กระบวนการพัฒนาฝีมือแรงงาน และการพัฒนาอาชีพ เอกสารเผยแพร่ตามตัวชี้วัดรายบุคคล กลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก สํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก
5/28/2012
นายคมธัช รัตนคช ผู้จัดทํา /ผู้เรียบเรียง
1
เรื่องที1่ กระบวนการพัฒนาฝีมือแรงงานและการพัฒนาอาชีพ ในการพัฒนาฝีมือแรงงานและการพัฒนาอาชีพ จําเป็นอย่างยิ่งที่ต้องดําเนินการอย่างเป็นระบบ มี กระบวนการทีช่ ัดเจนและมีหลักวิชาการสนับสนุนอย่างเพียงพอ ในการดําเนินงานที่จําเป็นเพื่อการพัฒนาฝีมือ แรงงานและการพัฒนาอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การวิเคราะห์ความต้องการ(Need Analysis) การ วิเคราะห์อาชีพ (Occupational Analysis: OA) การวิเคราะห์ภารกิจ(Task Analysis: TA) และข้อมูลที่ จําเป็นสําหรับการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานและพัฒนาอาชีพต่างๆ เช่น มาตรฐานความสามารถ (Competency Standard) เกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria ) เป็นต้น กระบวนการพัฒนาฝีมือแรงงานและการพัฒนาอาชีพ จึงควรเริ่มอย่างเป็นระบบโดยมีขั้นตอน ดังนี้ กิจกรรม (Activities)
การประเมินความต้องการ/ ความจําเป็น(Needs Assessment)
ผลลัพธ์(Outcomes) รายงานผลการประเมินความ ต้องการ/ความจําเป็น ในการ จัดทําโครงการฝึกทักษะฝีมือ วัตถุประสงค์การจัดโครงการฝึก ทักษะฝีมือ แผนปฏิบัติการสําหรับการพัฒนา โครงการฝึกทักษะฝีมือ ข้อมูลที่จําเป็นในการออกแบบ หลักสูตรการฝึก ความคุ้มค่าในการจัดโครงการ ฝึกอบรม เงื่อนไขที่เกี่ยวข้องของการ ฝึกอบรม เช่น ความต้องการ ทักษะฝีมือแรงงานของ ภาคอุตสาหกรรมและสถาน ประกอบกิจการ ข้อคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (stakeholder)
2
กิจกรรม (Activities)
ผลลัพธ์(Outcomes)
การวิเคราะห์อาชีพ(Occupational Analysis)
ข้อมูลและเนื้อหาในอาชีพหรืองาน ต่างๆ คําบรรยายลักษณะอาขีพและ ขอบเขตของอาชีพหรืองานที่ ครอบคลุม บัญชีรายการภารกิจ(DACUM Chart) ที่ครอบคลุมในงาน/อาชีพ นั้น
การวิเคราะห์ภาระกิจ(Task Analysis)
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Performance Standard) เครื่องมือ อุปกรณ์ วัสดุ วัตถุดิบ ที่ จําเป็นในการปฏิบัติงาน ความรู้ที่จําเป็นในการปฏิบัตงิ าน ทัศนคติที่ต้องมีในการปฏิบัติงาน ข้อปฏิบัติด้านความปลอดภัย
การวิเคราะห์ประชากรกลุ่มเป้าหมาย (Population Analysis)
ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ของกลุม่ ประชากรเป้าหมาย /กลุ่มผู้รับการ ฝึก หรือกลุ่มผู้เรียน ที่ต้องการ จัดการฝึกอบรมทักษะฝีมือ ข้อกําหนดลักษณะความต้องการ ในการจัดฝึกอบรมทักษะฝีมอื แรงงาน ข้อกําหนดคุณลักษณะ/คุณสมบัติ ของผู้รับการฝึกในหลักสูตรต่างๆ
3
กิจกรรม (Activities)
ผลลัพธ์(Outcomes)
การเขียนวัตถุประสงค์การปฏิบัติงาน ของมาตรฐานความสามารถ
รายละเอียดหรือคําอธิบายการ กระทําทีผ่ ู้รับการฝึก/แรงงานต้อง ปฏิบัติ หรือดําเนินการได้ภายใต้ เงื่อนไขที่กําหนด ขอบเขตพฤติกรรมหรือการ ปฏิบัติงานที่ผู้รบั การฝึก/แรงงาน แสดงออกมาให้เห็น โดย ครอบคลุม 3 ด้าน เช่น ด้าน ความรู้ ด้านทักษะและทัศนคติ บอกผลลัพธ์หรือกระบวนการ ปฏิบัติงานที่สามารถวัดได้ ประเมินได้และเห็นได้
การจัดทํามาตรฐานความสามารถ (Competency Standard)
ชื่ออาชีพและมาตรฐานความสามารถ / ชื่อหน่วยความสามารถ รายละเอียดหน่วยความสามารถ ที่ บ่งบอกหน่วยความสามารถย่อยและ เกณฑ์การปฏิบัติงาน ความรู้ที่จําเป็น(เฉพาะ)ในการ ปฎิบัติงาน ขอบเขตการปฏิบัติงาน เครื่องมือ อุปกรณ์ วัสดุ วัตถุดิบ หลักฐานอ้างอิงการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน o การใช้เครื่องมือ o การจัดเก็บบํารุงรักษา ผลลัพธ์ของการปฏิบัติงาน o คุณภาพ o ความสวยงาม o ความสิ้นเปรือง
4
ผลลัพธ์(Outcomes)
กิจกรรม (Activities)
การจัดทําความต้องการในการ ฝึกอบรม
ความรู้ ทักษะ และความสามารถ ที่ผู้รับการฝึก/แรงงาน ควรได้รับ การฝึกหรือเรียนรู้ โครงสร้างของโปรแกรมการฝึก หรือระบบการฝึกที่มีความยืดหยุ่น หลักสูตรเสริม หรือโมดูลเสริม
ผลลัพธ์ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว คือ ข้อมูลและเนื้อหาที่จําเป็นสําหรับการออกแบบโปรแกรม การฝึกหรือหลักสูตรการฝึกทักษะฝีมือ รวมถึง สิ่งจําเป็นทีใ่ ช้ในการฝึก เช่น วัสดุ วัตถุดิบ เครื่องมือ อุปกรณ์ วิธีการวัดและประเมินผล(Assessment) แบบประเมินความสามารถ เอกสารประกอบการฝึก สื่อการฝึกและ วิธีการฝึก เป็นต้น ซึ่งรายละเอียดจะอธิบายในบทต่อไป
เอกสารและสิ่งอ้างอิง Temasek foundation. (2012). เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง Developing and Managing of Modern Technical and Vocational Education and Training Institutions for the Department of Skill Development,Ministry of Labour, Thailand. Singapore Polytechnic. (2 -10 July 2012 Bangkok.Thailand.)