้ เกิด ประสิ ทธิผ ลของการประกัน คุ ณ ภาพอย่ าง ตอเนื ่ อดคลองกั บ ข้อ2.2.5 การทบทวนของฝ่าย ่ ่อง รวมทัง้ รายละเอียดทีส ้ บริหาร คณะกรรมการบริห ารระบบประกัน คุ ณ ภาพจะต้ องประกอบด้วย ตัวแทนของฝ่ายบริหารเป็ นประธาน คณะกรรมการต้องรวบรวมและวิเ คราะห ข ์ ้ อมูล ที่เ หมาะสม เพื่อ พิจารณาความสอดคล้องและประสิ ทธิผลของระบบบริหารคุณภาพและเพื่อ การปรับ ปรุ ง อย่ างต่อเนื่ อ ง โดยต้ องรวมทั้ง ข้ อมู ล ที่ไ ด้ จากกิจ กรรมการ ตรวจวัด เครือ ่ งมืออุปกรณการเฝ ้ าติดตาม การประเมินผลการฝึ ก รวมทัง้ ์ ข้อมูลจากแหลงอื ่ ทีเ่ กีย ่ วข้องสนับสนุ น ่ น 13

การวิเคราะหข านึงถึงผลทีเ่ กีย ่ วข้องกับ ้ ์ ้อมูลตองค (1) ความพึงพอใจของสถานประกอบการ ธุรกิจ เอกชน ที่ร บ ั ผู้สาเร็จการฝึ กเข้าทางาน (2) ความสอดคลองกั บเกณฑผู ้ ์ ้สาเร็จการฝึ กและมาตรฐานการฝึ ก (3) คุณลักษณะเฉพาะและแนวโน้มของกระบวนการ (4) ประสิ ทธิผลของการปฏิบต ั งิ านให้บรรลุตามนโยบายคุณภาพ วัตถุประสงคคุ ณ ภาพ และเป ้ าหมายคุณภาพ ์ 2.7.2 คณะทางานระบบประกันคุณภาพ (Working Team) มีหน้าทีใ่ นการบริหารระบบประกันคุณภาพภายในฝ่ายหรือ สาขาหรือหลักสูตรทีร่ บ ั ผิดชอบให้ประสบผลสาเร็จโดยไดรั ้ บการแตงตั ่ ง้ จาก คณะกรรมการทบทวนของฝ่ายบริหาร 2.7.3 คณะกรรมการตรวจประเมินภายใน (Internal Quality Audit : IQA) สถาบัน/ศูนยพั ื แรงงานตองจั ดตัง้ คณะกรรมการตรวจ ้ ์ ฒนาฝี มอ ประเมินภายในขึน ้ เพือ ่ ทาหน้าทีใ่ ห้สอดคลองกั บข้อกาหนดมาตรฐาน ้ คุณภาพฯ ข้อ 2.5 เรือ ่ งการตรวจติดตามภายใน ทัง้ นี้คณะกรรมการ ตรวจประเมินภายในจะตองจั ดทารายงานผลการตรวจประเมินภายในและ ้ จัดเก็บตามข้อกาหนดการควบคุมเอกสารและบันทึก 2.8 ขอก เอกสารระบบบริหารคุณภาพ ้ าหนดทางดานเอกสาร ้ หมายรวมถึงเอกสาร ดังตอไปนี ้ ่ (1) เอกสารนโยบายคุณภาพและเป้าหมายดานคุ ณภาพ ้ (2)คูมื อ ระบบคุ ณ ภาพ ่ (3)เอกสารทีเ่ กิดขึน ้ จากขัน ้ ตอนการดาเนินงานซึง่ กาหนดให้มีขน ึ้ ตามขอก าหนดมาตรฐานด านคุ ณ ภาพการพั ฒ นาฝี ม อ ื แรงงาน ้ ้ (4)เอกสารทีส ่ ามารถทาให้มัน ่ ใจวา่ การวางแผน การปฏิบต ั งิ าน และการควบคุมกระบวนการสอดคลองกั บ ข อก าหนดมาตรฐานด านคุ ณ ภาพ ้ ้ ้ การพัฒนาฝี มอ ื แรงงาน (5) บันทึกทีถ ่ ูกกาหนดตามขอก ณภาพการ ้ าหนดมาตรฐานดานคุ ้ พัฒนาฝี มอ ื แรงงาน

14


2.8.1 คูมื ่ อระบบคุณภาพ องคกรต องมี การจัดทาและจัดเก็บคูมื ้ ่ อระบบคุณภาพซึ่งจะตอง ้ ์ รวบถึงสิ่ งตางๆ ต อไปนี ้ ่ ่ (1) ขอบเขตของระบบบริหารคุณภาพซึ่งจะรวมรายละเอียดสิ่ ง ทีต ่ องแบ งย อยออกไปพร อมทั ง้ เหตุผล (Quality Manual) ้ ่ ่ ้ (2) เอกสารขั้ น ตอนการด าเนิ น งานส าหรั บ ระบบบริ ห าร คุณภาพ (Procedure Manual) (3) การอธิบายถึงกระบวนการทางานตางๆ ของระบบบริหาร ่ คุณภาพ (Work Instruction Manual) 2.8.2 การควบคุมเอกสาร เอกสารที่ ถู ก ก าหนดโดยระบบบริ ห ารคุ ณ ภาพจะต้ องถู ก ควบคุ ม การบัน ทึก ถือ เป็ นเอกสารประเภทพิเ ศษ จะต้องถูก ควบคุ ม ตาม ข้อก าหนดการควบคุ มเอกสารด้วย การก าหนดวิธีป ฏิบ ต ั ด ิ ้านการควบคุ ม เอกสารจะตองมี ก ารก าหนดเงื อ ่ นไขการควบคุ ม ดั ง นี ้ ้ (1) ทาให้มัน ่ ใจไดว ั ก ิ อนที จ ่ ะนาเอกสารไปแจกจาย ้ ามี ่ การอนุ มต ่ ่ (2) ทาให้มั่นใจวามี ก ารทบทวนและการท าให้มีความทันสมัยของ ่ เอกสารตามความจาเป็ นและมีการอนุ มต ั เิ อกสารอีกครัง้ กอนการใช ่ ้งาน (3) ท าให้มั่น ใจว่ามีการบ่งชี้การเปลีย ่ นแปลงและสถานะของการ แกไขเอกสารที เ่ ป็ นฉบับลาสุ ้ ่ ด (4) ทาให้มั่นใจว่าเอกสารที่ใช้ในการปฏิบต ั งิ าน สามารถหาได้ ในพืน ้ ทีป ่ ฏิบต ั งิ านนั้น (5) ทาให้มัน ่ ใจวาเอกสารสามารถท าความเข้าใจไดง้ ายและพิ สู จ น ์ ่ ่ ไดทั น ที ้ (6) ทาให้มัน ่ ใจไดว ม ่ าจากภายนอกไดรั ้ ละมี ้ าเอกสารที ่ ้ บการบงชี ่ แ การควบคุมการแจกจาย ่ (7) ท าให้ มั่น ใจว่าเอกสารที่ถูก ยกเลิก แล้ วไม่มีก ารน ากลับ มาใช้ และมีการระบุให้ชัดเจน ถ้าหากเอกสารเหลานั ่ ้ นยังมีความจาเป็ นที่จะต้อง เก็บในช่วงระยะเวลาหนึ่ง 2.8.3 การควบคุมบันทึก บัน ทึก จะถู ก จัด ท าและจัด เก็ บ เพื่อ จะใช้ เป็ นหลัก ฐานในการ อ้างอิงเพือ ่ ความสอดคลองตามข ณภาพการพัฒนา ้ ้อกาหนดมาตรฐานดานคุ ้ ฝี มอ ื แรงงาน บันทึกตองเข าใจง าย พิ ส จ ู น ได ทั น ที และสามารถเรี ยกกลับ ้ ้ ่ ์ ้ ได้ เอกสารการปฏิบ ต ั งิ านจะต้ องถู ก จัด ท าโดยสามารถควบคุ ม การชี้บ่ง การจัดเก็บ การป้องกัน การเรียกกลับ การจัดเก็บตามระยะเวลาและ การทางาน 15

ข้อ 3. กระบวนการกอนการฝึ ก ่ 3.1ความต้องการของตลาดฝี มือแรงงานฝี มือ (Skill Demand) สถาบัน/ศูนยพั การรวบรวมข้อมูล ความ ้ ์ ฒนาฝี มือแรงงานตองมี เคลื่ อ นไหวและความต้ องการของตลาดแรงงานที่ ถู ก ต้ อง ครบถ้ วน เชือ ่ ถือได้ ดังนี้ (1) มีระบบการหาความต้องการของตลาดแรงงาน (ทั้งด้านอุป สงคและอุ ปทานแรงงาน) ์ (2) วิเคราะหแนวโน ้ มความตองการตลาดแรงงานในอนาคต ้ ์ (3) นาผลการวิเคราะห ์ มาใช้ในการจัดทาแผนการพัฒนาฝี มือ แรงงาน (4)สร้างความสั มพันธที ่ ก ี บ ั สถานประกอบการและคณะทีป ่ รึกษา ์ ด ทัง้ ในรูปแบบที่เป็ นทางการหรือไมเป็ นทางการ และ มี ก ารน าผลที ไ ่ ดมา ่ ้ ใช้ประโยชนในการด าเนิ น งาน ์ 3.2 ผู้เข้ารับการฝึ ก สถาบัน/ศูนยพั ์ ฒนาฝี มือแรงงานต้องดาเนิน การเพื่อให้ผู้รับการ ฝึ กมีคุณสมบัต ิ ความตัง้ ใจและความพร้อมทีจ ่ ะเข้าฝึ กในสาขาทีต ่ ้องการ และมีจานวนกลุมเป าหมายที ส ่ อดคล องกั บ ความต องการของตลาดแรงงาน ่ ้ ้ ้ และศั กยภาพของหน่วยงาน โดยจัดระบบการปฏิบต ั งิ าน (1) มีกระบวนการประชาสั มพันธเข าถึ ง กลุ มเป ่ ้ าหมาย ์ ้ (2) มีก ระบวนการแนะแนวการฝึ กอาชี พ (ทดสอบความถนั ด ความสนใจและให้คาปรึกษา) (3) มีกระบวนการคัดเลือกที่เป็ นมาตรฐาน (นายจ้างมีส่วนร่วม ในกระบวนการ) (4) มีร ะบบเสริม ความรู้ พื้น ฐานให้ มีค วามพร้ อมที่จ ะเข้ าฝึ กใน สาขาอาชีพนั้นๆ กอนเข าสู ่ ้ ่ กระบวนการฝึ ก 3.3 เครือ ่ งมือ เครือ ่ งจักรอุปกรณ ์ สิ่ งอานวยความสะดวก สถาบัน /ศู น ย พั ฒ นาฝี มือ แรงงานต้ องบริห ารจัด การเครื่ อ งมือ ์ เครือ ่ งจักร อุปกรณ ์ สิ่ งอานวยความสะดวกให้อยูในสภาพที ่เอือ ้ ตอการ ่ ่ ฝึ กทีม ่ ค ี ุณภาพ (1) สภาพดีเ หมาะสมกับ หลัก สู ต ร สอดคล้ องกับ เทคโนโลยี ที่ ทัน สมัย และมีค วามหลากหลายสอดคล้ องกับ ที่ส ถานประกอบการใช้ อยู่ (ตลาด) (2) แผนการใช้เครือ ่ งมือ เครือ ่ งจักรให้มีประสิ ทธิภาพ (คุมค ้ า) ่ (3) แผนการบริหารวัสดุให้พรอมก อนการฝึ ก ้ ่ (4) เตรียมความพรอมของเครื อ ่ งจักรกอนการฝึ ก ้ ่ สถาบั น /ศู น ย ์ พั ฒ นาฝี มื อ แร งงานต้ องด าเนิ น งานให้ ส อด คล้ องและ ครอบคลุมตามข้อกาหนดดังตอไปนี ้ ่ 16


(1) มีกระบวนการ การจัดหาทันตอความต องการใช ่ ้ ้ (2) มีการบารุงรักษาอยางถู ก ต องตามคู มื อ การใช ่ ้ ่ ้ (3) จัดหาเครือ ่ งมือ เครือ ่ งจักร ให้เพียงพอตาม มาตรฐานการ จัดการฝึ ก (4) จัดให้มีอุปกรณความปลอดภั ยในการฝึ ก ์ (5) มีคมื ู่ อการใช้และฝึ กอบรมวิธก ี ารใช้ (6) มีการบันทึกการใช้งานเครือ ่ งจักรและกากับดูแลให้อยูในสภาพ ่ พรอมใช ่ งจักรได้ ้ ้งาน สามารถตรวจสอบชั่วโมงการใช้งานของเครือ 3.4 สถานทีฝ ่ ึก สถาบัน /ศู น ย ์พั ฒ นาฝี มื อ แรงงานต้ องจั ด ให้ มี ส ถานที่ ฝึ กที่ ไ ด้ มาตรฐานเหมาะกับสาขาทีฝ ่ ึ กและมีการใช้พืน ้ ทีอ ่ ยางคุ มค ่ ้ า่ (1) มีการจัดผังโรงฝึ กงานตามมาตรฐานการจัดฝึ กของกรมพัฒนาฝี มือ แรงงาน (2) มีการจัดการดานสิ ่ งแวดลอมในโรงฝึ กงานและไมเกิ ้ ้ ่ ดมลภาวะ (3) มี ก ารจั ด ระ บบความปลอด ภั ย ในโร งฝึ กงานตาม กฎหมาย ความปลอดภัย (4) มีการจัดระเบียบการใช้ โรงฝึ กงาน (เพื่อสร้างนิสั ยอุต สาหกรรม และความปลอดภัยในการทางาน) (5) มีการวางแผนการใช้พืน ้ ทีก ่ ารฝึ กอยางมี ประสิ ทธิภาพ ่ 3.5 บุคลากรทุกคน ทุกระดับ ต้องมีความรู้ความสามารถที่ตรงกับงานมีความรับผิดชอบ และมี การบริหารบุคคลากรให้ปฏิบต ั งิ านได้อย่างเต็มที่ โดยมีการดาเนินการ ครอบคลุมข้อกาหนดดังนี้ (1) มีกระบวนการคัดเลือกและบรรจุแตงตั ่ ง้ ที่โปร่งใสเหมาะสมกับงาน (รวมทัง้ วิทยากรภายนอก) (2) มีการพัฒนาบุคลากรอยางเป็ นระบบสอดคลองกั บ Career path ่ ้ (3) มีการบันทึกผลการปฏิบต ั งิ านและประเมินผลการปฏิบต ั งิ านตาม ระยะเวลาทีก ่ าหนดอย่างเป็ นระบบ (4) มีระบบในการพิจารณาให้คุณและโทษทีเ่ ป็ นธรรม (5) มีการกาหนดโครงสร้างบุคลากรทีส ่ อดคลองกั บภารกิจ ้ (6) มีการทดสอบประเมินศั กยภาพบุคลากร ตามเกณฑและระยะเวลา ์ ทีก ่ าหนด เพือ ่ การพัฒนาบุคลากร (7) มีการสื่ อให้ผู้รับผิดชอบทราบถึงภาระหน้าทีค ่ วามรับผิดชอบ (Job description) อยางเปิ ดเผย ณ จุดทางาน ่ (8) เตรียมความพร้อมของบุคลากรตามสาขาตาง ๆ ่ 16

(9) บริหารงานให้สอดคลองกั บมาตรฐานการทางานของบุคลากร ้ (10) มีก ารกาหนดคุณ ลัก ษณะของบุคลากรให้สอดคล้องกับลักษณะงาน (J/S) มีแ ผนและพัฒ นาบุค ลากรอย่างเป็ นระบบสอดคล้องกับ ความก้าวหน้ า (Career Path) และดานเทคโนโลยี ้ 3.6 หลักสูตร ต้ องจัด ให้ มี ห ลัก สู ต รที่ ม ี ค วามสอดคล้ องกับ ความต้ องการของตลาด แรงงานมี ม าตรฐานการฝึ กเดี ย วกัน เนื้ อ หาหลัก สู ต รและระยะเวลาเป็ น มาตรฐานเดีย วกัน ฝึ กแล้ วสามารถท างานได้ จริง โดยมีก ารด าเนิ น การ ครอบคลุมขอก ้ าหนดดังนี้ (1)มีการสรางและพั ฒนาหลักสูตรทีต ่ อบสนองตอความต องการของพื น ้ ที่ ้ ่ ้ (2) กาหนดให้ผูรั บ การฝึ กได ศึ ก ษาดู ง านหรื อ พบผู ประกอบการ ้ ้ ้ (3) มีการสรางและพั ฒนาหลักสูตรทีเ่ ป็ นความรวมมื อของสถาน ้ ่ ประกอบการกับสถาบัน/ศูนยพั ฒ นาฝี ม อ ื แรงงาน ์ (4) กาหนดหลักสูตรให้สอดคลองกั บมาตรฐานฝี มอ ื แรงงาน ้ (5) กาหนดเกณฑในการประเมิ น หลั ก สู ต รให มี ค วามสอดคล องอย าง ้ ้ ่ ์ ชัดเจน 3.7 การประชาสั มพันธ ์ สถาบัน/ศูน ย พั ์ ฒ นาฝี มือ แรงงานต้องจัด การประชาสั ม พันธ ให ์ ้ ทั้งภาครัฐ เอกชนและประชาชน รู้จักภารกิจสถาบัน/ ศูนยพั ์ ฒนาฝี มือแรงงานอย่างทั่วถึง การให้ ความร่ วมมื อ ในการให้ ข้ อมู ล ที่ เ กี่ ย วข้ องและเผยแพร่ ต่ อเนื่ อ งแก่ ผู้เกีย ่ วข้ อง กระตุ้นให้ ประชาชนเข้ามาใช้บริการประชาสั ม พันธให ์ ้ บุคลากร ภายในไดทราบข าวสารครบถ วน สามารถเผยแพรได ้ ่ ้ ่ ้ถูกต้อง และให้แรงงาน ในสถานประกอบการหรือ ผู้ ประกอบการใช้ บริก ารการพัฒ นาฝี มือ แรงงาน โดยมีการดาเนินการครอบคลุมตามข้อกาหนดดังนี้ (1) การเผยแพรผ ่ อตางๆ และมีระบบการสอบทานขาวสารจาก ่ านสื ่ ่ ่ กลุมเป ่ ้ าหมาย (2) เข้าถึงกลุมเป ่ ้ าหมายโดยตรง (Direct Marketing) (3) สร้างมาตรการการจูงใจให้แรงงานในสถานประกอบการและสถาน ประกอบการรวมมื อในการพัฒนาฝี มอ ื แรงงาน ่ (4) มีระบบการประชาสั มพันธผ ่ ้ าหมายอย่างมีประสิ ทธิภาพ ์ ่านกลุมเป 3.8 งบประมาณ ตองมี แผนงบประมาณอยางเหมาะสมและเพี ยงพอตอภารกิ จและมีการใช้ ้ ่ ่ งบประมาณอยางคุ มค ่ ้ า่ โดยมีการดาเนินการครอบคลุมตามข้อกาหนด ดังนี้ (1) กาหนดตนทุ บหลักสูตรในแตละ ้ นตอหน ่ ่ วย(Unit cost)ให้สอดคลองกั ้ ่ สาขา (2) วางแผนการใช้วัสดุฝึก บุคลากร สถานที่ รวมกั นในการฝึ กวิชา ่ พืน ้ ฐาน เช่น ไฟฟ้าเบือ ้ งตน ่ ม ตะไบ ฯลฯ ้ เชือ (3) กาหนดมาตรการ การนาวัสดุฝึกทีใ่ ช้แลวกลั บมาปรับใช้ใหม่ ้ 17


ตารางแสดงขอก ้ าหนดมาตรฐานคุณภาพ การพัฒนาฝี มือแรงงาน กระบวนการกอนการฝึ ก ่ ข้อกาหนดด้านมาตรฐาน คุณภาพ

ปัจจัย

ปัจจัยแห่งคุณภาพ

1.ความ ตองการของ ้ ตลาด แรงงานฝี มอ ื (Skill Demand)

1.ขอมู ้ ลความ เคลือ ่ นไหวและความ ตองการของ ้ ตลาดแรงงานที่ ถูกตอง ครบถวน ้ ้ เชือ ่ ถือได้

1.มีระบบการหาความตองการของ ้ ตลาดแรงงาน (ทัง้ ดานอุ ปสงค ์ ้ และ อุปทานแรงงาน) 2.วิเคราะหแนวโน ้ มความตองการ ้ ์ ตลาดแรงงานในอนาคต 3.นาผลการวิเคราะหมาใช ้ในการ ์ จัดทาแผนการพัฒนาฝี มอ ื แรงงาน 4.สรางความสั มพันธที ่ ก ี บ ั ้ ์ ด สถานประกอบการและคณะที่ ปรึกษาทัง้ ในรูปแบบทีเ่ ป็ น ทางการหรือไมเป็ ่ นทางการและ มีการนาผลทีไ่ ดมาใช ้ ้ประโยชน์ ในการดาเนินงาน

2. ผูรั ้ บการฝึ ก

1.ผูรั ้ บการฝึ กมี คุณสมบัต ิ ความ ตัง้ ใจและความพรอม ้ ทีจ ่ ะเขาฝึ ้ กในสาขาที่ ตองการ ้ 2. จานวนกลุมเป ่ ้ าหมาย ทีส ่ อดคลองกั บ ้ ความตองการของ ้ ตลาดแรงงาน และศั กยภาพของ หน่วยงาน

1.มีกระบวนการประชาสั มพันธ ์ เขาถึ ้ งกลุมเป ่ ้ าหมาย 2.มีกระบวนการแนะแนวการฝึ ก อาชีพ (ทดสอบความถนัด ความสนใจและให้คาปรึกษา) 3.มีกระบวนการคัดเลือกทีเ่ ป็ น มาตรฐาน (นายจางมี ส่วนรวม ้ ่ ในกระบวนการ) 4.ระบบเสริมความรูพื ้ ฐานให้มี ้ น ความพรอมที จ ่ ะเข าฝึ ้ ้ กในสาขา อาชีพนั้น ๆกอนเข ่ ้าสู่ กระบวนการฝึ ก

18

ปัจจัย

ปัจจัยแหงคุ ่ ณภาพ

3 เครือ ่ งมือ เครือ ่ งจักร อุปกรณ ์ สิ่ งอานวย ความสะดวก

1.สภาพดี เหมาะสมกับ หลักสูตร สอดคลอง ้ กับเทคโนโลยีที่ ทันสมัยและมีความ หลากหลายสอดคลอง ้ กับทีส ่ ถานประกอบการ ใช้อยู่ (ตลาด) 2.แผนการใช้เครือ ่ งมือ เครือ ่ งจักรให้มี ประสิ ทธิภาพ (คุมค ้ า) ่ 3.แผนการบริหารวัสดุให้ พรอมก อนการฝึ ก ้ ่ 4.เตรียมความพรอมของ ้ เครือ ่ งจักรกอนการฝึ ก ่

4.สถานทีฝ ่ ึ ก 1.สถานทีฝ ่ ึ กทีไ่ ด้ มาตรฐานเหมาะกับ สาขาทีฝ ่ ึก 2.ใช้พืน ้ ทีอ ่ ยางคุ มค ่ ้ า่

ขอก ้ าหนดดานมาตรฐาน ้ คุณภาพ 1. กระบวนการ การจัดหาทันตอ ่ ความตองการใช ้ ้ 2.มีการบารุงรักษาอยางถู กตอง ่ ้ ตามคูมื ่ อการใช้ 3.จัดหาเครือ ่ งมือ เครือ ่ งจักรให้ เพียงพอตาม มาตรฐานการ จัดการฝึ ก 4.จัดให้มีอุปกรณความปลอดภั ยใน ์ การฝึ ก 5.มีคมื ู่ อการใช้และฝึ กอบรม วิธก ี ารใช้ 6.มีการบันทึกการใช้งาน เครือ ่ งจักรและกากับดูแลให้อยู่ ในสภาพพรอมใช ้ ้งานสามารถ ตรวจสอบชั่วโมงการใช้งานของ เครือ ่ งจักรได้

1.มีการจัดผังโรงฝึ กงานตาม มาตรฐานการจัดฝึ กของกรม พัฒนาฝี มอ ื แรงงาน 2.มีการจัดการดานสิ ่ งแวดลอมใน ้ ้ โรงฝึ กงานและไมเกิ ่ ดมลภาวะ 3.มีการจัดระบบความปลอดภัยใน โรงฝึ กงานตามกฏหมายความ ปลอดภัย 4.มีการจัดระเบียบการใช้โรง ฝึ กงาน (เพือ ่ สรางนิ สัย ้ อุตสาหกรรมและความปลอดภัย ในการทางาน) 5.มีการวางแผนการใช้พืน ้ ทีก ่ าร ฝึ กอยางมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ่

19


ปัจจัย

ปัจจัยแห่งคุณภาพ

ข้อกาหนดด้านมาตรฐานคุณภาพ

5. บุคลากร (ทุกคน /ทุก ระดับ)

1.มีความรู้ความสามารถ ทีต ่ รงกับงาน 2.มีความรับผิดชอบ 3.บริหารบุคลากรให้ ปฏิบต ั งิ านอยางเต็ ม ่ ประสิ ทธิภาพ 4.มีความประพฤติ เหมาะสมกับการเป็ น วิทยากร ทัง้ ภายใน และภายนอก 5.มีจต ิ สานึกและเป็ นมือ อาชีพ 6.มีจานวนเหมาะสมกับ ปริมาณงาน 7.มีจรรยาบรรณใน วิชาชีพ 8.มีการทางานเป็ นทีม และมีความสามัคคี 9.มีความคิดสรางสรรค ้ ์ และยอมรับในคาติ ชม

1.มีกระบวนการคัดเลือกและ บรรจุแตงตั ่ ง้ ทีโ่ ปรงใสเหมาะสม ่ กับงาน(รวมทัง้ วิทยากร ภายนอก) 2.มีการพัฒนาบุคลากรอยางเป็ น ่ ระบบสอดคลองกั บ Career ้ path 3.มีการบันทึกผลการปฏิบต ั งิ าน และประเมินผลการปฏิบต ั งิ าน ตามระยะเวลาทีก ่ าหนดอยาง ่ เป็ นระบบ 4.มีระบบในการพิจารณาให้คุณ และโทษทีเ่ ป็ นธรรม 5.มีการกาหนดโครงสราง ้ บุคลากรทีส ่ อดคลองกั บภารกิจ ้ 6.มีการทดสอบประเมินศั กยภาพ บุคลากรตามเกณฑและ ์ ระยะเวลาทีก ่ าหนดเพือ ่ การ พัฒนาบุคลากร 7.มีการสื่ อให้ผูรั ้ บผิดชอบทราบ ถึงภาระหน้าทีค ่ วามรับผิดชอบ (Job description) อยาง ่ เปิ ดเผย ณ จุดทางาน 8.เตรียมความพรอมของบุ คลากร ้ ตามสาขาตางๆ ่ 9.บริหารงานให้สอดคลองกั บ ้ มาตรฐานการทางานของ บุคลากร 10.มีการกาหนดคุณลักษณะของ บุคลากรให้สอดคลองกั บ ้ ลักษณะงาน(J/S) มีแผนและ พัฒนาบุคลากรอยางเป็ น ่ ระบบสอดคลองกั บ ความ ้ กาวหน ้ ้ า(Career Path) และ ดานเทคโนโลยี ้

20

ปัจจัยแหงคุ ่ ณภาพ

ขอก ณภาพ ้ าหนดดานมาตรฐานคุ ้

6.หลักสูตร

1.มีความสอดคลองกั บ ้ ความตองการของ ้ ตลาดแรงงาน 2.มีมาตรฐานการฝึ ก เดียวกัน 3.เนื้อหาหลักสูตรและ ระยะเวลาเป็ น มาตรฐานเดียวกันฝึ ก แลวสามารถท างานได้ ้ จริง

1.มีการสรางและพั ฒนาหลักสูตร ้ ทีต ่ อบสนองตอความต องการ ่ ้ ของพืน ้ ที่ 2.กาหนดหลักสูตรให้ผูรั ้ บการฝึ ก ไดศึ ก ษาดู ง าน หรื อ พบ ้ ผูประกอบการ ้ 3.มีการสรางและพั ฒนาหลักสูตร ้ ทีเ่ ป็ นความรวมมื อของสถาน ่ ประกอบการกับ สพภ./ ศพจ. 4.กาหนดหลักสูตรให้สอดคลอง ้ กับมาตรฐานฝี มอ ื แรงงาน 5.กาหนดเกณฑในการประเมิ น ์ หลักสูตรให้มีความสอดคลอง ้ อยางชั ดเจน ่

7.การประชา สั มพันธ ์

1.ภาครัฐ เอกชน และ ประชาชนรูจั ้ กภารกิจ ของสพภ.และ ศพจ. 2.ให้ความรวมมื อในการ ่ ให้ขอมู ล ที เ ่ กี ย ่ วของ ้ ้ และเผยแพรต อเนื ่ ่ ่ อง แกผู ่ วของ ่ เกี ้ ย ้ 3.ให้ประชาชนเข้ามา ใช้บริการ 4.ให้บุคลากรภายในได้ ทราบขาวสาร ่ ครบถวน สามารถ ้ เผยแพรได ่ ถู ้ กตอง ้ 5.ให้แรงงานในสถาน ประกอบการหรือ ผูประกอบการใช ้ ้ บริการ การพัฒนา ฝี มอ ื แรงงาน

1.การเผยแพรผ ่ อตาง ๆ ่ านสื ่ ่ และมีระบบการสอบทาน ขาวสารจากกลุ มเป ่ ่ ้ าหมาย 2.เขาถึ ง กลุ มเป าหมายโดยตรง ้ ่ ้ (Direct Marketing) 3.สรางมาตรการการจู งใจให้ ้ แรงงานในสถานประกอบการ และสถานประกอบการรวมมื อ ่ ในการพัฒนาฝี มอ ื แรงงาน 4.มีระบบการประชาสั มพันธผ ่ ์ าน กลุมเป าหมายอย างมี ่ ้ ่ ประสิ ทธิภาพ

ปัจจัย

21


ปัจจัย 8. งบประมาณ

ปัจจัยแหงคุ ่ ณภาพ 1.ไดรั ้ บงบประมาณ อยางเหมาะสมและ ่ เพียงพอตอภารกิ จ ่ 2.การใช้งบประมาณ อยางคุ มค ่ ้ า่

22

ข้อกาหนดด้านมาตรฐาน คุณภาพ 1.กาหนดตนทุ ้ นตอหน ่ ่ วย (Unit cost) ให้สอดคลองกั บ ้ หลักสูตรในแตละสาขา ่ 2.วางแผนการใช้วัสดุฝึก บุคลากร สถานที่ รวมกั น ่ ในการฝึ กวิชาพืน ้ ฐาน เช่น ไฟฟ้าเบือ ้ งตน ่ ม ตะไบ ้ เชือ ฯลฯ 3.กาหนดมาตรการการนาวัสดุ ฝึ กทีใ่ ช้แลวกลั บมาปรับใช้ ้ ใหม่

4. ขอก ้ าหนดมาตรฐานคุณภาพ กระบวนการฝึ กฝี มือแรงงาน 4.1 ครูฝึก สถาบัน/ศูนยพั ื แรงงานตองมั น ่ ใจวาจะสามารถจั ดหา พัฒนา ้ ่ ์ ฒนาฝี มอ สรางให มี ค รู ฝ ึ ก ที ม ่ เ ี พี ย บพร อมและมี ม าตรฐาน ้ ้ ้ (1)มีความรูความสามารถ ้ (2)มีประสบการณ ์ (3) มีความตระหนัก รับผิดชอบ ตัง้ ใจ (4) ความสามารถในการถายทอด ่ (5) มีใจรักในวิชาชีพ รักษาระเบียบวินย ั (6) มีพน ื้ ฐานความรูตรงตามสาขาอาชี พ ที จ ่ ะฝึ ก ้ (7) มีความรู้ความสามารถในดานการให ค ้ ้ าปรึกษา (8) มีความพรอมที จ ่ ะรั บ สิ ่ ง ใหม พั ฒ นาตนเอง ้ ่ (9) เป็ นตนแบบในการประกอบอาชี พ ้ ทัง้ นี้สถาบัน/ศูนยพั ื แรงงานตองมี กระบวนการและวิธก ี ารตาม ้ ์ ฒนาฝี มอ แนวทางทีก ่ าหนด และแนวทางอืน ่ ใดทีส ่ ามารถบรรลุผลตามคุณสมบัตก ิ ลาว ่ ขางต นครอบคลุ ม ดั ง นี ้ ้ ้ (1) การอบรมพัฒนาจิตใจ (2) มีการจัดทาแผนและดาเนินการพัฒนาครูฝึกอยางต อเนื ่ ่ ่อง (3) กระบวนการสรางแรงจู ง ใจ (Incentive) ตามเกณฑ มาตรฐานการ ้ ์ ทางาน (4) กาหนดมาตรฐานการทางานทีเ่ หมาะสม (5) มีกระบวนการประเมินประสิ ทธิภาพการทางานอยางสม า่ เสมอ ่ (6) มีการปฐมนิเทศกอนท างานและนิ เ ทศการฝึ กอย างสม า เสมอ ่ ่ ่ 4.2 ผูเข ารั บ การฝึ ก ้ ้ สถาบัน/ศูนยพั ื แรงงานตองมี การดาเนินงานเพือ ่ ให้วิธก ี ารฝึ กมี ้ ์ ฒนาฝี มอ ผลสั มฤทธิต ์ ามเกณฑมาตรฐาน ดั ง นี ้ ์ (1) มีความตัง้ ใจ ใจรักในอาชีพทีจ ่ ะฝึ ก (2) มีพน ื้ ฐานความรูที ส ่ อดคล องกั บ สาขาอาชี พทีจ ่ ะเขารั ้ ้ ้ บการฝึ ก (Basic knowledge) (3) มีระเบียบวินย ั ใฝ่ความรู้ มีคุณธรรม ทัง้ นี้กระบวนการและแนวทางการดาเนินงานอยางน ม ่ ้ อยตองครอบคลุ ้ ขอก าหนด ดั ง นี ้ ้ (1) มีคณะครูผ้ปกครองที ู ม ่ ป ี ระสิ ทธิภาพ (2) จัดให้มีกระบวนการให้คาปรึกษาอยางเป็ นระบบและตอเนื ่ ่ ่อง (3) มีการปฐมนิเทศ(กอนการฝึ ก) มั ช ฌิ ม นิ เ ทศ (ก อนการฝากฝึ ก) ปัจฉิม ่ ่ นิเทศ (สาเร็จการฝึ ก)

23


(4) มีกระบวนการสรางนิ สัยอุตสาหกรรม ้ (5) อบรมพัฒนาจิตใจ (6) มีการฝากฝึ กในสถานประกอบการทีต ่ รงสาขา 4.3 วิธก ี ารฝึ ก สถาบัน/ศูนยพั ื แรงงานตองมี การดาเนินงานเพือ ่ ให้มีวธ ิ ก ี ารฝึ ก ้ ์ ฒนาฝี มอ มีผลสั มฤทธิต ์ ามเกณฑมาตรฐาน ดั ง นี ้ ์ (1) มีการวางแผนการฝึ กทีด ่ ป ี ฏิบต ั ต ิ ามแผนทีว ่ างไว้ (2) เตรียมอุปกรณ ์ สื่ อการฝึ ก ฯลฯ (3) บันทึกผลการฝึ ก (4) วัดผลระหวางการฝึ กและจบฝึ ก ่ (5) มีระบบการฝึ กการวัดผลทีม ่ ป ี ระสิ ทธิภาพ สอดคลองกั บแผนการฝึ ก ้ (6) มีกระบวนการฝึ กซา้ (กรณีไมผ านการประเมิ น ) ่ ่ (7) มีวธ ิ ก ี ารฝึ กตามตามเกณฑมาตรฐานของกรมพั ฒนาฝี มอ ื แรงงาน ์ ทัง้ นี้สถาบัน/ศูนยพั ฒ นาฝี ม อ ื แรงงานจะต องจั ด ให ระบบการปฏิ บ ต ั ก ิ าร ้ ้ ์ ครอบคลุมขอก าหนด ดั ง นี ้ ้ (1) มีการฝึ กตามคูมื ่ อการฝึ ก (2) มีการตรวจสอบการฝึ กโดยผูบั า่ เสมอ ้ งคับบัญชา อยางสม ่ (3) สรางเกณฑ มาตรฐานการวั ด ผลของผู รั บ การฝึ ก ้ ้ ์ (4) สรางกระบวนการฝึ กซา้ (Re-Training) ้ (5) มีการปฏิบต ั ต ิ าม ระเบียบการฝึ ก (6) มีคมื ู่ อของผูรั ่ น ั สมัยในแตละสาขา ้ บการฝึ กทีท ่ (7) มีกระบวนการฝึ กโดยคานึงถึงความปลอดภัยและสิ่ งแวดลอม ้ (อยูในนิ สัยอุตสาหกรรม) ่ (8) มีระบบการส่งตอเพื อ ่ ให้ไดรั ่ ้ บการพัฒนา ตามความตองการของ ้ ผูรั บ การฝึ ก ้ (9) มีการบันทึกการฝึ ก (10) มีการคนคว ่ นามา ้ ้าติดตามความกาวหน ้ ้ าทางเทคโนโลยีเพือ ประยุกตใช ในการฝึ ก ์ ้ (11) มีการส่งเสริมกิจกรรมการหาความรูในสาขาอาชี พทีเ่ กีย ่ วของ ้ ้ เพิม ่ เติมของผูเข ารั บ การฝึ ก ้ ้ (12) มีการใช้สื่ อและอุปกรณช ์ ่ วยฝึ ก 4.4 วัสดุ ครุภณ ั ฑ ์ เครือ ่ งมือ ตองมี การ วางแผนการใช้และบารุงรักษา และสามารถใช้งานให้ถูก ้ วิธแ ี ละเหมาะสมกับงาน โดยมีการกาหนดระบบการปฏิบต ั งิ านครอบคลุม หรือมากกว่าข้อกาหนด ดังนี้

24

(1) ดาเนินการให้ตรงตามแผนการใช้และบารุงรักษาเครือ ่ งมือเครือ ่ งจักร (2) มีกระบวนการตรวจสอบสภาพกอนการใช งานทุ ก ครั ง ้ บั น ทึ กการใช้ ่ ้ งาน การบารุงรักษา (3) มีก ารค้นคว้าและติดตามความก้าวหน้ าทางเทคโนโลยีเพื่อน ามาเป็ น ขอมู ้ ลในการจัดหา 4.5 กระบวนการฝากฝึ ก สถาบัน/ศูนยพั ่ ให้กระบวนการ ์ ฒนาฝี มือแรงงานต้องมีการดาเนินงานเพือ ฝากฝึ กมีเกณฑมาตรฐาน ดั ง นี ้ ์ (1) มีขอมู กในกิจการ ้ ลแหลงฝากฝึ ่ (2) กาหนดแผนการฝากฝึ กในกิจการ (3) มีการตรวจเยี่ยมผู้รับการฝึ กเพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลสาหรับใช้ ในการพัฒนาฝี มอ ื แรงงาน (4) มีก ารประเมิน ผลการฝึ กด้ วยข้ อเท็ จ จริง และประเมิน ความเหมาะสม สถานประกอบการไดปฏิ ั ต ิ ามขอตกลง ้ บต ้ (5) ติดตอจั ด หางานจั ง หวั ด ่ (6) ผูรั าและสร้างความคุนเคยในบรรยากาศการ ้ บการฝี กมีโอกาสไดงานท ้ ้ ทางานจริง ทั้ง นี้ ส ถาบัน /ศูน ย พั ั ก ิ าร ์ ฒ นาฝี มือ แรงงานจะต้องจัด ให้ มีร ะบบการปฏิบ ต ครอบคลุมข้อกาหนด ดังนี้ (1) ติดต่อพบปะสถานประกอบการด้วยตนเอง อย่าส่งเอกสารเพียงอย่าง เดียว (2) ปฏิบต ั ต ิ ามแผนการฝากฝึ กอยางเคร งครั ด ่ ่ (3) ตรวจเยีย ่ มสถานประกอบการและผู้รับการฝึ กอยางสม า่ เสมอ ่ (4) กาหนดแบบฟอรมประเมิ นผล เป็ นมาตรฐานเดียวกัน ์ (5) คัดเลือกสถานประกอบการทีส ่ ามารถสร้างประสบการณแก ่ ้รับการฝึ ก ์ ผู และมีโอกาสไดงานท า ้ (6) วางแผนการฝากฝึ กร่วมกับสถานประกอบการ 4.6 การประเมินระบบการฝึ ก ต้องมีการนาเอาผลการประเมินมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาระบบการ ฝึ กเพือ ่ ให้สามารถตอบสนองตอความต องการของตลาดแรงงานฝี มือ โดยให้มี ่ ้ แนวทางการปฏิบต ั ค ิ รอบคลุมอยางน ่ ้ อยตามข้อกาหนด ดังนี้ (1) ตัง้ คณะกรรมการเพือ ่ ทาการประเมินระบบการฝึ ก (2) สร้างแบบประเมินแตละขั น ้ ตอนการฝึ ก ่ (3) มีก ารประเมิน ผลการด าเนิ น งานทุ ก ขั้น ตอนเพื่อ น ามาปรับ ปรุ ง และ พัฒนาขัน ้ ตอนให้ตรงตามวัตถุประสงคมากขึ น ้ ์

25


4.7 งบประมาณ สถาบัน/ศูนยพั ื แรงงาน ตองมี งบประมาณทีพ ่ อเพียงเหมาะสม ้ ์ ฒนาฝี มอ กับมาตรฐานการฝึ กและทันกับความตองการ โดยมี แ นวทางการด าเนินงาน ้ ทีค ่ รอบคลุมขอก าหนดดั ง นี ้ ้ (1) มีการกาหนดตนทุ ้ นตอหน ่ ่ วยในแตละสาขาช ่ ่ างตามมาตรฐานการ จัดฝึ ก (2) มีการจัดสรรงบประมาณสอดคลองกั บแผน ปฏิบต ั ก ิ าร ้ (3) มีการปฏิบต ั ต ิ ามระบบการหารายไดและการใช จ ายเพื อ ่ ใช้ในการ ้ ้ ่ พัฒนาฝี มอ ื แรงงาน

26

ตารางแสดง ขอก าหนดมาตรฐานคุ ณภาพการพัฒนาฝี มือแรงงาน ้ กระบวนการฝึ กฝี มอ ื แรงงาน ปัจจัย

ขอก ้ าหนดดานมาตรฐาน ้ คุณภาพ

ปัจจัยแหงคุ ่ ณภาพ

1.ครูฝึก

1.มีความรู้ความสามารถ 2.มีประสบการณ ์ 3.มีความตระหนัก รับผิดชอบ ตัง้ ใจ 4.ความสามารถในการ ถายทอด ่ 5.มีใจรักในวิชาชีพ รักษาระเบียบวินย ั 6.มีพน ื้ ฐานความรูตรงตาม ้ สาขาอาชีพทีจ ่ ะฝึ ก 7.มีความรู้ความสามารถใน ดานการให ้ ้คาปรึกษา 8.มีความพรอมที จ ่ ะรับสิ่ ง ้ ใหม่ พัฒนาตนเอง 9 . เ ป็ น ต้ น แ บ บ ใ น ก า ร ประกอบอาชีพ

1.การอบรมพัฒนาจิตใจ 2 . มี ก า ร จั ด ท า แ ผ น แ ล ะ ดาเนินการพัฒนาครูฝึกอยาง ่ ตอเนื ่ ่ อง 3.กระบวนการสรางแรงจู งใจ ้ (Incentive) ตามเกณฑ ์ มาตรฐานการทางาน 4.กาหนดมาตรฐานการทางาน ทีเ่ หมาะสม 5 . มี ก ร ะ บ ว น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร ท า ง า น อยางสม า่ เสมอ ่ 6.มีก ารปฐมนิ เ ทศก่ อนท างาน แ ล ะ นิ เ ท ศ ก า ร ฝึ ก อ ย่ า ง สมา่ เสมอ

2.ผูเข ้ ารั ้ บ การฝึ ก

1.มีความตัง้ ใจ ใจรักใน อาชีพทีจ ่ ะฝึ ก 2.มีพน ื้ ฐานความรูที ้ ่ สอดคลองกั บ สาขาอาชี พ ้ ทีจ ่ ะเขารั บ การฝึ ก ้ (Basic knowledge) 3.มีระเบียบวินย ั ใฝ่ความรู้ มีคุณธรรม

1.มีคณะครูผ้ปกครองที ู ม ่ ี ประสิ ทธิภาพ 2.จัดให้มีกระบวนการให้ คาปรึกษาอยางเป็ นระบบและ ่ ตอเนื ่ ่ อง 3.มีการปฐมนิเทศ (กอนการ ่ ฝึ ก) มัชฌิมนิเทศ (กอนการ ่ ฝากฝึ ก) ปัจฉิมนิเทศ (สาเร็จการฝึ ก) 4.มีกระบวนการสรางนิ สัย ้ อุตสาหกรรม 5.อบรมพัฒนาจิตใจ 6.มีการฝากฝึ กในสถาน ประกอบการทีต ่ รงสาขา

27


ปัจจัย

3.วิธก ี ารฝึ ก

ปัจจัยแหงคุ ่ ณภาพ

ขอก ้ าหนดดานมาตรฐาน ้ คุณภาพ

1.มีการวางแผนการฝึ กที่ด ี ปฏิบต ั ต ิ ามแผนทีว่ างไว้ 2.เตรียมอุปกรณสื์ ่ อการฝึ ก ฯลฯ 3.บันทึกผลการฝึ ก 4.วัดผลระหวางการฝึ กและ ่ จบฝึ ก 5 . มี ร ะ บ บ ก า ร ฝึ ก ก า ร วั ด ผลที่ ม ี ป ระ สิ ทธิ ภ าพ สอดคลองกั บแผนการฝึ ก ้ 6 . มี ก ร ะ บ ว น ก า ร ฝึ ก ซ้ า ( ก ร ณี ไ ม่ ผ่ า น ก า ร ประเมิน) 7 . มี วิ ธี ก า ร ฝึ ก ต า ม ต า ม เกณฑมาตรฐานของกรม ์ พัฒนาฝี มอ ื แรงงาน

1.มีการฝึ กตามคูมื ่ อการฝึ ก 2.มีก ารตรวจสอบการฝึ กโดย ผูบั า่ เสมอ ้ งคับบัญชาอยางสม ่ 3.สร้ างเกณฑ ์มาตรฐานการ วัดผลของผูรั ้ บการฝึ ก 4.สรางกระบวนการฝึ กซา้ ้ (Re-Training) 5.มีก ารปฏิบ ต ั ต ิ ามระเบีย บการ ฝึ ก 6 . มี คู่ มื อ ข อ ง ผู้ รั บ ก า ร ฝึ ก ที่ ทันสมัยในแตละสาขา ่ 7 . มี ก ร ะ บ ว น ก า ร ฝึ ก โ ด ย ค านึ ง ถึง ความปลอดภัย และ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ( อ ยู่ ใ น นิ สั ย อุตสาหกรรม) 8.มีระบบการส่งตอเพื อ ่ ให้ไดรั ่ ้ บ ก า ร พั ฒ น า ต า ม ค ว า ม ตองการของผู รั ้ ้ บการฝึ ก 9.มีการบันทึกการฝึ ก 10.มีการคนคว าติ ้ ้ ดตาม ความกาวหน ้ ้ าทาง เทคโนโลยีเพือ ่ นามา ประยุกตใช ในการฝึ ก ์ ้ 11.มีก ารส่ งเสริม กิจ กรรมการ หาความรูในสาขาอาชี พที่ ้ เกี่ย วข้ องเพิ่ม เติม ของผู้ เข้ า รับการฝึ ก 12 .มี ก า ร ใ ช้ สื่ อแ ละ อุ ป กร ณ ์ ช่วยฝึ ก

28

ปัจจัย

ปัจจัยแหงคุ ่ ณภาพ

ขอก ้ าหนดดานมาตรฐาน ้ คุณภาพ

4.วัสดุ ครุภณ ั ฑ์ เครือ ่ งมือ

1.วางแผนการใช้และ บารุงรักษา 2.ใช้งานให้ถูกวิธแ ี ละ เหมาะสมกับงาน

1.ดาเนินการให้ตรงตาม แผนการใช้และบารุงรักษา เครือ ่ งมือเครือ ่ งจักร 2.มีกระบวนการตรวจสอบ สภาพกอนการใช ่ ้งานทุกครัง้ บันทึกการใช้งาน การ บารุงรักษา 3.มีการคนคว ้ ้าและติดตาม ความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีเพือ ่ นามาเป็ น ขอมู ้ ลในการจัดหา

5.กระบวนการ ฝากฝึ ก

1.ขอมู กใน ้ ลแหลงฝากฝึ ่ กิจการ 2.กาหนดแผนการฝากฝึ ก ในกิจการ 3.มีการตรวจเยีย ่ มผูรั ้ บการ ฝึ กเพือ ่ ให้มีการ แลกเปลีย ่ นขอมู ้ ลสาหรับ ใช้ในการพัฒนาฝี มอ ื แรงงาน 4.มีการประเมินผลการฝึ ก ดวยข อเท็ จจริงและ ้ ้ ประเมินความเหมาะสม สถานประกอบการได้ ปฏิบต ั ต ิ ามขอตกลง ้ 5.ติดตอจั ่ ดหางานจังหวัด 6.ผูรั ้ บการฝี กมีโอกาสได้ งานทา และสราง ้ ความคุนเคยใน ้ บรรยากาศการทางาน จริง

1.ติดตอพบปะสถาน ่ ประกอบการดวยตนเอง ้ อยาส ่ ่ งเอกสารเพียงอยาง ่ เดียว 2.ปฏิบต ั ต ิ ามแผนการฝากฝึ ก อยางเคร งครั ด ่ ่ 3.ตรวจเยีย ่ มสถานประกอบการ และผูรั ้ บการฝึ กอยาง ่ สมา่ เสมอ 4.กาหนดแบบฟอรมประเมิ นผล ์ เป็ นมาตรฐานเดียวกัน 5.คัดเลือกสถานประกอบการที่ สามารถสรางประสบการณ ้ ์ แกผู ่ รั ้ บการฝึ กและมีโอกาส ไดงานท า ้ 6.วางแผนการฝากฝึ กรวมกั บ ่ สถานประกอบการ

29


ปัจจัย

ปัจจัยแหงคุ ่ ณภาพ

ขอก ้ าหนดดานมาตรฐาน ้ คุณภาพ

6.การประเมิน ระบบการฝึ ก

1.นาเอาผลการประเมินมา ใช้ในการปรับปรุงและ พัฒนาระบบการฝึ ก เพือ ่ ให้สามารถ ตอบสนองตอความ ่ ตองการของ ้ ตลาดแรงงานฝี มอ ื

1.ตัง้ คณะกรรมการเพือ ่ ทาการ ประเมินระบบการฝึ ก 2.สรางแบบประเมิ นแตละ ้ ่ ขัน ้ ตอนการฝึ ก 3.มีการประเมินผลการ ดาเนินงานทุกขัน ้ ตอนเพือ ่ นามาปรับปรุงและพัฒนา ขัน ้ ตอนให้ตรงตาม วัตถุประสงคมากขึ น ้ ์

7.งบประมาณ

1.มีงบประมาณทีพ ่ อเพียง เหมาะสมกับมาตรฐานการ ฝึ กและทันกับความ ตองการ ้

1.มีการกาหนดตนทุ ้ นตอหน ่ ่ วย ในแตละสาขาช ่ ่ างตาม มาตรฐานการจัดฝึ ก 2.มีการจัดสรรงบประมาณ สอดคลองกั บแผนปฏิบต ั ก ิ าร ้ 3.มีการปฏิบต ั ต ิ ามระบบการหา รายไดและการใช อ ่ ใช้ ้ ้จายเพื ่ ในการพัฒนาฝี มอ ื แรงงาน

30

ข้อ 5. กระบวนการหลังการฝึ ก 5.1 การสนองตอความพึ งพอใจลูกคา/ตลาด (ผูรั ่ ้ ้ บบริการ/สถาน ประกอบการของผู้รับบริการ สถาบัน/ศูน ยพั ์ ฒนาฝี มือ แรงงาน ต้องสร้ างความพึง พอใจให้ เกิดขึ้นกับ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ใ น เ รื่ อ ง ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร ต อ บ ส น อ ง ต่ อ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร (ตอบสนองตามความต้องการอยางรวดเร็ ว ตรงความประสงค ์ ความเชื่อถือ ่ ของลูกคาต อหน วยงาน) โดยมี แ นวทางปฏิ บ ต ั ท ิ ค ี่ รอบคลุมขอก ้ ่ ่ ้ าหนด ดังนี้ (1) มีว ิธีก ารที่ส ามารถตอบสนองตรงตามความต้องการของผู้รับ บริก าร/ ตลาดอยางรวดเร็ ว ่ (2) มีกระบวนการตรวจสอบความพึงพอใจของผู้รับบริการ/ตลาด และมี การวัดผลสรุปผลทีจ ่ ด ั เจนเป็ นประจา (3) นาผลการตรวจสอบความพึงพอใจของผู้รับบริการ/ตลาด มาปรับปรุง ให้เกิดผล (4) ติดตามความตองการ การใช้บริการของสถานประกอบกิจการ ้ (5) มีขอมู ล ความต องการ การใช้บริการของสถานประกอบกิจการ ้ ้ 5.2 ผู้สาเร็จการฝึ ก สถาบัน/ศูนยพั ื แรงงาน ตองฝึ กผู้รับการฝึ กให้มีคุณสมบัต ิ ้ ์ ฒนาฝี มอ มาตรฐานตามข้อกาหนด ดังนี้ (1) ไมเกี ่ งงาน (ทาไดหลายหน ่ ย ้ ้ าที)่ (2) พัฒนาตอได ่ ้ (3) อยูนาน ไมเปลี ่ นงานบอย ่ ่ ย ่ (4) ยอมรับนโยบายใหม่ ๆ และการเปลีย ่ นแปลง (5) มีฝีมอ ื ตรงตามมาตรฐานฝี มอ ื แรงงาน (6) มีจริยธรรม ทัง้ นี้ สถาบัน/ศูนยพั ื แรงงานจะตองจั ดให้มีระบบปฏิบต ั ก ิ ารครอบคลุม ้ ์ ฒนาฝี มอ ขอก าหนดดั ง นี ้ ้ (1) สรางความพร อมให ้ ้ ้สามารถปรับตัวเขากั ้ บการทางานในสถาน ประกอบการเพือ ่ ให้ นาความรูมาประยุ กตกั ้ ์ บการทางานได้ •ปลูกผังนิสัยให้มีความอดทน •ปลูกผังให้เป็ นผู้ฟังความคิดเห็ นของผูอื ่ ้ น •ยอมรับการเปลีย ่ นแปลง •ทางานเป็ นทีมได้ •สรางจิ ตสานึกให้มีความรับผิดชอบตอหน ้ ่ ้ าที่ (2) ปลูกฝังให้ผูรั บ การฝึ กเป็ นผู รั ก การเรี ย นรู ก าวหน ้ ้ ้ ้ ้ ามีความกระตือรือรน ้ (3) สอบผานการทดสอบมาตรฐานฝี ม อ ื แรงงานแห งชาติ ขน ้ ั ตน ่ ่ ้ 31


ตารางแสดง ขอก ้ าหนดมาตรฐานคุณภาพ การพัฒนาฝี มอ ื แรงงาน กระบวนการหลังการฝึ ก ปัจจัย 1.สนองตอความ ่ พึงพอใจของ ลูกคา/ตลาด/ ้ ผูรั ้ บบริการ/ สถาน ประกอบการ

2.ผูส ้ าเร็จการฝึ ก

ปัจจัยแห่งคุณภาพ

ขอก ้ าหนดดานมาตรฐาน ้ คุณภาพ

1.สรางความพึ งพอใจ ้ ให้เกิดขึน ้ กับ ผูรั ่ งที่ ้ บบริการในเรือ เกีย ่ วของกั บ การ ้ ตอบสนองตอความ ่ ตองการ (ตอบสนอง ้ ตามความตองการ ้ อยางรวดเร็ ว ตรง ่ ความประสงค ์ ความ เชือ ่ ถือของลูกคาต ้ อ ่ หน่วยงาน)

1.มีวธ ิ ก ี ารทีส ่ ามารถตอบสนอง ตรงตามความตองการของ ้ ผูรั ้ บบริการ/ตลาดอยาง ่ รวดเร็ว 2.มีกระบวนการตรวจสอบ ความพึงพอใจของ ผูรั ้ บบริการ/ตลาดและมีการ วัดผลสรุปผลทีจ ่ ด ั เจนเป็ น ประจา 3.นาผลการตรวจสอบความพึง พอใจของผูรั ้ บบริการ/ตลาด มาปรับปรุงให้เกิดผล 4.ติดตามความตองการ ้ การใช้บริการของสถาน ประกอบกิจการ 5.มีขอมู ้ ลความตองการ ้ การใช้บริการของสถาน ประกอบกิจการ 1.สรางความพร อมให ้ ้ ้สามารถ ปรับตัวเขากั บ การท างานใน ้ สถานประกอบการเพือ ่ ให้ • นาความรูมาประยุ ก ต กั ้ ์ บการ ทางานได้ • ปลูกผังนิสัยให้มีความอดทน • ปลูกผังให้เป็ นผู้ฟังความ คิดเห็นของผูอื ่ ้ น • ยอมรับการเปลีย ่ นแปลง • ทางานเป็ นทีมได้ • สร้ างจิต ส านึ ก ให้ มีค วาม รับผิดชอบตอหน ่ ้ าที่ 2.ปลูกฝังให้ผูรั บ การฝึ กเป็ นผู้ ้ รักการเรียนรูก าวหน ้ ้ ้า มีความกระตือรือรน ้ 3.สอบผานการทดสอบ ่ มาตรฐานฝี มอ ื แรงงาน แห่งชาติขน ้ั ตน ้

1.ไมเกี ่ งงาน (ทาได้ ่ ย หลายหน้าที)่ 2.พัฒนาตอได ่ ้ 3.อยูนาน ไมเปลี ่ น ่ ่ ย งานบอย ่ 4.ยอมรับนโยบายใหมๆ่ และการเปลีย ่ นแปลง 5.มีฝีมอ ื ตรงตาม มาตรฐานฝี มอ ื แรงงาน 6.มีจริยธรรม

32

ฝ่ายพัฒนาการประกันคุณภาพการพัฒนาฝี มือแรงงาน กลุมงานพั ฒนาระบบการฝึ ก ่ สานักพัฒนาผูฝึ ้ กและเทคโนโลยีการฝึ ก 27 ต.ค. 53

33


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.