เอกสารประกอบการสัมมนาCBT

Page 1

เอกสารประกอบ การสัมมนาเชิงปฏิบัตกิ ารพัฒนาระบบการฝก ตามความสามารถ (CBT)

วันที่ ๙­๑๐ มีนาคม ๒๕๕๔ ณ โรงแรมเซ็นจูรี่ พารค กรุงเทพฯ

โดย กลุม งานพัฒนาระบบการฝก สํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก กรมพัฒนาฝมือแรงงาน


สารบัญ หนา ความหมายของการฝกตามความสามารถ(Competency Based Training: CBT)

ระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Training: CBT System)

รูปแบบการพัฒนาชุดการฝก หรือชุดการเรียนรูรายบุคคลและคอรสแวร (โครงการ ADB)

รูปแบบการฝกตามความสามารถ(Competency Based Training: CBT) ผูเสนอ วาที่รอยตรีนวพล ศรีรุง นักวิชาการพัฒนาฝมือแรงงานชํานาญการ ศพจ. นครศรีธรรมราช ๑๔ ผูเสนอ นายสุรพล พลอยสุข ผูอํานวยการกลุม งานกฎหมาย กลุม งานกฎหมาย

๑๕

เสนอโดย นายสันโดษ เต็มแสวงเลิศ ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

๒๑

หลักสูตรการฝกตามความสามารถ(Competency Based Training: CBT)

๒๒

การออกแบบหลักสูตรฐานสมรรถนะ (Course Design for Competency­based Curriculum)

๓๐

บทบาทและหนาทีข่ องครูฝก

๔๒

ชุดการฝกอบรม(Training Packages)

๔๖


­๑­

ความหมายของการฝกตามความสามารถ(Competency Based Training: CBT) สรุปความหมาย “สมรรถนะ” (Competency) ไมไดหมายถึงภาระงานในการทําชิ้นงานนั้น แตหมายถึงสิ่งที่ทํา ใหบคุ คลมีความสามารถในการปฏิบตั ิภาระงานนั้นๆ ไดดวย (ประกอบดวย ทักษะที่จําเปน (Skills) ความรูที่ จําเปน (Know ledges) และคุณลักษณะ (Attributes) ทีต่ อ งการ) ดังนั้น Competence­based Training หรือ Competency­based Training หรือการ ฝกอบรมบนฐานความสามารถ หมายถึง การใชความสามารถทีจ่ ําเปนสําหรับการทํางานมาใชเปนฐานของ การจัดฝกอบรม หรือนํามาใชเปนเนื้อหาของการฝกอบรม ทําใหผูเขารับการฝกอบรมมีความสามารถตาม เนื้อหานั้น เรียกใหกระชับสั้น ๆ วา “การฝกอบรมฐานสมรรถนะ” นอกจากนี้ยงั มีการนําแนวคิดไปใชสําหรับการพัฒนาหลักสูตรอีกดวย เพราะหลักสูตรและการ สอนรวมทั้งการฝกอบรมเปนเรื่องทีม่ ีความเกีย่ วของกัน เสมอ เมื่อใดมีการสอนหรือการฝกอบรมก็มักตองมี หลักสูตรอยูด วย

มาตรฐานความสามารถ/มาตรฐานสมรรถนะ /มาตรฐานอาชีพ หลักสูตรตามความสามารถ(โมดุลการฝก) สื่อและชุดการฝกรายบุคคล การใหการฝกอบรม การประเมินความสามารถ

การใหการรับรองความสามารถและรับรองคุณวุฒิ

องคประกอบการฝกตามความสามารถ


­๒­ ๑. แนวคิดเกี่ยวกับหลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency­Based Approach) “สมรรถนะ” แปลมาจากคําวา Competence หรือ Competency ซึ่งหมายถึง ความสามารถ ในการทําบางสิ่งไดเปนอยางดี (the ability to do something well: จาก Longman Dictionary) (ถาเปน พหูพ จน คํ าวา “Competences” เปน คําที่ ใชใ นสหราชอาณาจัก ร ส วนคํา วา “Competencies” ใชใ น สหรั ฐอเมริ ก า) ในที่ นี้จะกล าวถึง ความสามารถในการทํางานหรื อการประกอบอาชีพ เปน สํา คัญ ซึ่งในการ ทํางานหรือ การประกอบอาชีพ นั้นตอ งใชความสามารถที่มีอ ยูในตัวบุค คล เพื่อจะทําภารกิจของงานนั้น ถา บุคคลใดมีความสามารถในการทํางานได เรีย กวา เปนคนที่มีสมรรถนะในการทํางาน และในทางตรงขามถา บุคคลใดไมสามารถทํางานไดก็เรียกวาเปนคนไมมีสมรรถนะ การสรางเสริมใหคนมีความสามารถในการทํางาน เป น การสรา งสมรรถนะใหเ กิ ด ขึ้น ใน ตั ว บุ คคล และการออกแบบสมรรถนะ รวมถึ ง การฝ ก อบรมคนให มี สมรรถนะสําหรับการทํางานจึงเปนสาระสําคัญของการจัดการเรียนการสอนทางดานอาชีวศึก ษาและการฝก อาชีพ (Vocational Education and Training หรือ VET) ๒. ที่มาของหลักสูตรฐานสมรรถนะ ระบบฐานสมรรถนะมี ๒ ระบบหลัก ไดแก ระบบของอังกฤษหรือ สหราชอาณาจัก ร และระบบ ของสหรัฐอเมริกา โดยแตละระบบมีฐานแนวคิดและคุณลักษณะเฉพาะของตนเอง ซึ่งทั้ง ๒ ระบบ ไมไดมคี วาม แตกตางกันอยางสิ้นเชิง และเมื่อไดทําความเขาใจทั้งสองระบบก็จะสามารถนําสวนที่ดีที่สุดมาประยุกต ใชได อยางเหมาะสมในบริบทที่ตองการไดในที่สุด สาระสําคัญที่เปน พื้นฐานของทั้งสองระบบจะไดแสดงในลําดับ ตอไป หลัก สูต รฐานสมรรถนะ เริ่มใชม าตั้งแตป ๑๙๗๐ ในประเทศสหรัฐอเมริกา นิย มใชในการจัด หลัก สูต รการฝก อบรม (Competency­based Training) เชน สหรัฐอเมริ กา คานาดา อัง กฤษ เกาหลี ออสเตรเลีย เพื่อควบคุมคุณภาพของบุคลากรในอาชีพตาง ๆ เพื่อเพิ่มการแขงขันกับนานาชาติ เชน ประเทศ ออสเตรเลียมี The National Training Board เปนผูกําหนดมาตรฐานสมรรถนะระดับ ชาติ ( National Competency Standards) ใหนโยบาย และแนวทางการการดําเนินงานฝกอบรม โดยคาดหวังสิง่ ทีผ่ เู ขาอบรม จะสามารถปฏิบัติ (Performance) ไดเมื่อจบหลักสูตร เชน การฝกอบรมดานภาษาอังกฤษเกี่ยวกับอาชีพตาง ๆ เช น ด า นอาหาร การโรงแรม ท อ งเที่ ย วของTAFE ประเทศออสเตรเลี ย ก็ จั ด การฝ ก อบรมแบบ Competency Based Training in English Language Teaching และไดปรับปรุงพัฒ นามาตรฐาน สมรรถนะของอาชีพตาง ๆ จนถึงปจจุบัน รวมถึงการเทียบความรูและประสบการณ ปจจุบันสถาบันการศึกษาตางๆ ในหลายประเทศ ไดนําแนวทางการฝกอบรมแบบฐานสมรรถนะ (Competency Based Training) มาใชกับการจัดหลักสูตรการศึกษาระดับตางๆ เปนหลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency Based Curriculum) ซึ่งเปน ที่ยอมรับ จากผูกําหนดนโยบาย และ ผูนําดานหลักสูตรของ ประเทศตาง ๆ อยางกวางขวาง


­๓­ ๓. วัตถุประสงคของหลักสูตรฐานสมรรถนะ วัตถุประสงคของหลักสูตร/การฝกอบรมฐานสมรรถนะ (Competence­based Training) คือ การพัฒ นาความสามารถของผู ป ฏิบั ติงาน/ผูเ รี ยน ในสหราชอาณาจั ก ร คํ าว า “กํ า ลัง คนที่มี สมรรถนะ” ประกอบไปดวยคนที่มีค วามสามารถในการทํางานไดอยางคงเสนคงวา (Consistently) ตามมาตรฐานของ ข อ กํ า หนดในการทํ างานภายใต ข อบเขตของบริ บ ทหรื อ เงื่อ นไขของงาน นั้ น แตใ นสหรั ฐ อเมริ ก าคํ า ว า “สมรรถนะ” ไมไดหมายถึงภาระงานในการทําชิ้นงานนั้น แตหมายถึงสิ่งที่ทําใหบุคคลมีความ สามารถในการ ปฏิบัติภาระงานนั้นๆ ไดดวย ดังนั้น Competence­based Training หรือ Competency­based Training หรือการฝกอบรมบนฐานความสามารถ หมายถึง การใชความสามารถที่จําเปนสําหรับการทํางานมาใชเปนฐาน ของการจัดฝกอบรม หรือนํามาใชเปนเนื้อหาของการฝกอบรม ทําใหผูเขารับการฝกอบรมมีความสามารถตาม เนื้อหานั้น เรียกใหกระชับสั้น ๆ วา “การฝกอบรมฐานสมรรถนะ” นอกจากนี้ยังมีการนําแนวคิด ไปใชสําหรับ การพัฒนาหลักสูตรอีกดวย เพราะหลัก สูตรและการสอนรวมทั้งการฝกอบรมเปนเรื่องที่มีความเกี่ยวขอ งกัน เสมอ เมื่อใดมีการสอนหรือการฝกอบรมก็มักตองมีหลักสูตรอยูดวย ๔. ขอดีของการจัดหลักสูตรการเรียนการสอนแบบฐานสมรรถนะ หรือตามความสามารถ ๔.๑ กําหนดผลการเรียนรูอยางชัดเจน วาผูเรียนสามารถทําอะไรไดเมื่อจบหลักสูตร (Course Outcomes /Performance Outcomes) ๔.๒ ใชมาตรฐานสมรรถนะเปนกรอบในการพัฒนาหลักสูตร กําหนดเนือ้ หา วางแผนการจัดการ เรียนการสอนและการประเมินผล ทําใหการเรียนการสอนเชือ่ มโยงกับการประเมินผล และการรับรองคุณวุฒิ ๔.๓ มีเกณฑการปฏิบตั ิ (Performance Criteria) เพื่อใชในการประเมินผลผูเรียนทีแ่ นนอน ๕. กรอบมาตรฐานสมรรถนะ (Competency Standards) มาตรฐานสมรรถนะ เป นข อ กํ าหนดความรู และทั กษะ และนํ า ความรูแ ละทัก ษะนั้ น ๆ ไป ประยุกตใชใ นการทํางาน โดยปฏิบั ติงานใหได ตามมาตรฐานที่กําหนด โดยกระทรวงศึกษาธิก ารไดกําหนด กรอบมาตรฐานอาชีวศึกษาหลัก สูตรประกาศนียบัตรวิช าชีพ (ปวช.) และหลักสูต รประกาศนีย บัตรวิชาชี พ ชั้นสูง (ปวส.) ทุกหลักสูตร ในป พ.ศ.๒๕๔๙ การจัดหลักสูตรการเรียนการสอนในหลักสูตรแบบฐานสมรรถนะจึงมีกรอบมาตรฐานสมรรถนะ เปนตัวกําหนดความรู และทักษะ ที่คาดหวังวาผูเรียนจะสามารถปฏิบัติภาระงาน / กิจกรรมตางๆ ไดเมื่อเรียน จบหลักสูตร และสามารถวัดและประเมินผลไดตามเกณฑการปฏิบัติที่กําหนด ๖. องคประกอบของมาตรฐานสมรรถนะ ในการปฏิ บั ติ ง านในอาชี พ จะกํ า หนดสมรรถนะที่ ค าดหวั ง ว า ผู เ รี ย นจะสมารถปฏิ บั ติ ไ ด ประกอบดวย • หนว ยสมรรถนะ (Unit of Competence / Competency) เปนขอบขายกวาง ๆ (Broad Area) ของงาน (Job) ใน อาชีพหนึ่ง ๆ ที่ผูเรียนตองปฏิบัติ โดยใชความรูและทักษะ หรือ อาจรวมถึงเจคติ


­๔­ • สมรรถนะยอย (Element of Competence) เปนภาระงานยอย (Task) ที่ประกอบขึ้นภายใต งานในหนวยสมรรถนะนั้น ๆ • เกณฑการปฏิบัติ (Performance Criteria) เปนกิจกรรมยอย ๆ (sub­task) ภายใตสมรรถนะ ยอ ย ซึ่งเปน ผลการเรีย นรู (Learning Outcomes) ที่คาดหวังวาผูเ รีย นจะสามารถปฏิบัติไดเมื่อเรียนจบ หลักสูตร • เงื่อนไข/ขอบเขตการปฏิบัติ (Conditions /Range of Variables) การปฏิบัติภายใตเงือ่ นไขที่ กําหนด อาจรวมถึง วัสดุ (Materials) เครื่องมือ (Tools) หรือ อุปกรณตาง ๆ (Equipment) ที่กําหนดให (หรือไมใหใช) เพื่อใหการปฏิบัติงานนั้นสําเร็จ เมื่อไดกรอบมาตรฐานสมรรถนะแลว การจัดหลักสูตรการเรียนการสอน การกําหนดเนื้อหา และ กิจกรรมการเรียนการสอน จะสรางขึ้นภายใตกรอบมาตรฐานสมรรถนะที่กําหนด และจะเชื่อ มโยงกับ การวัด และประเมินผล ซึ่งอาจเรียกวา การทดสอบวัดตามสมรรถนะ (Competency Test) สรุป จุดประสงคของหลักสูตร/การฝกอบรมฐานสมรรถนะคือ การพัฒนาความสามารถของกําลังคนในการ ทํางานในระบบฐานสมรรถนะ หลักการพื้นฐานสําคัญของการฝกอบรมไดแก การพัฒ นาความสามารถในการ ทํางานหรือการเรียนรูที่เกิดขึ้นนั้นตองเปนที่ประจักษและสามารถวัดได ซึ่งเปนการเล็งเห็น ผลลัพธเ ปนสําคัญ โดยเปนผลมาจากความสามารถที่ค าดหวังในผลสําเร็จ ความเขาใจที่ค ลาดเคลื่อ นในการฝก อบรมแบบใช สมรรถนะเปนฐานหรือความสามารถเปนฐานนั้น ตองมีการสรางความเขาใจใหถูก ตอง ผูใหการฝกอบรมยังมี ความสําคัญและไมไดเปลี่ยนแปลงกระบวนการหรือวิธีการในการฝกอบรมอยางสิ้นเชิง และที่สําคัญคือ ระบบ สมรรถนะทั้งหมดไมใชเปนเพียงระบบสําหรับการฝกอบรมแต ยังเปนระบบของการประเมินสมรรถนะไดอีก ดวย สาระสําคัญของเรื่อ งฐานสมรรถนะนั้น เปนการนําความสามารถที่จําเปนสําหรับการทํา งานมาใชเป น เนื้อหาของการฝกอบรมหรือการเรียนการสอนวิชาชีพ เอกสารอางอิง กฤษมันต วัฒนาณรงค. สมรรถนะวิชาชีพ. ไทยรัฐออนไลน (๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๓) ธํารง บัวศรี. ทฤษฎีหลักสูตร : การออกแบบและพัฒนา.โรงพิมพคุรุสภา, ๒๕๓๒. สุจิตรา ปทุมลังการ. ความรูเกีย่ วกับหลักสูตรฐานสมรรถนะและการประเมินผล (Competency­Based Curriculum and Assessment), มปพ. ๒๕๕๒. The National Training Board. National Competency Standards: Policy and Guidelines. National Capital Printing, Fyshwick ACT,Australia, ๑๙๙๑. Competency Based Training. A Practical Guide for Frontline Trainers. National Centre for Competency Based Training. Australia, ๑๙๙๒. Baseline Information Sheet. Competency Based Assessment, National Centre for Competency Based Training. Australia.


­๕­

ระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Training: CBT System)

Units of Competency

Modules of Training

Competency/Skills Standards Development

I N D U S T R y

Competency Based Curriculum Development Learning Materials/ Courseware Development Training Delivery

Competency Based Training

Assessment

D E L I V E R y

I N S T I T U T I O N

Certification and Equivalency

ระบบการฝกตามความสามารถ ผลจากการประชุม เรื่อง การพัฒนาระบบและรูปแบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Training: CBT) ระหวางวันที่ ๒๒ –๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๕๔ ที่ประชุมไดรวมอภิปรายและหารือโดยไดขอ สรุปวา ระบบการฝกดังกลาว(ตามรูปที่เสนอ) มีความสอดคลองกับการพัฒนาฝมอื แรงงานและสามารถนํามาใช เปนระบบการฝกตามความสามารถของกรมฯ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ๑. รปแบบการพัฒนาโมดุลการฝกตามความสามารถทีด่ ดั แปลงมาจากของ TESDA(Technical Education and Skills Development Authority) ซึ่งเปนหนวยงานที่ทําหนาที่พฒ ั นาซึ่งตัวแบบการพัฒนา โมดุลการฝกดังกลาว มีรายละเอียดสรุปได ดังนี้ ๑.๑ รูปแบบดังกลาวมีการพัฒนาโดยอิงกรอบคุณวุฒิวชิ าชีพ(Qualifications) และมาตรฐาน ความสามารถ (Competency Standard) หรือมาตรฐานฝมือแรงงาน (Skill Standard) ซึ่งถูกพัฒนาโดย ภาคอุตสาหกรรมและสถานประกอบกิจการ


­๖­ ๑.๒ หลักสูตรการฝกและโมดุลการฝก(Modules of Training) หรือชุดการฝก มีการพัฒนา มาจากหนวยความสามารถ (Units of Competency) ทีถ่ กู กําหนดโดยภาคอุตสาหกรรมและสถานประกอบ กิจการ ๑.๓ มีกรอบทีเ่ ชื่อมโยงใหเห็นความสัมพันธ ขององคประกอบของการฝกตามความสามารถ (Competency Based Training: CBT) ซึ่งประกอบดวย ๑.๓.๑ การพัฒนาหลักสูตรตามความสามารถ ๑.๓.๒ การพัฒนาสื่อการฝกและชุดการฝก ๑.๓.๓ การถายทอดโดยใหการฝกอบรม ๑.๓.๔ การประเมินความสามารถ จนถึงการใหวุฒบิ ตั รและการรับรองเทียบเทาความสามารถ(Certification and Equivalency) ผลลัพธสดุ ทายของรูปแบบการพัฒนาโมดุลการฝกตามความสามารถของ TESDA คือ หลักสูตรการฝกในรูปแบบของโมดุลการฝก หรือแผนการฝกตามความสามารถทีส่ อดคลองกับสมรรถนะใน อาชีพตางๆ รูปแบบการพัฒนาฯ ของ TESDA มีขอดี หรือจุดเดน พอสรุปได ดังนี้ ๑. มีการพัฒนากรอบคุณวุฒิวิชาชีพและมาตรฐานสมรรถนะหรือมาตรฐานอาชีพ ทีช่ ดั เจน โดยภาคอุตสาหกรรมหรือสถานประกอบกิจการ ๒. มีการพัฒนาหนวยความสามารถ หรือ หนวยสมรรถนะ ที่ชดั เจนโดยภาคอุตสาหกรรม หรือสถานประกอบกิจการ ๓. มีการพัฒนาหลักสูตรโดยอางอิงจากฐานความสามารถหรือมาตรฐานสมรรถนะ (หลักสูตร ตามความสามารถ Competency Base Curriculum) ดังนัน้ หลักสูตรที่ไดจึงสอดคลองกับมาตรฐาน ความสามารถหรือมาตรฐานสมรรถนะ หรือมาตรฐานฝมือแรงงาน(Skill Standard) ที่สถานประกอบการหรือ ภาคอุตสาหกรรมตองการ โดยกําหนดโครงสรางหลักสูตรเปนโมดุลการฝก ตามหนวยความสามารถหรือหนวย สมรรถนะที่กําหนดขึ้น ๔. ในกระบวนการฝกตามความสามารถ(CBT) มีกรอบการพัฒนาสิ่งสนับสนุนการฝก เชน สื่อและชุดการฝกรวมถึงคอรสแวรการฝก (Courseware) ๕. มีกรอบการนําไปสูการฝก และการประเมินผลการฝกตามความสามารถ ๖. การใหการรับรองการฝกและเทียบความสามารถ ดังนั้นจากทีก่ ลาวมาสรุปไดวา รูปแบบการพัฒนาฯ ของTESDA เปนรูปแบบฯ ที่นาสนใจและ ครอบคลุมกระบวนการพัฒนาฝมอื แรงงานภายใตกรอบแนวคิด การฝกรูปแบบตามความสามารถ (CBT) นั่นเอง


­๗­ สํานักงานการอาชีวศึกษา(สอศ.) ไดนํารูปแบบดังกลาวของ TESDA มาเปนแนวทางในการ พัฒนาโมดุลการฝกฐานสมรรถนะของ สอศ. โดยมีรูปแบบฯ ดังนี้ ตนแบบเสนอแนะ โมเดลการพัฒนามอดูลฐานสมรรถนะของ สอศ. คุณวุฒิวิชาชีพไทย TVQ/VQ

คุณ วุฒิวิชาชีพ

สถาน ประกอบ กิจการ

การพัฒนามาตรฐานสมรรถนะ

หนวยสมรรถนะ

การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ

มอดูลการฝกอบรม

การพัฒนาวัสดุการเรียนรู/ คอรสแวร การฝกอบรมฐานสมรรถนะ

การถายทอดโดยการฝกอบรม การประเมินผล การใหประกาศนียบัตรและ การรับรองเทียบเทา

รูปแบบการพัฒนาโมดุลการฝกอิงสมรรถนะของ สอศ.

ถ า ย ท อ ด

O V E C I N S T I T U T I O N


­๘­

รูปแบบการพัฒนาชุดการฝก หรือชุดการเรียนรูรายบุคคลและคอรสแวร (โครงการ ADB) ผูเสนอ นายคมธัช รัตนคช นักวิชาการพัฒนาฝมือแรงงานชํานาญการ สํานักพัฒนาผูฝก และเทคโนโลยีการฝก กรมพัฒนาฝมือแรงงานโดยที่ปรึกษาจากมหาวิทยาลัยยูทาร มลรัฐยูทาร ประเทศสหรัฐอเมริกา รวมกับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ไดเสนอรูปแบบ การพัฒนาโปรแกรมการ ฝกอบรมที่อิงกับสมรรถนะ โดยแจกแจงเปนกิจกรรมของงานไวทั้งหมด ๑๕ ขั้น ซึง่ แสดงใหเห็นในภาพ (กรม พัฒนาฝมือแรงงาน,๒๕๔๓) ระบุคุณสมบัตผิ ูรับการฝก

วิเคราะหงานและพัฒนาผล การปฏิบตั งิ านตามระดับชั้น

เขียนวัตถุประสงคเชิง พฤติกรรม

เขียนขอกําหนดในการ ทดสอบ

พัฒนารูปแบบการเรียนรูที่ เหมาะสมกับผูรับการฝก

จัดทําแมแบบเอกสารการ นําเสนอหนาจอ

การออกแบบฐานขอมูล

การออกแบบสรางสรรค

ผูเชีย่ วชาญในสาขาวิชาเขา มามีสวนรวม

จัดทําแบบรางของโปรแกรม การฝกอบรม

จัดทําแบบรางชุดการ ฝกอบรม

การควบคุมคุณภาพของ ผลผลิต

เก็บรวบรวมขอมูลจากผูรับ การฝก

จัดทําแบบรางสุดทายของชุด การฝก

การบํารุงรักษาชุดการ ฝกอบรมใหทันสมัย


­๙­ จากแผนภาพ อธิบายไดวาการพัฒนาโปรแกรมการฝกอบรมที่อิงกับสมรรถนะตามแนวคิดของกรม พั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน (๒๕๔๓) มี ขั้น ตอนการดํ า เนิ น งาน ๑๕ ขั้ น ตอน โดยขั้ น ที่ ๑ ­๕ เป น ขั้ น ตอนการ ดําเนินงานในระยะที่ ๑ ซึ่งเปนขั้นตอนการออกแบบระบบการสอนหรือการฝก และ ขั้นที่ ๖­๑๕ เปน ขั้นตอน การดําเนินงานของระยะที่ ๒ ซึ่งเปนขั้นตอนการพัฒนาและประสิทธิผลระบบการสอนหรือการฝกซึ่งแสดงเปน รายละเอียด ไดดังนี้ ๑). ระบุคุณสมบัติผูรับการฝก คุณสมบัติคือ คุณลักษณะพิเศษของกลุมเปาหมายของผูรับการฝก ซึ่งจะกําหนดเปนคุณสมบัติ ทางกายภาพ (Physical) และคุณสมบัติทางการศึกษา และคุณสมบัติทางการศึก ษา (Education) คุณสมบัติ ทางกายภาพ หมายถึง การมองถึงความสมบูรณของรางกายสามารถเขารับการฝกอบรมได โดยทั่วไป จะมีการ ตรวจร างกาย มีก ารทดสอบความครบถ วนของร า งกาย มี ค วามพิ ก ารลั กษณะใด มีโ รคประจํา ตั ว หรื อ ไม คุ ณ สมบั ติ ท างการศึ ก ษาหมายถึ งศึ ก ษาวิ ช าใดมาบ า ง ระดั บ การศึ ก ษาใด อยู ใ นระบบ นอกระบบ หรื อ ตามอัธยาศัย ความรูพื้นฐานทางชางอยูในระดับใด หรือความรูดานคอมพิวเตอรและภาษาอังกฤษอยูในระดับ ใด เปนตน ซึ่งกอนที่จะพัฒ นาหลัก สูตรหรืออุปกรณการฝกในระบบ CBST ผูที่ทํ าการพัฒ นาระบบจะตอ ง ทราบถึงลักษณะเปาหมายของผูรับการฝกเปนสําคัญ ๒). วิเคราะหงานและพัฒนาผลการปฏิบัติงานตามระดับชั้น วัตถุประสงคของการฝกอบรมคือ อะไรที่ผูรับการฝกสามารถรับรู ทํา หรือรูสึกได หลังจากผานการ ฝกอบรม ซึ่งวัต ถุประสงคดังกลาวจะตอ งสอดคลอ งกับมาตรฐานของแตละสาขาอาชีพ และตองกําหนดให รอบคอบเพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรและชุดการฝก ซึ่งการวิเ คราะหและพัฒ นาผลการปฏิบัติงาน ตามระดับชั้น ประกอบดวย ๒.๑) การวิเคราะหงานและยอยเนื้องานของอาชีพออกมาเป น สวนยอ ยๆ ในลั กษณะของ รายการความสามารถ (Competency list) ที่ผูรับการฝกจะตองแสดงและทําใหไดเ ห็นโดยประจักษตรงตาม มาตรฐานของกลุมวิชาชีพ และสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน ๒.๒) การสรางเงื่อ นไขการฝก เมื่อทําการวิเคราะหแ ละยอยเนื้องานของอาชีพแลว ลําดับ ตอไปคือการจัดลําดับขั้นการฝกอบรม โดยจะตองแยกแยะออกมาใหไดวา ในแตละรายการความสามารถ ผูรบั การฝกสามารถฝกไดเลยหรือไม ถาไมไดควรจะฝกรายการไหนกอน หรือจําเปนหรือไมตองผานทัก ษะพื้น ฐาน เบื้ อ งตน (Prerequisite) ก อ น ซึ่ ง อาจต อ งแสดงออกมาเป น ลํ า ดั บ ขั้ น จากง ายไปหายากให เ ห็ น ชั ด เจน จนกระทั่ ง สํ า เร็ จในทุ ก รายการความสามารถ ซึ่ง การสร างเงื่ อ นไขการฝ ก นี้ เ รีย กว า การสร างผั ง รายการ ความสามารถ (Competency Mapping) ๓) เขียนวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม การเขียนวัต ถุประสงคเชิงพฤติกรรม ก็เพื่อ แสดงวาผูรับการฝก เมื่อผานการฝกอบรมแลวสามารถ เรียนรูและกระทําอะไรไดบาง ซึ่งวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมจะตองเกี่ยวขอ งกับองคความรู ความเขาใจ และ การปฏิบัติงานหรือกิจกรรมที่จะตองกระทําของผูรับการฝก สําหรับองคประกอบของวัตถุประสงคเชิง


­๑๐­ พฤติกรรมนั้น จะตอ งระบุสวนที่สัมพันธกัน ระหวางผูรับการฝก (กลุมเปาหมายของผูที่จะเขารับการฝก...?) พฤติกรรม (พฤติกรรมที่ผูรับการฝก ควรมีหลั งจบการฝกแล ว) เงื่อ นไขการประเมินผล (เงื่อ นไขที่ใ ชในการ ประเมินผลผูรับการฝก) และระดับชั้น (จํานวนหรือคุณภาพของการกระทํา) ๔) เขียนขอกําหนดในการทดสอบ การวัดผลความสามารถของผูรับการฝก เปนองคประกอบที่สําคัญของการฝกอบรมในระบบ CBST ตัววัดผลเชิงพฤติกรรมหรือการปฏิบัติงานตองใช การระบุแ ละแสดงเปน ลายลักษณอัก ษร เพื่อที่จะสราง มาตรฐานการปฏิบัติงานที่โยงเขากับวัต ถุประสงคเชิงพฤติกรรม ซึ่งสามารถนําไปสรางแบบทดสอบกอนการฝก แบบทดสอบกิจกรรมระหวางฝก แบบทดสอบหลังฝกได โดยขั้นตอนการทดสอบจะตองเชื่อถือได ในการวัด ความสําเร็จของผูรั บการฝก ทั้งในรูป แบบขององคค วามรู ความเข าใจ และการปฏิบั ติหรือ กิจกรรมที่ตอ ง กระทํา ๕) พัฒนารูปแบบการเรียนรูที่เหมาะสมกับผูรับการฝก การออกแบบการสอนหรื อ ฝ ก ในการฝ ก ระบบ CBSTจะต อ งคํ า นึ ง ถึ ง ทฤษฎี ก ารเรี ย นรู แ ละ แบบจําลองการเรียนรูจากงายไปหายากตามผังรายการความสามารถที่ไดกําหนดไว โดยมีองคประกอบที่สาํ คัญ คือ (๑) องคความรู หมายถึง เนื้อหาวิชาที่ผูรับการฝกจะตองเรียนรูทั้งในภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติ (๒) การแสดงหรือการนําเสนอ หมายถึง สิ่งที่จะแสดงใหผูรับการฝกมีความเขาใจเนื้อหาวิชา ที่ไดทําการเรียนรูมาไดมากยิ่งขึ้น โดยการยกตัวอยางที่มีความหมายและเหมาะสมหรือแสดงใหดูเปนตัวอยาง (๓) การปฏิบัติหมายถึง การนําเสนอเนื้อหาวิชาที่ไดเ รีย นรูมาใชในการฝก หัดทําหรือปฏิบัติ เพื่อแสดงใหรูวาผูรับการฝกมีทักษะหรือความชํานาญในเนื้อหาวิชานั้น (๔)การทบทวนซ้ํา หมายถึง ขอมูลปอนกลับที่จะทําใหผูรับการฝกไดรับรูถึงผลตอบสนองของ การปฏิบัติระหวางการฝก เพื่อปรับปรุงการเรียนรูหรือการปฏิบัติซ้ําจนกวาจะทําไดถูกตอ ง และมีความมั่น ใจ ในตนเอง (๕)การผานการฝก หมายถึง การทดสอบที่แสดงและทําใหไดเห็นโดยประจักษวาผูรับการฝก มีความรูและทักษะความสามารถตรงตามมาตรฐานเวลาที่ไดกําหนดไว ๖) จัดทําแมแบบเอกสารการนําเสนอหนาจอ การพั ฒ นาชุ ด การฝ ก ในระบบการฝ ก CBST ควรใช รูป แบบการนํ า เสนอที่ เ ป น มาตรฐานและ ตอเนื่องกัน เพื่องายสําหรับผูรับการฝกที่จะหาขอมูลและใชโปรแกรมการฝกอบรมโดยเนนความคิด รวบยอด (Focus on Key Concept) ทุก อย า งตอ งเป น เหตุ เ ป น ผลกั น (Logical) มี ค วามสอดคลอ งถู ก ต อ ง (consistency) อานงาย(easy to read) งายตอการติดตาม(Navigator) มีภาพประกอบ(Illustration) และมี การปฏิสัมพันธ(Interactive)


­๑๑­ ๗) การออกแบบฐานขอมูล ตัวหนังสือ ภาพกราฟก ภาพเคลื่อนไหว เสียงดนตรี เสียงบรรยาย แบบทดสอบตางๆ ที่ใชในชุดการ ฝกหรือโมดุลฝกที่ถูกพัฒนาขึ้น ควรถูกสรางขึ้นและจัดเก็บเปนฐานขอมูลตัวเลขและจัดเก็บเขาสูฐานขอมูลใน คอมพิ วเตอร เพื่อ ให ใชไดงายและสามารถเชื่ อมโยงขอ มูลตา งๆ เขาหากัน ได ซึ่ งจะง ายและสะดวกในการ ปรับปรุงชุดการฝกที่เปนเอกสารสิ่งพิมพหรือการพัฒนาหนาจอคอมพิวเตอร ๘) การออกแบบสรางสรรค การพัฒนาชุดการฝกหรือโมดุลฝกใหมีความสวยงามเปนสิ่งสําคัญ ทั้งนี้ก็เพื่อสรางสิ่งเราหรือ เปน ตัวกระตุนใหผูรับการฝกอยากเรียนรู ซึ่งการเปลี่ยนแปลงรูปแบบที่จําเจและใชความคิดสรางสรรคในการสราง ชุดการฝก ผูออกแบบจะตองพยายามใหเกิดการปฏิสัมพันธของสื่อกับผูใชใหมากที่สุด โดยใชลักษณะนิสัยของ ผูรับการฝกเขามารวมในการพัฒนาสถานการณหรือหาวิธีการที่นาสนใจเพื่อชวยใหผูรับการฝก เรีย นรูทักษะที่ สอน ๙) ผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชาเขามามีสวนรวม การพัฒ นาชุดการฝกหรือ โมดุลฝก นอกจากจะตอ งมีก ารออกแบบอยางสร างสรรคแลว การสราง หลักสูตรเพื่อการถายทอดเนื้อหาใหเปนไปตามวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมถือเปน สิ่งสําคัญมากเชนกัน ดังนั้น เพื่อการเสนอหลักสูตรที่แมนยํา ผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชา(Subject Matter Expert; SME) จึงเปนผูสําคัญทีจ่ ะรู ไดวา สิ่งใดที่ผูรับการฝกจะตองไดรับการเรียนรูและจะทําการฝกลักษณะใดที่ทําใหผูรับการฝกสามารถบรรลุถงึ เปาหมายทีวางไวได ขอ ควรระวั งในการทํา งานรวมกับ ผูเชี่ ยวชาญในสาขาวิช า คือระวัง อย ามอบงานใหผูเ ชี่ย วชาญทํา ทั้ ง หมด เพราะโดยส ว นใหญ แ ล ว ผู เ ชี่ ย วชาญ จะรู เ รื่ อ งในส วนของเนื้ อ หาหลั ก สู ต รในสาขาวิ ช าที่ ต นเอง รับผิดชอบเปนอยางดี แตมีความรูในเรื่องของการออกแบบการสอน การทดสอบ หรือ วิธีการนําเสนอไมมาก นัก ซึ่งทางที่ดีผูออกแบบในขั้นที่ ๘ และขั้นที่ ๙ ควรทํางานรวมกันอยางใกลชิด ๑๐) จัดทําแบบรางของโปรแกรมการฝกอบรม การจัดทําเอกสารการฝกและสื่อนําเสนอในระบบการฝก CBST ผูออกแบบจะตองทําการจัดทําแบบ รางของโปรแกรมการฝกอบรม ในองคประกอบดังตอไปนี้ (๑)วางแผนเกี่ยวกับเนื้อหาสาระของหลักสูตร (๒)การออกแบบคูมือการฝก (๓)กําหนดรูปแบบ (๔)สรางตนแบบ (๕)นําขอมูลดานตัวอักษร รูปแบบ และกราฟกจากแหลงขอมูลที่มีอยูแลวใสในตนฉบับ (๖)รูปแบบ แผนผังตางๆ ตองสัมพันธกับเนื้อหาหลักสูตร (๗)การจัดการดานวัส ดุและอุปกรณการฝก ควรนําเสนอโดยใชใบเอกสารการวางแผนงาน และหนาเอกสารตนแบบ


­๑๒­ (๘)เขียนเปนคูมือที่ดึงดูดความสนใจและเปนประโยชน (๙)ตรวจสอบความถูกตองของแบบสิ่งพิมพ ๑๑) จัดทําแบบรางชุดการฝกอบรม จัดทําแบบรางชุดการฝกหรือโมดุล ฝกในรูปแบบที่เหมาะสมกับ ความตองการของผูรับการฝกและ โครงการโดยแบบรางชุดการฝกอบรมเปนคูมือที่บรรจุสวนประกอบตางๆ ซึ่งถูกออกแบบมาอยางดีแลวในขั้นที่ ๑๐ ตองไดรับการนําเสนอเพื่อใหผูรับการฝกบรรลุวัตถุประสงคการปฏิบัติงานตามที่กําหนดไว ๑๒) การควบคุมคุณภาพของผลผลิต กอ นนํา ชุ ด การฝ ก หรือ โมดุ ล ฝก ไปใช ค วรมี การทดลองและการทดสอบก อนเพื่ อ ตรวจสอบทุ ก ๆ องค ป ระกอบของชุ ด การฝ ก เพื่อ ที่ จะรั บ รองได ว าผู รับ การฝ ก จะสามารถใช ชุ ด การฝ ก ไดดี ใ นทุ ก ๆ กรณี ขอแนะนําและการปฏิบัติงานของผูรับการฝกระหวางการทดลองและการทดสอบจะถูกนํามาตรวจสอบในการ แกไขปรับปรุงแบบรางชุดการฝกอบรม ๑๓) เก็บรวบรวมขอมูลจากผูรับการฝก ทําการทดสอบภาคสนามกับกลุมตัวแทนผูรับการฝก เพื่อหาขอผิดพลาดดูวาชุดการฝกหรือโมดุลฝก ใชไดดีแคไหนในระบบการฝก CBST โดยการจัดใหมีเจาหนาที่สังเกตการณระหวางการทดลอง เพื่อที่จะระบุได วาควรมีการเปลี่ยนแปลงใดบางในการที่จะจัด ทําแบบรางสุดทายที่มีคุณภาพ แบบประเมินผลควรไดรับการ สงไปพรอมๆ กับชุดทดลองฝกเพื่อเก็บรวบรวมขอ มูล ผลลัพธข องขอ สอบกอนฝกและหลังฝก ควรไดรับ การ บันทึกไว ประสิทธิภาพของชุดการฝกจะตองไดรับการทดสอบเพื่อ หาวายังมีสวนใดที่ไมดีพอหรือ อาจทําผูรับ การฝกสับสนได ๑๔) จัดทําแบบรางสุดทายของชุดการฝก ขอมูลในขั้นที่ ๑๓ ควรไดรับการตรวจสอบอยางระมัดระวัง และรางชุดการฝกตองไดรับการปรับปรุง หากไดทําตามขั้นตอนการออกแบบระบบการสอนอยางระมัด ระวั ง โดยเฉพาะในขั้ นที่ ๑๑ และ ๑๒ การ ปรับปรุงแกไขแบบรางชุดการฝกควรเกิดขึ้นเพีย งเล็กนอ ย ไมค วรมีสิ่งที่นาประหลาดใจใดๆ เกิด ขึ้นในการ จัดทําแบบรางสุดทายนี้ เพราะเหตุวาสิ่งเหลานั้นควรไดรับการคาดการณและแกไขไวกอนแลว สําหรับแบบราง สุ ด ท ายของชุ ด การฝ ก ในระบบ CBST ควรจะมี คู มื อ ครู ฝ ก (Instructor’s Manual) คูมื อ ผู รั บ การฝ ก (Trainee’s Manual) ชุดทดสอบซึ่งรวมดวยขอสอบและคําตอบ (Test and Answer Booklet) และชุดวัสดุ นําเสนอ (Presentation Materials) ๑๕) การบํารุงรักษาชุดการฝกอบรมใหทันสมัย ควรปกปองการลงทุนที่ใชไปกับการผลิตชุดการฝก โดยการวางแผนเพื่อรัก ษาชุดการฝก ใหทันสมัย โดยการ Update อยางสม่ําเสมอ และจัดตารางบํารุงรักษาขอมูล ซึ่งจะชวยใหระยะเวลาการใชงานของวัส ดุ ฝกเพิ่มขึ้นอีกไมนอยกวา ๑๐ ป


­๑๓­ สรุปไดวา การฝกอบรมที่อิงกับสมรรถนะตามแนวคิดของกรมพัฒ นาฝมือแรงงาน (๒๕๔๓) ไดแบง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมการฝกอบรมออกเปน ๑๕ ขั้นตอน ประกอบดวย (๑) ระบุคุณสมบัติของผูรับการฝก (๒) วิเคราะหงานและพัฒนาผลการปฏิบัติงานตามระดับชั้น (๓) เขียนวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม (๔) จัดทําแมแบบเอกสารการนําเสนอหนาจอ (๕) พัฒนารูปแบบการเรียนรูที่เหมาะสมกับผูรับการฝก (๖) เขียนขอกําหนดในการทดสอบ (๗) ออกแบบฐานขอมูล (๘) ออกแบบสรางสรรค (๙) ผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชาเขามามีสวนรวม (๑๐) ควบคุมคุณภาพของผลผลิต (๑๑) จัดทําแบบรางชุดการฝกอบรม (๑๒) จัดทําแบบรางของโปรแกรมการฝกอบรม (๑๓) เก็บรวบรวมขอมูลผูรับการฝก (๑๔) จัดทําแบบรางสุดทายของชุดการฝกอบรม (๑๕) บํารุงรักษาชุดการฝกอบรมใหทันสมัย ซึ่งแตละขั้นตอนตองมีความสัมพันธกัน ดังนั้นการพัฒนาโปรแกรมการฝกอบรมตองดําเนินการอยาง ตอเนื่องใหเปนระบบตามลําดับขั้นตอนที่สอดคลองกัน


­๑๔­

รูปแบบการฝกตามความสามารถ(Competency Based Training: CBT) ผูเสนอ วาที่รอยตรีนวพล ศรีรุง นักวิชาการพัฒนาฝมือแรงงานชํานาญการ ศพจ. นครศรีธรรมราช ประกอบดวยขั้นตอน ตอไปนี้ ๑. กําหนดตําแหนงงาน หรือหนาที่ ๒. วิเคราะหงานหรือหนาที่ โดยใชเทคนิคตางๆ เพื่อวิเคราะหหา ทักษะ (Skills) ความรู (Know ledges)และ(Attributes)คุณลักษณะอันพึงประสงค ๓. กําหนดวัตถุประสงคใหครอบคลุมทักษะ (Skills) ความรู (Know ledges) และ (Attributes)คุณลักษณะอันพึงประสงค ๔. กําหนดขอบเขตของงาน หรือหนาที่ ๕. วิเคราะหและออกแบบเครื่องมือประเมินผล ใบงาน หรือกิจกรรมการฝก และใบความรู ๖. วิเคราะหและออกแบบชุดการฝกและสื่อการฝกอบรม ๗. นําไปทดลองใช ๘. ปรับปรุง ๙. นําไปใชฝกจริง ๑๐. ปรับปรุงใหทันสมัย (Update)


­๑๕­

รูปแบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Training: CBT) ผูเสนอ นายสุรพล พลอยสุข ผูอํานวยการกลุม งานกฎหมาย กลุม งานกฎหมาย ประกอบดวยกระบวนการ ตอไปนี้ คณะกรรมการที่ปรึกษา, ภาคธุรกิจเอกชน ฝายแผนงานและประเมินผล

กําหนดความตองการทางดานแรงงานในทุกสาขาอาชีพ ทั้งทางดานการผลิตและบริการ

ดําเนินการวิเคราะหงาน/อาชีพ

กําหนดขอบเขตหนาที่ความรับผิดชอบ กําหนดความรู ทักษะ ทัศนคติ มาตรฐานการปฏิบ ัติงาน

Job Analysis, Task Analysis

พัฒนาหลักสูตรการฝกอาชีพ

กําหนดขอบเขตการฝก กําหนดวัตถุป ระสงคการฝก กําหนดหัวขอวิชาตางๆ ในการฝก

กําหนดเนื้อหาตางๆ ในการฝกอาชีพ

กําหนดรายละเอียดความรู ความสามารถและทักษะ ในแตละหัวขอวิชา

จัดทําโมดูลการฝก (Modules of Training)

กําหนดเนื้อหารวม ทักษะรวม กําหนดเนื้อหาเฉพาะ ทักษะเฉพาะ

พัฒนาอุป กรณชวยฝก (Training Materials)

แผนใส, CD­ROM, WEB, ตําราและชุดการฝก สําหรับ โมดุลการฝกตางๆ

จัดทําแบบทดสอบประเมินผล

จัดทําแบบทดสอบผาน จัดทําแบบทดสอบยอย จัดทําแบบประเมินผลการฝก

จัดทําระบบ Training Support System

On­line, Internet, Intranet, On­Air, WEB, E­Mail, CMI,ติดตาม ผลการฝก, ทะเบียนประวัต,ิ รับสมัคร, จัดหางาน, ฝกใน กิจการ , หองสมุด


­๑๖­ รูปแบบการฝกทักษะตามความสามารถ(Competency Based Skills Training: CBST) ซึ่งคณะผูเขา รับการฝกอบรม หลักสูตร Instructional System Design: ISD ระหวางวันที่ 10 กรกฎาคม – 4 สิงหาคม 2543 ณ. Box Hill Institute of TAFE (International) , Melbourne , Australia ไดนําเสนอเปนรายงาน กรมฯ หลังกลับมาจากการฝกอบรม มีรายละเอียด สรุปไดดงั นี้ การเตรียมการเพือ่ ดําเนินการฝกอาชีพภายใตระบบการฝก CBST มีขั้นตอนการดําเนินการ ดังนี้ ๑.) พิจารณาคัดเลือกอาชีพ หรือกลุม อุตสาหกรรมเปาหมาย ๒.) ทําการวิเคราะหงานอาชีพ หรือ วิเคราะหตําแหนงงานของกลุม อุตสาหกรรมเปาหมาย ๓.) ทําการวิเคราะหงานยอยของอาชีพ หรือ ของตําแหนงงานของกลุม อุตสาหกรรมเปาหมาย ๔.) นําขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหมาจําแนกรายละเอียดเกีย่ วกับความรู ทักษะ และมาตรฐาน ๕.) พิจารณากําหนด Modules และ ชุดการฝกตางๆ ๖.) พิจารณาจัดเรียงลําดับการฝกของ Modules และชุดการฝกตางๆ ๗.) ดําเนินการจัดทํารายละเอียดตางๆ ของชุดการฝก (Paper Base) และพัฒนาเปน Computer Base ๘.) ออกแบบจัดทําแบบเอกสารตางๆ ที่ตอ งใชในการดําเนินงาน การนําระบบ CBST เขามาใชในประเทศไทย ในสวนนี้ คณะผูเขารับการฝกอบรม ไดพิจารณาแลวเห็นวา ในการดําเนินการฝกอบรมทางดานอาชีพ ในรูปแบบ ตาง ๆ ที่มีอยูเดิมในประเทศไทยนั้น ก็ลวนแลวแตเปนวิธีการดําเนินการฝกอาชีพทีย่ อมรับไดทั้งสิ้น เพียงแตในระบบของ CBST จะตองมีการเนนหนักในเรื่องของขอกําหนดดานความสามารถ (Competency) ของผูที่จะผานการฝกอบรม เปนหลัก นั่นคือ ผูที่จะผานการฝกอบรมในแตละสวนไดนั้น จะตองเปนผูทมี่ ี ความสามารถในการปฏิบตั ิงาน นั้น ๆ ไดจริง ทั้งนี้ รายการความสามารถ ตาง ๆ จะตองเปนทีย่ อมรับของภาค ธุรกิจและอุตสาหกรรม สําหรับในสวนของการดําเนินการฝกอบรม หนวยงานทีท่ ําหนาที่ในการจัดการฝกอบรมสามารถที่จะ จัดการฝกอบรมไดหลายรูปแบบ ซึ่งขึ้นอยูกับศักยภาพพื้นฐานของแตละหนวยงาน เชน อาจดําเนิน การใน พื้นฐานของ Paper Based , Web Based หรือ Online ก็ได อาจดําเนินการฝกอบรมภายในสถาบัน หรือ ภายนอกสถาบัน หรือ ภายในสถานประกอบการก็ได ทั้งนี้ ขึ้นอยูกบั การพัฒนาสื่อที่ใชในการจัดการฝกอบรม เปนหลัก ซึ่งในการพัฒนาสื่อที่ใชในการดําเนินการจัดการฝกอบรมจะมีความสัมพันธโดยตรงกับเทคโนโลยีที่มี ใชอยูในสถาบันฝกอบรม ตาง ๆ ดังนั้น ประเด็นสําคัญทีส่ ดุ ยังคงอยูท ี่กระบวนการ พัฒนา Competency Standards และ การพัฒนา Training Packages ที่ไดรับการยอมรับจากภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม ขึ้นมา ใชในการดําเนินการฝกอบรม ซึ่งในสวนนี้จําเปนอยางยิ่งทีจ่ ะตองมีผเู ชีย่ วชาญดานการวิเคราะหงาน ( Job Analysis ) เขามาชวยในการดําเนินงาน ดังนั้น ที่มาของหลักสูตร หรือ Training Packages จะตองไดมา


­๑๗­ จากสารสนเทศของการวิเคราะหงานทีผ่ านการรับรองความถูกตองจากภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมที่ เกีย่ วของ การพัฒนาหลักสูตร หรือ Training Packages ที่ไดมาจากการพิจารณาขอมูลจากเอกสาร หรือ ตํารา จะตองถูกยกเลิก ผูทําหนาที่ในการพัฒนาหลักสูตร หรือ Training Packages จะตองมีขอมูลทีถ่ ูกตอง เกีย่ วกับการปฏิบัตงิ านจริงของพนักงานในภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม ตาง ๆ และใชพื้นฐานนี้ในการพัฒนา หลักสูตร หรือ Training Packages โดยใชเอกสาร หรือ ตํารา เปนเครื่องมือในการพัฒนาสื่อในการฝกอบรม หรือ อางอิง เทานั้น ในสวนที่เกีย่ วของกับกรมพัฒนาฝมือแรงงาน คณะผูเขารับการฝกอบรมไดพิจารณาจากโครง สราง พื้นฐานในปจจุบันของกรมพัฒนาฝมอื แรงงานและเห็นวาในการนําระบบ CBST เขามาใชในการ ดําเนินงาน ดานการฝกอบรม โดยเฉพาะอยางยิ่งในลักษณะของ Flexible Delivery จะตองมีการปูพื้นฐานความเขาใจ เกีย่ วกับการดําเนินงานภายใตระบบดังกลาว ใหแกบุคลากรที่เกีย่ วของกับการดําเนินการฝกอบรมทัง้ หมด เสียกอน โดยการดําเนินการ ตาง ๆ ดังนี้ ๑. จะตองทําใหพวกเขามีความเขาใจถึงลักษณะการดําเนินงานในระบบ CBST ๒. จะตองทําใหพวกเขามีความเขาใจในลําดับกอนหลังในการปรับปรุงระบบ ๓. จะตองทําใหพวกเขารูวาพวกเขาจะตองปรับปรุงเปลีย่ นแปลงบทบาทหนาทีข่ องตนเองไปใน ทิศทางใด ๔. จะตองสนับสนุนใหพวกเขาไดรับการพัฒนาเพือ่ ปรับปรุงตนเองใหมคี วามเหมาะสมกับระบบอยาง จริงจัง นอกจากนี้ คณะผูเขารับการฝกอบรมไดมีการพิจารณาถึงความเปนไปไดในการนําระบบ CBST เขามา ใชในการดําเนินงานของสถาบันฯ และ ศูนยพฒ ั นาฝมือแรงงาน ตาง ๆ รวมทั้ง พิจารณาถึงความสัมพันธกับ หนวยงานสวนกลางของกรมพัฒนาฝมือแรงงาน แลวเห็นวา ๑. สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค จะตองทําหนาที่เปนแมขายในดําเนินการฝกอบรม ๒. สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค จะตองใหการสนับสนุนศูนยพฒ ั นาฝมอื แรงงานจังหวัดในเขตพื้นที่ ความรับผิดชอบในดาน ตาง ๆ อาทิ เชน การพัฒนาบุคลากรฝกอบรม , การพัฒนาสื่อที่ใชในการฝกอบรม หรือ การรับผิดชอบในการดําเนินการฝกอบรมที่ใชเทคโนโลยีชั้นสูง รวมทั้ง การฝกอบรมที่มคี วามซับซอน ๓. กองมาตรฐานฝมือแรงงาน(ปจจุบันเปลีย่ นเปนสํานักงานพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝมือแรงงาน) จะตองรับผิดชอบในการกําหนด Competency Standards ของทุกสาขาอาชีพทีม่ ีอยูในประเทศไทย และ รับผิดชอบในการทําใหภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมยอมรับในมาตรฐานเหลานั้น ๔. กองพัฒนาเทคโนโลยีการฝกและพัฒนาฝมือแรงงาน จะตองรับผิดชอบในการออกแบบหลักสูตร การฝกอบรมที่สอดคลองกับ Competency Standards ที่ไดมีการกําหนดขึ้น และจะตองพัฒนาใหเปน Training Packages รวมทั้ง ตองรับผิดชอบในการพัฒนาสือ่ ประเภท ตาง ๆ ไมวาจะเปนเอกสารสิง่ พิมพ , Video , CD – ROM รวมถึงการพัฒนาทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ตาง ๆ ทั้งนี้ ในการออกแบบทุก หลักสูตรจะตองเนนหนักในเรื่องของการทดสอบประเมินผลตาม Competency Statement ของแตละสาขา อาชีพ


­๑๘­ ๕. หากกรมพัฒนาฝมอื แรงงาน มีความประสงคที่จะดําเนินงานในลักษณะของ Flexible Delivery จะตองมีการจัดตั้งหนวยงานที่รับผิดชอบโดยตรงในดานของการพัฒนาสื่อผานทางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และ หนวยงานที่รับผิดชอบโดยตรงในดานการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ๖. ในการดําเนินการจัดการฝกอบรมในลักษณะ Flexible Delivery จําเปนอยางยิง่ ที่จะตองมีการ ฝกอบรมและพัฒนาบุคลากรที่เกีย่ วของกับการฝกอบรมใหมีความรูความสามารถในการใชคอมพิวเตอร โดยเฉพาะอยางการใชโปรแกรมที่เกีย่ วของกับระบบ Internet และ Intranet ๗. กรมพัฒนาฝมือแรงงาน จะตองพยายามผลักดันใหมกี ารจัดตัง้ หนวยงานในลักษณะเดียวกันกับ ANTA Board ขึ้น เพื่อทําหนาที่ในการกําหนดนโยบายและทิศทางดานการฝกอาชีพ รวมทั้ง สรางความ ยอมรับในหมูส ถานประกอบการและภาคธุรกิจอุตสาหกรรม ตาง ๆ ทั้งนี้ ในการพิจารณาถึงระบบ Competency Based Training จะตองมีการพิจารณาถึงลําดับ ขั้นตอนการดําเนินการ ตาง ๆ ดังนี้ กิจกรรม 1. Course

สิ่งทีต่ องพิจารณาเพื่อดําเนินกิจกรรมตอไป 1.1 สารสนเทศเกีย่ วกับงาน หรือ อาชีพ 1.2 การยอมรับจากสถานประกอบการ 1.3 ความถูกตองและเทีย่ งตรง

2. การกําหนด Competency Standards

2.1 Modules 2.2 Units and Elements 2.3 Competencies

3. การพัฒนาหลักสูตร

3.1 การกําหนดเนือ้ หา และ การปฏิบตั ิ 3.2 Quiz and Test 3.3 Assessment

4. การสราง Training Packages

4.1 Paper Based 4.2 Online and Web Based 4.3 CD – ROM and Video 4.4 Lab and Workshop

5. การเตรียมระบบการฝกอบรม

5.1 On – Institute


­๑๙­ กิจกรรม ( ตอ )

5.2 Off – Institute 5.3 On and Off Institute 5.4 Workplace Training สิ่งทีต่ องพิจารณาเพื่อดําเนินกิจกรรมตอไป

6. การจัดการฝกอบรม

6.1 เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ ที่ใชในการฝก 6.2 Training for Trainer 6.3 การมีสวนรวมของภาคอุตสาหกรรม 6.4 การลงทะเบียน และ การประเมินผล

7. Support Training

7.1 Career Guidance 7.2 ระบบสนับสนุนขอมูลเกีย่ วกับการฝก 7.3 การจางงานสําหรับผูผ านการฝก 7.4 Internet and Intranet 7.5 Library

บทสรุป จากการฝกอบรมในเรื่องของ Instructional System Design ทําใหคณะผูเขารับการฝกอบรมไดพบ เห็นและมีความเขาใจเกีย่ วกับการจัดการฝกอบรมในลักษณะของ Competency Based Training ไดชดั เจน มากยิ่งขึ้น ซึ่งคณะผูเขารับการฝกอบรมขอรายงานสรุปในลักษณะของขอดี และ ขอเสีย ของการจัดการ ฝกอบรมในลักษณะดังกลาว ดังตอไปนี้ ขอดี ๑. สามารถตอบสนองความตองการของสถานประกอบการไดเทีย่ งตรงมากยิ่งขึ้น ๒. สรางโอกาสในการมีงานทําใหแกผผู านการฝกอบรมไดมากขึ้น ๓. สามารถเพิ่มจํานวนผูเขารับการฝกไดมากขึ้น หากมีการดําเนินการในลักษณะของ Flexible Delivery ๔. สามารถที่จะพัฒนาทักษะฝมอื ใหแกผูเขารับการฝกไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น


­๒๐­ ๕. ทําใหผูเขารับการฝกสามารถสําเร็จการฝกไดรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ๖. ทําใหผูรับการฝกมีทางเลือกในการเขารับการฝกทีห่ ลากหลายมากยิ่งขึ้น ๗. สามารถแกปญหาในสวนของการทํางานและการพัฒนาบุคลากรไดดขี ึ้น ๘. สามารถพัฒนาแรงงานใหมีสวนในการเพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขันไดดขี ึ้น ๘. หากในอนาคตตองมีการคิดคาใชจายจากผูรับการฝก ก็จะทําใหผูเขารับการฝกเสียคาใชจายในการ เขารับการฝกในอัตราทีต่ ่ํา ๙. ทําใหภาคเอกชนเขามามีสวนรวมในการดําเนินการฝกอบรมไดมากยิ่งขึ้น ขอเสีย ๑. ใชเวลาในการพัฒนาหลักสูตรมากขึ้น ๒. ใชเวลาในการพัฒนา Training Packages มากขึ้น ๓. ใชเวลาในการพัฒนาสื่อมากขึ้น ๔. การกําหนด Competency Standard และ Competency Statement กระทําไดยากมาก ๕. การฝกอบรมในเรื่องทีเ่ กีย่ วกับความรู แนวคิด และ หลักการ เปนที่เรื่องที่กระทําไดยาก และยัง ยากตอการทดสอบประเมินผล ๖. ตองมีการลงทุนในเรื่องเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ คอนขางสูง โดยเฉพาะอยางยิ่งหากดําเนินการใน ลักษณะของ Flexible Delivery ๗. ตองมีการพัฒนาเทคโนโลยีที่ใชใหทันสมัยอยูเสมอ ๘. เพิ่มความยุงยากในการจัดการฝกอบรม เพราะผูรับการฝกมีทางเลือกในการฝกอบรมทีห่ ลากหลาย มากขึ้น ๙. อาจเกิดปญหาภายในหนวยงาน อันเนื่องมาจากบุคลากรไมสามารถเปลีย่ นแปลงตนเอง และทํา การตอตานระบบการฝกแบบใหม ๑๐. ตองมีการปรับปรุงเปลีย่ นแปลงหลักสูตรการฝกอบรมอยูต ลอดเวลา ทั้งนี้ เนื่องจากหลักสูตรจะ ถูกกําหนดขึ้นจากสภาพการปฏิบตั ิงานจริงในสถานประกอบการ ซึ่งเมื่อสถานประกอบการ มีการเปลีย่ นแปลง สภาพการปฏิบัติงานเกิดขึ้น ก็จะมีผลกระทบโดยตรงตอหลักสูตรการฝกอบรมทันที


­๒๑­

รูปแบบการฝกตามความสามารถ(Competency Based Training: CBT) เสนอโดย นายสันโดษ เต็มแสวงเลิศ ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก ประกอบดวยขั้นตอน ตอไปนี้ ๑. นําหลักสูตรที่หนวยงานจัดฝกอบรมสาขาใดสาขาหนึ่ง ๒. วิเคราะหวาหลักสูตรฝกแลว ผูจบฝกทําอะไรไดบาง ๓. สือ่ การฝกที่เหมาะสมในการฝกอบรม ๔. พัฒนาหลักสูตร โดยจัดทําเปนโมดุลการฝก (Modules of Training) ๕. บทบาทครูฝก ๖. บันทึกผลการฝกอบรม ๗. ระบบการวัดผล ขอสังเกต

๑. การเลือกอาชีพที่จะฝกรูปแบบ CBT ควรเปนสาขาที่ไมซบั ซอน ๒. ควรพิจารณาสื่อที่มีอยูแลว ๓. การจัดทําคูม ืออธิบายสั้นๆ และกระชับเกี่ยวกับการดําเนินงานแตละเรื่อง ๔. มีแบบบันทึกผลผูรับการฝก ๕. ครูตองบันทึกผลการฝกและวิธีวัดผลวาดําเนินการอยางไร


­๒๒­

หลักสูตรการฝกตามความสามารถ(Competency Based Training: CBT) หลักสูตรการฝกทีเ่ หมาะสมกับกับรูปแบบการฝกตามความสามารถ(CBT) ตองมีที่มาจากมาตรฐาน ความสามารถหรือมาตรฐานสมรรถนะ (Competency Standard) ซึ่งจะตองจัดโครงสรางหลักสูตรเปน โมดุลหรือหนวยการฝกสอดคลองกับหนวยความสามารถหรือหนวยสมรรถนะ (Units of Competency) สรุปไดดังนี้ ­เปนโมดุลการฝก/โมดุลการสอน (Modules of Training) ประกอบดวยรายละเอียดในโมดุลการฝก เชน · ชื่อหลักสูตร (Course Title) · คําอธิบาย/รายละเอียดโมดุลการฝก (Module Description) · ประเภท/ระดับของใบรับรองความสามารถ(Level of Certificate) · ชื่อโมดุลการฝก(Module Title) · คําอธิบายโดยสรุปของพฤติกรรมที่คาดหวัง(Summary of Learning Outcomes) · เกณฑการประเมิน(Assessment Criteria) · เนื้อหา/ประเด็นการฝก(Content) · เงื่อนไขการฝก/เงือ่ นไขการประเมิน(Condition) · วิธกี ารประเมินการฝก(Assessment Method) รายละเอียดหลักสูตรตามความสามารถ / ฐานสมรรถนะ ความหมายของหลักสูตรการฝกฐานสมรรถนะ : Competency­based Curriculum หลักสูตรการฝกฐานสมรรถนะ คือ แบบแผนหรือกรอบสําหรับใชในการฝกอบรมที่มงุ เนนผลลัพธ (Outcomes) เปนสําคัญ และเปนแนวทางในการพัฒนาความสามารถใหกบั ผูเ ขารับการฝกใหแสดงบุคลิก หรือพฤติกรรมทีส่ ะทอนใหเห็นถึง ความรู (Knowledge) ทักษะ (Skill) และ คุณลักษณะอันพึงประสงคเฉพาะ (Attribute) ที่จะสามารถปฏิบตั งิ านหรือกิจกรรมนั้นๆ ใหประสบผลสําเร็จตามมาตรฐานหรือเกณฑการ ปฏิบตั ิงานในอาชีพตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ ลักษณะเดนของหลักสูตรการฝกฐานสมรรถนะ ๑. การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ สิง่ แรกทีต่ องมีกอนคือ เอกสารเกีย่ วกับมาตรฐานสมรรถนะ (Competency Standard) ๒. หลักสูตรฐานสมรรถนะเปนกรอบหรือแนวทางที่ใชในการพัฒนาใหผเู ขารับการฝกมีสมรรถนะ อยางมีขั้นตอน มีรูปแบบการฝกและวิธีการประเมินสมรรถนะอยางมีประสิทธิภาพ ๓. คุณลักษณะเฉพาะของหลักสูตรฐานสมรรถนะจะคํานึงที่ผลลัพธ(outcomes) เปนสําคัญ ซึ่งจะ ประกอบไปดวยความตองการที่แทจริงของสถานประกอบการและภาคอุตสาหกรรม


­๒๓­ ๔. เมื่อใดที่มาตรฐานสมรรถนะไมสอดคลองกับความตองการของภาคอุตสาหกรรมหรือสถาน ประกอบการ ผูพัฒนาหลักสูตรจําเปนตองกําหนดวัตถุประสงคในการฝกใหสอดคลองกับความ ตองการของภาคอุตสาหกรรมและ มาตรฐานการปฏิบตั งิ านจะถูกกําหนดใหสอดคลองกับความ ตองการของอุตสาหกรรมและความจําเปนในอาชีพตางๆ อีกครั้ง ตัวอยาง รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร หรือ โมดุลการฝกตามความสามารถ

ภาพที่ ๑ แสดงโครงสรางของหลักสูตรแบบสมรรถนะ จากภาพแสดงใหเห็น กรอบความสัมพันธกันของภาคอุตสาหกรรมและกรมพัฒนาฝมือแรงงาน สิ่งที่ สําคัญมากที่เปนปจจัยหลักในการพัฒนาหลักสูตรการฝกฐานสมรรถนะ คือ มาตรฐานสมรรถนะ (Competency Standard) แตสําหรับกรมพัฒนาฝมือแรงงาน เรามีมาตรฐานทักษะฝมือแรงงาน(Skill Standard) ซึ่งสถานประกอบการและภาคอุตสาหกรรมก็ไดเขามามีสวนในการพัฒนามาตรฐานทักษะ ดังกลาว ถึงแมจะไมครอบคลุมทุกสาขาอาชีพ และภาคอุตสาหกรรมก็ไมไดเขามามีสวนในการพัฒนาครบทุกที่กต็ าม มาตรฐานที่ไดก็มคี วามนาเชื่อถือในระดับหนึ่ง แตกย็ งั ไมดีเทากับมาตรฐานสมรรถนะและมาตรฐานอาชีพ ซึ่ง


­๒๔­ เปนกรอบมาตรฐานที่สงู กวาและนาเชื่อถือมากกวา เพราะเปนความตองการทีแ่ ทจริงของเจาของ อุตสาหกรรมหรือเจาของอาชีพนั้น นั่นเอง สําหรับมาตรฐานฝมือแรงงาน เปนมาตรฐานหนวยยอย เล็กกวา มาตรฐานสมรรถนะ หรือ มาตรฐานอาชีพ ดวยซ้ํา ไป นาจะเปนมาตรฐานในการปฏิบตั ิงานมากกวา (Performance Standard) แตก็จะนํามาเปนเกณฑการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ ได แตตองเพิม่ มาตรฐาน การปฏิบตั งิ าน/ความคาดหวังในการปฏิบตั ิงานในขั้นตอนตางๆดวย และใหครอบคลุมทุกสาขาอาชีพ เสียกอน จึงจะนํามาใชไดอยางมีประสิทธิภาพ ความหมายของกรอบการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ สามารถอธิบายได พอสังเขป ดังนี้ Qualification Framework หมายถึง กรอบคุณวุฒิวิชาชีพ ซึงในบานเรากําลังดําเนินการพัฒนาขึ้น โดยสํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ โดยใชชอื่ วา General Vocational Education Qualification System: GVQ) มี 7 ระดับ ซึ่งผลลัพธจาก ขั้นตอนนีค้ ือ กรอบคุณวุฒิวิชาชีพ ทีค่ รอบคลุมทุกสาชาอาชีพนั้นเอง ผูพัฒนา คือ เจาของอาชีพ ผูเชีย่ วชาญใน อาชีพนั้น หรือภาคอุตสาหกรรม กรอบคุณวุฒแิ หงชาติ (National Qualifications Framework; NQF) (วิรัช คุณวุฒิวานิช,2549:14) คุณวุฒิวิชาชีพ

คุณ วุฒิการศึกษา ปริญญาเอก

ระดับ7

ผูเชี่ยวชาญพิเศษ,ผูบริหารระดับสูง

ประกาศนียบัตรชั้นสูง ปริญญาโท

ระดับ6

ผูเชี่ยวชาญ,ผูบริหารระดับกลาง

ป.ตรีดานเทคโนโลยี2 ป.ตรีดานเทคโนโลยี1 ปวส. 2 ปวส. 1

ระดับ5

ผูเชี่ยวชาญ,ผูบริหารระดับตน

ระดับ4

ผูควบคุมดูแลหรือหัวหนางาน,นัก เทคนิค

ปวช. 3

ระดับ3

ผูชํานาญงาน,หัวหนางาน

ปวช. 2 ปวช. 1

ระดับ2

ผูปฏิบัติงานฝมือเฉพาะทาง

ระดับ1

ผูปฏิบัติงานอาชีพที่ใชท ักษะ พื้นฐาน

ประกาศนียบัตรบัณฑิต ปริญญาตรี อนุปริญญา ม.ปลาย+ ทักษะอาชีพ

ม.ตน +ทักษะอาชีพ

ภาพที่ ๒ แสดงกรอบคุณวุฒิแหงชาติ(National Qualifications Framework; NQF)


­๒๕­ Competency Standard หมายถึง มาตรฐานอาชีพ หรือ มาตรฐานสมรรถนะ ซึ่งหมายถึงขอกําหนด หรือเกณฑการปฏิบตั งิ านทั้งที่เปนการปฏิบตั ิ(processing) และเปนผลของงาน (outcomes) มาตรฐาน สมรรถนะนั้นจะคลายๆ กับมาตรฐานการปฏิบตั ิงาน(Performance Standard) หรือมาตรฐานการทํางาน (Standard of Work) สวนมาตรฐานทักษะฝมือแรงงาน(Skill Standard) ก็พอจะเทียบกับมาตรฐานการ ปฏิบตั ิงานก็ได ผลลัพธที่ไดจากขั้นตอนนีค้ ือ มาตรฐานสมรรถนะ หรือ มาตรฐานอาชีพ ที่เปนไปตามความ ตองการของภาคอุตสาหกรรม หรือ เจาของอาชีพ ผูพัฒนา คือ เจาของอาชีพ ผูเชีย่ วชาญในอาชีพนั้น หรือ ภาคอุตสาหกรรม หลังจากได มาตรฐานสมรรถนะ หรือ มาตรฐานอาชีพ ตางๆ มาแลว ขั้นตอนตอไปคือ การแปลง มาตรฐานสมรรถนะดังกลาวมาเปน หนวยสมรรถนะ( Unit of Competence) และทําเปนหนวยการฝก (Module of Training) เพือ่ นํามาเปนกรอบและเกณฑการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะตอไป อันประกอบไป ดวย Training Material/Courseware Development หมายถึง ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตร สื่อการฝก และพัฒนาอุปกรณในการฝกอบรม หรือปจจัยนําเขา (input) ตางๆ ที่เกีย่ วของกับการฝกอบรม นั่นเอง ผูพัฒนา เชน หนวยงานทีท่ ําการฝกอบรมตางๆ Training Delivery หมายถึง การใหการฝกอบรม โดยมี รูปแบบการฝก ซึง่ ก็คือ รูปแบบ CBT ระเบียบวิธีและเทคนิคการฝก (Methodology and Technique) ผูพัฒนา คือ หนวยงานทีท่ ําหนาทีฝ่ กอบรม ทักษะ Assessment System หมายถึง ระบบการวัดและประเมินผลการปฏิบตั ิงานและการฝกทักษะฝมือ ตามมาตรฐานสมรรถนะ หรือ ตามมาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (Performance Standard) โดยมีเกณฑมาตรฐาน สมรรถนะที่ทางภาคอุตสาหกรรม หรือ เจาของอาชีพ ไดกําหนดขึ้น กอนหนานี้ นั่นเอง ซึ่งในระบบการฝก รูปแบบฐานสมรรถนะ(CBT) จะทําการทดสอบดานตางๆ เชน ความรู ทักษะ และทัศนะคติ ดวยเครื่องมือวัดที่ มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพตามเกณฑที่มาตรฐานสมรรถนะกําหนด (Performance Criteria) และมีแนว ทางการประเมิน(Assessment Guide)วิธีการประเมิน(Assessment Method) และขอบเขตหรือขอกําหนด (Range Statement)รวมถึงหลักฐานการประเมินที่ตองการ(Evidence Requirement)ที่ชดั เจน เปนรูปธรรม และในการประเมินการฝกในระบบการฝกรูปแบบ CBT จะใหผลการเรียน หรือการฝก รายงานในรูปแบบการ แสดงสมรรถนะในแตละหนวยการเรียน หรือหนวยการฝก หรือ เปน Task หรือ งาน ดังนั้น จึงแสดงผล ออกมา เปน Student Performance Agreement หรือ Competency Passport นั่นเอง Standard Certification/Equivalency หมายถึง การใหใบรับรองสมรรถนะ ซึ่งในรูปแบบ การฝกฐานสมรรถนะ จะออกใบนี้รับรองหลังจากผานการประเมินมาตรฐานสมรรถนะแลว


­๒๖­ ความสัมพันธระหวางองคประกอบของมาตรฐานสมรรถนะและองคประกอบของหลักสูตรฐานสมรรถนะ ความสัมพันธระหวางองคประกอบของมาตรฐานสมรรถนะ(Competency Standard) กับ หลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency Based Curriculum) ซึ่งสามารถระบุความเชื่อมโยงของ องคประกอบตางๆ เพราะจะเปนแนวทาง หรือเปนตัวอยางในการแปลง มาตรฐานสมรรถนะ มาเปน หลักสูตร การฝกฐานสมรรถนะได ในอนาคต เนื่องจากองคประกอบของทั้งสองกรอบนั้น มีความสัมพันธและสนับสนุน ซึ่งกันและกัน สามารถอธิบายตามภาพดังตอไปนี้

ภาพที่ ๓ แสดงความสัมพันธองคประกอบของมาตรฐานสมรรถนะ(Competency Standard) กับหลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency Based Curriculum)


­๒๗­ ในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ(Competency­based Curriculum) ตองมีความเชื่อมโยงกัน กับมาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานสมรรถนะ (Competency Standard) ที่กําหนดขึ้นโดยภาคอุตสาหกรรม หรือ สถานประกอบการหรือโดยผูเ ชีย่ วชาญในสาขาอาชีพนัน้ ๆ ขึ้นมากอน แลวแปลงมาตรฐานสมรรถนะมา เปนหลักสูตร สําหรับใชฝก เจาหนาที่ บุคคลากร หรือใชเปนแนวทางในการพัฒนาผูเ ขารับการฝกใหสอดคลอง กับความตองการของสถานประกอบการ หรือในอุตสาหกรรมนั้นๆ ตอไป กระบวนการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ ในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ ตองคํานึงถึงประเด็นตอไปนี้ ๑. กําหนดมาตรฐานสมรรถนะ ๒. กําหนดคุณสมบัตเิ บื้องตนของผูเรียนหรือผูเขารับการฝก ซึง่ กระบวนการการพัฒนา หลักสูตรฐานสมรรถนะนั้น จะขึ้นอยูกบั ความตองการของภาคอุตสาหกรรม และผูที่ทําการพัฒนาหลักสูตร หรือครูผสู อน จะตองมีประสบการณในงานหรือสาขาอาชีพที่ทําหลักสูตรนั้นอยางดี การที่ครูผสู อนหรือผูจัดทําหลักสูตรมีประสบการณที่แตกตาง หรือความเชีย่ วชาญทีแ่ ตกตางกันมีผล ตอโครงสรางของหลักสูตรได ตองคํานึงถึงวาอะไรที่มีความจําเปนและเปนวัตถุประสงคหรือผลลัพธของการฝก ทักษะฝมือ(Outcomes) และสิ่งทีต่ อ งประเมินทัง้ หมดในหลักสูตรนั้นๆ ซึ่งตองสอดคลองกับความตองการของ ภาคอุตสาหกรรม องคประกอบของโครงสรางหลักสูตรฐานสมรรถนะ ประกอบไปดวย ­ โมดูลการฝก / โมดูลการสอน ­ โครงรางการออกแบบหลักสูตร โดยจะประกอบดวยรายละเอียดในการฝก ตามรูปทีแ่ สดง อันประกอบไปดวย · · · · · · · · ·

ชื่อหลักสูตร (Course Title) คําอธิบาย/รายละเอียดโมดูลการฝก (Module Description) ประเภท/ระดับของใบรับรอง(Level of Certificate) ชื่อโมดูลการฝก(Module Title) คําอธิบายโดยสรุปของพฤติกรรมคาดหวัง(Summary of Learning Outcomes) เกณฑการประเมิน(Assessment Criteria) เนื้อหา/ประเด็นการฝก (Content) เงื่อนไขการฝก/เงื่อนไขการประเมิน (Condition) วิธีการประเมินการฝก(Assessment Method)


­๒๘­ ตัวอยางโมดูลการฝก: การติดตั้งคอมพิวเตอรและเครือขาย


­๒๙­ รายละเอียด Learning Outcomes 1 /ความคาดหวังในการฝกที1่


­๓๐­

ถามี Learning Outcomes อีกก็สามารถกําหนดรายละเอียดของโมดูลการฝกเพิ่มได ตามกรอบที่ กําหนดไวในตัวอยางขางบน


­๓๐­

การออกแบบหลักสูตรฐานสมรรถนะ Course Design for

Competency-based Curriculum


­๓๑­ ระดับ/ ชื่อคุณวุฒิวิชาชีพ รหัสวิชา ชื่อรายวิช า เวลา (Nominal Duration)) คําอธิบายรายวิชา/ หลักสูตร

คุณสมบัติของผูเขาเรียน (Learner Entry Requirements)

DRESSMAKING NC II (การผลิตเครื่องแตงกาย) การพัฒนาสมรรถนะทั่วไปสูอ ุตสาหกรรมเสื้อผาสําเร็จรูป 2(3) 54 ชั่วโมง รายวิชานี้ไดออกแบบเพื่อพัฒนาสมรรถนะทั่วไปของผูเรียน ซึ่งครอบคลุม สมรรถนะพืน้ ฐาน (basic competency) และสมรรถนะแกน รวมกลุมอาชีพ (common competency) ในอุตสาหกรรมเสื้อผาสําเร็จรูป ที่ประกอบดวยความรู ทักษะ และเจตคติ เพื่อใหผูเรียนมีความพรอมใน การเรียนรูหรือพัฒนาสมรรถนะเฉพาะอาชีพ (core competence) ใหได มาตรฐานอุตสาหกรรมตอไป ผูเขาเรียน ควรมีคุณสมบัติ ดังนี้ · สามารถสื่อ สารไดทั้งการพูดและการเขียน · มีสุขภาพและจิตใจเหมาะสม · มีคุณลักษะทางศีลธรรมอันดี และ · สามารถปฏิบัติการคํานวณพื้น ฐานทางคณิตศาสตร

คําชี้แจง เอกสารสวนนี้ เปนการนํามาตรฐานสมรรถนะ (Standard of Competence) มาใชอางอิงในการ ออกแบบหรือกําหนดเปนหลักสูตรสําหรับการจัดการเรียนรู ซึ่งอาจเปนการฝกอบรมหรือการเรียนการสอน หรือการ ถายทอดความรูใดๆ ใหกับผูเรียน


­๓๒­

รายละเอียดของคุณวุฒิและโครงสรางคุณวุฒิ TVQ 1 งานผลิตสิ่งทอ TVQ 1 in Manufacturing textiles

โครงสรางหนวยการเรียนรู/ มอดูล (Unit/ Module Structure) หนวยการเรียนรู / มอดูล (Unit of Learning/ module) 1. การมีสวนรวมในการสื่อสาร (Participating in workplace communication)

ผลลัพธการเรียนรู ชั่วโมง (Learning Outcome) (Hours) 1.1 จัดหาและถายโอนสารสนเทศงานอาชีพ 6 (Obtain and convey workplace information) 1.2 มีสวนรวมในการประชุมและอภิปรายงานอาชีพ (Participate in workplace meeting and discussion) 1.3 จัดทําเอกสารที่เกี่ยวของกับงานใหเสร็จ สมบูรณ (Complete relevant work related documents) 2. การทํางานรวมกับผูอื่น 2.1 อธิบายและระบุบทบาทของทีม งานและความ 6 (Working with others) รับผิดชอบในทีมงาน (Describe and identify team role and responsibility in a team) 2.2 ทํางานในฐานะสมาชิกกลุม (Work as a team member) 3. การปฏิบัติงานเชิงวิชาชีพ 3.1 บูรณาการวัตถุประสงคสวนบุคคลกับเปาหมาย 6 (Practicing career องคการ professionalism) (Integrate personal objectives with organizational goals) 3.2 จัดและทําใหงานตามลําดับความสําคัญพบ ความสําเร็จ (Set and meet work priorities) 4. การปฏิบัติตามระเบียบวิธีดาน 4.1 ระบุอนั ตรายและความเสียง 6 สุขภาพและความปลอดภัยใน (Identify hazards and risks) งานอาชีพ (Practicing 4.2 ประเมินอันตรายและความเสี่ยง occupational health and (Evaluate hazards and risks) safety procedures) 4.3 ควบคุม อัน ตรายและความเสี่ยง (Control hazards and risks) 4.4 บํารุงรักษาความตระหนักดานสุขภาพและ ความปลอดภัย (Maintain occupational health and safety awareness)

หมายเหตุ (Remark)


­๓๓­ 5. การวัดและการคํานวณ Carrying-out Measurements and Calculations

6. การใชมาตรฐานคุณภาพ (Applying Quality Standards)

7. การปฏิบัติบํารุงรักษาเบื้องตน (Performing Basic Maintenance)

5.1 อานและแปลแบบ (Read and interpret drawing) 5.2 ดําเนินการวัด (Obtain measurements) 5.3 ปฏิบัติการคํานวณอยางงาย (Perform simple calculations) 5.4 ประมาณการปริมาณที่เหมาะสม (Estimate appropriate quantities) 6.1 ประเมินงานของตนบนฐานของ มาตรฐานสถานที่ทํางาน (Assess own work based on workplace standards) 6.2 ประเมินคุณภาพของสวนประกอบ ตางๆ และกระทําการแกไ ข (Assess quality of component parts and take corrective actions) 6.3 วัดสวนตางๆ โดยการใชเครื่องมือวัดที่ เหมาะสม (Measure parts using appropriate instrument) 6.4 บัน ทึกสารสนเทศใหสอดคลองกับ ระเบียบวิธีของสถานที่ทํางาน (Record information in accordance to workplace procedures) 6.5 ศึกษาสาเหตุของการเบี่ยงเบน คุณภาพและใหขอเสนอแนะการ ปองกัน (Study causes of quality deviation and recommend preventive action) 7.1 ปฏิบัติเครื่องจักรและประเมิน สมรรถนะของเครื่องจักร (Operate machine and assess its performance) 7.2 ทําความสะอาดและหลอลื่นเครื่องจักร (Clean and lubricate machine) 7.3 ตรวจสอบการทํางานของเครื่องจักร (Check machine operation)

9

6

6


­๓๔­ 8. การปรับตั้งและปฏิบัติเครื่องจักร Setting-up and Operating Machines

8.1 ปรับตั้งเครื่องจักร (Set machine) 8.2 ดําเนินการเดิน ตัวอยางของเครื่อง (Conduct sample run) 8.3 ทดสอบผลผลิตของเครื่องจักร (Test machine output) 8.4 ปรับการปรับตั้งเครื่องจักรเสียใหมให ไดตามขอกําหนดที่ตองการ (Re-adjust machine setting to meet requirements) 8.5 บํารุงรักษาการบันทึกและเตรียมการ รายงาน (Maintain records and prepare report) รวม

9

54

หมายเหตุ: 1. ขอควรทราบสําหรับรายวิชานี้ ไดน ํามาจากเอกสารของ TESDA · ชื่อรายวิชาใชเพียงชั่วคราวเพื่อการสาธิตเทานั้น · โครงสรางไดน ํามาจากการรวมมอดูลตางๆ ในหลักสูตร DRESSMAKING NC II (การผลิต เครื่ อ งแต ง กาย) ของ TESDA ซึ่ ง ประกอบด ว ย สมรรถนะพื้ น ฐานอาชี พ (Basic Competencies) ได แก หนว ยการเรีย นรู ที่ 1 – 4 และ สมรรถนะแกนร วมกลุ ม อาชี พ (Common Competencies) ไดแก หนวยการเรียนรูที่ 5 – 8 เพื่อ · จํานวนชั่วโมงที่เขียนขึ้นนั้นเปนการสมมุติ ยังไมไดมีการวิเคราะหสาระงาน (work content) จึงยังไมควรนําไปใชจริงเวน แตจะมีการวิเคราะหดังกลาว 2. ขอสังเกตจากเปรียบเทียบกับโครงสรางรายวิชาในระดับ ปวช., ปวส. · รายวิชาที่บ ูรณาการสาระงานที่หลากหลายเชนนี้ มักเปน ไปไดยากในหลักสูตรของ สอศ. แต ก็สามารถทําไดโดยพัฒนาใหเปน หนวยการเรียนรู/ มอดูลที่อิสระตอกัน และจัดการเรียนการ สอนใหแตละมอดูลมีผูรับผิดชอบที่ม ีความถนัดเฉพาะตรงกับเนื้อหาของมอดูลนั้น · รายวิชาที่บ ูรณาการสาระงานที่หลากหลายเชน นี้ เปน รายวิชาที่ไมจําเปน ตอ งมีมีหนวยหลัก ของความรู (Major Unit of knowledge) เนื่องจากแตละหนวยอาจอิสระหรือไมพึ่งพิงกัน จึง ไมเกิดตัวรวมของสาระขึ้น อยางไรก็ตาม ในการเรียนรูใดๆ ยอมขาดการใหความรูกอนเรียน ทฤษฎีไมได ดังนั้น จึงจําเปนตองใหความรูเกี่ยวกับหลักการและแนวคิดกอน การจัดเนื้อหา จึงตองมีสาระของความรูเบื้อ งตน (ตามความจําเปน ) กอ นการปฏิบัติงานโดยสอดแทรกไป กับหนวยยอยที่เปนการปฏิบัติงานซึ่งยังมีความรูเฉพาะสําหรับการปฏิบัติงานนั้น ก็จะทําให เกิดผลลัพธการเรียนรูไดตามที่คาดหวัง หรือ อาจจัดสาระของความรูเ บื้องตน เปน หนวยยอ ย ทั้งหนวยยอยก็ได แตตองมีพฤติกรรมถึงระดับความเขาใจ เปน ออยางนอ ย โดยทั่วไปจะจัด ไวในสวนตน ๆ (ดูที่ผลลัพธการเรียนรูที่ 2.1 และ 4.1 ซึ่งเปน knowledge competence หรือ สมรรถนะทางปญญา) · ทุกหนวยการเรียนรูในรายวิชานี้ เปนหนวยสมรรถนะทั้งสิ้น


­๓๕­ วิธีการประเมิน: (Assessment Methods) · การสอบขอเขียน (Written examination) · การสาธิต/ ปฏิบ ัติงานจริง (Demonstration/ Actual Performance) · การสัม ภาษณ (Interview) วิธีการสอน/ การเรียนรู (Course Delivery/ Methodology): · การเรียนรูแบบมอดูล (Self-paced/ Modular) · อภิป รายกลุม (Group Discussion) · การดูภ าพยนตร (Film Viewing)


­๓๖­ ทรัพยากร (Resource): TOOLS เครื่อ งมือ Tape Measure Hip Curve Meter Stick French curve Scissors Cutting shears L-Square Transparent ruler (with grid) – 24” Basin/pail Sewing box Tracing wheel Hanger Screw driver Flat (medium) Triangle 16” 45X90 Hand spray Seam Ripper Pin Cushion

EQUIPMENT อุปกรณ Single Needle Lockstitch machines High Speed Machines Attachment 3 Thread Over lock Machine Flat Iron Steam Press Ironing Board Cutting table Stools Button Holer Model Body Form Calculator Hanger Rack Bobbin Case Bobbin Spool Button holer Attachments Zipper Foot Zipper Foot Invisible Shirring Foot Sleeve Board/Ham Display Cabinet

คุณวุฒิของครูผูสอน/ ครูฝก (Teachers/ Trainers Qualifications) · ตองเปนผูไดคุณวุฒิ NCIII (Must be a holder of NC III) · ตองผานการฝกอบรม TM II (Must have undergone training on TM II) · ตองเปนผูม ีสุขภาพและจิตใจดี (Must be physically and mentally fit) · ตองมีประสบการณงาน/ อุตสาหกรรม อยางนอย 2 ป (Must have at least 2 years job/industry experience)

MATERIALS วัสดุ Pencil Pattern Paper Tailor’s chalk Dressmaker’s Tracing Paper Thread (Assorted colors) Buttons Zipper 8” Record book Zipper 20” Fusible Interlining Band Roll Hook & Eye (big & small) Machine Oil Eraser Needle DBX1 #14 Needle DCX1 #11 Needle DPX1 #14 Needle DPX5 #14 Hand Needles Fabric for Blouse Fabric for Skirt Fabric for Dress Clothes Line Pins


­๓๗­

แผนการสอน/ การเรียนรูแ บบมอดูลฐานสมรรถนะ (MODULES OF INSTRUCTIONS)

เอกสารสวนนี้ บางทีก็เรียกวา ขอกําหนด หรือ คุณลักษณะเฉพาะของมอดูล (Module Specification)


­๓๘­ มอดูล/หนวยที่ 123456789 ชื่อมอดูล/ หนวยการเรียนรู (Module/ Unit of learning Title) รหัสมอดูล/ หนวยการเรียนรู (Module/ Unit of learning Code) สอดคลองกับหนวยสมรรถนะของ คุณวุฒิ/ มาตรฐานวิชาชีพ คําอธิบายมอดูล/ หนวยการเรียนรู (Module/ Unit Description)

การมีสวนรวมในการสื่อสาร (Participating in workplace communication) XXXX-XXXX-01 หนวยสมรรถนะ รหัส XXXXXX ของมาตรฐานวิช าชีพ DRESSMAKING NC II (การผลิตเครื่องแตงกาย) มอดูล/ หนวยการเรียนรูนี้ ครอบคลุมความรู ทักษะ และเจต คติ ที่ต อ งการเพื่ อ จัดหา แปล และถา ยโอนสารสนเทศในการตอบสนอง ขอกําหนดของสถานที่ทํางาน 6 ชั่วโมง NC II

เวลา (Nominal Duration)) ระดับประกาศนียบัต ร/ คุณวุฒิ มอดูล/ หนวยการเรียนรู ที่ตอ งเรียน กอ น (Prerequisite) ผลลัพธการเรียนรู หลังจากจบมอดูล/ หนวยการเรียนรูน ี้ ผูเรียนจะสามารถ: LO 1. จัดหาและถายโอนสารสนเทศงานอาชีพ (Learning Outcomes) (Obtain and convey workplace information) LO 2. มีสวนรวมในการประชุมและอภิปรายงานอาชีพ (Participate in workplace meeting and discussion) LO 3. จัดทําเอกสารที่เกี่ยวของกับงานใหเสร็จสมบูรณ (Complete relevant work related documents)


­๓๙­ LO 1 ขอกําหนดของมอดูล/ หนวยการเรียนรู

ผลลัพธการเรียนรู (Learning Outcome)

รหัสมอดูล XXXX-XXXX-01

LO 1. จัดหาและถายโอนสารสนเทศงานอาชีพ เกณฑการปฏิบัติงาน/ เกณฑการประเมิน/ (Performance/ Assessment Criteria) 1) สารสนเทศที่เกี่ยวของเฉพาะไดเขาถึงจากแหลงที่เหมาะสม Specific relevant information is accessed from appropriate sources. 2) การถามที่เกิดผล ทักษะการฟงและการพูดที่มีประสิทธิภาพ ไดใชเพื่อรวบรวมและถายโอนสารสนเทศ Effective questioning, active listening and speaking skills are used to gather and convey information. 3) สื่อ(ตัวกลาง) ที่เหมาะสมไดใชถายโอนสารสนเทศและความคิด Appropriate medium is used to transfer information and ideas. 4) การสื่อสารที่ไมใชวาจาที่เหมาะสมไดนํามาใช Appropriate non-verbal communication is used. 5) สายงานของการสื่อสารที่เหมาะสมกับผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงานไดมีการระบุและปฏิบัติตาม Appropriate lines of communication with superiors and colleagues are identified and followed. 6) ระเบียบวิธีป ฏิบัติของสถานที่ทํางานที่กําหนดเพื่อการวางและการจัดเก็บสารสนเทศนัน้ ไดนํามาใช Defined workplace procedures for the location and storage of information are used. 7) การปฏิสัม พันธสวนบุคคลไดดําเนิน การแลวเสร็จอยางชัดเจนและกระชับ Personal interaction is carried out clearly and concisely.

ขอบเขต (Range) แหลงที่เหมาะสม (appropriate sources): · สมาชิกทีม งาน (Team members) · ผูคา (Suppliers) · พนักงานขาย (Trade personnel) · รัฐบาลทองถิ่น (Local government) · องคกรธุรกิจอุตสาหกรรม (Industry bodies)


­๔๐­ ขอบเขต (Range) (ตอ) สื่อตัวกลาง (medium) : · บัน ทึกชวยจํา (Memorandum) · หนังสือเวียน (Circular) · ประกาศแจงความ (Notice) · การอภิปรายขอมูลขาวสาร (Information discussion) · การสอนดวยการพูด (Follow-up or verbal instructions) · การสื่อสารแบบเผชิญหนา (Face to face communication) การจัดเก็บ (storage) · ระบบแฟม เอกสารทําดวยมือ (Manual filing system) · ระบบแฟม เอกสารใชคอมพิวเตอร (Computer-based filing system) หลักฐานการปฏิบตั ิงานทีต่ องการ (The Performance Evidence Required): รายงานกรรมวิธีการรวบรวมสารสนเทศที่เกี่ยวของเฉพาะซึ่งไดเขาถึง จากแหลงที่เหมาะสม

ทักษะและเจตคติทตี่ อ งการ (Underpinning Skills and Attitudes):


­๔๑­ หลักฐานความรูทตี่ อ งการ (The Knowledge Evidence Required): · รายงานกรรมวิธีการรวบรวมสารสนเทศที่เกี่ยวของเฉพาะซึ่งไดเขาถึงจากแหลงที่เหมาะสม

ความรูทตี่ องการ (Underpinning Knowledge) · สวนตางๆ ของคําพูด (Parts of speech) · การสรางประโยค (Sentence construction) · การสื่อสารที่เกิดประสิทธิผล (Effective communication)

· · · ·

วิธีการสอน/ การเรียนรู (Course Delivery/ Methodology): การอภิปรายกลุม (Group Discussion) การปฏิสัมพัน ธ (Interaction) การบรรยาย (Lecture) การรายงาน (Reportorial)

เงื่อนไข (Conditions) ผูเรียนจะตองจัดใหม ีสิ่งดังตอไปนี้ · วัสดุสําหรับเขียน: ปากกา; กระดาษ (Writing materials: pen; paper) · เอกสารอางอิง/ หนังสือ (References/ books) · คูม ือ (Manuals) วิธีประเมินผล (Assessment Methods) : · การสอบขอเขียน (Written test) · การสอบปฏิบัติ (Practical/ performance test) · การสัมภาษณ (Interview)


­๔๒­

บทบาทและหนาที่ของครูฝก คุณสมบัติของครูฝก (Trainer Qualifications: TQ) ในหลักสูตรการฝกอบรมของตางประเทศในบางประเทศ เชน ประเทศฟลปิ ปนส จะมีการกําหนด คุณสมบัตขิ องครูฝก หรือผูส อนเอาไวในหลักสูตรดวยเพื่อกําหนดมาตรฐานการจัดการฝก เชน ครูฝกที่จะมาสอนในหลักสูตรการฝก Animation NC II. ตองมีคุณสมบัติ ดังนี้ TRAINERS QUALIFICATIONS Trainer’s Qualification TQ II ­ Must be a holder of TESDA Animation NC II or equivalent (ตองเปนผูไดคุณวุฒิ NC II) ­ Must have completed Training Methodology II (TM II) course or equivalent (ตองผานการฝกอบรม TM II) ­ * Must have at least 2­years relevant industry experience. (ตองมีประสบการณงาน/ อุตสาหกรรม อยางนอย 2 ป) ­ Must be physically & mentally fit. (ตองเปนผูม ีสขุ ภาพและจิตใจดี) (ที่มา: TESDA.(2007). หลักสูตรฐานสมรรถนะ Animation NC II. Information and Communications Technology (ICT) Sector.) บทบาทและหนาที่ทเี่ ปลี่ยนไป การพัฒนาทักษะฝมือแรงงานจะประสบผลสําเร็จได ปจจัยทีส่ ําคัญนอกเหนือไปจากความพรอมของ เครื่องมือ เครื่องจักร วัสดุการฝก อุปกรณหรือสื่อการฝกทีด่ มี ีคุณภาพแลว ครูฝกถือเปนบุคคลสําคัญและเปน ปจจัยสําคัญอยางยิ่งในกระบวนการฝก เพราะเปนผูที่มหี นาที่ทําใหผูรับการฝกมีความสามารถในเรื่องใดเรื่อง หนึ่งที่จะชวยใหสามารถทํางนไดอยางมีประสิทธิภาพ เนื่องจากรูปแบบการฝกทักษะฐานสมรรถนะ(cbst) ซึ่งมี ความแตกตางจากรูปแบบการฝกแบบดั้งเดิมซึ่งในเว็บไซตนี้ ไดมีการนําเสนอบทความที่มีรายละเอียดโดยการ เปรียบเทียบไปบางแลว ดังนั้นครูฝก ภายใตรูปแบบการฝกทักษะฐานสมรรถนะ ตองปรับเปลีย่ นบทบาทของ ตนเองเพื่อใหสอดคลองกับการฝกในระบบและรูปแบบการฝกทักษะฐานสมรรถนะ(cbst) นี้ พอสรุปได ดังตอไปนี้ (กรมพัฒนาฝมอื แรงงาน,2545.)


­๔๓­ ๑.บทบาทการเปนผูอํานวยความสะดวก(Facilitator) ครูฝกตองเปนผูท ี่ทําใหผูรับการฝกสามารถเรียนรูและทําทุกสิ่งทุกอยางไดงายและสะดวกตลอดการ ฝก จึงตองดูแลอุปกรณเครื่องมือกอนการฝก ดูแลสิง่ อํานวยความสะดวก เชน หองพัก รวมทั้งตองดูแลความ ปลอดภัยใหกับทุกคนในโรงฝกงาน ครูฝกจึงตองตื่นตัวเสมอและตองทําใหทกุ คนระมัดระวังเกีย่ วกับอันตรายที่ อาจเกิดขึ้นในโรงฝกงาน

๒. บทบาทการเปนผูประสานงาน (Liaison Person) ครูฝกตองทํางานรวมกับผูอื่นมากกวาเดิม ตองเปนผูป ระสานงานกับบุคคลกลุมตางๆ เชน ตอง ประสานงานกับผูบ ริหารสถานประกอบกิจการ เพื่อรับขอมูลเกีย่ วกับมาตรฐานความสามารถหรือมาตรฐาน สมรรถนะ หรือขอมูลทีเ่ กีย่ วของกับการฝก ตองเปนผูใหคําปรึกษาแกบุคคลากรหรือผูรับการฝก ตองติดตอ ประสานงานกับผูรับผิดชอบเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ ในโรงฝกงาน หรือ หองคอมพิวเตอร


­๔๔­ ๓. บทบาทการเปนพี่เลี้ยง (Mentor) ครูฝกตองคอยใหการชวยเหลือผูรับการฝก เมื่อมีปญหาในการเรียน ตองอธิบายใหความรูเพิม่ เติม ให คําแนะนํา คอยติชม ชมเชย ใหผูรับการฝกไดแกไขขอผิดพลาดเมื่อจําเปน อยางสม่ําเสมอ เปนกัลยาณมิตร เปนผูใหการสนับสนุน และเปนแบบอยาง หรือแมแตการใหคําปรึกษาปญหาสวนตัวถาจําเปน

๔. บทบาทการเปนผูส าธิตทักษะ (Skill Demonstrator) เนื่องจากรูปแบบการฝกทักษะฐานสมรรถนะ(cbst) เปนรูปแบบการฝกที่เนนการพัฒนาทักษะ ปฏิบตั ิตามมาตรฐานการปฏิบตั ิงาน และมาตรฐานอาชีพ และใหไดความรู และมีคุณลักษณะตามความตองการ ของสถานประกอบกิจการหรือภาคอุตสาหกรรม ที่สนับสนุนใหผูรับการฝกปฏิบตั งิ านนั้นไดอยางมี ประสิทธิภาพ ดังนั้นครูฝกจึงตองมีบทบาทสําคัญในการแสดงทักษะปฏิบตั ิ และเปนแบบอยางของการ ปฏิบตั ิงานนั้นๆ หรือเปนผูค อยสอนงานใหผูเขารับการฝก

๕.บทบาทการเปนผูพัฒนาสือ่ การฝก (Material and Developer) ครูฝกตองวิเคราะหสื่อ ออกแบบ ผลิต ประยุกตใชงาน รวมทั้งสามารถประเมินผลการใชสื่อในการฝก ทั้งทีเ่ ปนสื่อสิง่ พิมพและสื่ออิเล็กทรอนิกส เชน บทเรียนชวยฝก นอกจากนี้ ครูฝก ยังตองคอยเสนอแนะวิธีการ เลือก วิธีการใชสงิ่ อํานวยความสะดวกในการฝก และใหการเรียนรูแกผูรับการฝกดวย


­๔๕­

๖.บทบาทการเปนผูประเมิน (Evaluator) ครูฝกตองเตรียมการประเมินผลการฝก(Training Assessment) โดยเริ่มตั้งแตการวางแผนเลือกและ สรางเครื่องมือวัด ประเมินการดําเนินการฝก และประเมินการนําเสนอผลการฝก การประเมินระหวางการฝก ตองคอยสังเกตพฤติกรรมของผูรับการฝกและเมื่อผูรับการฝกผลิตชิ้นงาน ครูฝกตองประเมินชิ้นงาน ตามเกณฑ หรือมาตรฐานทีก่ ําหนด ตองตรวจขอสอบวัดความรูและตรวจสอบวา ผูรับการฝกผานรายการความสามารถ ใดบางโดยบันทึกลงในแบบบันทึกความกาวหนาในการฝกของผูรับการฝก (record keeping)

โดยสรุป บทบาทของครูฝกภายใตเงือ่ นไขการฝกในรูปแบบการฝกทักษะฐานสมรรถนะ(cbst) ไดวาครูฝกมี บทบาทเปนผูใหการชวยเหลือ เปนผูอํานวยความสะดวก ผูป ระสานงาน เปนพี่เลีย้ ง เปนผูส าธิตทักษะ วิเคราะห ออกแบบและพัฒนาสื่อการฝก และเปนผูประเมินการฝกตามมาตรฐานการปฏิบตั ิงานหรือมาตรฐาน สมรรถนะที่สถานประกอบกิจการตองการ ­ ใหคําแนะนํา ­ ใหคําปรึกษา ­ สนับสนุน ใหกําลังใจ


­๔๖­

ชุดการฝกอบรม(Training Packages) ในการเรียนการสอน หรือการฝกอบรมทีเนนผูเรียนเปนศูนยกลางหรือใชหลักการเรียนรูแ ละการ ฝกอบรมแบบรายบุคคล โดยใชความแตกตางตางรายบุคคล (Individualization) จําเปนอยางยิ่ง ที่ตองจัด กระบวนการเรียนรูหรือการฝกอบรมทีม่ ีประสิทธิภาพ เริ่มตัง้ แตการออกแบบและวางแผนการเรียนการสอน และการฝกอบรม อยางมีขั้นตอน เหมาะสม ครูผูสอนหรือครูฝกตองมีการเตรียมการสอนมาอยางดี มีความ พรอมดานตางๆ มีความรูและความเขาใจผูเรียนและผูเขารับการฝกมาอยางดีตามหลักจิตวิทยาการศึกษา และ ที่สําคัญการจัดเตรียมเครื่องมือ อุปกรณวัสดุและสื่อสําหรับประกอบการเรียนการสอนและการฝกตองพรอม โดยเฉพาะหากการเรียนการสอนหรือการฝกอบรมนั้น เนนรายบุคคลหรือการใหผูเรียนเปนศูนยกลางจึงมี ความจําเปนอยางยิ่งทีต่ อ งมีความพรอมในสื่อ วัสดุ อุปกรณ เอกสารการฝก รวมถึงการออกแบบกิจกรรมการ ฝก เกณฑการประเมินและเอกสารสําหรับประกอบการทดสอบตางๆ เพื่อทราบผลความกาวหนาของผูเ รียน เอง ตองมีการออกแบบ จัดเตรียมและผานการวิเคราะห อยางเปนระบบมากอนลวงหนา และสามารถนํามาใช ไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังนั้นจึงมีการพัฒนาชุดการฝก(Training Packages) ขึ้นสําหรับใชประกอบการเรียน การสอนและการเยนรูห รือฝกอบรมรายบุคคล ขึ้น

ความหมาย ชุดการฝกอบรม เปนสื่อการศึกษาประเภทหนึ่งที่สรางขึ้นมา เพื่อใหเปนชุดประสบการณสําหรับการ ฝกอบรม ชุดการฝกอบรมอาจประกอบดวย สือ่ เดียว หรือประสมที่ไดรับการพัฒนาขึ้นมา เพือ่ ชวยผูใหการ ฝกอบรม ใชประกอบกิจกรรมในการฝกอบรม หรือชวยผูรับการฝกอบรมสามารถที่จะศึกษาหาความรูไดดวย ตัวเอง (ศิริพรรณสายหงษและสมประสงค วิทยเกียรติ,๒๕๔๓: ๖๗๓ อางถึงใน วัชรา สามาลย, ๒๕๔๕:๒๕) ลักษณะเดนของชุดการฝก ชุดการฝกอบรมสําหรับใชประกอบการเรียนและฝกอบรมในรายบุคคลนั้น จะมีลักษณะสําคัญๆ พอสรุป ได ตามที่วัชรา สามาลย,๒๕๔๕:๒๕ ไดกลาวไว ดังนี้ ๑. เปนสื่อทีม่ ีจุดมุง หมายเฉพาะเรื่อง ชุดการฝกอบรมที่พัฒนาขึ้นโดยทั่วไป จะมีจุดมุงหมายเฉพาะเรื่องๆ ไปหากเนือ้ หาทีต่ อเนื่องเปนเรื่องยาว ก็จัดทําเปน ชุดๆ ทีต่ อเนื่องกันไป เพื่อใหแตละชุดการฝกอบรม ไมยาว มากจนเกินไป ๒. เปนสื่อประสม ชุดการฝกอบรมโดยทั่วไป ทัง้ ในการศึกษาในระบบและนอกระบบ จะพัฒนาดวยสื่อ ประสม (Multimedia) คือประกอบดวยสื่อตัง้ แตสองประเภทขึ้นไป เชน ชุดการฝกอบรมประกอบดวย สือ่


­๔๗­ ภาพนิ่ง (Still Images) และเทปเสียง (Cassette) ชุดการฝกอบรมที่ใชวีดทิ ัศน และสื่อสิง่ พิมพ เพื่อชวยใหผู เขารับการฝกอบรม จะไดศึกษาหาความรูหลายๆ ดานดวยกัน ๓. เปนสื่อเสริมกิจกรรมการฝกอบรมที่มผี ูใหการฝกอบรม หรือเปนสื่อทีผ่ ูรับการฝกอบรมสามารถศึกษา ไดดวยตนเอง ๔. เปนสื่อที่ใชระยะเวลาฝกอบรมสั้นๆ ชุดการฝกอบรมโดยทั่วไป มีความมุงหมายที่จะอบรมเฉพาะเรื่อง ระยะเวลาที่ ใชในแตละชุดจึงสั้นๆ หากเนื้อหายาวมาก ก็จะจัดทําขึ้นหลายชุด โดยแบงเนื้อหาเปนเรื่องๆ ไป ซึ่งทําใหผเู ขารับการฝกอบรมไมเกิดความเบื่อหนายในการศึกษา ๕. เปนสื่อที่ใชไดทุกสถานทีแ่ ละทุกเวลา ซึ่งจะทําใหผฝู กอบรม สามารถศึกษา หาความรูได จะอยูที่ใดก็ ได ชุดการฝกสวนใหญ จะทําขึ้นมาใหอํานวยความสะดวกในเรื่อง การใชไดทุกเวลา ยิ่งเปนสื่อทีต่ องศึกษาดวย ตนเองแลว ผูเ ขารับการฝกอบรม สามารถศึกษาเมื่อใดก็ไดตามทีต่ องการ ๖. เปนสื่อทีเ่ บ็ดเสร็จในตัวเอง ชุดการฝกอบรมที่พัฒนาขึ้นแตละชุด จะจัดทําขึ้นใหเบ็ดเสร็จในตัวเอง ทํา ใหผฝู กอบรมสามารถที่จะเลือกศึกษา หาความรูจากชุดการฝกอบรมไดตามความตองการ หรือผูรับการ ฝกอบรม ตองการศึกษาเฉพาะเรื่องใด เรื่องหนึ่งจากชุดการฝกอบรมก็จะสามารถที่จะเลือกศึกษาเฉพาะเรื่อง ได โดยไมตอ งอานตอเนื่องไปยังสิ่งที่ไมตอ งการศึกษา ประเภทของชุดการฝกอบรม จากลักษณะสําคัญของชุดการฝกอบรมที่ไดกลาวมา ก็พอที่จะแบงประเภทของชุดการฝกอบรม ไดสอง ประเภทใหญๆ คือ ๑. ชุดการฝกอบรมสําหรับเสริมกิจกรรมการฝกอบรม ชุดการฝกอบรมสําหรับเสริมกิจกรรมการ ฝกอบรม นั้น ผูใหการฝกอบรม อาจจะจัดกิจกรรมการฝกอบรมไดสองลักษณะ คือ ๑.๑ การใชสื่อของชุดการฝกอบรม บางสวนมาประกอบการบรรยาย หรือ ประกอบกิจกรรมการ ฝกอบรม ๑.๒ ผูใหการฝกอบรมจะจัดกิจกรรมการฝกอบรมตามชุดการฝกนั้น โดยมีผูใหการฝกอบรมเปนผูอ ํานวยความสะดวก(Facilitators) หรือ ผูดําเนินการ (Organizers) มิใช เปนแตเพียงผูบ รรยายเทานั้น ชุดฝกอบรมเสริมกิจกรรมการฝกที่มีใชกันอยูโ ดยทั่วไป ไดแก ชุดการฝกอบรมที่เปน เอกสาร สิง่ พิมพ ชุด การฝกอบรมที่เปนสไลดประกอบเสียง ชุดการฝกอบรมวีดิทศั น เทปเสียง ชุดฝกอบรมระยะสั้น เปนตน และเนื่องจากชุดการฝกอบรม เปนสื่อประเภทหนึ่งทีม่ คี วามสมบูรณในตัว จึงทําใหผูใหการฝกอบรม สามารถนํามาใชประกอบการจัดกิจกรรมการฝกอบรม ใหเปนที่นาสนใจ สนุกและไมนาเบือ่ หนาย ๒. ชุดการฝกอบรมดวยตนเอง เปนชุดการฝกอบรมทีผ่ ูฝกอบรมสามารถ ที่จะเรียนรูไดดวยตนเอง และ ชวยในการฝกอบรมใหแกคนจํานวนมากๆ ไดเพราะในการฝกอบรมในแตละครั้ง จําเปนตองทรัพยากรในการ จัดทั้งบุคคลากร งบประมาณ และวัสดุอปุ กรณตางๆ ทําใหการฝกอบรมทําไดนอยครั้ง จํานวนผูรับการ ฝกอบรมไมไดมาก


­๔๘­ ชุดการฝกอบรมประเภทนี้ จัดทําขึ้นในรูปของสื่อที่สอดคลองกับวัตถุประสงคเนื้อหาความรู กําลังทรัพยากรที่มี อยูแ ละความสะดวกในการสงสื่อไปสูผูรับการฝกอบรม และสถานที่ซึ่งผูรับการฝกจะศึกษาหาความรู ชุดการฝกอบรมทีศ่ ึกษาดวยตนเอง อาจจะเปนชุดการฝกอบรมในรูปของสไลดประกอบเสียง ชุดการ ฝกอบรมวีดิทศั น­เทปเสียง ชุดการฝกอบรมแบบเรียนสําเร็จรูป ชุดการฝกอบรมโมดูล เปนตน (ศิริพรรณ สาย หงษและสมประสงค วิทยเกียรติ, ๒๕๔๓: ๖๗๔­๖๗๕ อางถึงใน วัชรา สามาลย, ๒๕๔๕: ๒๖) (ที่มา: วัชรา สามาลย (๒๕๔๕).การพัฒนาชุดการฝกอบรมการวิจัยชั้นเรียน เรื่อง ความรูเกีย่ วกับการ วิจัยชั้นเรียนและการวิเคราะหปญหาการเรียนการสอน, ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร: กรุงเทพฯ.)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.