Training Requirement

Page 1

การจัดทําความต้องการหรือข้อกําหนด สําหรับการฝึกอบรม เอกสารเผยแพร่ตามตัวชี้วัดรายบุคคล

กลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก สํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก

7/31/2012

นายคมธัช รัตนคช ผู้จัดทํา /ผู้เรียบเรียง


1

เรื่องที่ 7 การจัดทําความต้องการหรือข้อกําหนดสําหรับการฝึกอบรม ในบทความก่อนหน้านี้ เราได้ศึกษาการจัดทํา มาตรฐานความสามาร ถหรื อ มาตรฐาน สมรรถนะ(Competency Standard) เสร็จ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว พร้ อ มกั บ การจั ด ทํ า ฐานข้ อ มู ล สําหรับประชากรกลุ่มเป้าหมาย ในบทความนี้ จึงใช้ข้อมูลในส่วนดังกล่าวมาจัดทําเป็นความ ต้ อ งการ/ข้ อ กํ า หนดในการฝึ ก อบรมของ ประชากรกลุ่มเป้าหมายโดยเฉพาะ

การกําหนดความต้องการสําหรับการฝึกอบรม (Training Requirements: TR) ในส่ ว นของชุ ด มาตรฐานความสามารถ/ สมรรถนะ ถื อ เป็ น เกณฑ์ สํ า หรั บ การฝึ ก อบรม เพื่ อ นร่ ว มวิ ช าชี พ เดี ย วกั น กั บ ผู้ เ ข้ า รั บ การ ฝึ กอบรม ทั้ ง นี้ บางคนอาจจะมีค วามสามารถ/ ส ม ร ร ถ น ะ ตา ม ที่ กํ า ห น ด ไ ว้ ใ น ม า ตร ฐ า น ความสามารถ/สมรรถนะ ที่ กํ า หนดไว้ ใ น ประสบการณ์ ก ารทํ า งานของบุ ค คลนั้ น ๆ แล้ ว ในขณะที่ความสามารถ/สมรรถนะของบางคนก็ อาจจะแตกต่างไปจากข้อกําหนดหรือมาตรฐาน เริ่มต้น ซึ่งทําให้ต้องมีการเตรียมความพร้อมก่อน เข้ารับการฝึกอบรม โดยผังภูมิที่แสดงถึงข้อกําหนดความต้องการสําหรับการฝึกอบรม (TR) แสดงดังต่อไปนี้ ข้อกําหนดความต้องการ สําหรับการฝึกอบรม

สิ่งที่ผู้เข้ารับการอบรม/ผู้ เรียนรู้ควรได้เรียนรู้จาก โครงการฝึกอบรม

ความสามารถ/สมรรถนะ ที่มีอยู่ ณ ปัจจุบัน

มาตรฐานความสามารถ/ สมรรถนะ

เทากับ (=)

คุณลักษณะที่ต้องการ  ทักษะ  มาตรฐานการปฎิบัติงาน  ความรู้ที่จําเป็น  ช่วง และบริบท

ลบ (-)

สิ่งที่ผู้เรียน/ผูเ้ ข้ารับการ ฝึกอบรมได้เรียนรู้ มาแล้ว และสามารถ ปฎิบัติงานได้ตาม มาตรฐานสมรรถนะที่ กําหนด


2

ข้ อ กํ า หนดความต้ อ งการสํ า หรั บ การ ฝึ ก อบรมเป็ นส่ ว นที่ผู้ เรี ย น หรือ ผู้ เ ข้ า รั บ การฝึกฝนจะต้องประสบความสําเร็จตาม เ ก ณ ฑ์ ที่ กํ า ห น ด ไ ว้ ใ น ม า ต ร ฐ า น ความสามารถ/สมรรถนะ โดยส่ ว นใหญ่ แล้ ว ก็ ค าดการณ์ ว่ า จะมี ก ารดํ า เนิ น การ ฝึ ก อบร มดั ง กล่ า วให้ ส ามารถบรรลุ มาตรฐานความสามารถ/สมรรถนะทั้งหมด ที่ มี อ ยู่ โดยผู้ เ ข้ า รั บ การฝึ ก อบรมใน บางส่ ว นอาจจะมี คุ ณ สมบั ติ ไ ม่ ผ่ า นตาม เ ก ณ ฑ์ ห รื อ ข้ อ กํ า ห น ด เบื้ อ ง ต้ น ตาม มาตรฐานความสามารถ/สมรรถนะ โดยใน กลุ่มนี้อาจจะต้องมีการจัดทําหลักสูตร หรือกิจกรรมเสริม (Bridging Course) ให้เพิ่มเติม และในส่วนของ บุคคลที่ผ่านเกณฑ์หรือข้อกําหนดเบื้องต้นตามมาตรฐานความสามารถ/สมรรถนะตามหน่วยจําเพาะ ก็สามารถ ได้รับการยกเว้นการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ในบางหน่วยของมาตรฐานความสามารถ/สมรรถนะ ซึ่งโดย หลักการก็คือ บุคคลที่ผ่านหรือมีความสามารถ/สมรรถนะในส่วนนั้นๆ แล้ว ก็ไม่จําเป็นต้องเข้ารับการฝึกฝน หรืออบรมเรียนรู้ซ้ําในส่วนนั้นๆ แล้ว สําหรับประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีพื้นฐานความสามารถ/สมรรถนะแตกต่างกัน หรือไม่อยู่ในกลุ่ม เดียวกันเลย ระบบการฝึกอบรมก็อาจจะออกแบบให้มีลักษณะที่ยืดหยุ่นสําหรับตัวบุคคล ซึ่งในขั้นตอนการ ดําเนินการก็จะต้องมีการตรวจสอบ รับรอง และประเมินความรู้ ความสามารถของผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการ ฝึกอบรม ตามความต้องการหรือข้อกําหนดสําหรับการฝึกอบรม ซึ่งก็จะนําหลักเกณฑ์เหล่านี้มาพิจารณาใน ส่วนของการออกแบบหลักสูตรนั่นเอง บทสรุป ความต้อ งการหรื อ ข้ อ กํ า หนดสํ า หรั บ การฝึ ก อบรมของประชากรกลุ่ ม เป้ า หมาย คื อ ลัก ษณะการ เปรียบเทียบระหว่างข้อมูลทั่วไปกับคุณลักษณะเฉพาะตามมาตรฐานสมรรถนะ ซึ่งมีคุณสมบัติเป็นข้อกําหนด ตายตั ว ในขณะที่ ข้อ มูล ส่ วนบุ คคลของประชากรกลุ่ มเป้ า หมายจะแตกต่ างหลากหลาย ทํ าให้ ร ะบบและ หลักสูตรการฝึกอบรมต้องนําเสนอความยืดหยุ่นให้มากพอ เพื่อให้รองรับลักษณะความต้องการในการฝึกอบรม พัฒนา หรือเพิ่มพูนทักษะด้านวิชาชีพของประชากรกลุ่มเป้าหมายเหล่านั้นนั่นเอง


3

เอกสารและสิ่งอ้างอิง Temasek foundation. (2012). เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง Developing and Managing of Modern Technical and Vocational Education and Training Institutions for the Department of Skill Development,Ministry of Labour, Thailand. Singapore Polytechnic. (2 -10 July 2012 Bangkok.Thailand.)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.