การจัดทํามาตรฐานความสามารถ (Competency Standard) เอกสารเผยแพร่ตามตัวชี้วัดรายบุคคล
กลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก สํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก
7/26/2012
นายคมธัช รัตนคช ผู้จัดทํา /ผู้เรียบเรียง
1
เรื่องที่ 5 การจัดทํามาตรฐานความสามารถ(Competency Standard) ความหมายและประโยชน์ของมาตรฐานความสามารถ(Competency Standard) ที่ ผ่ า นมา ได้ พู ด ถึ ง การวิ เ คราะห์ ภ ารงาน(Tasks Analysis) ซึ่งทําให้ได้คุณลักษณะเฉพาะส่วนของความรู้ ความสามารถ* ชัดเจนมากยิ่งขึ้น หลังจากนั้นก็นํามาสิ่ง ที่สังเคราะห์ได้ มาจัดระบบเป็นมาตรฐาน ความสามารถ (Competency Standard) ตามที่แสดงไว้ในผังภูมิ ด้านล่างนี้ *ความสามรถหรือสมรรถนะ (Competency) โดยคํา นิ ย าม และความหมาย คื อ องค์ ป ระกอบของความรู้ (knowledge) ทั ก ษะ (skills) ความสามารถ และ บุคลิกลักษณะส่วนบุคคลในด้านอื่นๆ (Attribute) (อาทิ ปั จ จั ย ปั ญ หาคุ ก คามบุ ค ลิ ก ลั ก ษณะ ทั ศ นคติ คุ ณ ค่ า และความสนใจ) ซึ่งสามารถนํามาใช้ในการตรวจวัดได้อย่างน่าเชื่อถือ โดยจะแสดงเป็นลักษณะของการ ปฎิบัติที่แตกต่างกันออกไป (Mirabile, 1997; Schippmann, และคณะ., 2000; Spencer, McClelland, และ Spencer, 1994) อาชีพ/งานอาชีพ หน้าที่
ภารงาน
หน้าที่
ภารงาน
หน้าที่
ภารงาน ภารงาน ภารงาน
มาตรฐานการ ปฏิบัติงาน(PC) มาตรฐานการ ปฏิบัติงาน(PC) มาตรฐานการ ปฏิบัติงาน(PC) มาตรฐานการ ปฏิบัติงาน(PC)
มาตราฐานความสามารถ ประกอบด้วย -ความสามารถย่อย -เกณฑ์การปฏิบัติงาน -ความรู้/ทักษะที่จําเป็นใน การทํางาน -ขอบเขต และบริบทของการ ปรับใช้ -แหล่งอ้างอิง หลักฐานการ ปฏิบัติงาน/ด้านความรู้
2 ดังนั้น ในส่วนของมาตรฐานความสามารถ จึงกําหนดไว้ในผลลัพธ์การ ปฎิ บั ติ ง าน ระดั บของการปฎิ บั ติ ง าน ความรู้ ที่ จํ าเป็ น หรื อมี ส่ วน สนับสนุน ตลอดจนบริบทของงานที่เป็นผลลัพธ์ของการปฎิบัติงานได้ และมีการนํามาใช้ปฏิบัติ วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก ของมาตรฐานความสามารถ ก็ คื อ การจั ด ทํ า มาตรฐานสํ า หรั บ การปฎิ บั ติ ต าม ความสามารถหรื อ สมรรถนะที่ กําหนด โดยหากมีการนํามาตรฐานการ ความสามารถมาใช้ในการฝึกอบรม หรือประกอบการพิจารณาขององค์กรที่ออกใบรับรองต่างๆ ก็จะสร้าง คุณูปการมากมาย โดยจะอยู่บนพื้นฐานของ การพัฒนาโครงการฝึกอบรมเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานความรู้ ความสามารถ และ การออกแบบการทดสอบ ประเมินว่า บุคคลนั้นๆ ได้รับ หรือมีมาตรฐานความรู้ ความสามารถ ดังนั้นเพื่อให้เกิดการพัฒนาตามาตรฐานความรู้ ความสามารถ ก็ควรจะต้องเน้นย้ําให้เกิดความสามารถใน การเขียน หรือจัดทําวัตถุประสงค์ของการปฎิบัติงานให้ได้อย่างชัดเจน แนวทางการพัฒนามาตรฐานความสามารถ (Competency Standard) โดยทั่วไปแล้วมาตรฐานความสามารถประกอบด้วยข้อมูล ดังต่อไปนี้ ชื่ออาชีพ หรือตําแหน่งงาน ตลอดจนมาตรฐานทาง ความรู้ ความสามารถ/ คําอธิบายเชิงหน่วยเฉพาะ คําอธิบายเกี่ยวกับความสามารถ ซึ่งแสดงถึง องค์ประกอบของความสามารถ ตลอดจนเกณฑ์การ ปฏิบัติงาน ความรู้ที่จําเป็นหรือสนับสนุนการปฎิบัติงาน คุณลักษณะ ช่วง และบริบทที่สามารถประยุกต์ใช้ได้ แหล่งอ้างอิง หลักฐาน
3 รายการ ชื่ออาชีพ หรือตําแหน่งงาน ตลอดจนมาตรฐาน ความสามารถ/ คําอธิบาย เชิงหน่วยเฉพาะ
คําอธิบายเกี่ยวกับ ความสามารถ ซึ่งแสดงถึง ความสามารถย่อย ตลอดจนเกณฑ์การ ปฏิบัติงาน
ความรู้ที่จําเป็นหรือ สนับสนุนการปฎิบัติงาน
คําอธิบาย การระบุตําแหน่งงาน หรือ อาชีพโดยเฉพาะ ตลอดจน ขอบเขตของมาตรฐาน ความสามารถ / คําอธิบาย เชิงหน่วยเฉพาะ
ตัวอย่าง ช่างเชื่อม(เชื่อมโลหะ/เชื่อมต่อ/บัดกรี) ส่วนของคําอธิบายเชิงหน่วยเฉพาะจะ ครอบคลุมความรู้ และทักษะตามที่กําหนด ไว้ โดยจะเป็นการตีความลักษณะของการ เชื่อม/ต่อ/บัดกรีตามภาพวาดต้นแบบ และ ข้อต่อเชื่อมแผ่นโลหะมวลเบาในแนวราบ โดยใช้กระบวนการเชื่อมเหล็กโค้ง อาจจะจัดทําขึ้นในลักษณะ ความสามารถย่อยที่ 1: การกําหนด คุณลักษณะ หรือข้อกําหนดเกี่ยวกับการ ของบัญชีรายการ ปฎิบัติงานเชื่อม/เชื่อมโลหะ/เชื่อมต่อ/ ความสามารถย่อย (Competency Element: บัดกรี CE) การประมวล และจัดทํา เกณฑ์การปฎิบัติงาน บัญชีรายการความสามารถ เกณฑ์การปฎิบัติงาน (PC) 1.1 การทํา ย่อย (CE) ขึ้นเป็นชุดเกณฑ์ ความเข้าใจ/อธิบายเกี่ยวกับข้อแนะนําการ ทํางานกับผู้ควบคุม การปฎิบัติงาน เกณฑ์การปฎิบัติงาน (PC) 1.2 การตีความ สัญลักษณ์ของการเชื่อมต่อ และคุณลักษณะ เฉพาะสําหรับงานเชื่อม/เชื่อมโลหะ/ เชื่อมต่อ/ บัดกรี หลักเกณฑ์การปฎิบัติงาน (PC) 1.3 การ พิจารณาตัดสินใจเกี่ยวกับปริมาณ หรือ จํานวนของวัสดุ และผลิตภัณฑ์สิ้นเปลืองใน การปฎิบัติงานเชื่อม/เชื่อมโลหะ/เชื่อมต่อ/ บัดกรี ความรู้ซึ่งสามารถนํามาใช้ คุณลักษณะเฉพาะของวัสดุทจี่ ะใช้ในงาน งานได้ เพื่อให้เกิด เชื่อม/เชื่อมโลหะ/เชื่อมต่อ/ บัดกรี ผลสัมฤทธิ์ตามผลลัพธ์การ คุณลักษณะเฉพาะของผลิตภัณฑ์ ปฎิบัติงานที่ประสบ สิ้นเปลืองที่จะใช้ในงานเชื่อม/เชื่อม ความสําเร็จ โลหะ/เชื่อมต่อ/ บัดกรี
4
คุณลักษณะ ช่วง และ บริบทที่สามารถ ประยุกต์ใช้ได้
สถานการณ์ ซึ่งผู้ ปฎิบัติงาน หรือผู้เรียนรู้/ เข้ารับการฝึกอบรม จะ นํามาใช้ในกิจกรรมการ ปฎิบัติงาน ซึ่งโดยทั่วไป ครอบคลุมถึง ลักษณะของเครื่องมือ อุปกรณ์ หรือวัสดุที่ นํามาใช้ในสถาน ประกอบการ หรือ สถานที่ปฎิบัติงาน เงื่อนไขการปฎิบัตงิ าน สภาพแวดล้อมในการ ทํางานและข้อมูลที่ เกี่ยวข้องกับการ ปฎิบัติงาน
แหล่งอ้างอิง หลักฐาน
ผลผลิต การบริการ กระบวการ หรือกิจกรรมที่ สามารถนํามาใช้ในการ พิจารณา หรือตัดสินใจ เกี่ยวกับความรู้ ความสามารถของ ผู้ปฏิบัติงาน หรือผู้เรียน
ความสําคัญของความปลอดภัยในสถาน ประกอบการ และหลักการแนะนําด้าน สุขภาพ การใช้งานวัสดุอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัย ส่วนบุคคล ซึ่งครอบคลุมถึง เครื่องแบบสําหรับการปฎิบตั ิ เสื้อเกราะ/ป้องกันความปลอดภัย หมวกนิรภัย แว่นนิรภัย แผ่นหน้ากากป้องกันสายตาจากงาน เชื่อม ในส่วนของการปฎิบัติงานที่จะเกี่ยวข้อง หรือ สัมผัสโดยตรงกับวัตถุอันตรายในงานเชื่อม และบัดกรี ให้ครอบคลุมถึงสิง่ ต่างๆ ดังต่อไปนี้ ผลิตภัณฑ์มีกลิ่นฉุน และเป็นอันตรายต่อ การไหลเวียน หรือถ่ายเทของอากาศ อันตรายที่เกิดจากพื้นที่จํากัด หรือมีการ ควบคุม อันตรายที่เกิดจากการปฎิบัติงานใน พื้นที่อากาศร้อน การแผ่รงั สีอุลตร้าไวโอเลต กระบวนการ การพิจารณา ตัดสินเกี่ยวกับปริมาณ หรือ จํานวนของวัสดุ และผลิตภัณฑ์สิ้นเปลืองที่ จะใช้ในงานเชื่อม/เชื่อมโลหะ/เชื่อมต่อ/ บัดกรี ซึ่งครอบคลุมถึง แต่ไม่จํากัดอยู่เฉพาะ กับ การสวมใส่ และการใช้อุปกรณ์รักษา ความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ถกู ต้อง เหมาะสม สําหรับการปฎิบัติงานเชื่อม/ เชื่อมโลหะ/เชื่อมต่อ/บัดกรี การตีความลักษณะของการเชื่อม/ต่อ/
5 บัดกรีตามภาพวาดต้นแบบ การพิจารณาข้อกําหนด หรือลักษณะ ความต้องการของวัสดุ สําหรับการ ปฎิบัติงานเชื่อม/เชื่อมโลหะ/เชื่อมต่อ/ บัดกรี ผลผลิต การจัดทําเอกสารเกี่ยวกับคุณ ลักษณะเฉพาะ และปริมาณ/จํานวนของ วัสดุ และผลิตภัณฑ์สิ้นเปลืองที่จะใช้ใน งานเชื่อม/เชื่อมโลหะ/เชื่อมต่อ/ บัดกรี เสร็จสมบูรณ์ ตามขั้นตอนวิธีปฎิบัติของ หน่วยงาน *ถ้อยคํา หรือคําอธิบายเกี่ยวกับความรู้ ความสามารถควรเขียนให้ชัดเจน มีเนื้อหาที่กระชับรัดกุม และ สามารถสื่ อสารได้ อย่ างถู กต้ อง บทความที่ผ่ านมาได้ มีการฝึกปฏิบั ติ การเขี ยนวั ตถุประสงค์ ของการ ปฏิบัติงาน ซึ่งมีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ A B C D
ผู้ฟัง พฤติกรรม หรือการปฏิบัติ เงื่อนไข ระดับ หรือมาตรฐาน
องค์กรและรูปแบบของมาตรฐานความสามารถ องค์ ก รแต่ ล ะองค์ ก รล้ ว นมี แ นวทางการจั ด ทํ า มาตรฐานความสามารถตามแนวทางจํ าเพาะ ที่ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ขององค์กรนั้นๆ โดยใน ระดับประเทศแล้ว จําเป็นต้องมีการจัดทํารูปแบบ มาตรฐานของการจั ดทํ าเอกสารดั งกล่ าวร่ วมกั น ดังนั้น การศึกษา รวบรวม และประมวลรูปแบบของ มาตรฐาน ความสามารถต่างๆ ในหลายๆ ประเทศ จึงเป็นประโยชน์กับการพิจารณาหารูปแบบที่เป็น มาตรฐานของประเทศได้
6 ตัวอย่างของมาตรฐานความสามารถของนานาประเทศสามารถติดตามได้จากเวปไซต์แหล่งข้อมูลออนไลน์ ดังต่อไปนี้ http://training.gov.au/ http://www.caalliance.co.uk/centreresources/nqf-packspublications/index.aspx http://www.centralia.edu/coe/skill-standards/Wind%20Standards.pdf http://www.ukstandards.co.uk/Pages/index.aspx http://app2.wda.gov.sg/data/ImgCont/946/Competency%20Standards%20for%2 0Training%20and%20Assessment.pdf
บทสรุป มาตรฐานความสามารถ หรือมาตรฐานสมรรถนะ (Competency Standard) เป็นสิ่งที่มี สําคัญมากในการจัดทําเอกสาร ซึ่งจะช่วยสร้างนิยามคําจํากัดความต่างๆ เกี่ยวกับมาตรฐานความสามารถ ในสถานที่ประกอบการ หรือสถานที่ปฏิบัติงาน และนํามาใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสําหรับการพิจารณาจัดทํา เนื้อหาสําหรับการการฝึกอบรม หรือการดูแลหลักสูตรการฝึกอบรม ดังนั้น เนื้อหาที่เป็นมาตรฐานความสามารถฉบับสมบูรณ์จะขึ้นอยู่กับการวิเคราะห์ทั้งในด้าน อาชี พ และภารกิจของอาชีพนั้ นๆ โดยจะต้ องมีกระบวนการตรวจสอบ รั บรองจากผู้ เชี่ยวชาญ หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิจากภาคอุตสาหกรรม ในบทความต่อไป จะนําเสนอในส่วนของการจัดทําข้อกําหนดในการฝึกอบรมสําหรับประชากร กลุ่มเป้าหมาย โดยนํามาตรฐานความสามารถนี้มาใช้เป็นหลักการพื้นฐานในการพิจารณา
เอกสารและสิ่งอ้างอิง Temasek foundation. (2012). เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง Developing and Managing of Modern Technical and Vocational Education and Training Institutions for the Department of Skill Development,Ministry of Labour, Thailand. Singapore Polytechnic. (2 -10 July 2012 Bangkok.Thailand.)