CBST

Page 1

rtyuiopasdfghjklzxcvbnmqwert yuiopasdfghjklzxcvbnmqwertyu

CBST- CBT

iopasdfghjklzxcvbnmqwert ค ุ ณ รู้ จั ก ดี ห รื อ ยั ง ? yuiopsdfghjklzxcvbnmqwertyuio sdfghjklzxcvbnmqwertyuiopasdf ghjklzxcvbnmqwertyuiopasdfgh ก ร ม พั ฒ น า ฝี มื อ แ ร ง ง า น ก ร ะ ท ร ว ง แ ร ง ง า น jklzxcvbnmqwertyuiopasdfjknm คนึงนิจ โกศัลวัฒน์ ผูเ้ ชียวชาญด้านการพัฒนาฝีมือแรงงาน ธั น ว า ค ม

qwertyuiopasdfghjkl wertyuiopasdfghjklzxcvbnmqwe Industries want flexible accessible training which meets the individual needs of employees and CBST is here to stay because it is a practical way to make task a reality.

rtyuiopasdfghjklzxcvbnmqwert


ส า ร บั ญ

เกริ่นนํา ....................................................................................... 1 1. ไดอะไรจาก CBST-CBT ............................................................ 2 2. สาระความรูการฝกแบบใหม CBST .........………………………....... 3 2.1 CBST คืออะไร ................................................................ 3 2.2 ภาพรวมระบบ CBST ...…………………………………………... 3 2.3 แนวทางการใชระบบ CBST............................................. 3 2.4 การเชื่อมโยงกิจกรรม....................................................... 7 2.5 การบริหารโรงฝกงาน....................................................... 8 2.6 บทบาทหนาที.่ .................................................................. 8 3. ความเปนมาของการฝกระบบ CBST........................................ 12 4. ผลผลิตชุดการฝกและบุคลากร CBST........................................17 4.1 ผลผลิตชุดการฝก............................................................. 17 4.2 ผลผลิตบุคลากร............................................................... 19 ภาคผนวก 1. ตัวอยางผลผลิตชุดการฝก CBST ที่ผานการตรวจรับและใชงาน 2. หนังสือ สพท.ที่ รง 0405/3505 ลงวันที่ 21 พฤศจิกายน 2555 ขอใหหาเอกสารความรูการฝกระบบ CBT ในโครงการเงินกู ADB

3. หนังสือ นางคนึงนิจ โกศัลวัฒน ผูเ ชี่ยวชาญดานการพัฒนาฝมือแรงงาน ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2555 สงเอกสารความรูการฝกระบบ CBT ในโครงการเงินกู ADB

บรรณานุกรม


ส า ร บั ญ แ ผ น ภ า พ

แผนภาพที่ 1 แผนภาพที่ 2 แผนภาพที่ 3 แผนภาพที่ 4 แผนภาพที่ 5

องคประกอบหลักของระบบ CBST............................... 3 กระบวนการสรางมาตรฐานฝมอื และหลักสูตร CBST.. 6 การจัดทําสือ่ การฝกแบบเดิมและแบบ CBST............. 7 งานของผูรบั การฝก ...................................................... 9 ภาพรวมการบริหารจัดการ CBST................................. 11

ส า ร บั ญ ต า ร า ง ตารางที่ 1 ผลผลิตชุดการฝกทีผ่ านการตรวจรับและใชงาน ………… 12 ตารางที่ 2 ผลผลิตสือ่ การฝกตามนโยบายพัฒนาบุคลากร .............. 18 ตารางที่ 3 ผลผลิตบุคลากร ระหวางป 2542-2549 ....................... 19


-1-

เ ก ริ่ น นํา

CBST - CBT Our Intangible Asset

CBST :

A partner with business ‘n industry in the preparation of a more talented and productive workforce.

C B S T

CBST เป นคํ าตอบโจทยอุป นิ สั ย การทํ างานที่ ดี ข องแรงงาน ยุ ค ใหม (Workplace Skills) โดยเรี ย นรู จ ากการฝ ก เชิ ง ปฏิ บั ติ ที่ออกแบบชุดการฝกขึ้นเปนพิเศษ ประเทศไทยมีระบบการฝ ก CBST ใชง านเป นแห งแรกในภาคพื้ น เอเชียแปซิฟก โดยความรวมมือระหวางธนาคาร ADB มหาวิทยาลัยยูทาห สหรัฐอเมริกา และกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

CBST-CBT คืออะไร….ใชอยางไร….อยูที่ไหน.... เอกสารฉบั บ นี้ มี คํ า ตอบ เพี ย งแต เ ป ด ใจรั บ รู ให โ อกาส CBST ซึ่ ง ปจจุบันคือ CBT การฝกตามความสามารถ ไดเติบโตพัฒนาปรับปรุง ตามรอย CBST บุ คลากรมี มโนคติ ทํ าการศึ กษา เรี ยนรู สนั บสนุ น เผยแพร และใช งาน องค ความรู นี้ยอมเป นทรัพ ย สิ นทางป ญ ญาอั น ทรงคุณคาของกรม สงผลดีตอเศรษฐกิจและสังคมโดยรวม.

Department of Skill Development


-2----What CBST Does for DSD and Thailand----

1. ไดอะไรจาก CBST - CBT

“If CBST is successfully implemented throughout Thailand, the country can leapfrog other Asian countries in economic development.”

Dr. Richard Maxfield Ph.D., 2542

ดร.ริชารด แมกซฟลด เปนผูเชี่ยวชาญสาขาการออกแบบระบบการฝก

(Instructional System Design : ISD) มหาวิทยาลัยยูทาห (USU/CID) สหรัฐอเมริก า ที่ปรึกษาโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ. 2540-2546 (โครงการเงินกู ADB Loan Number 1494-THA) เขียนบทความลงใน สานสัมพันธ Vol.II No.3 JulySeptember 1999 วา “….เมื่อกรมพัฒนนําระบบ CBST ไปใชทั่วประเทศแลวประสบความสําเร็จ ประเทศไทยจะ กระโดดล้ําหนาประเทศอื่นๆในอาเซียนไปไกล เพราะมีแรงงานที่ทั่วโลกตองการ...” ไ ด อ ะ ไ ร จ า ก C B S T โ ด ย ด ร . ริ ช า ร ด แ ม ก ซ ฟ ล ด ? 1. อุปนิสัยการทํางานที่ดี Workplace Skills : องคประกอบสําคัญที่สุดของการฝกทักษะแรงงานยุคใหม “ ค ว า ม ซื่ อ สั ต ย ค ว า ม คิ ด ส ร า ง ส ร ร ค ก า ร ทํา ง า น เ ป น ที ม ก า ร แ ก ไ ข ป ญ ห า ” ซึ่งสอนกันไมได แตผูเขาฝกตองเรียนรูจากการปฏิบัติเอาเอง ชุดการฝก CBST เปนกลไกสรางความสนใจใหผูเขาฝก ปฏิบัติงานไดผลดี มีบรรยากาศและการจัดการที่เอื้อตอการฝก ใหอิสระในการเลือกหัวขอวิชา และรับผิดชอบตนเอง สรางทัศนคติการพึ่งพาตนเอง ความคิดริเริ่ม ความเชื่อมั่น 2. หนาทีห่ ลัก 4 ประการ ของครูฝก “ส า ธิ ต/อ ธิ บ า ย – แ น ะ นํา– ท ด ส อ บ ค ว า ม ส า ม า ร ถ – ร ว บ ร ว ม ค ว า ม เ ห็ น/ป รั บ ป รุ ง” 3. แนวคิดหลักสูตร เ รี ย นรู เ ป น ขั้ น ต อ น ( ถูกตอง ) ส อ น ต า ม ห ลั ก สู ต ร ( ผิด ) ต อ ง นํา ห ลั ก สู ต ร ม า แ ต ก ร า ย ก า ร ทั ก ษ ะ ย อ ย ๆ ใ ห ล ะ เ อี ย ด โ ด ย -ภาคปฏิบัติ ทักษะยอย คือ ขั้นบันไดสูความรู ความชํานาญที่สงู ขึ้น มากขึ้นเรื่อยๆ มีสื่ออุปกรณที่ใชงาย และสะดวก -ภาคทฤษฎี ทักษะทางความคิด ตองฝกควบคูไปกับภาคปฏิบตั ิ แบบทําไป-รูไป ( just-in-time ) 4. อะไรทําใหเรียนรูไดดี ผลที่เกิด ผลที่ได (Workplace Skills)  รางวัล โดยเฉพาะทางจิตใจ --------------พอใจ-----------------ทุมเท อุตสาหะ  คําติชมและแกไข -----------------------------เกง ------------------แกไขปญหา  การใหโอกาส เรียนรูตามศักยภาพ --------สบาย ชอบ --------ซื่อสัตย รับผิดชอบ สรางสรรค  การชวยเหลือกันในกลุม -------------------สนุก -----------------ทํางานเปนทีม


-32. สาระความรูการฝกแบบใหม CBST * คุ ณ รู้ จั ก แ ล้ ว ห รื อ ยั ง ?

2.1 CBST คืออะไร ? Competency based Skill Training คือ กระบวนการฝกฝมือแรงงาน ที่กําหนดใหผูรับการฝกเปนผูใฝหา ความรูและประสบการณดวยตนเอง โดยไมมีเงื่อนไขของเวลา จํานวนหัวขอเรื่อง และหลักสูตร ผูรับการฝกตองรับผิดชอบ การฝกของตนเอง มีระเบียบวินัยในการใชอุป กรณ รูจักทํางานรวมกัน ชวยเหลือ กัน มีความซื่อสัตย และมีว ินัย/นิสัย อุตสาหกรรม 2.2 ภาพรวมระบบ CBST การฝกฝมือแรงงาน แตกตางจาก การศึกษาสายสามัญ เพราะเปนการสรางทักษะฝมือสนองความตองการของ ภาคอุตสาหกรรมในระยะเวลาสั้นๆ การฝก CBST จึงถูกออกแบบขึ้นเพื่อใชในการพัฒนาทักษะฝมือแรงงานโดยเฉพาะ การแนะแนวอาชีพ เป นจุ ดเริ่ม ตน ของ CBST กอ นตั ดสิ นใจเลือ กสาขาการฝ ก ผูรั บ การฝ ก เลือ กรายการ ความสามารถที่จําเปนตออาชีพ ซึ่งกําหนดจากความตองการของภาคอุตสาหกรรม แลวกําหนดแผนการฝกของตนเอง

2.3 แนวทางการใชระบบ CBST 1) ทําความเขาใจองคประกอบหลักของระบบ แผนภาพที่ 1 องคประกอบหลักของระบบ CBST การแนะแนวอาชีพ ขอมูลตลาด ทักษะที่ตองฝก ทดสอบผูเขาฝก จัดทําแผน ใหคําปรึกษา ฝกทักษะพื้นฐาน

ทุกองคประกอบ ตองมี 4 ขั้นตอน ไดแก ออกแบบ พัฒนา ทดลองนํารอง นําไปใช

ความรวมมือกับภาคเอกชน แนวโนมตลาด ความตองการทักษะ ทําสัญญาการฝก จัดหาเครื่องมืออุปกรณ ฝกหัวหนางาน

-กระบวนการ วิธีการแบบใหม -เก็บขอมูล บอกความกาวหนา -ครูฝกแนะนําแกไข สาธิต -ผูเขาฝกรับผิดชอบการฝกเอง

การบริหารโรงฝกงาน

การจัดการของ สพภ.ศพจ. การจัดองคกรใหม การเก็บขอมูลการฝก (CMI) วิธีการจัดการใหม การประเมินความกาวหนาของผูเขาฝก ระบบคอมพิวเตอรสนับสนุน คณะกรรมการหลักสูตร ศูนยทรัพยากรการเรียนรู หนวยพัฒนาคอมพิวเตอรเพื่อการฝก (CBT Unit)

เปาหมายการฝก ออกแบบ ปรับรูปแบบ วิธีการฝก หลักสูตร ชุดการฝก (เอกสาร-ซอฟทแวร) ระบบสนับสนุน ระบบขอมูลอัตโนมัติ พัฒนา ตอเนื่อง ขอมูลสาธารณะ

ระบบการบริหารจัดการ นโยบายสนับสนุนระบบ CBST วางแผน กําหนดมาตรฐาน/วัตถุประสงค/ผลงาน ประเมินผล วิเคราะหดานการเงิน ประชาสัมพันธ จัดหาวัสดุฝก พัฒนาชุดการฝก พัฒนาบุคลากร เสนทางอาชี/แรงจูงใจ สัมพันธภาพกับหนวยงานอื่น มาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ


-4ขอเสนอแนะของที่ปรึกษาตางประเทศ ใหใชคอมพิวเตอรเปนฐานการฝก (Computer-based Training) โดย ซอฟทแวรการฝก (Courseware) ไดรับการออกแบบใหมีระบบโตตอบ (Interactive) ผูเขาฝกสามารถลงทะเบียนเขาฝก วางแผนการฝก ควบคุมการฝกดวยตนเอง การฝกทําไดงายและทราบผลทันที แมไมมีพื้นฐานทางคอมพิวเตอรมากอ น มี การเชื่อมโยงภาคความรูและภาคปฏิบัติเขาดวยกัน การฝกทักษะเนนการปฏิบัติจริง สวนการจัดการมีซอฟทแวรจัดการ ฝก (CMI : Computer Managed Instruction) เปนกลไกสําคัญชวยในการวางแผนและจัดการฝกใหเปนไปดวยดี 2) จัดทําหลักสูตร CBST: Competency List การจัด ทํา หลัก สูต ร ควรผา นขั้ นตอนการสํารวจความต อ งการ ภาคอุต สาหกรรมตอ งการสาขาใด และมี ความสามารถทําอะไรได วิเคราะหอาชีพ และจัดทํากรอบมาตรฐานฝมือแรงงาน (Competency Standard) โดยระบุ เงื่อ นไขการวัดประเมินผลและชุดการฝก ที่ตอ งใช ไวสําหรับ การวางแผนฝก รายบุ คคล หลัก สูตรตอ งระบุร ายการ ความสามารถที่ผูรับการฝกตองทําเปนทั้งหมด จนแนใจวาไมมีทักษะที่จําเปนสวนใดตกหลน เพื่อสามารถทํางานตามที่ ภาคอุตสาหกรรมตองการได และอยูในกรอบมาตรฐานฝมือแรงงานไทยรวมทั้งมาตรฐานสากล หลัก สู ตร ประกอบดว ยโมดูล เล็ ก ๆ แตล ะโมดู ล ประกอบด วยกลุม รายการความสามารถยอ ย ครอบคลุ ม ความสามารถที่ภาคอุตสาหกรรมตองการ การจัดทําหลักสูตรเริ่มจากการสรางลายแทงความสามารถ (Competency Map) แตกรายละเอียดของงานทั้งหมดที่ตองทําเปนใหเล็กที่สุด จึงไมใชการแตกเนื้อหาหรือทฤษฎีที่จะเรียนรู งานเล็ก ที่สุดที่ได เรียกวา ความสามารถ (Competency) หลังจากนั้นทําการจัดกลุมรายการความสามารถเพื่อการฝกหรือเรียนรู โดยตองระบุรายการความสามารถที่จําเปนตองฝกกอน (pre-requisite) การสรางลายแทงความสามารถ (Competency Mapping) ทําโดยการแตกรายละเอียดของงานทัง้ หมดที่ตอง ทําเปน ตามความจําเปนของตําแหนงงาน Mapping คือ การแตกงาน (Task) ออกเปนรายการความสามารถที่เล็กที่สุด (Competencies) ที่สามารถแสดง ใหเห็นประจักษได

Competency Mapping หั ว ใ จ ข อ ง ร ะ บ บ C B S T ดัง นั้น การจัด ทํา ลายแทงความสามารถที่ทํ า โดยการแตกเนื้อ หาทฤษฎี (content) แลว ใส รายการ ความสามารถลงไป

จึ ง เ ป น วิ ธี ก า ร ที่ ไ ม ถู ก ต อ ง

การจัดทําหลัก สูตรตามระบบ CBST ตั้งตนดวยทักษะที่ตองทําเปนกอ น แลวใสเนื้อหาทฤษฎี ที่จําเปนตอการฝกทักษะนั้นๆลงไป

* ปางมาศ วิเชียรสินธุ, พินิจ ศุภมัสดุอังกูร, 2542 สํานักงานบริหารโครงการเงินกู ADB ระบบการฝกแบบใหม CBST คุณรูจักแลวหรือยัง ?


-5-

3) จัดทําชุดการฝก 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7)

เลือก รายการความสามารถจากลายแทง Competency Map กําหนดรหัส ใสรหัสงานลงในรายการความสามารถทุกระดับชั้นของลายแทง จัดกลุม รายการความสามารถยอย ใหงายและเหมาะสมตอการฝก กําหนดเนื้อหาและแบบฝก ในทุกรายการความสามารถ กําหนดเงื่อนไข เครื่องมือ/เกณฑการวัดผล ในทุกรายการความสามารถ กําหนดสื่อการฝก ใหงา ยตอการเรียนรูด วยตนเอง กําหนดรหัสเชื่อมโยง ระหวางรายการความสามารถ-แบบทดสอบ-สื่อการฝก-อุปกรณ/วัสดุฝก

ข อ แ น ะนํา ก า ร จั ด ทํา ชุ ด ก า ร ฝ ก - ทําใหงาย นาสนใจ เรียนรูสิ่งใหม (friendly use) โ ด ย . . เพิ่มพูนจากสิ่งที่เคยเรียนรูมาแลว - มีจุดหมายปลายทาง (clearly end) โ ด ย . . แบงหลักสูตรเปนระดับ (level) กลุมอาชีพ อาชีพ งาน งานยอย ความสามารถยอย เรี ย นรู ที ล ะส ว น แต ม องเห็ น เป า หมายภาพรวมการฝ ก ด ว ยแผนที่ แ ละจุ ด หมายปลายทางจาก องคประกอบเล็กๆ - มีแนวคิด (concept) โ ด ย . . ใหเ นื้อ หาทฤษฎีที่เ กี่ยวของในแตล ะรายการความสามารถ เนื้อหาทฤษฎีที่เ ปน concept คือ กลุมเนื้อหาที่จําเปนตองรูเพื่อสามารถทําการฝกทักษะตามรายการเหลานั้นไดอยางเขาใจ และเขาถึงองครวมของการเรียนรู - เรียนรูแบบองครวม (holistics) โ ด ย . . ผสมผสานการเรียนรูระหวาง psychomotor domain (ทักษะ/ทําเปน), cognitive domain (แนวคิด/เขาใจ), และ affective domain (ทัศนคติ/ความพอใจที่จะทํา) - เสริมแรงจูงใจ (reinforcement) โ ด ย . . เรียนรูเมื่อจําเปนตองรู (ไมกอน-ไมหลัง) ใหอิสระในการเลือก ไมตองเรียงลําดับ ฝก พรอมกับเพื่อนก็ได พึ่งพากัน มีติวเตอรแนะนํากันเอง มีการใหคําแนะนํา (direct cues) ฝกฝนตาม คําแนะนํา (guided practice) ทราบผลยอนกลับ (feedback) และเรงรัดการเรียนรู (acceleration)


-64) วิเคราะหรายการความสามารถ แผนภาพที 2 กระบวนการสรางมาตรฐานฝมือและหลักสูตร CBST สํารวจกลุมอาชีพ ที่ภาคอุตสาหกรรมตองการ

การสร้ างลายแทงความสามารถ ( C o m p e t e n c y M a p p i n g )

อาชีพ 1

อาชีพ 2

งาน 1.2

งาน 1.1 งานหลัก 1.1.1 งานยอย 1.1.1.1

งาน 1.3

งานหลัก 1.1.1

งาน 2.2

งาน 3.1

งาน 3.2

งานหลัก 1.1.1

งานยอย 1.1.1.2

ความสามารถ 1.1.1.1.1 ความสามารถยอย 1.1.1.1.1.1

งาน 2.1

อาชีพ 3

งานยอย 1.1.1.3

ความสามารถ 1.1.1.1.2 ความสามารถยอย 1.1.1.1.1.2

ความสามารถ 1.1.1.1.3

ความสามารถยอย 1.1.1.1.1.3

ความสามารถยอย 1.1.1.1.1.4

ร า ย ก า ร ค ว า ม ส า ม า ร ถ ย อ ย (ตองระบุชุดการฝก สื่อ อุปกรณ วัสดุที่ใช เพื่อความสะดวกในการใชงาน)

หลักสูตร (กลุมรายการความสามารถยอย)

มาตรฐานฝมือแรงงาน

D A C U M

(กรอบมาตรฐานตําแหนง)

ชุดการฝก/สื่อ - สิ่งพิมพ รูปภาพ หุนจําลอง คําอธิบาย ของจริง เทปเสียง VDO CD-ROM Internet ฯลฯ


-75) จัดทําสื่อการฝก เป นสื่ อสํา หรับ ผู เข า ฝกใชได ดวยตนเอง สามารถฝกและควบคุ มการฝ กเร็ ว -ชา ได ใช สื่ อหลากหลาย เช น รู ปภาพ หุนจําลอง ภาพสเก็ต ของจริง คําอธิบายสั้นๆ เทปเสียง VDO, CD-ROM สื่อการฝกมีลักษณะ อานงาย ฝกไดดวยตนเอง และ จัดแบงไวเปนชุดเล็กๆ สอดคลองกับรายการความสามารถและโมดูลการฝก ครูฝกควรพัฒนาสื่อการฝกเองดวย โดยพัฒนาแตละ รายการความสามารถ ไม ใชกลุมรายการความสามารถ สื่ อเหลา นี้ อาจมาจากหนา หนึ่ง ของหนั ง สือ ภาพวาด ข อความจาก อินเตอรเน็ท

แผนภาพที่ 3 การจัดทําสื่อการฝกแบบเดิมและแบบ CBST การจัดทําสื่อแบบเดิม

การจัดทําสื่อแบบ CBST

2

1

1

3

2

5

4

3

4

5

ฝกตามลําดับที่จัดไว

7

6

6

7

ฝกชุดไหนก็ไดตามความสนใจ

เวนแตจะกําหนดโมดูลพื้นฐานที่ตองฝกใหผานกอน

การจัดเก็บสื่อการฝก ตองเปนหมวดหมูเพื่ออํานวยความสะดวกการใชงานของผูรับการฝก และฝกการจัดเก็บเขาที่ทุก ครั้งเมื่อใชเสร็จแลว การปรับปรุงสื่อการฝก ตองสม่ําเสมอ เหมาะสมตอรายการความสามารถ และทําความเขาใจไดงาย

6) กําหนดรหัสอางอิง (Competency Coding) โครงสรางรหัสและเลขที่อางอิง ชวยผูเขาฝกในการสรางแผนการฝก การเลือกใชวัสดุ สือ ซึ่งถูกกําหนดรหัสไว อางอิงเชื่อมโยงกับชุดการฝก แบบทดสอบ การบันทึกคะแนน การติดตามความกาวหนา 2.4 การเชื่อมโยงกิจกรรม 1) การแนะแนวอาชีพ (Career Guidance) ผูเ ขาฝก ไดรับ การทดสอบความสนใจและความถนัด (Interest/ Aptitude Profile) การทดสอบเปนแนวทางการเลือกหลักสูตรที่เหมาะสม ผลลัพธที่ไดคือ แผนการฝกรายบุคคล 2) การวางแผนการฝก (Training Plan) เปนการจัดรวมรายการความสามารถทั้ง หมดที่ผูเขาฝกเลือ ก มีการ จัดเรียงอยางเหมาะสมเพื่อใหการเรียนรูมีประสิทธิภาพสูงสุด ทางเลือกของแผนการฝก แบงเปน (1) แผนการฝกตามความตองการของตนเอง (2) แผนการฝกที่มีผูจัดทําไวและใชฝกแลว (3) แผนการฝกที่สถานประกอบกิจการเลือกไวตามความตองการของตําแหนงงาน 3) การฝกพื้นฐานดานชาง (Technical Literacy) ฝกทักษะที่จําเปนกอน เชน คณิตศาสตร เครื่องมือ วัสดุชาง 4) การมีสวนรวมของภาคอุตสาหกรรม (Industrial Partnership) แตละสาขาควรมีคณะกรรมการที่ปรึกษาทาง เทคนิค (Technical Advisory Committee) เฉพาะสาขา ทําหนาที่ใหคําปรึกษาแนะนํา รวมจัดการหลักสูตร อุปกรณ เครื่องมือ ทักษะใหมๆ ตําแหนงงาน สภาพการจางงาน ควรแยกจากคณะกรรมการที่ปรึกษาดานการพัฒนาฝมือแรงงาน 5) การทํางานของผูจบฝก เปนความรับผิดชอบรวมระหวางฝายแนะแนวอาชีพ ครูฝก คณะกรรมการที่ปรึกษาทาง เทคนิค และผูจบฝก บางกรณีผูเขาฝกที่เปนแรงงานใหมอาจมีการทําสัญญาการเขาทํางานกับนายจางไวแลว


-82.5 การบริหารโรงฝกงาน การบันทึกขอมูลมีความสําคัญเปนลําดับตนๆ ดังนี้ 1) ขอมูลความกาวหนาของผูรับการฝก ไดแก ระยะเวลาการฝกที่ใช จํานวนรายการที่ลงทะเบียนและสอบผาน วันเริ่ ม ฝก เทีย บกับ วันจบฝก การใช ขอ มู ล นี้เ ปนตั วชว ยผลัก ดันระบบ CBST ใหป ระสบความสํา เร็จ เมื่ อ นํา ขอ มู ล ความกาวหนามารวมกับขอมูลอื่น เชน ระยะเวลาที่ใชฝกแตละรายการ จํานวนวัสดุที่ใช จํานวนรายการที่ลงทะเบียนฝก ในแตละวัน จะเปนประโยชนตอการบริหารโรงฝกงาน การปรับปรุงหลักสูตร โปรแกรมการฝก การใชเครื่องจักรอุ ปกรณ การวางแผนการจัดการฝกของหนวยงาน การวิเคราะหตนทุน การวางแผนงบประมาณ สามารถหาอัตราความกาวหนาตอ ชั่วโมงฝก และการติดตามประเมินผลโดยรวม 2) โปรแกรมการจัดการฝกอัตโนมัติ กรณีโรงฝกงานมีสิ่งอํานวยความสะดวกและมีความพรอมในการจัดการ (1) ใชหนาจอหลัก (2 main screen) ผูเขาฝกตองลงทะเบียนเขาฝกและเลิกฝก (Log-in, Log-out) ทุกครั้งใน แตละชวงการฝก การเลือกรายการความสามารถที่จะฝกตองไมมากกวา 5 รายการ ผูเขาฝกและครูฝกสามารถดูแผนและ ติดตามความกาวหนาของการฝกของแตละคนได หนาจอแสดงรายชื่อ รหัสชุดการฝก สื่อ วัสดุฝก ที่เกี่ยวของหรือจําเปน ตอการฝก และแสดงพื้นที่เฉพาะสําหรับแจงความประสงคเขารับการทดสอบรายการความสามารถนั้นๆ (2) ใชชุดการฝกคอมพิวเตอร (Computer-based Training Materials) หลังจากลงทะเบียนเขาฝก ทํา แบบทดสอบแนะแนวอาชีพ ตัดสินใจ และทําแผนการฝกแลว ก็สามารถเลือกรายการความสามารถที่จะฝก และลงมือฝก จากหนาจอคอมพิวเตอร เวนแตกรณีที่รายการใดตองใชชุดการฝกที่เปนกระดาษ ใหดูรหัสชุดการฝกที่ใชในจอแลวหยิบ เอกสารใชงานไดทันที 2.6 บทบาทหนาที่ 1) ผูแนะแนวอาชีพ  ศึกษา เรียนรู เผยแพร แนะนํา  ศึกษา วิเคราะห ความตองการแรงงาน ลักษณะงานของอาชีพตางๆ ในประเทศและในพื้นที่  ประเมินความสามารถพื้นฐาน ความถนัด และความสนใจ ตออาชีพของผูส มัครเขารับการฝก โดยวิธีสัมภาษณ และใชเครื่องมือแนะแนว  ใหขอมูล คําแนะนํา ในการเลือกสาขาอาชีพที่ตองการฝก  ชวยเหลือผูเขารับการฝก ในการจัดทําแผนการฝก การเขาฝกความสามารถพื้นฐานดานวิชาชีพ การสมัครงานเมื่อจบ ฝก การทําประวัติ แนะแนวเสนทางและวิถีของแรงงานฝมือ


-92) ครูฝก สอน สาธิตสั้นๆ ใหคําปรึกษาแนะนํา ชมเชย แกไขขอบกพรอง ตรวจสอบ ติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกตามมาตรฐานการฝก รวบรวมขอเสนอแนะ ปรับปรุง

ออกแบบ-ปรับปรุง-สราง-เสนอแนะ ชุดการฝก สื่อการฝก จัดทําใบบันทึกความกาวหนาในการฝก (record keeping) 3) ผูรับการฝก แผนภาพที่ 4 งานของผูรบั การฝก ทดสอบความสามารถ/ความสนใจในอาชีพ (แนะแนว) ตัดสินใจเลือก วางแผนการฝก ลงทะเบียน ทําความเขาใจ เขาฝก ตัง้ ใจ ใฝรู ชวยเหลือตนเอง ใชสื่อ คูมือ ขอคําแนะนํา ปรึกษา จากครู/ เพื่อน-รุนพี่ ที่ไดรับมอบหมาย

บันทึกความกาวหนาเมื่อฝกเสร็จแตละรายการ ทดสอบแสดงความสามารถ ฝกรายการความสามารถ ตอไปจนจบแผนการฝก


-10-

4) ผูประสานการฝก  ศึกษา เรียนรู เผยแพร แนะนํา ประสานความรวมมือแตงตั้งคณะอนุกรรมการเทคนิคสาขาตางๆที่เปนความตองการของพื้นที่ จัดประชุม และดําเนินกิจกรรมคณะอนุกรรมการเทคนิค รวบรวมฐานขอมูลอุปสงค-อุปทาน INPUT-OUTPUT วิเคราะห และใชประโยชนขอมูล ประสานกระบวนการจัดเตรียมวัสดุอุปกรณเครื่องมือ สื่อ หลักสูตร ชุดการฝก การจัดการฝก การออกวุฒิบตั รระเบียนผลการฝก การบรรจุงาน  ทําความรูจัก สรางความคุนเคย นําเสนอขอมูลหนวยงาน ขอมูลการฝก  เสนอแนะแนวทางการปรับปรุงพัฒนาระบบงาน กระบวนการปฏิบัตงิ าน รูปแบบวิธีการเรียนรู    

5) ผูเกี่ยวของฝายตางๆ  ศึกษา เรียนรู เผยแพร แนะนํา  รวมมือดําเนินการตามภารกิจหรือที่ไดรับมอบหมาย อาทิ -คํานวณตนทุน จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ เพื่อสนับสนุนใหการฝกมีความสะดวก คลองตัว -ปรับปรุงพัฒนาระบบงาน-ระบบความปลอดภัย -สภาพแวดลอม กระบวนการปฏิบัติงาน หลักสูตร ชุดการฝก สื่อ แบบทดสอบ ใหเปนปจจุบันและตอเนื่อง -จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ หลักสูตร ชุดการฝก สื่อ เครื่องมือ สิง่ แวดลอม และอํานวยความสะดวกการฝก การทดสอบ การจบฝก ผูบริหาร เนนย้ํานโยบาย แปลงสูการปฏิบัติ กระตุน สงเสริม ติดตาม ทุกฝาย มีหนาที่ ศึกษา เรียนรู เผยแพร แนะนํา ฝายประสานการฝก เปนเจาภาพหลัก ตั้งกลไกการทํางาน ประสานจัดการฝก ฝายชาง ดําเนินการฝก/งานทางเทคนิค พัฒนาชุดการฝก สื่อ จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ ฝายอํานวยการ สนับสนุนการเตรียมวัสดุ อุปกรณ งบประมาณ ใหเอื้อตอการฝก เ ส น ท า ง สู ก า ร ฝ ก C B T

แนะแนว ใหคําปรึกษา วางแผนการฝก ทดสอบ ฝกทักษะพื้นฐานที่จําเปน

ปฏิสัมพันธกลุม

สอน สาธิต แนะนํา

ฝกภาคทฤษฎี

ฝกภาคปฏิบัติ

ทดสอบ จบฝก วุฒิบัตร ทํางาน


-11แผนภาพที่ 5 ภาพรวมการบริหารจัดการ CBST ค ว า ม ร ว ม มื อ ภ า ค รั ฐ – เ อ ก ช น – ป ร ะ ช า ช น คณะกรรมการที่ปรึกษาดานการพัฒนาฝมือแรงงาน คณะอนุกรรมการเทคนิค สาขา...................

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ไม่มีฝีมือครับ

บริหารจัดการฝกตามเกณฑคุณภาพ จัดหาวัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ

สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค ศูนยพัฒนาฝมือแรงงานจังหวัด

ออกแบบหลักสูตร ชุดการฝก สื่อ เครื่องมือวัดผล

ประกาศ รับสมัคร

ตองการมีงานทํา

ตองการยกระดับฝมือ

แนะแนวอาชีพ

เติมความสามารถบางรายการใหสอดคลองตําแหนงงานนั้นๆ

ประชาชน ชุมชน ประชาชน

ไม่ได้ งาน/ ขาดความสามารถ บางรายการ

วางแผนการฝก

ภาคอุตสาหกรรม หลักสูตรที่เปนโมดูลเล็กๆ

ไมผาน

ลงทะเบียนเขาฝก

(กลุมรายการความสามารถยอย)

เขาฝกตามแผน

สื่อ/ชุดการฝก/จัด สิ่งแวดลอมการเรียนรู/CBT

แสดงความสามารถ

เครื่องมือวัดผลการฝก

ประเมินผล ผาน

มีฝีมือแล้วครับ

วุฒิบตั รรับรอง (ระบุความสามารถ)

ทางเลือกเสนทางอาชีพ

เขาทํางาน

มีฝมือมากขึ้น

เลื่อนตําแหนง

เปลี่ยนสายงาน ได้ งาน

คนึงนิจ โกศัลวัฒน 12/12


-123. ความเปนมาของการฝกระบบ CBST การปรับปรุงประสิทธิภาพการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ. 2540 – 2545 การปฏิบต ั ิการประเมินผลโครงการ พ.ศ.2546-2548

ระบบการฝก CBST ของกรมพัฒนาฝมือแรงงาน เริ่มจากโครงการไทย-อิสราเอล ป 2516 ในการพัฒนาอุปกรณชวยฝก ของสถาบันพัฒนาฝมือแรงงานแหงชาติ โดย Dr.Aeley Tharmir รวมกับขาราชการในการพัฒนาหลักสูตรและระบบการฝก CBM : Competency Based Modular Training ซึ่งพัฒนาเปนการฝกระบบ CBST ของกรมพัฒนาฝมือแรงงานในระยะตอมา

ป 2540-2546 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน รวมกับธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) และสํานักงานที่ปรึกษา Utah State University/Consortium for International Development (USU/CID) สหรัฐอเมริกา ไดริเริ่มระบบการ ฝกอบรมตามความสามารถขึ้นเปนครั้งแรกในภาคพื้นเอเชียแปซิฟก ซึ่งขณะนั้นระบบการฝกดังกลาวกาวไปถึงจุด ที่ไดรับ การทดลองใชและพัฒนาปรับปรุงอยางเหมาะสม อยางไรก็ตาม ดวยเงื่อนไขขอตกลงตามพันธะสัญญาระหวางประเทศ ไทยโดยกระทรวงการคลังกับธนาคาร ADB สงผลกระทบตอการจัดจางทําชุดการฝกสาขาตางๆ ซึ่งจําเปนตองประกาศให ประเทศสมาชิกของธนาคาร ADB 56 ประเทศเขารวมการประมูลได ทั้งนี้ การจัดทําชุดการฝก ตามสัญญาของผูรับจาง ตางประเทศทุกสัญญาไมผานการตรวจรับของคณะกรรมการซึ่งเปนบุคลากรที่มีความรูประสบการณเฉพาะทางของกรม และสํานักงานที่ปรึกษา ทั้งที่สวนใหญผานการตรวจรับงวดแรกๆ และกรมไดรับผลงานการจัดทําลายแทงความสามารถ (competency map) เคาโครงชุดการฝก story board บางสาขาทําการทดลองใชกับกลุมตัวอยาง (try out) แตทวา รายละเอียดเนื้อหาการฝกไมสอดคลองวัฒนธรรมและการใชงานของผูรับการฝกคนไทย ทําใหผลงานไมผานการพิจารณา ของคณะกรรมการตรวจรับในงวดหลังๆ

ผลงานที่ผานการตรวจรับตามสัญญาจัดทําชุดการฝก จึงมีเพียง 6 ชุดการฝก และ 1 ชุดแนะแนวการ ฝก ซึ่งเปนผลงานตามสัญญาจางบริษัทในประเทศทั้งสิ้น นอกจากนี้ ยังมีผลงานตามแผนพัฒนาบุคลากร โดยหนวยพัฒนาคอมพิวเตอรเพื่อการฝกรวมกับสถาบัน/ศูนยพัฒนาฝมือแรงงานจังหวัด 6 แหง จัดทําสื่อ EBook 107 หนวย สื่อ interactive 4 หนวย และซอฟตแวรการฝกอีก 111 หนวยการฝก แจงเวียนเผยแพร หนวยงานที่สนใจนําไปใชงาน CBST: Competency Based Skill Training เปนระบบการฝกอบรมฝมือแรงงานที่ออกแบบขึ้นสําหรับการพัฒนาฝมือแรงงานไทย เดิมมีชื่อแปลวา “ระบบ การฝกแบบอิงเกณฑความสามารถ” ตอมายกเลิกชื่อแปลเนื่องจากเห็นวา CBST เปนชื่อเฉพาะ (Brand name) ไมตอง แปล เปนนามที่กําหนดขึ้นเพื่อสะทอนภาพลักษณขององคกรและไมใหซ้ําซอนกับ CBT: Computer Based Training (การฝกอบรมดวยคอมพิวเตอร) ใหชื่อโดยอดีตอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน นายจาตุรนต อรรถวิภาคไพศาลย ดวย ความเห็นพองรวมกันในกลุมผูร ว มโครงการทัง้ สามฝาย ผูบริหารระดับสูงของกรมทานนี้ใหความสําคัญอยางยิ่งยวดตอการ ผลักดันการฝกระบบใหม บทความในวารสาร สานสัมพันธ Vol.ll,No.3 July-September 1999 คอลัมน ขอคุยดวยคน เขียนไววา “.......ผมขอตอกย้ําถึงความสําคัญของ CBST ที่พวกเราจะตองรวมมือกันนําระบบนี้มาใชใหประสบความ


-13สําเร็จใหได แลวเมื่อถึงวันนั้นทานจะภูมิใจ เพราะกรมเปนหนวยงานแรกและหนวยงานเดียวที่ไดนําระบบนี้มาใชใน การฝกอบรมฝมือแรงงาน ขอเถอะครับ...ใหกําลังใจผมดวย..เพื่อพวกเราชาวกรมพัฒนาฝมือแรงงานทุกคน........” หนวยพัฒนาคอมพิวเตอรเพื่อการฝก ( CBT Unit : Computer Based Training Development) จัดตั้งขึ้นเมื่อ เดือนเมษายน 2541 เพื่อเปนหนวยงานกลางในการผลิตและประสานการผลิตซอฟทแวรการฝกระบบ CBST ที่เนนการ สรางทักษะเปนแกน ตลอดจนเปนหนวยถายทอดความรู ประสบการณ ในการผลิตซอฟทแวรการฝก โดยมีกองวิชาการ และแผนงานเปนหนวยสนับสนุนการบริหารซอฟทแวรจัดการฝก (CMI : Computer Managed Instruction) และ ฐานขอมูลการฝกระบบ CBST ประสานการจัดหา ดูแล บํารุงรักษาอุปกรณคอมพิวเตอรและระบบเครือขายการฝก ซึ่งใช VPN : Virtual Private Network เพื่อใหการฝกดําเนินการผานเครือขายไดสมบูรณ (online learning) การเปลี่ยนแปลงใดๆ เปนเรื่องที่ตองใชความกลาหาญ ความตอเนื่องสม่ําเสมอ จริงจัง อดทน ประเทศตางๆ ทั้ง ออสเตรเลีย อเมริกา แคนาดา ลวนตองใชเวลาในการปรับเปลี่ยนระบบมากวา 30 ป และยัง คงพัฒนาอยางตอเนื่อ ง สําหรับประเทศในกลุมอาเซียน ประเทศไทยนับเปนประเทศแรกที่ริเริ่มระบบการฝกใหม ผูบริหารระดับสูงของกรมจึงได ใหน้ําหนักความสําคัญอยางยิ่ง มีคํากลาวเปรียบเปรยวา CBST เปนมิติการฝกที่ “พลิกฟาพลิกแผนดิน” ในดานการ พัฒนาฝมือแรงงาน : สมชาติ เทวะวโรดม, 2542

ทํา อ ยา ง ไ ร C B S T จึ ง จ ะ ป ร ะ ส บ ค ว า ม สํา เ ร็ จ ? บุคลากรเปนปจจัยหลักในการขับเคลื่อนนโยบายไปสูการปฏิบัติงานตามเปาหมายและประสบความสําเร็จตามที่ตั้งหวัง ในชวงป 2540-2545 มีการเตรียมความพรอมบุคลากรจํานวน 679 คน เปนผูผานการฝกจากตางประเทศ 41 คน และในประเทศ 638 คน ทําการนํารอง CBST ครั้งแรกที่ สพภ.3 ชลบุรี เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2543 ในสาขาชางเชื่อม การขับเคลื่อนงาน CBST เป นไปอยา งราบรื่น ผู บริ หารใหค วามสนใจ บุค ลากรที่เ กี่ย วข องมีค วามกระตือรือรนที่จะปฏิบั ติง านใหมๆ หลัง จากเขา รวม โครงการฝกอบรมอยางตอเนื่องในชวงระยะเวลาการดําเนินโครงการ

ป 2546 กรมพัฒนาฝมือแรงงานจัดตั้ง สํานักงานปฏิบัติก ารประเมินผลโครงการเงินกู ADB (สปป.) ตามคําสั่งกรมที่ 352/2546 ลงวันที่ 24 เมษายน 2546 และคําสั่งที่ 586/2547 ลงวันที่ 7 ตุลาคม 2547 หลังจากเสร็จสิ้นความรวมมือกับ ธนาคาร ADB และมหาวิทยาลัยยูทาห เฉพาะอยางยิ่ง การนําระบบ CBST ไปใชทั่วประเทศ ทําการขยายผลรวมกับ หนวยงานหลัก (คําสั่งกรมที่ 503/2546 ลงวันที่ 23 มิถุนายน 2546) ผลงานในป 2546 ประกอบดวย (1) เผยแพรชุด การฝก สาขาตางๆ (E-Book) ที่ผลิตเองจํานวน 111 หนวยการฝก ปรากฏวา สพภ.ศพจ. 68 แหง มีความสนใจและ มอบหมายบุคลากร 203 คน ทดลองใชง าน (2) แจกจายชุดการฝกที่จัดจาง 8 เรื่อ ง ไดแก Job Experience and Enrichment, การฝกครูฝก , การจัดการ, การประกอบกิจ การ, การแนะแนวอาชีพ, การประกอบอาหารไทย, การ ประกอบอาหารเชิงพาณิชย และการฝกชางเชื่อม MIG/MAG (E-Book/CD-ROM) ใหแกทุกจังหวัดใชงาน (3) ทําการใช ชุดการฝก CBST โดยผูเขารับการฝกบางรายที่มีความพรอม โดยแทรกในการฝกหลักสูตรปกติ 66 จังหวัด และ (4) ผลิต และพัฒนาชุดการฝกระบบใหม 7 หนวยการฝก ไดแก เทคนิคการตัดตอ วีดิโอ ดิสเบรก ระบบเครือขายทองถิ่น LAN ระบบไฟฟาในรถจักรยานยนต ระบบจายแรงไฟ เครื่องมือวัดไฟฟา (มัลติมิเตอร) และการอานคาสีตัวตานทาน


-14ป 2547 สถาบันพัฒ นาฝมือ แรงงานภาคและศูนยพัฒ นาฝมือ แรงงานจัง หวัด 9 แหง ประกอบดวย สพภ.สุพรรณบุรี ราชบุรี ขอนแกน พิษณุโลก ลําปาง สุราษฎรธานี ศพจ.หนองคาย เชียงใหม และปตตานี ดําเนินการฝกแบบ CBST มี ผูเขารับการฝก 331 คน ดําเนินการฝกในหลักสูตรปกติและแทรกชุดการฝก CBST บางหนวยการฝกใหผูเขารับการฝกที่มี ความพรอม นอกจากนี้ สพภ.3 ชลบุรี ในฐานะหนวยนํารอง CBST ไดมีโครงการพัฒนาประสิทธิภาพดานการวิเคราะห Competency แกผูบริหารตลอดจนบุคลากรระดับ 6-8 และจัดทําคูมือเผยแพร ป 2548 สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาคและศูนยพัฒนาฝมือแรงงานจังหวัด 8 แหง ประกอบดวย สพภ.ชลบุรี ราชบุรี นครสวรรค พิษณุโลก ลําปาง สุราษฎรธานี ศพจ.หนองคาย ชัยภูมิ ดําเนินการฝกแบบ CBST มีผูเขารับการฝก 480 คน ดําเนินการฝกในหลักสูตรปกติและแทรกชุดการฝก CBST บางหนวยการฝกใหผูเขารับการฝกที่มีความพรอม นอกจากนี้ สพภ. 6 ขอนแกน โดยนายพินิจ ศุภมัสดุอังกูร , 2548 อดีตหัวหนาหนวยพัฒนาคอมพิวเตอรเพื่อการฝก (CBT Unit), 2540-2545 ไดจัดทําเอกสารทางวิชาการ เรื่อง กลยุทธการจัดระบบการฝกแบบยึดความสามารถของผูรับการฝกเปน สําคัญ เสนอแนะใหกรมกําหนดนโยบายที่ชัดเจนและตอเนื่อง ใหมีระบบการฝกคูขนานสองระบบในการพัฒนาฝมือ แรงงาน รวมทั้งปรับแกพระราชบัญญัติสงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ.2545 ใหเอื้อตอระบบการฝกแบบคูขนาน การขยายผล CBST มีบุคลากรเขารวมประชุม สัมมนา ฝกอบรม รวมพั ฒนาและใชชุดการฝกระหวางป 25462549 จํานวน 702 คน นอกจากนี้ สปป.เสนอแผนงบประมาณโครงการพัฒนาชุดการฝก CBST และติดตามผลการฝก ระหวางป 2548-2551 โดยเสนอใหกําหนดตัวชี้วัด ดังนี้ (1) บุคลากรที่ผานการฝกรอยละ 50 นําความรูไปใชประโยชน (2) ชุดการฝกที่ผลิตโดยผูเขาฝกอบรมรอยละ 50 ไดรับการเผยแพรใชงาน และ (3) ชุดการฝกไดรับการใชงานโดยแทรก อยูในกระบวนการฝกปกติ รอยละ 5 ป 2549 สิ้นสุดการปฏิบัติการประเมินผลโครงการเงินกู ADB อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน (นายสมเกียรติ ฉายะศรีวงศ) มีคําสั่งยุบเลิก สปป. หลังจากนั้นการขยายผล CBST จึงเปนความรับผิดชอบของหนวยงานหลักโดยตรง ในระยะนั้นการ ฝก CBST ใชชื่อเรียกวา การฝก Competency และมีการฝกอบรมเรื่องนี้ใหแก สพภ./ศพจ. 17 รุน ในป 2549-2550

ป 2550 การสํารวจผลงานที่เกี่ยวของกับ CBST จากทุกหนวยงาน ปรากฏวามี สพภ./ศพจ. 10 แหง ไดแก สพภ.ชลบุรี นครราชสีมา พิษณุโลก ศพจ.สิงหบุรี ชัยภูมิ นครนายก นาน ปตตานี ยะลา และหนวยงานสวนกลางคือ กองบูรณาการ เครือขายการพัฒนาฝมือแรงงาน และกองการเจาหนาที่ ไดดําเนินโครงการเกี่ยวกับ CBST อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน (นายสมเกียรติ ฉายะศรีวงศ) มีนโยบายใหขยายผลการวิเคราะห Competency ในตําแหนงงานใหแกสถานประกอบ กิจการ 200 แหง สรางวิทยากรตนแบบ 100 คน ภายในป 2550 ปรากฏมี สพภ. 10 แหง และ ศพจ.38 แหง มีความ รวมมือกับบริษัท 276 แหง สรางวิทยากร 183 คน โดย สพภ.3 ชลบุรี ดําเนินการรวมกับสถานประกอบกิจการมากที่สุด


-15คือ 100 แหง และสรางวิทยากร 14 คน รองลงมาคือ สพภ.5 นครราชสีมา สวนสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก ไดดําเนินโครงการสัมมนาผูบริหาร 50 คน ฝกอบรมวิทยากร 40 คน และเสนอแตงตั้งคณะทํางานรับผิดชอบขยายผลการ ใชสื่อ CBST รวมทั้งจัดทําคูมือการวิเคราะห Competency เผยแพรให สพภ./ศพจ.นําไปใช อยางไรก็ดี สํานักพัฒนา มาตรฐานและทดสอบฝมือแรงงานไดรับการพิจารณามอบหมายใหรับผิดชอบระบบ CBST ในระยะเริ่มตน และจัดทํา มาตรฐานฝมือตามความสามารถ (Competency Standard) กอนสงมอบสํานักพัฒนาผูฝก และเทคโนโลยีการฝกนําไปใช พัฒนาหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (CBC : Competency Based Curriculum) ป 2551 อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน (นายนคร ศิลปอาชา) มีคําสั่งกรมที่ 522/2551 ลงวันที่ 24 ตุลาคม 2551 จัดตั้ง หนวยงานและอํานาจหนาที่ภายในสํานัก โดยลําดับที่ 2.3 จัดตั้งกลุมงานพัฒนาระบบการฝก รับผิดชอบการพัฒนาระบบ รูปแบบกระบวนการฝกฝมือและการบริหารจัดการฝก ลําดับที่ 1.2 จัดตั้งกลุมงานพัฒนาระบบมาตรฐานฝมือแรงงาน รับผิดชอบการกําหนดแนวทางรูปแบบการพัฒนามาตรฐานฝมือแรงงาน ป 2553 อธิบดีก รมพัฒ นาฝมือ แรงงาน (นายนคร ศิลปอาชา) มีคําสั่ง กรมที่ 053/2553 ลงวันที่ 27 มกราคม 2553 แตงตั้งคณะทํางานพัฒนาระบบการฝกตามความสามารถ (CBST) ทําหนาที่กําหนดแนวทางพัฒนาระบบ รูปแบบ และสื่อ การฝก CBST ผลการประชุมคณะทํางาน ไดท บทวนความเขาใจเกี่ยวกับ CBST และมอบหมาย สพภ.แตล ะแหง ทําการศึกษาวิจัย เรื่อง รูปแบบการพัฒนาฝมือแรงงานรายบุคคลของสถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค....จังหวัด..... ป 2554 CBST: Competency Based Skill Training ถูกเปลี่ยนชื่อเปน CBT: Competency Based Training และมี ชื่อภาษาไทยเปน “การฝกตามความสามารถ” จุดประสงคเพื่อใหสอดคลองกับระบบการฝก CBT ที่เปนสากล ระบบการ ฝกตามความสามารถ CBT ของกรมไดรับการสนับสนุนใหเผยแพรทั้งในรูปสิ่งพิมพและในเว็บไซคของกลุมงานพัฒนา ระบบการฝก ทั้งนี้ มีบุคลากรหลักซึ่งเคยปฏิบัติงานในหนวยพัฒนาคอมพิวเตอรเพื่อการฝกเดิม ทําหนาที่พัฒนาระบบการ ฝก CBT อยางเขมแข็ง ตลอดจนคําสั่งสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝ กที่ 025/2554 ลงวันที่ 23 ธันวาคม 2554 แต ง ตั้ ง คณะทํ า งานจั ด ทํ า ร า งคู มื อ ระบบการฝ ก ตามความสามารถ (CBT) 3 สาขา คื อ ช า งเชื่ อ มแม็ ก ช า งซ อ ม ไมโครคอมพิวเตอร และชางซอมรถยนต เพื่อใชในหนวยปฏิบัติ 24 แหง ไดแก สพภ. 12 แหง ศพจ.ปทุมธานี ลพบุรี ระยอง นครปฐม มหาสารคาม หนองคาย มุกดาหาร อุทัยธานี สุโขทัย ลําพูน นครศรีธรรมราช และตรัง ป 2555 คําสั่งกรมที่ 208/2555 ลงวันที่ 19 เมษายน 2555 แตงตั้งบุคลากรในสวนกลางและ สพภ./ศพจ. 24 แหง เปน คณะทํางานจัดทําแบบทดสอบและแบบประเมินผลชุดการฝก ที่จัดทําแลว 3 สาขา จากการสํารวจข อคิดเห็นของ คณะทํางานดังกลาวเมื่อเดือนพฤษภาคม 2555 คณะทํางานสวนใหญมีความเห็นตอการฝก CBT วา ลัก ษณะรูปแบบ วิธีการฝกยังไมชัดเจน, สื่อไมเหมาะสมกับคนไทย โดยเสนอใหมีขอสั่งการพรอมกําหนดเปนตัวชี้วัดการปฏิบัติงานอยาง จริงจัง ทุกฝายตองใหการสนับสนุน, ควรจัดประกวดหนวยงานตนแบบการฝก CBT, ควรมีคําสั่งแตงตั้งฝายรับผิดชอบ


-16โดยตรงใน สพภ./ศพจ., กรมควรสนับสนุนบุคลากร เครื่องมืออุปกรณ เอกสาร ชุดการฝก และงบประมาณดําเนินการ ทั้งนี้ การฝกใหไดผลผลิต/ผลลัพธที่ดี ควรใหสถานประกอบการรวมมือจัดฝกอบรมในกระบวนการทํางานเอง สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน (สตง.) มีหนังสือที่ ตผ.0013/1045 ลงวันที่ 27 กุมภาพันธ 2555 แจงผลการ ตรวจสอบการพัฒนาศักยภาพแรงงานเพื่อรองรับการขยายตัวของเศรษฐกิจ สตง.มีขอสังเกตวา ระบบการฝกแบบอิง เกณฑความสามารถ (Competency Based Skill Training : CBST) ไมไดนํามาใช ทําใหสูญเสียการลงทุน และแสดงวา การใชระบบ CBST ไมประสบความสําเร็จ ควรมีการเตรียมความพรอมบุคลากร สถานที่ วัสดุอุปกรณ ทัศนคติผูเขารับ การฝก และฝกอบรมครูฝกอยางสม่ําเสมอ ซึ่งกรมพัฒนาฝมือแรงงานมีหนังสือชี้แจงวา การพัฒนา CBST ของกรมมีมา ประมาณ 10 ป เทคโนโลยีจึงไมเปนปจจุบัน ประกอบกับบางหลักสูตรประสบปญหาการใชง าน จึงแตงตั้งคณะทํางาน ศึกษาและแกไขพรอมเสนอแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสม และในป 2555 ไดมอบหมาย สพภ./ศพจ. 24 แหง เปนหนวย ดําเนินการฝก 3 สาขาที่พัฒนาขึ้นใหม การจุดประกายระบบการฝกตามความสามารถที่เหมาะสมสําหรับแรงงานไทย เริ่มขึ้นที่กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ปจจุบัน สตง.ยังตองการความชัดเจนดานคุณประโยชนของการฝกรูปแบบนี้ตอสาธารณะ คํากลาวของ ดร.ริชารด แมกซ ฟลด ที่อางแลวในบทแรก ณ พ.ศ.นี้ ยัง ไมป รากฎผลการนําระบบ CBST ไปใชทั่วประเทศแลวประสบความสําเร็จ อยางไรก็ตาม การเดินหนาพัฒนาและใชชุดการฝกที่ผลิตขึ้นใหม 3 สาขา ภายใตชื่อระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) โดยสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค และศูนยพัฒนาฝมือแรงงานจังหวัด ที่กลาว ขางตน นับเปนกาวสําคัญที่จะนําไปสูความสําเร็จในการใชระบบนี้ทั่วประเทศในอนาคตอันใกล เ พี ย ง แ ต . . ทุกฝายเปดใจรับรู ศึกษา เรียนรู สนับสนุน เผยแพรขอมูลที่มา ขอเท็จจริง และหาเครือขายแนว รวมการจัดการใหผลผลิตของงาน CBT ปจจุบันเกิดผลสัมฤทธิ์ตอสวนรวม การศึกษาผลงาน CBST โครงการเงินกู ADB เมื่อวันวาน เปนการหารองรอยที่มา (story) ที่นาสนใจ เพื่อเพิ่มคุณคาใหแกผลงานในวันนี้ (value added) การคงอยูขององคความรูเ รื่อง CBST ภายในตัวบุคคล (tacit knowledge) เฉพาะอยางยิ่งเจาหนาที่หนวย พัฒนาคอมพิวเตอรเพื่อการฝก (CBT Unit), เจาหนาที่รวมงาน (counterpart), คณะกรรมการตรวจรับ CBST ทุก สาขา, ผูผานการฝกอบรมทั้งในและตางประเทศ มิไดสูญหายหรือหมดอายุแตอยางใด

ณ วันนี้ ยังไมมีพิมพเขียวหรือแผนที่เสนทางฉบับใดของโครงการพัฒนาระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) ที่พอจะทําใหบุคลากรเกิดการรวมใจทํางานเปนทีมไดทันที เพียงแตเปนการกําหนดจังหวัดนํารองทดลองใชชุดการฝก ทั้งที่เปนโอกาสดานการเปดฝกรูปแบบใหมๆ และเปนชองทางใหภาคเอกชนใชพื้นที่ภาครัฐเปนฐานการพัฒนากําลังคน รวมกัน ภายใตเอกลักษณที่เปนหนึ่งเดียว “ D S D . C B T I d e n t i t y ” คุ ณ รู จั ก ดี ห รื อ ยั ง ?

DSD.CBT Identity __________________________________________________________________________________________________________CBST - CBT 12/12


-174. ผลผลิตชุดการฝกและบุคลากร CBST

4.1 ผลผลิตชุดการฝก 4.1.1 ผลผลิตทีผ่ านการตรวจรับตามสัญญาจัดทําชุดการฝก ดําเนินการโดยบริษัทผูรบั จางในประเทศ 7 สาขา ตารางที่ 1 ผลผลิตชุดการฝกทีผ่ านการตรวจรับและใชงาน ที่ 1 2 3 4 5 6 7

สาขา Welding (MIG/MAG) Welding (ARC) Job Experience Enrichment* Entrepreneur* Management* Instructor Training* แนะแนวการฝก*

จํานวน/ชุด 100 1 100 100 100 100 100

การใชงาน** จัดสรรใหหนวยปฏิบัติใชงาน ป 2544 ประจํา สพท.ป 2545 และประสานการใชงานตามคําขอ จัดสรรใหหนวยปฏิบัติใชงาน ป 2549 จัดสรรใหหนวยปฏิบัติใชงาน ป 2549 จัดสรรใหหนวยปฏิบัติใชงาน ป 2549 จัดสรรใหหนวยปฏิบัติใชงาน ป 2549 จัดสรรใหหนวยปฏิบัติใชงาน ป 2549

* รายชื่อชุดการฝกกลุมสาขามิใชชา ง 1) ND 10000 คุณสมบัติของคนงานที่ดี ND 11000 คุณลักษณะของคนงานทีด่ ี ND 12000 การทํางานรวมกับผูอื่น ND 13000 การมีทักษะในการทํางาน 2) ND 70000 การจัดการ ND 71100 แนวความคิดเกี่ยวกับการสื่อสาร ND 71200 การปรับปรุงการสื่อสารระหวางบุคคล ND 71300 การใชระบบสัมภาษณรายบุคคล ND 71400 การสือ่ สารและการเจรจาตอรอง ND 71500 การสื่อสารเชิงสรางสรรค ND 71600 ปญหาอุปสรรคดานการสื่อสาร 3) ND 30000 การปองกันและการลวงเกินทางเพศ ND 31000 ความรูเบื้องตน ND 32000 การลวงเกินทางเพศ 4) ND 20000 การแนะแนวอาชีพ (ความตระหนักในบทบาท) ND 22100 ผูรับการฝกหญิง-บทบาททางเพศในสังคม ND 22200 ผูรับการฝกหญิง-เขาใจตลาดแรงงาน ND 22300 ผูรับการฝกหญิง-ทักษะการติดตอสื่อสาร ND 22400 การพัฒนาคุณคาในตนเองและความเจริญงอกงามสวนตน ND 22500 ผูรับการฝก-การลวงเกินทางเพศและการปองกัน ND 22600 การทําตนใหเปนที่รูจักในตลาดแรงงาน ND 22700 ผูรับการฝกหญิง-มองไปขางหนาอนาคตจของทาน 5) ND 20000 การแนะแนวอาชีพ (โลกของการทํางาน) 6) ND 10000 การกอตั้งหนวยธุรกิจ ND 11000 คุณสมบัติของผูประกอบการ ND 12000 การสรางอุดมการณทางธุรกิจ ND 13000 ขอกําหนดทางกฎหมาย ** การเผยแพรใชงานชุดการฝก (1) สพภ.ศพจ.แหงละ 1 ชุด (2) สพท. (ลท.) 1 ชุด และ (3) หองสมุดกรม 1 ชุด


-18-

4.1.2 ผลผลิตตามนโยบายการพัฒนาบุคลากร โดยหนวยพัฒนาคอมพิวเตอรเพื่อการฝก (CBT Unit) รวมกับ สพภ.ชลบุรี นครสวรรค สุพรรณบุรี ขอนแกน ศพจ.ฉะเชิงเทรา (หนวยปฏิบัติเขารวมโครงการตามความสมัครใจ) 111 หนวยการฝก ตารางที่ 2 ผลผลิตสื่อการฝกตามนโยบายพัฒนาบุคลากร ที่ สาขา สื่อ สื่อ ซอฟตแวร E-Book Interactive การฝก งานชางเชื่อม 4 สาขา

1 2 3 4

-เชื่อมไฟฟา -เชื่อมกาซ -ตัดโลหะดวยกาซ -โลหะแผน

9 31 3 11

2 -

9 33 3 11

5 20

-

5 20

2 8 1

-

2 8 1

1 1 4

-

1 1 4

10 1

1 1

11 2

107

4

111 หนวยการฝก

งานชางยนต 2 สาขา

5 6

-เคาะพนสีรถยนต -ซอมจักรยานยนต งานชางไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 3 สาขา

7 8 9

-ไฟฟาในอาคาร -ซอมเครือ่ งปรับอากาศ -ประกอบ/ซอมคอมพิวเตอร งานชางกอสรางและอุตสาหกรรมศิลป 3 สาขา

10 11 12

-ปูกระเบื้อง -ไมกอสราง (เปลี่ยนลูกบิดประตู) -ตัดเย็บเสือ้ ผาสตรี งานชางกลโรงงาน 1 หัวขอ

13

-เครื่องพื้นฐาน

14

งานประชาสัมพันธ/บริการ 1 หัวขอ รวม 14 สาขา/หัวขอ ผลิตสื่อการฝก จํานวน


-194.2 ผลผลิตบุคลากร 4.2.1 บุคลากรที่ผานการฝกอบรม ตารางที่ 3 บุคลากรที่ผานการฝกอบรม ระหวางป 2542-2549 ผูผานการฝกอบรม งบประมาณสมทบ งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ ที่ หลักสูตร 1

Instructional System Design/ Computer Based training

2

การใชและพัฒนาชุดการฝก CBST และชุดแนะแนว ซอฟตแวรการฝกยุคใหม

3

โครงการ

ประจําป

ประจําป

ประจําป

งบประมาณ ประจําป

2542-2545

2546 -

2547 -

2548 -

2549 -

203* (ไมมีรุน) -

339**

237**

-

-

-

81**

ตางประเทศ 41 ในประเทศ 638 รวม 679 คน

-

* ป 2546 บุคลากรของ สพภ.ศพจ. 68 แหง เขารวมโครงการตามความสมัครใจ เพือ่ ทดลองใชและพัฒนา ชุดการฝก CBST โดยหนวย CBT Unit เปนหนวยงานใหคําปรึกษาแนะนํา กํากับดูแล ติดตามผล **ป 2547-2549 ฝกอบรมบุคลากร สาขา การฝกพื้นฐาน (Technical Literacy) ชางเชื่อม ชางตัดเย็บ เสื้อผา ชางยนต ชางอิเล็กทรอนิกส ชางกลโรงงาน ชางกอสราง

ภ า พ ส รุ ป ก า ร พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร ป 2542-2545 ป 2546-2549

ผูผานการฝกอบรมภายใตโครงการเงินกู ADB 679 คน ผูผานการฝกอบรมภายใตโครงการขยายผล 860 คน ผูผานการฝกอบรม ระหวางป 2542-2549 จํานวนทั้งสิ้น 1,539 คน

คิ ด ค้ น อ อ ก แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ผ ล พั ฒ น า เ ผ ย แ พ ร่ ใ ช้ ง า น ห รื อยั ง ?

________________________________________________________________________________________________________________CBST - CBT


ภาคผนวก

1. ตัวอยางชุดการฝก CBST ที่ผานการตรวจรับและเผยแพรใชงาน ชุดการฝก CBST : N 70000 การจัดการ N 71000 ความสามารถในการสื่อสารของผูบริหาร N 72000 ความสามารถในการสรางแรงจูงใจของผูบริหาร คูมือครูฝก คูมือผูร ับการฝก แบบทดสอบกอนฝก แบบทดสอบหลังฝก ลิขสิทธิ์ พิมพครั้งที่ 1 จํานวน จัดพิมพ สถานที่พิมพ

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ.2545 มกราคม 2546 100 เลม บริษัทเลิศวิลัยแอนดซันส จํากัด บริษัท เอดูเน็ท จํากัด

2. หนังสือ สพท.ที่ รง 0405/3505 ลงวันที่ 21 พฤศจิกายน 2555 ขอใหหาเอกสารความรูก ารฝกระบบ CBT ในโครงการเงินกู ADB 3. หนังสือ นางคนึงนิจ โกศัลวัฒน ผูเ ชี่ยวชาญดานการพัฒนาฝมือแรงงาน ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2555 สงเอกสารความรูการฝกระบบ CBT ในโครงการเงินกู ADB








บรรณานุกรม 1. Dr. Richard Maxfield, 1999 วารสาร สานสัมพันธ Thai Skills Development Project Newsletter Vol.II, No.3 September 1999 2. สํานักงานบริหารโครงการเงินกู ADB หนวยพัฒนาคอมพิวเตอรเพื่อการฝก , 2542 ระบบการฝกแบบใหม CBST คุณรูจักแลวหรือยัง? 3. สํานักงานบริหารโครงการเงินกู ADB หนวยพัฒนาคอมพิวเตอรเพื่อการฝก, 2543 คูมือการบริหารการฝกในโรงฝกงาน สําหรับระบบ CBST 4. สํานักงานบริหารโครงการเงินกู ADB, 2543 เอกสารแนะนําโครงการเงินกู ADB Loan 1494-THA 5. สํานักงานบริหารโครงการเงินกู ADB หนวยพัฒนาคอมพิวเตอรเพื่อการฝก, 2545 เสนทางสูการปรับปรุงประสิทธิภาพ การพัฒนาฝมือแรงงานดวยการฝกระบบ CBST 6. สํานักงานปฏิบัติการประเมินผลโครงการเงินกู ADB, 2546 Guideline OEU/DSD การบูรณาการผลงานโครงการเงินกู ADB 7. พิ นิ จ ศุภ มัส ดุอัง กูร สถาบัน พัฒ นาฝมือ แรงงานภาค 6 ขอนแกน , 2548 กลยุ ท ธก ารจัดระบบการฝก แบบยึ ด ความสามารถของผูรับการฝกเปนสําคัญ 8. สํานักงานปฏิบัติการประเมินผลโครงการเงินกู ADB, 2548 รายงานเรื่อง หนวยงานภายในกรมที่มีสวนรวมในการใช CBST 9. สํานักงานปฏิบัติการประเมินผลโครงการเงินกู ADB, 2548 สรุปผลการบูรณาการผลงานโครงการเงินกู ADB 25462548 10. สํานักงานปฏิบัติการประเมินผลโครงการเงินกู ADB, 2548 ขอมูลหนวยงานภายในกรมที่มีสวนรวมในการใช CBST ระหวางป 2546-2548 11. สํ า นั ก พั ฒ นาผู ฝ ก และเทคโนโลยี ก ารฝ ก , 2549-2550 รายงาน เรื่ อ ง ผลการดํ า เนิ น การฝ ก อบรมเกี่ ย วกั บ Competency 12. กลุมงานพัฒนาผูฝก, 2550 เอกสารสรุปการดําเนินการฝกอบรมเกี่ยวกับ Competency ของ สพภ. ศพจ.เครือขาย ในป 2549-2550 13. สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน, 2555 หนังสือที่ ตผ 0013/1045 ลงวันที่ 27 กุมภาพันธ 2555 เรื่อง การตรวจสอบ การดําเนินงาน งานพัฒนาฝมือแรงงานเพื่อรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ 14. กรมพัฒ นาฝมือ แรงงาน, 2555 หนัง สือ ที่ รง 04.2/06868 ลงวันที่ 3 พฤษภาคม 2555 เรื่อง รายงานผลการ ดําเนินงานตามขอเสนอแนะจากการตรวจสอบการดําเนินงาน งานพัฒนาฝมือแรงงานเพื่อรองรับการขยายตัวทาง เศรษฐกิจ


ระบบการฝึก CBST โครงการเงินกู้ ADB

CBST

Competency-based Skill Training

ปภิญญา ทองสมจิตร ออกแบบ

อักษรแตละตัวแทนความสามารถรายบุคคลซึ่งแตกตางกัน และยืดหยุนตามลักษณะของหลักสูตร ดานลางเปนชื่อเต็มที่เปนเสนตรงชัดเจนเปนฐานลาง หมายถึง การวัดผลความสามารถตามมาตรฐานที่ภาคอุตสาหกรรมตองการ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.