ความเปนมาของระบบประกันคุณภาพ การพัฒนาฝมือแรงงาน QA‐DSD กลุมงานพัฒ นาระบบการฝก สํานักพัฒ นาผูฝก และเทคโนโลยีการฝก กรมพัฒ นาฝมอื แรงงาน Ninrat
10/27/2010
ความเป็นมาของระบบประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน สืบเนื่องจากแผนแม่บทการพัฒนากาลังคน เพื่ออุตสาหกรรมการผลิต และการบริการ ของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๓-๒๕๔๙ได้กาหนดให้การประกันคุณภาพ การฝึกอบรม และการพัฒนา ฝีมือแรงงานเป็นกลยุทธ์หนึ่ง และเนื่องจากการประกันคุณภาพ เป็นระบบที่จะช่วยสร้างความเชื่อมั่นใน คุณภาพของผู้สาเร็จการฝึกอบรมวิชาชีพจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงานได้อย่างชัดเจน และแผนพัฒนา แรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๖-๒๕๔๙ ได้กาหนดให้มีการสร้างระบบประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน และ ให้มีการนาไปใช้ในสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน/ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด กรมพัฒนาฝีมือแรงงานจึงได้ดาเนินการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือ แรงงาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวางระบบประกันคุณภาพในการฝึกอบรมฝีมือแรงงานให้แก่สถาบัน พัฒนาฝีมือแรงงานภาค และศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด เพื่อทาให้ผู้ผ่านการฝึกอบรมฝีมือแรงงานมี คุณภาพเป็นที่ยอมรับของตลาดแรงงาน ระบบประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน แบ่งเป็น ๓ ระยะ คือ ระยะสร้างระบบโดย อาศัยแนวทางของระบบมาตรฐานคุณภา พ ISO : International Organization for Standardization เป็น หลัก ข้อกาหนดมาตรฐานคุณภาพฯ คู่มือปฏิบัติ ระยะการสร้างต้นแบบ ระบบประกันคุณภาพการพัฒนา ฝีมือแรงงาน และระยะการขยายผลทั่วประเทศพร้อมกับการสร้างต้นแบบ ๑) พ.ศ. ๒๕๔๘ จ้างที่ปรึกษาจัดทาคู่มือระบบคุณภาพขึ้น ซึ่งเป็นการนาแนวทางที่ กรมพัฒนาฝีมือแรงงานได้ศึกษาเบื้องต้น มาสร้างเป็นระบบที่สมบูรณ์ โดยดาเนินการนาเสนอต่อภาครัฐ ภาคเอกชน สมาคม องค์กรที่เกี่ยวข้องและทดลองปฏิบัติเพื่อศึกษาถึงข้อจากัดปัญหา อุปสรรค และ ปรับปรุงให้เป็นระบบประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงานที่ครบถ้วนสมบูรณ์สอดคล้องกับการ นาไปใช้ในการบริหารจัดการของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค
และศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด
ต่อไป โดย นาข้อกาหนดมาตรฐานคุณภาพมาจัดเป็นวิธีปฏิบัติงานเพื่อใช้ในการดาเนินงาน และใช้ศูนย์ พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดมหาสารคามเป็นศูนย์ทดลองในการจัดทาคู่มือในครั้งนี้ ประกอบด้วย Quality Manual, Procedure Manual, Work Instruction ๒) กรมพัฒนาฝีมือแรงงานได้ดาเนินการในระยะที่ ๒ โดยดาเนินการตั้งแต่ เดือน กันยายน ๒๕๔๙ ถึง กันยายน ๒๕๕๐ เพื่อดาเนินการสร้างหน่วยงานนาร่องเข้าสู่โครงการการพัฒนา ๑
สรุปโดย กลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก สพท. ตุลาคม 2553
ระบบประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ๖ แห่ง ประกอบด้วย สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค ๑ สมุทรปราการ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค ๖ ขอนแก่น สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค ๗ อุบลราชธานี สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค ๑๑ สุราษฎร์ธานี ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดกาแพงเพชร ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดนครปฐม พร้อมทั้งมีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินภายนอก โดยมีเจ้าหน้าที่ของสานักพัฒนาผู้ฝึกและ เทคโนโลยีการฝึกร่วมกับเจ้าหน้าที่ของกองแผนงานและสารสนเทศ ดาเนินการตรวจประเมินครั้งแรก เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ เพื่อรองรับระบบประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ๓) ปีงบประมาณ พ .ศ. ๒๕๕๑ ได้มีการส่งมอบงานโครงการพัฒนาระบบประกัน คุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงานจากกองแผนงานและสารสนเทศให้สานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการ ฝึก พร้อมชะลอการขยายหน่วยงานที่จะเข้าสู่โครงการ ฯ ไว้ก่อน แต่ให้ดาเนินการตรวจประเมินภายนอก ต่อไปเป็นครั้งที่ ๒ และนาศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานมหาสารคามเข้าสู่โครงการด้วย ทาให้มีหน่วยงานเข้าสู่ โครงการเพิ่มขึ้นเป็น ๗ หน่วยงาน ๔) ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ได้นาสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค ๘ นครสวรรค์ และสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค ๙ พิษณุโลกเข้าสู่โครงการ ทาให้มีหน่วยงานเข้าสู่โครงการเพิ่มเป็น ๙ หน่วยงาน และดาเนินการตรวจประเมินโดยคณะทางานจากส่วนกลาง ๙ แห่ง ๕) ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ได้จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการเทคนิคการตรวจรับรองการ ประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่เจ้าหน้าที่ของสานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก และ เจ้าหน้าที่สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค ๖ แห่ง ที่เข้าสู่โครงการนาร่อง เพื่อเป็นการสร้างเจ้าหน้าที่ สาหรับดาเนินการตรวจประเมินทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ๖) ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ ดาเนินการนาสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค ๒ สุพรรณบุรี และสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค ๓ ชลบุรี เข้าสู่ระบบประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือ แรงงาน โดยสานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึกจัดอบรมให้แก่เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานทั้ง ๒ เป็น ๖ ช่วง รวม ๙ วัน
๒
สรุปโดย กลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก สพท. ตุลาคม 2553
สถานะการณ์ดาเนินงานระบบประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ขณะนี้ยังไม่มีหน่วยงานใดผ่านการรับรอง และได้มีการตรวจติดตามการประกัน คุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ในปีงบประมาณ ๒๕๕๓ รวม ๑๑ แห่ง
๓
สรุปโดย กลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก สพท. ตุลาคม 2553
คณะกรรมการอานวยการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน กรมได้มีคาสั่งกรมพัฒนาฝีมือแรงงานที่ ๐๖๐/๒๕๕๓ ลงวันที่ ๒๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ แต่งตั้งคณะกรรมการอานวยการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน โดยให้ คณะกรรมการมีอานาจหน้าที่ ดังนี้ ๑. กาหนดนโยบายและวางแผนงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ๒. ติดตามและประเมินผลการดานินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน
การนาสพภ./ศพจ.เข้าสู่การประกันคุณภาพ กรมได้ดาเนินการโดย ๑) จัดฝึกอบรมให้ความรู้ และฝึกปฏิบัติ การแปลงข้อกาหนดมาตรฐานคุณภาพการ พัฒนาฝีมือแรงงาน ๕ ด้าน มาจัดทาคู่มือปฏิบัติงานและคู่มือกากับการทางาน โดยสพภ./ศพจ.จะต้อง จัดทาคู่มือวิธีปฏิบัติงานแต่ละกระบวนงานให้ครอบคลุมและสอดคล้องกับข้อกาหนด เพื่อใช้เป็นแนวทาง
๔
สรุปโดย กลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก สพท. ตุลาคม 2553
ในการปฏิบัติงานและการตรวจติดตามภายในหน่วยงาน โดยมีผลผลิต คือ คู่มือคุณภาพ คู่มือวิธี ปฏิบัติงาน คู่มือกากับการทางานของหน่วยงานที่เข้าสู่ระบบประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ๒) ส่วนกลางจัดฝึกอบรมเทคนิคการตรวจติดตามภายในให้กับสพภ./ศพจ. วัตถุประสงค์ของการตรวจติดตามคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ๒ ๑.) ตรวจสอบว่าระบบคุณภาพขององค์กรสอดคล้องกับข้อกาหนดมาตรฐาน คุณภาพ ๒๒.) ตรวจติดตามประสิทธิภาพของการนาระบบคุณภาพไปใช้เพื่อบรรลุ เป้าหมายและวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพตามที่องค์กรกาหนด ๒๓.) ประเมินว่าองค์กรมีการปฏิบัติสอดคล้องกับข้อกาหนดหรือกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่กาหนดหรือไม่ ๒๔.) เพื่อให้ผู้ถูกตรวจตระหนักถึงโอกาสในการพัฒนาคุณภาพและระบบให้ดี ขึ้น ๒๕.) เพื่อให้รองรับการตรวจประเมินของ Certification Body : CB ๓.) ดาเนินการตรวจติดตามภายใน (IQA) สพภ./ศพจ. ๔.) กรมแต่งตั้งคณะทางานตรวจประเมินจากส่วนกลางเข้าตรวจติดตามระบบประกัน คุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ณ สพภ. และ ศพจ. ที่เข้าสู่ระบบประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน
๕
สรุปโดย กลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก สพท. ตุลาคม 2553
............................................................................................................................................................
๖
สรุปโดย กลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก สพท. ตุลาคม 2553