๒๕๕๔
ร่าง กรอบและแนวทางการจัดทําหลักสูตร ตามความสามารถ Developing A Competency Based Curriculum
คมธัช รัตนคช เขียนและเรียบเรียง กลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก สํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก 1/1/2011
คํานํา การพัฒนาทักษะฝีมือภาคแรงงานของประเทศถือเป็นหัวใจสําคัญของการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะ อย่ า งประเทศที่ กํ า ลั ง พั ฒ นาอย่ า งประเทศไทย ซึ่ ง มี ผู้ ใ ช้ แ รงงานในภาคส่ ว นต่ า งๆ ทั้ ง ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคธุรกิจบริการ ซึ่งแรงงานที่อยู่ในภาคอุตสาหกรรมเป็นกลุ่มคนที่สําคัญที่จะขับเคลื่อน ให้ภาคอุตสาหกรรมเจริญก้าวหน้า และส่งเสริม สนับสนุนให้เศรษฐกิจของประเทศก้าวไปข้างหน้าอย่างยั่งยืน กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงในการพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อแก้ปัญหา ด้านทักษะฝีมือของแรงงานให้สามารถรองรับกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างทันเหตุการณ์ และให้ แรงงานมี ม าตรฐานในการปฏิบั ติ ง าน สามารถตอบสนองต่ อ ความต้ อ งการของตลาดแรงงานได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน โดยสํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก มีหน้าที่คิดค้น และพัฒนา ระบบ รูปแบบและวิธีการฝึกทักษะที่ตอบสนองต่อความต้องการด้านแรงงาน มีมาตรฐานฝีมือแรงงานและ มาตรฐานการปฏิบัติงานในสาขาอาชีพต่างๆ ที่สถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรมต้องการ กลุ่ มงานพั ฒนาระบบการฝึ ก กรมพัฒนาฝีมือ แรงงาน จึ ง ได้ จั ดทํ ากรอบและแนวทางการพั ฒนา หลักสูตรตามความสามารถ(Developing A Competency Based Curriculum) เพื่อให้หน่วยฝึกและ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งใช้ เ ป็ น แนวทางในการพั ฒ นาหลั ก สู ต รการฝึ ก ตามความสามารถ และให้ บุ ค ลากร เจ้าหน้าที่และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานได้ใช้เพื่อการศึกษา ค้นคว้า และเป็นแนวทางใน การพัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาความสามารถของผู้รับการฝึกให้บรรลุวัตถุประสงค์ ในการฝึกทักษะฝีมือแรงงานและมีมาตรฐานสมรรถนะสอดคล้องกับงานและอาชีพต่างๆ ที่สถานประกอบ กิจการและภาคอุตสาหกรรมมีความต้องการ ต่อไป
กลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก สํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
สารบัญ เรื่อง
หน้า
๑. นิยามหลักสูตรตามความสามารถ ๒. แนวคิดเกี่ยวกับหลักสูตรตามความสามารถหรือหลักสูตรฐานสมรรถนะ ๓. ที่มาของหลักสูตรตามความสามารถหรือหลักสูตรฐานสมรรถนะ ๔. ลักษณะเด่นของหลักสูตรตามความสามารถหรือหลักสูตรฐานสมรรถนะ ๕. ข้อดีของการจัดหลักสูตรการเรียนการสอนแบบฐานสมรรถนะหรือหลักสูตรตามความสามารถ ๖. ระบบการฝึกตามความสามารถ ๗. กรอบมาตรฐานความสามารถหรือมาตรฐานสมรรถนะ ๘. องค์ประกอบของมาตรฐานความสามารถ ๙. กรอบความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของมาตรฐานความสามารถและหลักสูตรตามความสามารถ ๑๐. กรอบการพัฒนาหลักสูตรตามความสามารถ ๑๐.๑ การเริ่มต้นจัดทําหลักสูตรตามความสามารถ ๑๐.๒ โครงสร้างของโมดุลการฝึกหรือหน่วยการฝึก ๑๑. การกําหนดโครงสร้างและองค์ประกอบหลักสูตรและโมดุลการฝึก CBT ๑๑.๑ หลักการและวิธีการพัฒนาหลักสูตรด้วยระบบ Competency ๑๑.๒ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรและโมดุลการฝึกตามความสามารถ ๑๒. ขั้นตอนการจัดทํารายละเอียดหลักสูตรตามความสามารถ ๑๓. ขั้นตอนการจัดทํารายละเอียดโมดุลการฝึกตามความสามารถ ๑๓.๑ ตัวอย่างหลักสูตรฐานสมรรถนะ
๑ ๑ ๑ ๒ ๒ ๓ ๔ ๕ ๕ ๗ ๘ ๘ ๙ ๙ ๒๘ ๓๖ ๔๔ ๕๖
เอกสารและสิง่ อ้างอิง ภาคผนวก ภาคผนวก ๑ โครงร่างหลักสูตรตามความสามารถ
๖๓ ๖๔ ๖๕
- ๑-
กรอบและแนวทางการพัฒนาหลักสูตรตามความสามารถ (Developing A Competency Based Curriculum: CBC) ๑. นิยาม หลักสูตรการฝึกตามความสามารถ คือ แบบแผนหรือกรอบสําหรับใช้ในการฝึกอบรมทีม่ ุ่งเน้นผลลัพธ์ของ การฝึก (Outcomes) เป็นสําคัญ และเป็นแนวทางในการพัฒนาความสามารถให้กับผู้เข้ารับการฝึกให้แสดงบุคลิก หรือพฤติกรรมที่สะท้อนให้เห็นถึง ความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์เฉพาะ (Attribute) ทีจ่ ะสามารถปฏิบัติงานหรือกิจกรรมนั้นๆ ให้ประสบผลสําเร็จตามมาตรฐานหรือเกณฑ์การปฏิบัติงาน ในอาชีพต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒. แนวคิดเกี่ยวกับหลักสูตรตามความสามารถหรือหลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency-Based Approach) “ความสามารถ” แปลมาจากคําว่า Competence หรือ Competency ซึ่งหมายถึง ความสามารถ ในการทําบางสิ่งได้เป็นอย่างดี (the ability to do something well: จาก Longman Dictionary) (ถ้าเป็น พหูพจน์ คําว่า “Competences” เป็นคําที่ใช้ในสหราชอาณาจักร ส่วนคําว่า “Competencies” ใช้ใน สหรัฐอเมริกา) ในที่นี้จะกล่าวถึงความสามารถในการทํางานหรือการประกอบอาชีพเป็นสําคัญ ซึ่งในการทํางานหรือ การประกอบอาชี พ นั้ น ต้ อ งใช้ ค วามสามารถที่ มี อ ยู่ ใ นตั ว บุ ค คล เพื่ อ จะทํ า ภารกิ จ ของงานนั้ น ถ้ า บุ ค คลใดมี ความสามารถในการทํางานได้ เรียกว่า เป็นคนที่มีความสามารถหรือสมรรถนะในการทํางาน และในทางตรงข้ามถ้า บุคคลใดไม่สามารถทํางานได้ก็เรียกว่าเป็นคนไม่มีความสามารถหรือสมรรถนะ การสร้างเสริมให้คนมีความสามารถ ในการทํางานเป็นการสร้างความสามารถหรือสมรรถนะให้เกิดขึ้นใน ตัวบุคคล และการออกแบบความสามารถหรือ สมรรถนะรวมถึงการฝึกอบรมคนให้มีความสามารถหรือสมรรถนะสําหรับการทํางานจึงเป็นสาระสําคัญของการ จัดการเรียนการสอนทางด้านอาชีวศึกษาและการฝึกอาชีพ (Vocational Education and Training หรือ VET) และการพัฒนาฝีมือแรงงานของกรม ๓. ที่มาของหลักสูตรตามความสามารถหรือหลักสูตรฐานสมรรถนะ ระบบตามความสามารถหรือระบบฐานสมรรถนะมี ๒ ระบบหลัก ได้แก่ ระบบของอังกฤษหรือสหราช อาณาจักร และระบบของสหรัฐอเมริกา โดยแต่ละระบบมีฐานแนวคิดและคุณลักษณะเฉพาะของตนเอง ซึ่งทั้ง ๒ ระบบ ไม่ได้มีความแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง และเมื่อได้ทําความเข้าใจทั้งสองระบบก็จะสามารถนําส่วนที่ดีที่สุดมา ประยุกต์ ใช้ได้อย่างเหมาะสมในบริบทที่ต้องการได้ในที่สุด สาระสําคัญที่เป็นพื้นฐานของทั้งสองระบบจะได้แสดงใน ลําดับต่อไป หลักสูตรตามความสามารถหรือหลักสูตรฐานสมรรถนะ เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี ๑๙๗๐ ในประเทศ สหรัฐอเมริกา นิยมใช้ในการจัดหลักสูตรการฝึกอบรม (Competency-based Training) เช่น สหรัฐอเมริกา คานา ดา อังกฤษ เกาหลี ออสเตรเลีย เพื่อควบคุมคุณภาพของบุคลากรในอาชีพต่าง ๆ เพื่อเพิ่มการแข่งขันกับนานาชาติ กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๒เช่น ประเทศออสเตรเลียมี The National Training Board เป็นผู้กําหนดมาตรฐานความสามารถหรือมาตรฐาน สมรรถนะระดับชาติ ( National Competency Standards) ให้นโยบาย และแนวทางการการดําเนินงาน ฝึกอบรม โดยคาดหวังสิ่งที่ผู้เข้าอบรมจะสามารถปฏิบัติ (Performance) ได้เมื่อจบหลักสูตร เช่น การฝึกอบรมด้าน ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับอาชีพต่าง ๆ เช่น ด้านอาหาร การโรงแรม ท่องเที่ยวของTAFE ประเทศออสเตรเลียก็จัดการ ฝึกอบรมแบบ Competency Based Training in English Language Teaching และได้ปรับปรุงพัฒนา มาตรฐานความสามารถหรือมาตรฐานสมรรถนะของอาชีพต่าง ๆ จนถึงปัจจุบัน รวมถึงการเทียบความรู้และ ประสบการณ์ ปั จ จุ บั น สถาบั น การศึ ก ษาต่ า งๆ ในหลายประเทศ ได้ นํ า แนวทางการฝึ ก อบรมรู ป แบบตาม ความสามารถหรือการฝึกอบรมฐานสมรรถนะ (Competency Based Training) มาใช้กับการจัดหลักสูตร การศึกษาระดับต่างๆ เป็นหลักสูตรตามความสามารถหรือหลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency Based Curriculum) ซึ่งเป็นที่ยอมรับจากผู้กําหนดนโยบายและผู้นําด้านหลักสูตรของประเทศต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง ๔. ลักษณะเด่นของหลักสูตรการฝึกตามความสามารถหรือหลักสูตรฐานสมรรถนะ ๑. ในการพัฒนาหลักสูตรตามความสามารถหรือหลักสูตรฐานสมรรถนะ สิ่งแรกที่ต้องมีก่อนคือเอกสาร เกี่ยวกับมาตรฐานความสามารถ (Competency Standard) ๒. หลักสูตรตามความสามารถเป็นกรอบหรือแนวทางที่ใช้ในการพัฒนาให้ผเู้ ข้ารับการฝึกมีความสามารถ หรือสมรรถนะ อย่างมีขั้นตอนมีรูปแบบการฝึกและวิธีการประเมินความสามารถอย่างมีประสิทธิภาพ ๓. คุณลักษณะเฉพาะของหลักสูตรตามความสามารถจะคํานึงที่ผลลัพธ์(outcomes) เป็นสําคัญ ซึ่งจะ ประกอบไปด้วยความต้องการที่แท้จริงของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ๔. เมื่อใดที่มาตรฐานความสามารถหรือมาตรฐานสมรรถนะไม่สอดคล้องกับความต้องการของ ภาคอุตสาหกรรมหรือสถานประกอบกิจการ ผู้พัฒนาหลักสูตรจําเป็นต้องกําหนดวัตถุประสงค์ในการ ฝึกให้สอดคล้องกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม และมาตรฐานการปฏิบัติงานจะถูกกําหนดให้ สอดคล้องกับความต้องการของอุตสาหกรรมและความจําเป็นในอาชีพต่างๆ อีกครั้ง ๕. ข้อดีของการจัดหลักสูตรการเรียนการสอนแบบฐานสมรรถนะหรือหลักสูตรตามความสามารถ (CBC) ๑. กําหนดผลการเรียนรู้/การฝึกอย่างชัดเจน ว่าผู้เรียนสามารถทําอะไรได้เมื่อจบหลักสูตร (Course Outcomes /Performance Outcomes) ๒. ใช้มาตรฐานสมรรถนะเป็นกรอบในการพัฒนาหลักสูตร กําหนดเนื้อหา วางแผนการจัดการเรียนการ สอนและการประเมินผล ทําให้การเรียนการสอนเชื่อมโยงกับการประเมินผล และการรับรองคุณวุฒิ ๓. มีเกณฑ์การปฏิบัติ (Performance Criteria) เพื่อใช้ในการประเมินผลผู้เรียนที่แน่นอน
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๓๖. ระบบการฝึกตามความสามารถ นิยาม: การพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Training: CBT) คือ “การใช้ความสามารถที่จาํ เป็นสําหรับการทํางานมาใช้เป็นฐานของการจัดฝึกอบรม หรือนํามากําหนดเป็น หัวข้อวิชาของการฝึกอบรม ทําให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความสามารถตามหัวข้อวิชา นั้น” ระบบการฝึกตามความสามารถ(CBT) ของกรม ประยุกต์มาจากกรอบและกระบวนการฝึกของ TESDA (Technical Education and Skills Development Authority) ซึ่งเป็นหน่วยงานสังกัดกระทรวงแรงงานของ ประเทศฟิลิปปินส์ กําหนดมาตรฐานความสามารถ/มาตรฐานสมรรถนะ /มาตรฐานอาชีพ
สถาน ประกอบการ
มาตรฐานฝีมือแรงงาน
พัฒนามาตรฐานความสามารถ
หน่วยความสามารถ
พัฒนาหลักสูตรตามความสามารถ
โมดุลการฝึก
การให้การฝึกอบรม
(CBT)
สพท.ร่วมกับ สพภ./ศพจ.
การฝึกตาม ความสามารถ
นําไปฝึกอบรม
พัฒนาสื่อ/วัสดุในการฝึก/ชุดการฝึก/องค์ประกอบการฝึก
การประเมินความสามารถ การให้การรับรองและเทียบโอนความสามารถ ระบบการฝึกตามความสามารถ(CBT) (ที่มา: สรุปผลการประชุม เรื่อง การพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Training: CBT) ในวันที่ ๒๒-๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ เวลา ๙.๐๐น. – ๑๖.๐๐ น. ณ ห้องประชุมอัมพร จุณณานนท์ ชั้น ๑๐ อาคารกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ผู้เข้าร่วมประชุม เป็นเจ้าหน้าทีแ่ ละบุคลากรทีผ่ า่ นการฝึกอบรมหลักสูตร Competency Based Training: CBT และ Instructional System Design โครงการ ADB จากต่างประเทศ และเจ้าหน้าทีส่ ่วนกลาง รวมทั้งสิ้น จํานวน ๔๕ คน) กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๔๗. กรอบมาตรฐานความสามารถหรือมาตรฐานสมรรถนะ (Competency Standards) มาตรฐานความสามารถหรือมาตรฐานสมรรถนะ เป็นข้อกําหนดความรู้ และทักษะ และนําความรู้ และทักษะนั้น ๆ ไปประยุกต์ใช้ในการทํางาน โดยปฏิบัติงานให้ได้ตามมาตรฐานที่กําหนด....... การจัดหลักสูตรการเรียนการสอนในหลักสูตรตามความสามารถหรือหลักสูตรแบบฐานสมรรถนะจึงมี กรอบมาตรฐานความสามารถหรือสมรรถนะ เป็นตัวกําหนดความรู้ และทักษะ ที่คาดหวังว่าผู้เรียนจะสามารถ ปฏิบัติภาระงาน / กิจกรรมต่างๆ ได้เมื่อเรียนจบหลักสูตร และสามารถวัดและประเมินผลได้ตามเกณฑ์การปฏิบัติที่ กําหนด ๘. องค์ประกอบของมาตรฐานความสามารถ (Competency Standard) ในการปฏิ บั ติ ง านในอาชี พ จะกํ า หนดความสามารถที่ ค าดหวั ง ว่ า ผู้ เ รี ย นจะสามารถปฏิ บั ติ ไ ด้ ประกอบด้วย • หน่วยความสามารถ (Unit of Competence / Competency) เป็นขอบข่ายกว้าง ๆ (Broad Area) ของงาน (Job) ใน อาชีพหนึ่ง ๆ ที่ผู้เรียนต้องปฏิบัติ โดยใช้ความรู้และทักษะ หรือ อาจรวมถึงเจคติ • ความสามารถย่อย (Element of Competence) เป็นภาระงานย่อย (Task) ที่ประกอบขึ้น ภายใต้งานในหน่วยความสามารถนั้น ๆ • เกณฑ์การปฏิบัติ (Performance Criteria) เป็นกิจกรรมย่อย ๆ (sub-task) ภายใต้ความสามารถ ย่อย ซึ่งเป็นผลการเรียนรู้หรือการฝึก (Learning Outcomes) ที่คาดหวังว่าผู้เรียนหรือผู้รับการฝึกจะสามารถ ปฏิบัติได้เมื่อเรียนจบหลักสูตร • เงื่อนไข/ขอบเขตการปฏิบัติ (Conditions /Range of Variables) การปฏิบัติภายใต้เงื่อนไขที่ กําหนด อาจรวมถึง วัสดุ (Materials) เครื่องมือ (Tools) หรือ อุปกรณ์ต่าง ๆ (Equipment) ที่กําหนดให้ (หรือ ไม่ให้ใช้) เพื่อให้การปฏิบัติงานนั้นสําเร็จ เมื่อได้กรอบมาตรฐานความสามารถแล้ว การจัดหลักสูตรการเรียนการสอน การกําหนดเนื้อหา และ กิจกรรมการเรียนการสอน จะสร้างขึ้นภายใต้กรอบมาตรฐานความสามารถที่กําหนด และจะเชื่อมโยงกับการวัด และประเมินผล ซึ่งอาจเรียกว่า การทดสอบตามความสามารถ (Competency Test)
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๕๙. กรอบความสัมพันธ์ระหว่าง องค์ประกอบของมาตรฐานความสามารถ(Competency Standard) และ หลักสูตรตามความสามารถ (Competency Based Curriculum) มาตรฐานความสามารถ
หลักสูตรตามความสามารถ
หน่วยความสามารถ
ชื่อหลักสูตร
รายละเอียดหน่วยความสามารถ
รายละเอียดโมดุลการฝึก ระดับวุฒิบัตร/ใบรับรอง
ความสามารถย่อย เกณฑ์การปฏิบัติงาน ขอบเขตการปฏิบัติงาน ร่องรอยหลักฐานการปฏิบัติงาน
ชื่อโมดุลการฝึก ผลการฝึก/ความสามารถที่ต้องการโดยย่อ เกณฑ์การประเมิน เนื้อหา สาระที่ใช้ฝึก เงื่อนไขการฝึก วิธีการประเมิน
จากกรอบความสัมพันธ์ดังกล่าว สามารถแปลงจากมาตรฐานความสามารถ ให้เป็นหลักสูตรตาม ความสามารถ ซึ่งหลักสูตรที่ได้จะมีลักษณะเป็นโมดุลการฝึก เพื่อนําไปใช้ในการฝึกภายใต้รูปแบบการฝึกตาม ความสามารถต่อไป
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๖-
กรอบการพัฒนาหลักสูตรตามความสามารถ (Developing A Competency Based Curriculum)
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๗๑๐. กรอบการพัฒนาหลักสูตรตามความสามารถ (Developing A Competency Based Curriculum)
มาตรฐานความสามารถ
หน่วยความสามารถ
ความสามารถยอย ๑
ความสามารถยอย ๒
ความสามารถยอย ๓
วิเคราะห์และแปลงเป็นหลักสูตร
หลักสูตรตามความสามรถ ๑. ๒.
กรอบรายละเอียดหลักสูตรตามความสามารถ กรอบโมดุลการฝึก ๑
๒
๓
การพัฒนาหลักสูตรตามความสามารถ
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๘๑๐.๑ การเริ่มต้นการพัฒนาหลักสูตรตามความสามารถ การพัฒนาหลักสูตรตามความสามารถ ต้องคํานึงถึง ๑. มีการกําหนดมาตรฐานความสามารถ(Competency Standard) ขึ้นก่อน ๒. ต้องวิเคราะห์พื้นฐานความรู้ ทักษะ ความสามารถและคุณลักษณะเบื้องต้นของผู้รับการฝึกก่อน กระบวนการพัฒนาหลักสูตร ประกอบด้วยกลุ่มคนทีม่ ีความเกี่ยวข้องกับภาคอุตสาหกรรมและการฝึก เช่น ผู้แทนหรือผู้เชี่ยวชาญในอาชีพหรือในงาน นั้นๆ จากสถานประกอบกิจการ นักพัฒนาหลักสูตรและครูฝึกหรือ วิทยากรที่มีประสบการณ์ในเนื้อหาวิชาหรือในสาขาอาชีพของอุตสาหกรรม นั้นๆ หากกลุ่มคนทีม่ าพัฒนาหลักสูตรแตกต่างจากนี้ โครงสร้างและหน้าตาหลักสูตรที่ได้ก็มคี วามแตกเช่นกัน สิ่งสําคัญที่ได้จากกระบวนการพัฒนาหลักสูตรคือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการฝึก(LO) และการประเมินผลการฝึกทั้งหมด ของหลักสูตรทีม่ ีความเกี่ยวข้องกับมาตรฐานการทํางานของอุตสาหกรรมหรือสถานประกอบกิจการ หลักสูตรที่ได้ มีองค์ประกอบ ดังนี้ ๑. กรอบรายละเอียดหลักสูตรตามความสามารถ (Course Design) ๒. กรอบโมดุลการฝึกหรือหน่วยการฝึก (Module) ๑๐.๒ โครงสร้างของโมดุลการฝึก หรือหน่วยการฝึก (Module) หน่วยความสามรถ Unit of Competency หน่วยความสามรถ Unit of Competency
โมดุลการฝึก
๒
โมดุลการฝึก ๑
๓
ชุดของโมดุลการฝึก (Set of Modules)
การออกแบบและพัฒนาหลักสูตรท่านสามารถกําหนดให้ ๑ หน่วยความสามารถ เป็น ๑ โมดุลการฝึก หรือ ๑หน่วยการฝึก แต่ในบางครั้งเมื่อขอบเขตของการปฏิบัติงานกว้างหรือซับซ้อน ท่านอาจจะจัดทําเป็นหลายโมดุล การฝึก(ชุดของโมดุลการฝึก) ใน ๑ หน่วยความสามารถ ก็ได้
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๙๑๑. การกําหนดโครงสร้างและองค์ประกอบหลักสูตรและโมดุลการฝึกCBT ๑๑.๑ หลักการและวิธกี ารพัฒนาหลักสูตรด้วยระบบ Competency การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ เป็นการนํามาตรฐานสมรรถนะ (Competency Standard) ที่จัดทําขึ้นพัฒนาสู่การจัดทําเป็นหลักสูตร โดยมีขั้นตอนการดําเนินการคือ ต้องมีการ การกําหนดมาตรฐาน หลักสูตร ได้แก่ การกําหนดกรอบหรือหัวข้อที่เป็นองค์ประกอบของหลักสูตร เพื่อเป็นมาตรฐานการกําหนด รายละเอียดและเนื้อหาของหลักสูตร ในทีน่ ี้จะกําหนดกรอบมาตรฐานหลักสูตรมีรายละเอียด ดังนี้ รูปแบบที๑่ หลักสูตรเพื่อการพัฒนาฝีมือแรงงานกําหนดส่วนประกอบของการสร้างหลักสูตรเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ ๑ รายละเอียดหลักสูตร (COURSE OUTLINE) ส่วนที่ ๒ รายละเอียดหน่วยการฝึก (MODULE) ส่วนที่ ๓ รายละเอียดหัวข้อวิชา (CONTENT OUTLINE) กล่าวคือในแต่ละหลักสูตรจะประกอบด้วยหน่วยการฝึก และแต่ละหน่วยการฝึกจะประกอบด้วย หัวข้อวิชา รูปแบบรายละเอียดโครงสร้างมีดังนี้ ส่วนที่ ๑ หลักสูตร (COURSE OUTLINE) ประกอบด้วยรายละเอียด ๑. ชื่อหลักสูตร (Course Title) ๒. ระยะเวลาการฝึกอบรม (Nominal Duration) ๓. ขอบข่ายหลักสูตร (Course Description) ๔. คุณสมบัติผเู้ ข้ารับการฝึกอบรม (Trainee entry requirements) ๕. โครงสร้างและองค์ประกอบของหลักสูตร (Course structure) ๕.๑ หน่วยสมรรถนะ (Unit of competency) ๕.๒ ชื่อโมดุล (Module title) ๕.๓ สมรรถนะ/ผลการการฝึกที่ต้องการ (Learning Outcome) ๕.๔ ระยะเวลาการฝึกของโมดุล (Nominal hours) ๖. วิธีการประเมินผล (Assessment Method) ๗. วิธีการฝึกอบรม (Methodologies) ๘. เครื่องมือและอุปกรณ์ (Resources) ๘.๑ รายการเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ (Equipment) ๘.๒ รายการวัสดุ และเอกสาร (Material) ๙. คุณวุฒิและสมรรถนะของครูฝึกหรือ ผู้ฝกึ สอน (Qualification of Instructors or Trainers)
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๑๐ส่วนที่ ๒ หน่วยการฝึก (MODULE) ประกอบด้วยรายการดังนี้ ๑. ชื่อหลักสูตร (Course Title) ๒. ชื่อหน่วยการฝึก/โมดุล (Module Title) ๓. ระยะเวลาการฝึกอบรม (Nominal Duration) ๔. ขอบข่ายหน่วยการฝึก (Module Description) ๕. เงื่อนไขก่อนการฝึก (Prerequisite) ๖. กรอบสมรรถนะที่ต้องการ (Training Outcome) ส่วนที่ ๓ รายละเอียดหัวข้อวิชา (Content outline) ประกอบด้วย รายการดังนี้ ๑. ชื่อหลักสูตร (Course Title) ๒. ชื่อหน่วยการฝึก (Module Title) ๓. ชื่อหัวข้อวิชา (Content Title) ๔. รายละเอียดเนื้อหาวิชา (Content) ๕. เครื่องมือและอุปกรณ์ (Resources) ๕.๑ รายการเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ (Equipment) ๕.๒ รายการวัสดุ และเอกสาร (Material) ๖. เงื่อนไขการพัฒนา (Condition) ๗. คู่มือปฏิบัติ วิธีปฏิบัติและเอกสารอ้างอิง (Condition) ๘. วิธีการประเมินผล (Assessment Method) ๙. วิธีการฝึกอบรม (Methodologies)
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๑๑ตัวอย่าง โครงร่าง(Template) ของหลักสูตรการฝึกตามความสามารถ แบบที่ ๑. ส่วนที่ ๑: รายละเอียดหลักสูตร (Course outline) ๑. ชื่อหลักสูตร : การปั๊มชิ้นส่วนยานยนต์ (Stamping part & Assembly parts)
รหัส : PS ๐๑๐๐๐๐
๒. ระยะเวลาการฝึกอบรม ๖๗ ชั่วโมง ทฤษฎี ๓๕ ชั่วโมง ปฏิบัติ ๓๒ ชั่วโมง (Nominal duration) : ๓. ขอบข่ายหลักสูตร (Course Description) : หลักสูตรครอบคลุมการปฏิบัติงานในการพัฒนาสมรรถนะด้าน FUNCTIONAL ของงานที่ เกี่ยวกับการปฏิบัติในกระบวนการปั๊มชิ้นส่วนยานยนต์ ซึ่งจะพัฒนาผู้เข้ารับการฝึกให้เกิดสมรรถนะที่ เกี่ยวกับงานปั๊ม (Press) ๑. กระบวนการเตรียมความพร้อมก่อนการปั๊มได้แก่ ตรวจสอบความพร้อมก่อนปฏิบัติงาน ๒. กระบวนการเตรียมเครื่องปั๊ม : ตรวจสอบความพร้อมของเครื่องจักร รับแผนการผลิต และตรวจเอกสารติดตั้งแม่พิมพ์ เตรียมวัตถุดิบและเครื่องมือ ๓. กระบวนการปฏิบัติงานปั๊มชิ้นส่วน : การปฏิบัติงานปั๊ม ตรวจคุณภาพ บรรจุตาม Operation Standard ตรวจสอบควบคุมปัญหาระหว่างผล เขียนรายงานผลการปฏิบัติงาน ๔.การปฏิบัติการหลังการปั๊ม : ถอดแม่พิมพ์ และดูแลความสะอาดเครื่องมือ เครื่องจักร ๔. คุณสมบัตผิ ู้เข้ารับการ ๑. สําเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ ๖ ขึ้นไป ฝึกอบรม (Trainee entry ๒. อายุตั้งแต่ ๑๘ ปีขึ้นไป requirements) ๓. ผ่านการอบรมหลักสูตร Basic Training ๔. ผ่านการปฏิบัติงานปั๊ม หรืองานเชื่อม SPOT ไม่น้อยกว่า ๓ เดือน ๖. ตําแหน่งพนักงานระดับ ๑ แผนกผลิต ๕. โครงสร้างและองค์ประกอบของหลักสูตร (Course Structure) ชื่อ Module หน่วยสมรรถนะ รายการสมรรถนะที่ต้องการ ระยะเวลา (Module Title) (Unit of (Learning Outcome) (Nominal Competence) hours) : ชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ ๒.0 ๑.0 ๑. การเตรียมการ ๑. เตรียมการปั๊ม ST0๑ ตรวจสอบความพร้อมก่อน ปั๊มเบื้องต้น เบื้องต้น ปฏิบัติ ST 0๓ รับแผนการผลิตและตรวจ เอกสาร กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๑๒ส่วนที่ ๑: รายละเอียดหลักสูตร (Course outline) ๑. ชื่อหลักสูตร : การปั๊มชิ้นส่วนยานยนต์ (Stamping part & Assembly parts) ๒. การเตรียม เครื่องปั๊ม ๓. ปฏิบัติงานปั๊ม ชิ้นส่วน
หน่วยสมรรถนะ (Unit of Competence)
รหัส : PS ๐๑๐๐๐๐
๑๐.๕ ST0๒ ตรวจสอบความพร้อมของ เครื่องจักร ST0๔ ติดตั้งแม่พิมพ์ ST0๕ เตรียมวัตถุดิบและเครื่องมือ ๑๕.๕ ๓. ปฏิบัติงานปั๊ม ST0๖ ปฏิบัติงานปั๊ม ชิ้นส่วน ST0๗ ตรวจสอบคุณภาพ ST0๘ บรรจุตาม Operation Standard ST0๙ ตรวจสอบควบคุมปัญหาระหว่าง ผลิต ST๑๑ เขียนรายงานผลการปฏิบัติงาน
๒. เตรียมความ พร้อมก่อนผลิต
ชื่อ Module (Module Title)
๔. ปฏิบัติงานหลัง ๔. ปฏิบัติการ การปั๊ม หลังงานปั๊ม
รายการสมรรถนะที่ต้องการ (Learning Outcome)
ST๑๐ ถอดแม่พิมพ์ ST๑๒ ดูแลความสะอาดเครื่องมือ เครื่องจักร รวมทั้งสิ้น
๖. วิธีการประเมินผล (Assessment Method) :
๗. วิธีการฝึกอบรม (Methodologies)
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
๑๐.๕
๑๕.๕
ระยะเวลา (Nominal hours) : ชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ ๗.0 ๗.0 ๓๕
๓๒
๑. การสังเกตผลการปฏิบัติงาน ๒. การสัมภาษณ์และสอบถาม ๓. สอบข้อเขียน ๔. ทดสอบภาคปฏิบัติ ๕. การสาธิตและประเมินผล ๑. การบรรยาย (Lecture) ๒. การสาธิต (Demonstration) ๓. การฝึกปฏิบัติ (Practical exercise) 8/22/2011
- ๑๓ส่วนที่ ๑: รายละเอียดหลักสูตร (Course outline) ๑. ชื่อหลักสูตร : การปั๊มชิ้นส่วนยานยนต์ (Stamping part & Assembly parts)
รหัส : PS ๐๑๐๐๐๐
๔. สถานการณ์จําลอง (Simulation) ๕. กรณีศึกษา (Case Study) ๘. เครื่องมือและอุปกรณ์ (Resource) เครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ ๑. เครื่องปั๊ม Power Press ๒. ราง SLIDE ชิ้นงาน ๓. เครื่องจักร ๔. เครื่องปั๊ม Frame Power Press ๕. วาล์วลม เบรกเกอร์ ๖. โฟลคลิฟ ๗. แม่พิมพ์ ๘. ชุดเครื่องแบบพนักงาน ๙. สกรู ทีสล็อต แคมป์ ประแจแอล ๑๐. โต๊ะวางชิ้นงาน ๑๑. อุปกรณ์ SKILL WRITER ๑๒. CF วัดชิ้นงาน ๑๓. ตัวกันโง่ ๑๔. อุปกรณ์ความปลอดภัยส่วนบุคคล ๑๕. ตลับเมตรหรือฟุตเหล็ก ๑๖. PALLET และถัง ที่สโตร์ ๑๗. อุปกรณ์ทําความสะอาด RAM BOLSTER ๑๘. เครื่องมือวัด เวอร์เนีย และ ไฮเกจ ๑๙. อุปกรณ์การเก็บ และอุปกรณ์ทําความ สะอาด ๒๐. เครื่องมือวัดเหล็ก ๒๑. แม่เหล็กยกชิ้นงาน ๒๒. ประแจยึดสกรู ๒๓. ถังใส่เศษเหล็ก กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
วัสดุ วัสดุ วัตถุดิบ ๑. น้ํามันช่วยลดความร้อน น้ํามันหล่อลื่น ๒. TAG ติดกล่องบรรจุชิ้นงาน ๓. กล่องบรรจุตามแบบที่กําหนด ๔. จารบี ๕. วัตถุดิบตาม SPEC ที่กําหนด ๖. หินน้ํามันชนิดละเอียด ๗. ผ้าทําความสะอาดแม่พิมพ์ ๘. กระดาษทดสอบระยะการปั๊ม ๑๐. ชิ้นงานตามใบสั่งผลิต เอกสาร คู่มือ ๑. Operation Standard ๒. Quality Check Point & Standard Packing ๓. Quality Control Process ๔. แบบฟอร์มตรวจเช็คเครื่องจักรประจําวัน ๕. ใบ TAG SPEC ๖. ใบรายงานปริมาณการผลิตประจําวัน ๗. ใบสั่งผลิต ๘. Operating Flow Chart ๙. ใบนําส่งรายวัน ๑๐. ใบสั่งผลิต ๑๑. ขั้นตอนการติดตั้งและถอดแม่พิมพ์
8/22/2011
- ๑๔ส่วนที่ ๑: รายละเอียดหลักสูตร (Course outline) ๑. ชื่อหลักสูตร : การปั๊มชิ้นส่วนยานยนต์ (Stamping part & Assembly parts)
รหัส : PS ๐๑๐๐๐๐
๙. คุณวุฒิและสมรรถนะของผู้ฝึกสอน (Qualification of Instructors or Trainers) ๑. ประสบการณ์การปฏิบัติงานกระบวนการ Manual ในงานที่สอน ไม่น้อยกว่า ๕ ปี ๒. ผ่านการอบรมหลักสูตร ทักษะการสอนงาน หรือหลักสูตรทีใ่ กล้เคียง ๓. ได้รบั การอนุมัติการสอนจากผู้บริหารระดับ Executive ส่วนที่ ๒: รายละเอียดหน่วยการฝึก (Module) ๑. ชื่อหลักสูตร : การปั๊มชิ้นส่วนยานยนต์ (Stamping part & Assembly รหัส : PS parts) ๐๑๐๐๐๐ ๒. ชื่อหน่วย/โมดุล การเตรียมการปั๊มเบื้องต้น รหัส : PS การฝึก: ๐๑๐๑๐๐ ๓. ระยะเวลาการฝึก : รวม ๓.๐ ชัว่ โมง ทฤษฎี ๒.๐ ชัว่ โมง ปฏิบัติ ๑.๐ ชั่วโมง ๔. ขอบข่ายหน่วย/ ครอบคลุมกระบวนการทํางาน การเตรียมความพร้อมก่อนปฏิบัติงาน การรับ โมดุล การฝึก : แผนการผลิตและตรวจสอบเอกสารการผลิต ๕. เงื่อนไขของหน่วยการฝึก ๑. พนักงานปฏิบัติงาน แผนกปั๊มชิ้นส่วน (Prerequisite) : ๖. กรอบสมรรถนะที่ต้องการ (Training Outcomes) : เมื่อสําเร็จการฝึกในหน่วยการฝึกนี้ ผู้เข้ารับ การฝึกสามารถปฏิบัติงานโดยมีสมรรถนะ และระยะเวลาการพัฒนาสมรรถนะ ดังนี้ รหัส ST๐๑ ST๐๓
ชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม ตรวจสอบความพร้อมก่อนปฏิบัติงาน ๐.๕๐ ๐.๕๐ ๑.๐ รับแผนการผลิตและตรวจสอบ ๑.๐ ๐.๕๐ ๒.๐ เอกสาร รวมทั้งสิ้น ๒.๐ ๑.๐ ๓.๐
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
ชื่อสมรรถนะ
8/22/2011
- ๑๕ส่วนที่ ๓: รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ ๑ (Content Outline) ๑. ชื่อหลักสูตร : การปั๊มชิ้นส่วนยานยนต์ (Stamping part & รหัส : PS 0๑0000 Assembly parts) ๒. ชื่อหน่วย/โมดุล การฝึก : การเตรียมการปั๊มเบื้องต้น รหัส : PS 0๑0๑00 ๓. ชื่อหัวข้อวิชา (Content) : การเตรียมความพร้อมของร่างกาย รหัส : PS0๑0๑0๑ ๔. วัตถุประสงค์ของการอบรม (Assessment Criteria) เมื่อผ่านการฝึกในหัวข้อวิชานี้แล้วผู้เข้ารับ การฝึกสามารถปฏิบัติงาน ในเรื่องดังนี้ได้ ๑. สามารถตรวจสอบและประเมินสภาพความพร้อมของตนเองได้ ๒. อธิบายและสามารถแต่งกายได้ถูกต้องตามระเบียบการแต่งกายในการปฏิบัติงาน ๓. อธิบายและสามารถใช้อุปกรณ์ความปลอดภัยส่วนบุคคลอย่างถูกวิธี ๔. ระบุลักษณะของอาการเจ็บป่วยของสภาพร่างกายที่จะมีผลต่อการทํางาน ๕. รายละเอียดเนื้อหา (Contents) ๑. การตรวจสอบและประเมินสภาพความพร้อมของตนเอง ๒. การแต่งกายตามระเบียบการแต่งกายในการปฏิบัติงาน ๓. การใช้อุปกรณ์ความปลอดภัยส่วนบุคคล ๔. หลักและวิธีการประชุมก่อนเข้างาน ๖. อุปกรณ์ เครื่องมือ ( Conditions) อุปกรณ์ เครือ่ งมือ วัสดุ ๑. ชุดเครื่องแบบพนักงาน วัสดุ วัตถุดิบ ๒. อุปกรณ์ความปลอดภัยส่วนบุคคล บันทึกและเอกสารสําหรับการปฏิบัติงาน ๑. แผนงานและเป้าหมายการทํางานประจําวัน ๗. เงื่อนไขการฝึก ๑. การเตรียมความพร้อมของร่างกาย ที่พนักงานทุกตําแหน่ง ทุกงานและทุกระดับต้องเตรียม ก่อนการปฏิบัติงาน ๒. ขั้นตอนและวิธีการตรวจความพร้อมด้วยวิธีการประชุมก่อนเข้างาน (Morning Meeting) ๘. คู่มือและวิธีปฏิบัติ และเอกสารอ้างอิง ๒. ระเบียบการแต่งกายของพนักงาน ๓. ระเบียบข้อบังคับการทํางาน ๑. การสอนงาน (Coaching) ๙. วิธีการฝึกอบรม ๒. การฝึกปฏิบัติ (Practical exercise) (Methodologies)
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๑๖๑. ชื่อหลักสูตร :
การปั๊มชิ้นส่วนยานยนต์ (Stamping part & รหัส : PS 0๑0000 Assembly parts) ๒. ชื่อหน่วย/โมดุล การฝึก : การเตรียมการปั๊มเบื้องต้น รหัส : PS 0๑0๑00 ๓. ชื่อหัวข้อวิชา (Content) : การเตรียมความพร้อมของร่างกาย รหัส : PS0๑0๑0๑ ๑๐. วิธีการประเมินผล ๑. สัมภาษณ์และสอบถาม เพื่อวัดความรู้ความเข้าใจในเรือ่ งระเบียบ (Assessment Methods): การแต่งกาย ๒. สังเกตผลการปฏิบัติงาน เพื่อพิจารณาความใส่ใจและความ รับผิดชอบ ๓. ให้สาธิตและประเมิน เพือ่ ประเมินผลสําเร็จของการปฏิบัติงาน ผู้เห็นชอบหลักสูตร........................................................ ผู้อนุมัติหลักสูตร…………………………………… ..................................................................................... ..................................................................... วันที่................................................................................. วันที่..............................................................
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๑๗รูปแบบที่ ๒ รูปแบบการจัดการอาชีวศึกษาและฝึกอบรมของประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศในแถบเอเชียบางประเทศก็มีการจัดการอาชีวศึกษาและฝึกอบรมในรูปแบบฐานสมรรถนะ เช่นเดียวกับประเทศในแถบยุโรปหรือประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างออสเตรเลีย ประเทศฟิลิปปินส์ (Philippine) มี การใช้รูปแบบการฝึกฐานสมรรถนะในการจัดการอาชีวศึกษาและฝึกอบรม โดยการพัฒนาหลักสูตรการฝึกฐาน สมรรถนะ (Competency-based Curriculum Training course) ในรูปแบบโมดูลการฝึกตามมาตรฐาน สมรรถนะ ซึ่งเรียกว่า Competency Standard มีการแบ่งโครงสร้างหลักสูตรออกเป็น ๓ ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ ๑ รายละเอียดหลักสูตร (COURSE OUTLINE) ส่วนที่ ๒ รายละเอียดหน่วยการฝึก (MODULE) ส่วนที่ ๓ รายละเอียดสมรรถนะ/ผลการเรียนรู้ที่ต้องการ (LEARNING OUTCOMES) การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ เป็นการนํามาตรฐานสมรรถนะ (Competency Standard) ที่จดั ทําขึ้น พัฒนาสู่การจัดทําเป็นหลักสูตร โดยมีขั้นตอนการดําเนินการคือ ต้องมีการ การกําหนดมาตรฐานหลักสูตร ได้แก่ การกําหนดกรอบหรือหัวข้อที่เป็นองค์ประกอบของหลักสูตร เพื่อเป็นมาตรฐานการกําหนดรายละเอียดและเนื้อหา ของหลักสูตร มี ๒ รูปแบบ คือ รูปแบบที๑่ หลักสูตรเพื่อการพัฒนาฝีมือแรงงานกําหนดส่วนประกอบของการสร้าง หลักสูตรเป็น ๓ ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ ๑ รายละเอียดหลักสูตร (COURSE OUTLINE) ส่วนที่ ๒ รายละเอียดหน่วยการฝึก (MODULE) ส่วนที่ ๓ รายละเอียดหัวข้อวิชา (CONTENT OUTLINE) มีรายละเอียดโครงสร้าง ดังนี้ ส่วนที่ ๑ : รายละเอียดหลักสูตร (COURSE OUTLINE) มีหัวข้อ ๑. ชื่อหลักสูตร (Course Title) ๒. ระยะเวลาการฝึกอบรม (Nominal Duration) ๓. ขอบข่ายหลักสูตร (Course Description) ๔. คุณสมบัติผเู้ ข้ารับการฝึกอบรม (Trainee entry requirements) ๕. โครงสร้างและองค์ประกอบของหลักสูตร (Course structure) ๕.๑ หน่วยสมรรถนะ (Unit of competency) ๕.๒ ชื่อโมดุล (Module title) ๕.๓ สมรรถนะ/ผลการการฝึกที่ต้องการ (Learning Outcome) ๕.๔ ระยะเวลาการฝึกของโมดุล (Nominal hours) ๖. วิธีการประเมินผล (Assessment Method) ๗. วิธีการฝึกอบรม (Methodologies) กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๑๘๘. เครื่องมือและอุปกรณ์ (Resources) ๘.๑ รายการเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ (Equipment) ๘.๒ รายการวัสดุ และเอกสาร (Material) ๙. คุณวุฒิและสมรรถนะของครูฝึกหรือ ผู้ฝกึ สอน (Qualification of Instructors or Trainers) ส่วนที่ ๒: รายละเอียดหน่วยการฝึก (MODULE) มีหัวข้อ ๑. ชื่อหลักสูตร (Course Title) ๒. ชื่อหน่วยการฝึก/โมดุล (Module Title) ๓. ระยะเวลาการฝึกอบรม (Nominal Duration) ๔. ขอบข่ายหน่วยการฝึก (Module Description) ๕. เงื่อนไขก่อนการฝึก (Prerequisite) ๖. กรอบสมรรถนะที่ต้องการ (Training Outcome) ส่วนที่ ๓: รายละเอียดหัวข้อวิชา (Content outline) ประกอบด้วย รายการดังนี้ ๑. ชื่อหลักสูตร (Course Title) ๒. ชื่อหน่วยการฝึก (Module Title) ๓. ชื่อหัวข้อวิชา (Content Title) ๔. รายละเอียดเนื้อหาวิชา (Content) ๕. เครื่องมือและอุปกรณ์ (Resources) ๕.๑ รายการเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ (Equipment) ๕.๒ รายการวัสดุ และเอกสาร (Material) ๖. เงื่อนไขการพัฒนา (Condition) ๗. คู่มือปฏิบัติ วิธปี ฏิบัติและเอกสารอ้างอิง (Condition) ๘. วิธีการประเมินผล (Assessment Method) ๙. วิธีการฝึกอบรม (Methodologies)
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๑๙รูปแบบที่ ๒ รูปแบบการจัดการอาชีวศึกษาและฝึกอบรมของประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศฟิลิปปินส์ (Philippine) มีการใช้รูปแบบการฝึกฐานสมรรถนะในการจัดการอาชีวศึกษาและ ฝึกอบรม โดยการพัฒนาหลักสูตรการฝึกฐานสมรรถนะ (Competency-based Curriculum Training course) ในรูปแบบโมดูลการฝึกตามมาตรฐานสมรรถนะ ซึ่งเรียกว่า Competency Standard มีการแบ่งโครงสร้าง หลักสูตรออกเป็น ๓ ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ ๑ รายละเอียดหลักสูตร (COURSE OUTLINE) ส่วนที่ ๒ รายละเอียดหน่วยการฝึก (MODULE) ส่วนที่ ๓ รายละเอียดสมรรถนะ/ผลการเรียนรู้ที่ต้องการ (LEARNING OUTCOMES) ส่วนที๑่ . รายละเอียดหลักสูตร (COURSE OUTLINE) ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙.
ชื่อหลักสูตร (Course Title) รายละเอียดโมดุลการฝึก (Module Description) ระดับวุฒิบัตร (Level of Certification) ชื่อโมดุลการฝึก (Module Title) ผลลัพธ์การฝึกที่ต้องการ (Summary of Learning Outcomes) เกณฑ์การประเมิน (Assessment Criteria) เนื้อหาการฝึกภาคความรู้และทักษะ (Content) เงื่อนไขการฝึก (Condition) วิธีการประเมินผล (Assessment Method)
ส่วนที๒่ รายละเอียดโมดุลการฝึก (Module) ๑. ๒. ๓. ๔. ๕.
ชื่อหน่วยการฝึก (Unit Title) ชื่อโมดุลการฝึก (Module Title) รายละเอียดโมดุลการฝึก (Module Descriptor) ระดับวุฒิบัตร (Level) ระยะเวลาการฝึก (Nominal Duration)
ส่วนที่ ๓ รายละเอียดผลลัพธ์การฝึกที่ต้องการ (Learning Outcomes) ๖. ผลลัพธ์การฝึก (Learning Outcome) - ผลลัพธ์การฝึกที๑่ (Learning outcome ๑) - ผลลัพธ์การฝึกที๒่ (Learning outcome ๒) - ผลลัพธ์การฝึกที๓่ (Learning outcome ๓)
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๒๐- ผลลัพธ์การฝึกที่๑ (Learning outcome ๑) มีหัวข้อ เกณฑ์การประเมิน (Assessment Criteria) เงื่อนไขการฝึกและการประเมิน(Conditions) หัวข้อวิชาและเนื้อหาในหารฝึก(Content) วิธีการฝึกอบรม(Methodology) o การบรรยาย(Traditional/Lecture type) o การฝึกอบรมแบบควบคู่(Dual training) o การเรียนด้วยตนเอง(Self-pace) o การเรียนแบบกลุ่ม(Community based) o การเรียนทางไกล(Distance gloves) วิธีการวัดและประเมินผล(Assessment Method) o การสอบสัมภาษณ์(Interview) o การสอบข้อเขียน(Written) o การสอบปฏิบัติ(Practical) o การสังเกตพฤติกรรม(Direct observation) ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
- ผลลัพธ์การฝึกที่๒ (Learning outcome ๒) มีหัวข้อ เกณฑ์การประเมิน (Assessment Criteria) เงื่อนไขการฝึกและการประเมิน(Conditions) หัวข้อวิชาและเนื้อหาในหารฝึก(Content) วิธีการฝึกอบรม(Methodology) o การบรรยาย(Traditional/Lecture type) o การฝึกอบรมแบบควบคู่(Dual training) o การเรียนด้วยตนเอง(Self-pace) o การเรียนแบบกลุ่ม(Community based) o การเรียนทางไกล(Distance gloves) วิธีการวัดและประเมินผล(Assessment Method) o การสอบสัมภาษณ์(Interview) o การสอบข้อเขียน(Written) o การสอบปฏิบัติ(Practical) o การสังเกตพฤติกรรม(Direct observation)
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๒๑ทั้งสองรูปแบบ มีความเหมือนกันในส่วนที๑่ และส่วนที๒่ แต่มคี วามแตกต่างกันบ้างในส่วนที่๓ โดยที่ รูปแบบที่๑ ส่วนที่๓: จะเป็นรายละเอียดของหัวข้อวิชา (Content outline) และส่วนที่๓ ของรูปแบบที่๒ คือ ผลลัพธ์การฝึกที่ต้องการ (Learning Outcomes) หรือความสามารถทีต่ ้องการ มีรายละเอียด ดังนี้ ส่วนที่ ๓: รายละเอียดผลลัพธ์การฝึกที่ต้องการ - ผลลัพธ์การฝึกที่ต้องการ (Learning Outcomes) - ผลลัพธ์การฝึกที่๑ (Learning outcome ๑) - ผลลัพธ์การฝึกที๒่ (Learning outcome ๒) - ผลลัพธ์การฝึกที๓่ (Learning outcome ๓) - ผลลัพธ์การฝึกที่๑ (Learning outcomes ๑) มีหัวข้อ เกณฑ์การประเมิน (Assessment Criteria) เงื่อนไขการฝึกและการประเมิน(Conditions) หัวข้อวิชาและเนื้อหาในหารฝึก(Content) วิธีการฝึกอบรม(Methodology) o การบรรยาย(Traditional/Lecture type) o การฝึกอบรมแบบควบคู่(Dual training) o การเรียนด้วยตนเอง(Self-pace) o การเรียนแบบกลุ่ม(Community based) o การเรียนทางไกล(Distance gloves) วิธีการวัดและประเมินผล(Assessment Method) o การสอบสัมภาษณ์(Interview) o การสอบข้อเขียน(Written) o การสอบปฏิบัติ(Practical) o การสังเกตพฤติกรรม(Direct observation) หากมีจํานวนผลลัพธ์การฝึก (Learning outcomes) มากกว่า ๑ ก็ใช้หัวข้อและรายละเอียดเดียวกัน
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๒๒ตัวอย่าง โครงร่าง(Template) ของหลักสูตร แบบที่ ๒: แบบฟอร์มหลักสูตรฐานสมรรถนะ ระดับ..........
หลักสูตรการฝึก ชื่อหลักสูตร รหัสหลักสูตร ระยะเวลาฝึก กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน กระทรวงแรงงาน ส่วนที่ ๑; รายละเอียดหลักสูตร รายละเอียดหลักสูตร (Course outline) ๑. ชื่อหลักสูตร (Course Title): ๒. ระยะเวลาการฝึกอบรม (Nominal Duration): ๓. คําอธิบายขอบเขต หลักสูตร (Course Descriptor):
(ระดับ..........) (Nominal duration):
รหัส....................
ชั่วโมง
๔. คุณสมบัตผิ ู้เข้ารับการ ฝึกอบรม (Trainee entry requirements):
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๒๓โครงสร้างและองค์ประกอบของหลักสูตร (Course Structure) ๕. หน่วยสมรรถนะ ชื่อ Module ผลการเรียนรู/้ รายการสมรรถนะที่ (Unit Title): ต้องการ (Learning Outcome)
๖. วิธีการประเมินผล (Assessment Method): สอบข้อเขียน/สอบปากเปล่า สอบปฏิบัติ สังเกตโดยตรง
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
ระยะเวลา: ชั่วโมง
๖. วิธีการฝึกอบรม (Methodologies):
บรรยาย/สาธิต เรียนรู้ตามความก้าวหน้าของตน/โมดูล ระบบฝึกหัด Dual Training System การเรียนทางไกล บทบาทสมมุติ เพื่อนสอน/Peer Teaching / Mentoring
8/22/2011
- ๒๔๗. เครื่องมือและอุปกรณ์ (Resource) เครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์และ สิ่งอํานวยความสะดวก
วัตถุดิบ วัสดุ
๘. คุณวุฒิและสมรรถนะของครูฝึก/วิทยากร (Qualification of Instructors or Trainers) ต้องได้คุณวุฒิตามมาตรฐานฝีมือแรงงาน ระดับ.....................สาขา ........................................................ มีประสบการณ์ในงานสาขา/อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย ๒ ปี ผ่านการฝึกอบรมเทคนิคการสอน มีพื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๒๕ส่วนที่ ๒ ; รายละเอียดของหน่วยการฝึก/โมดุลการฝึก ๑. ชื่อหน่วยสมรรถนะ(Unit Title): ๒. ชื่อโมดุล(Module Title): ๓. คําอธิบายขอบเขต (Descriptor):
รหัส..... รหัส.....
๔. ระยะเวลาฝึกอบรม (Nominal Duration): ๕. ระดับวุฒบิ ตั ร (Level of Certificated): ๖. พื้นฐานความสามารถ และคุณสมบัตทิ ี่มีมาก่อน (Pre-requisites): ๗. ผลการเรียนรู้/รายการสมรรถนะทีค่ าดหวัง(Learning Outcomes) : เมื่อสําเร็จการฝึกในหน่วยการฝึกนี้ ผู้เข้ารับการฝึกสามารถปฏิบัติงานโดยมีสมรรถนะ และระยะเวลาการพัฒนาสมรรถนะ ดังนี้ รหัส
ผลการเรียนรู/้ สมรรถนะที่คาดหวัง
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
ชั่วโมงฝึก ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม
8/22/2011
- ๒๖ส่วนที่ ๓ : รายละเอียดผลการเรียนรูท้ ี่ต้องการ (Training Outcome) ๑. ชื่อโมดุล (Module ................................................................................................. รหัส Title): . โมดูล………. ๒. ชื่อผลการเรียนรู้ รหัส................ (Learning Outcomes) ๓. เกณฑ์การ ประเมินผล (Assessment criteria): ๔. เนื้อหา (Contents):
๕.เงื่อนไขการฝึก (Condition):
๖.วิธีการฝึกอบรม (Methodology)
๗.วิธีการประเมินผล (Assessment Methods)
อุปกรณ์ เครือ่ งมือ คู่มือ เอกสารอ้างอิง จะต้องจัดสิ่งต่อไปนี้แก่ผู้รับการฝึก วัสดุการเขียน เช่น (ปากกา & กระดาษ) หนังสืออ้างอิง คู่มือวิธีปฏิบัติ ขั้นตอนและวิธีการตรวจความพร้อมด้วยวิธีการ ประชุมก่อนเข้างาน (Morning Meeting) ……………………………………………………….. การอภิปรายกลุ่ม การสาธิตปฏิบัติ การบรรยาย การรายงาน ………………………………………………………… สอบข้อเขียน สอบปฏิบัติ สัมภาษณ์
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๒๗ส่วนที่ ๓: รายละเอียดผลการเรียนรู้ที่ต้องการ (Training Outcome) ชื่อโมดุล(Module .................................................................................................. รหัสโมดูล………. Titles): .................................................................................................. รหัส................ ชื่อผลการเรียนรู้ (Learning outcomes): เกณฑ์การประเมินผล (Assessment Criteria): เนื้อหา(Contents):
เงื่อนไขการฝึก (Condition):
วิธีการฝึกอบรม (Methodology):
วิธีการประเมินผล (Assessment Methods)
อุปกรณ์ เครือ่ งมือ คู่มือ เอกสารอ้างอิง จะต้องจัดสิ่งต่อไปนี้แก่ผู้รับการฝึก วัสดุการเขียน เช่น (ปากกา & กระดาษ) หนังสืออ้างอิง คู่มือวิธีปฏิบัติ ขั้นตอนและวิธีการตรวจความพร้อมด้วยวิธีการ ประชุมก่อนเข้างาน (Morning Meeting) ……………………………………………………….. การอภิปรายกลุ่ม การสาธิตปฏิบัติ การบรรยาย การรายงาน สอบข้อเขียน สอบปฏิบัติ สัมภาษณ์ .................................................................
ผู้เห็นชอบหลักสูตร........................................................ ผู้อนุมัติหลักสูตร…………………………………… ..................................................................................... ..................................................................... วันที่................................................................................. วันที่.............................................................. กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๒๘-
๑๑.๒ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรและโมดุลการฝึกตามความสามารถ (Developing A Competency Based Curriculum: CBC) กรอบการดําเนินงาน(Flow chart) การพัฒนาหลักสูตร และโมดุลการฝึก (Competency Based Curriculum) ผังดําเนินงาน ก.
เริ่มต้น
๑. นํามาตรฐานความสามารถ (Competency Standard) มาทําหลักสูตรตามความสามารถ (Competency Based Curriculum: CBC)
๒.กําหนดโครงสร้างและองค์ประกอบ หลักสูตร (Course Structure)
ไม่ถูกต้อง
รายละเอียด
กําหนดโครงสร้างหลักสูตร ถูกต้องหรือไม่?
ถูกต้อง
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
๑.) ให้นํามาตรฐานความสามารถ(Competency Standard)ของสาขาอาชีพนั้น มาใช้ เป็นฐานอ้างอิงใน การพัฒนาหลักสูตรตามความสามารถ เช่น มาตรฐาน ฝีมือแรงงานกรมพัฒนาฝีมือแรงงา (บางหน่วยงาน เรียก หลักสูตรฐานสมรรถนะ) หรือ ๒.) ให้นํามาตรฐานตามความต้องการของผู้ประกอบ กิจการเป็นฐานอ้างอิงในการพัฒนาหลักสูตรตาม ความสามารถ (ให้นํามาตรฐานต่างๆ ที่มีอยู่ มาจัดทําหลักสูตรการฝึก CBT) จัดทําหัวข้อและรายละเอียดของหลักสูตรเพื่อทําเป็น กรอบโครงสร้างหลักสูตรตามความสามารถ โดยมีหัวข้อ ต่างๆ เช่น - ชื่อหลักสูตร(Course Title) - ระยะเวลาการฝึก(Nominal Duration) - คําอธิบายหลักสูตร(Course Description) - คุณสมบัติของผู้รับการฝึก(Entry Requirements) - โครงสร้างและองค์ประกอบหลักสูตร(Course Structure) - ชื่อหน่วยความสามารถ (Unit of Competency) - ชื่อโมดุลการฝึก (Module Title) - วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (Learning Outcomes) - ระยะเวลาการฝึกในโมดุล(Nominal Duration)
8/22/2011
- ๒๙-
๓. จัดทํารายละเอียดและจัดกลุ่มรายการ ความสามารถ (Competency List)
ไม่ใช่
จัดทํารายละเอียดและ จัดกลุ่มรายการความสามารถ ได้ครบถ้วน แล้วใช่หรือไม่
ใช่
- วิธีการประเมิน(Assessment Methods) - วิธีการฝึก(Course Delivery) - สิ่งสนับสนุนการฝึก (Resources) (เช่น วัสดุ เครื่องมือ อุปกรณ์การฝึก และสื่อการฝึก สิ่งอํานวยความสะดวก เป็น ต้น) - คุณสมบัติของวิทยากร/ครูฝึก (Trainer’s Qualifications) จัดทํารายละเอียดและจัดกลุ่มรายการความสามารถต่างๆ ที่ ต้องการทําเป็นโมดุลการฝึกในหลักสูตรตามความสามารถ โดยพิจารณารายละเอียดจากมาตรฐานความสามารถ (Competency Standard) ในหัวข้อต่อไปนี้ - หน่วยความสามารถ (unit of competency) ซึ่งประกอบด้วย - รายละเอียดหน่วยความสามารถ (Unit descriptor) - ความสามารถย่อย(Element of competency) - เกณฑ์การปฏิบัติงาน(Performance Assessment) - ขอบเขตการปฏิบัติงาน(Rage of variable) - หลักฐานการปฏิบัติงาน (Evidence guide) พิจารณา จัดทํากลุ่มรายการความสามารถที่ต้องการฝึก เช่น - ความสามารถพื้นฐาน(Basic Competency) - ความสามารถทั่วไป(Common Competency) - ความสามารถหลัก(Core Competency)
จัดทํารายละเอียดและกําหนดโครงสร้างโดยกําหนดหัวข้อ ต่างๆเป็นกรอบของโมดุลการฝึกโดยพิจารณาจาก องค์ประกอบของหน่วยความสามารถและโครงสร้างของ หลักสูตรและหาความสัมพันธ์ระหว่างกัน โดยมีหัวข้อ ดังนี้
๔.จัดทํารายละเอียดของโมดุลการฝึก (Module Title)
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
- ชื่อมาตรฐานความสามารถ(Competency Standard) - ชื่อหน่วยความสามารถ(Unit of Competency) - รหัสโมดุลการฝึก(Module Code) - ชื่อโมดุลการฝึก(Module Title) - คําอธิบายรายละเอียดโมดุลการฝึก(Module Description) -ระยะเวลาการฝึก(Suggested Duration) - คุณสมบัติที่ต้องมีมาก่อน(Pre-requisite) - กําหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมแต่ละโมดุล(Learning Outcomes) - กําหนดเกณฑ์การประเมิน(Assessment Criteria) - กําหนดเนื้อหาการฝึก(Contents) - กําหนด วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ คุณสมบัติครูฝึก - กําหนดวิธีการฝึก(Methodologies) เป็นต้น
8/22/2011
- ๓๐-
๕. กําหนดวิธกี ารประเมินผลการฝึก
๖.ตรวจสอบและพิจารณาความถูกต้อง ทดลองใช้งานและเผยแพร่
ก.
ใช่
มีการเปลี่ยนแปลง มาตรฐานความสามารถ ใช่หรือไม่?
ขั้นตอนสุดท้ายผู้จัดทําต้องบอกวิธีการประเมินผลผู้รับ การฝึกในแต่ละวัตถุประสงค์ที่ต้องการให้ผู้รับการฝึก บรรลุ(Learning Outcomes) ของโมดุลการฝึกต่างๆ โดยการกําหนด - วิธีการประเมินผลผู้รับการฝึก(Assessment Methods) ในแต่ละวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ ต้องการให้ผู้รับการฝึกบรรลุ (Learning Outcomes) และต้องเชื่อมโยงกับเกณฑ์การประเมิน(Assessment Criteria)ในแต่ละวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ได้กําหนด ไว้แต่แรกด้วย ตรวจสอบ พิจารณาความถูกต้องของหลักสูตรและโมดุล CBT โดยคณะทํางานจัดทําหลักสูตรและผู้มสี ่วนได้ เสีย นําไปทดลองใช้งานและจัดทําเป็นเอกสารเผยแพร่ เพื่อ ใช้เป็นแนวทางการฝึกอบรมต่อไป การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหลักสูตร จะเกิดขึ้นได้ เมื่อมี การปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงมาตรฐานความสามารถ (Competency Standard) เท่านั้น
ไม่ใช่ สิ้นสุด
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๓๑-
ขั้นตอนการจัดทําหลักสูตรตามความสามารถ (Developing A Competency Based Curriculum)
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๓๒๑๒. ขัน้ ตอนการจัดทํารายละเอียดหลักสูตรตามความสามารถ (Course Design) มี ๑๒ ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่๑
กําหนดชื่อหลักสูตรการฝึก (Course Title) รายละเอียด: การตั้งชื่อหลักสูตรการฝึกสามารถกําหนดขึ้นได้จากการวิเคราะห์ความสามารถในการปฏิบัติงาน ชื่อหลักสูตรการฝึกที่ตั้งขึ้นควรเป็นข้อความที่อ่านแล้วเข้าใจง่ายและรู้ได้ว่าเกี่ยวข้องกับอะไร
ตัวอย่าง : การตั้งชื่อหลักสูตรการฝึก Course Title: ชื่อหลักสูตรการฝึก : ขั้นตอนที่๒
COMPUTER HARDWARE SERVICING NCII การบริการฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ (มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ) ระดับ ๒
กําหนดระยะเวลาการฝึก (Course Duration) รายละเอียด: เป็นการกําหนดระยะเวลาการฝึกของหลักสูตรโดยการประมาณ เป็นชั่วโมงฝึก หรือ เป็นปี
ตัวอย่าง : การกําหนดระยะเวลาการฝึกของหลักสูตร Nominal Duration: ระยะเวลาการฝึก : ขั้นตอนที่๓
392 hours ๓๙๒ ชั่วโมง
กําหนดระดับคุณวุฒิวิชาชีพหรือระดับความสามารถ (Qualification Level) รายละเอียด: การกําหนดระดับของคุณวุฒิวิชาชีพหรือระดับความสามารถของผู้ที่ผ่านหลักสูตรนี้ ให้ไปกําหนด จากระดับของมาตรฐานความสามารถ(Competency Standard) หรือมาตรฐานฝีมอื แรงงานที่ กรมกําหนดขึ้น
ตัวอย่าง : การตั้งชื่อหลักสูตรการฝึก Qualification Level: COMPUTER HARDWARE SERVICING NCII ระดับคุณวุฒิ/ การบริการฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ (มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ) ระดับ๒ ความสามารถ : กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๓๓ขั้นตอนที่๔
กําหนดชื่อหน่วยความสามารถ (Unit of Competency) รายละเอียด: กําหนดได้จากรายการหน่วยความสามารถซึ่งมาจากมาตรฐานความสามารถ(Competency Standard) (*ใส่หรือไม่ใส่ก็ได้)
ตัวอย่าง : การกําหนดชื่อหน่วยความสามารถ Unit of Competency: หน่วยความสามารถ : ขั้นตอนที่๕
Use hand tools ใช้งานเครื่องมือ
เขียนคําอธิบายขอบเขตหลักสูตร (Course Description) รายละเอียด: คําอธิบายขอบเขตหลักสูตรที่เขียนจะมีขอบเขตเนื้อหารวมไปถึงทักษะความสามารถที่สถาน ประกอบกิจการมีความต้องการและความสามารถทีผ่ ู้รบั การฝึกได้รับหลังการฝึกในหลักสูตรนี้ สิ้นสุดลง
ตัวอย่าง : การกําหนดชื่อหน่วยความสามารถ Course Description:
คําอธิบายขอบเขต หลักสูตร :
This course is designed to develop knowledge, skills, and attitudes of a Computer Service Technician in accordance with industry standards. It covers basic and common competencies such as installing, maintaining, configuring, and diagnosing computer systems and networks หลักสูตรนี้ถูกออกแบบมาเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านความรู้ ด้านทักษะและด้าน เจตคติให้แก่ผรู้ ับการฝึกในตําแหน่งช่างบริการเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สอดคล้องกับ มาตรฐานอุตสาหกรรม ซึ่งจะครอบคลุมความสามารถพื้นฐานและความสามารถ ทั่วไป ได้แก่ การติดตั้งอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ การบํารุงรักษาคอมพิวเตอร์ การตั้งค่า และการวิเคราะห์ปัญหาระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๓๔ขั้นตอนที่๖
อธิบายผลลัพธ์ที่ผรู้ ับการฝึกได้จากหลักสูตร (Course Outcomes) รายละเอียด: กําหนดขอบเขตของผลการฝึกที่คาดว่าผู้รับการฝึกจะได้รับจากโมดุลการฝึกของหลักสูตรนี้ รวมถึง รายการความสามารถและผลการปฏิบัติงานที่ต้องเกิดขึ้นจริงในสถานประกอบกิจการซึ่งผู้รับการ ฝึกต้องมีหลังผ่านการฝึกในหลักสูตรนี้ (*จะใส่หรือไม่ใส่ก็ได้)
ตัวอย่าง : ขั้นตอนที่๗
คุณสมบัติของผู้รับการฝึก (Entry Requirements) รายละเอียด: เป็นการระบุคุณสมบัติของผูร้ ับการฝึกที่จําเป็นในการฝึกหลักสูตรนี้ เช่น อายุของผู้รับการฝึก หรือ คุณสมบัติเฉพาะที่จําเป็นต้องมี
ตัวอย่าง : คุณสมบัติของผู้รบั การฝึก Entry Requirement:
Candidate/trainee must posses the following qualifications, must be: Able to communicate both oral and written Physically and mentally fit. With good moral character. Can perform basic mathematical and logical computations. Analytical and logical thinking
คุณสมบัติขิงผูร้ ับการฝึก
ผู้เข้ารับการฝึกในหลักสูตร.............. จะต้องมีคุณสมบัตแิ ละต้องมี ดังต่อไปนี้ ๑. สามารถสื่อสารด้วยวาจาและเขียนได้ ๒. มีสภาพร่างกายและจิตใจพร้อมรับการฝึก ๓. มีความประพฤติตามศีลธรรมอันดี ๔. มีความสามารถพื้นฐานด้านคณิตศาสตร์และการคิดคํานวณตรรกะ ๕. คิดวิเคราะห์เป็นและมีเหตุผล
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๓๕ขั้นตอนที่๘
กําหนดโครงสร้างหลักสูตร (Course Structure) รายละเอียด: เป็นการเรียงลําดับของโมดุลการฝึกหรือหัวข้อวิชาและระยะเวลาการฝึกในแต่ละโมดุลการฝึกของ หลักสูตร รวมถึงการเรียงลําดับและจัดกลุม่ หน่วยความสามารถหรือรายการความสามารถย่อย
ตัวอย่าง : โครงสร้างของหลักสูตร (COURSE STRUCTURE :) หลักสูตรการฝึกโดยหน่วยงานฝึกของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน แบ่งตามสมรรถนะเป็น ๓ กลุ่มสมรรถนะ ใช้ระยะเวลาในการฝึก...................................ชั่วโมง โดยจําแนกรายละเอียดได้ ดังนี้ กลุ่มสมรรถนะพื้นฐาน........................................................................................(จํานวน)โมดูล กลุ่มสมรรถนะทั่วไป...........................................................................................(จํานวน)โมดูล กลุ่มสมรรถนะหลัก........................................................................................... (จํานวน)โมดูล ตัวอย่าง ตารางวิเคราะห์ความสามารถ: หน่วยสมรรถนะ รหัส/ชื่อโมดูล ผลลัพธ์การเรียนรู้ สมรรถนะพืน้ ฐาน ๑. มีส่วนร่วมในการ ๑.๑ การติดต่อสื่อสารใน ๑.๑.๑ รับและสื่อข้อมูลในสถานที่ทํางาน สื่อสารในทีท่ ํางาน ที่ทํางาน ๑.๑.๒ มีส่วนร่วมในการประชุมและการ อภิปราย ๑.๑.๓ ทํางานเอกสารที่เกี่ยวข้องได้สมบูรณ์ ๒. ทํางานในสภาวะ ๒.๑ ทํางานร่วมกับผู้อื่น ๒.๑.๑ อธิบายและกําหนดบทบาท หน้าที่ แวดล้อมของทีมงาน ความรับผิดชอบในทีมงาน ๒.๑.๒ ทํางานเป็นสมาชิกในทีม ๓. ปฏิบัติงานอย่างมือ ๓.๑ ปฏิบัติงานอย่างมือ ๓.๑.๑ บูรณาการวัตถุประสงค์ส่วนบุคคลกับ อาชีพ อาชีพ เป้าหมายขององค์กร ๓.๑.๒ กําหนดและตรงตามลําดับความสําคัญ ของงาน ๔.๑.๑ ระบุอันตรายและความเสี่ยง ๔. ปฏิบัติตามวิธีการ ๔.๑ ปฏิบัติตามวิธีการ ๔.๑.๒ ประเมินอันตรายและความเสี่ยง อย่างปลอดภัยและถูก อย่างปลอดภัยและถูก ๔.๑.๓ ควบคุมอันตรายและความเสี่ยง สุขลักษณะตามอาชีพ สุขลักษณะตามอาชีพ ๔.๑.๔ รักษาและตระหนักรู้ในความปลอดภัย และสุขภาพในสายอาชีพ
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
ระยะเวลา ๑๘ ชม. ๔
8/22/2011
๔ ๕
๕
- ๓๖หน่วยสมรรถนะ
รหัส/ชื่อโมดูล ผลลัพธ์การเรียนรู้ สมรรถนะทั่วไป ๑.ประยุกต์ใช้มาตรฐาน ๑.๑ ประยุกต์ใช้ ๑.๑.๑ ระเมินคุณภาพของวัสดุที่ได้รับ คุณภาพ มาตรฐานคุณภาพ ๑.๑.๒ ประเมินการทํางานของตัวเอง ๑.๑.๓ ร่วมในการพัฒนาคุณภาพ ๒.ปฏิบัติงาน ๒.๑ ปฏิบัติงาน ๒.๑.๑ ประยุกต์ใช้วิธีการทํางานพื้นฐานของ คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ ๒.๑.๒ จัดระเบียบและจัดการกับไฟล์ ๒.๑.๓ ติดตั้ง กําหนดค่า และทํางานด้วย โปรแกรมประยุกต์ ๒.๑.๔ ทํางานด้วยอินเทอร์เนต ๒.๑.๕ ออกจากระบบคอมพิวเตอร์ สมรรถนะหลัก ๑. ติดต่อสื่อสารอย่างมี ๑.๑ ติดต่อสื่อสารอย่างมี ๑.๑.๑ วิเคราะห์กระบวนการสือ่ สาร ประสิทธิภาพในศูนย์ ประสิทธิภาพในศูนย์ ๑.๑.๒ ติดต่อสือ่ สารและฟังอย่างกระตือรือร้น ติดต่อฝ่ายบริการลูกค้า ติดต่อฝ่ายบริการลูกค้า ๑.๑.๔ ระบุและใช้ตัวชี้นําการ สื่อสาร paralanguage ๒. ให้บริการลูกค้า อย่างมีคุณภาพ
๓.ปฏิบัติงาน คอมพิวเตอร์พื้นฐาน และท่องอินเทอร์เนต
ระยะเวลา ๑๘ ชม. ๘ ๑๐
๓๒๐ ชม. ๑๒๐
๒.๑ ให้บริการลูกค้าอย่าง ๒.๑.๑ แสดงให้เห็นถึงความเข้าใจ มีคุณภาพ ของ BFO / อุตสาหกรรม Call Center ๒.๑.๒ ส่ง / เรียกไปยัง / จากลูกค้า ๒.๑.๓ จัดการข้อร้องเรียนของลูกค้า ๒.๑.๔ ให้บริการหลังการขายและบริการ เอกสาร ๓.๑.๑ ประยุกต์ใช้ขั้นตอนการทํางาน ๓.๑ ปฏิบัติงาน คอมพิวเตอร์พื้นฐานและ คอมพิวเตอร์พื้นฐาน ๓.๑.๒ จัดระเบียบและจัดการกับไฟล์ ท่องอินเทอร์เนต ๓.๑.๓ ติดตั้ง กําหนดค่า และทํางานด้วย โปรแกรมประยุกต์ ๓.๑.๔ ทํางานด้วยอินเทอร์เนต ๓.๑.๕ ออกจากระบบคอมพิวเตอร์
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
๑๒๐
๔๐
- ๓๗หน่วยสมรรถนะ ๔. แสดงให้เห็นถึง ความเข้าใจและความรู้ เกี่ยวกับวัฒนธรรมของ ชาวอเมริกันและ ภูมิศาสตร์
รหัส/ชื่อโมดูล ผลลัพธ์การเรียนรู้ ๔.๑ แสดงให้เห็นถึงความ ๔.๑.๑ ประยุกต์ใช้ความรู้ตัวแปรทาง เข้าใจและความรู้เกี่ยวกับ วัฒนธรรมร่วมกัน ๔.๑.๒ ประยุกต์ใช้ความรู้ภูมิศาสตร์อเมริกัน วัฒนธรรมของชาว อเมริกันและภูมิศาสตร์
ระยะเวลา ๔๐
ตัวอย่าง ตารางวิเคราะห์ความสามารถ: BASIC COMPETENCIES (18 hours) Units of Competency
Module Title
1. Participate in workplace communication
1.1 Participating in workplace communication
2. Work in a team environment
2.1 Working in a team environment
3. Practice career professionalism
3.1 Practicing career professionalism
4. Practice occupational health and safety procedures
4.1 Practicing occupational health and safety procedure
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
Learning Outcomes 1.1.1 Obtain and convey workplace information 1.1.2 Complete relevant work-related document 1.1.3 Participate in workplace meeting and discussion 2.1.1 Describe and identify team role and responsibility 2.1.2 Describe work as a team member 3.1.1 Integrate personal objectives with organizational goals. 3.1.2 Set and meet work priorities. 3.1.3 Maintain professional growth and development. 4.1.1 Identify hazards and risks. 4.1.2 Evaluate hazards and risks. 4.1.3 Control hazards and risks. 4.1.4 Maintain occupational health and safety awareness.
8/22/2011
Nominal Duration 4 hours
4 hours 5 hours
5 hours
- ๓๘COMMON COMPETENCIES (54 hours) Units of Competency
Module Title
1. Apply quality standards
1.1 Applying quality standards 2. Perform computer 2.1 Performing operations computer operations
Learning Outcomes 1.1.1 1.1.2 1.1.3 2.1.1 2.1.2 2.1.3 2.1.4 2.1.5 2.1.6
3.1 Performing 3. Perform mensuration mensuration and and calculation calculation 4. Prepare and 4.1 Preparing and interpret interpreting technical drawing technical drawing
3.1.1 3.1.2 3.1.3
5. Use hand tools
5.1.1
5.1 Using hand tools
4.1.1 4.1.2 4.1.3
5.1.2 5.1.3 5.1.4 6.1.1
6.1 Terminating 6. Terminate and and connect connect electrical electrical wiring wiring and and electronics 6.1.2 electronics circuit circuit 6.1.3
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
Assess quality of received materials Assess own work Engage in quality improvement Plan and prepare for tasks to be undertaken Input data into computer Access information using computer Produce output/datd using computer system Use basic functions of a web browser to locate information Maintain computer equipment and systems Select measuring instruments Carry out measurements and calculation Maintain measuring instruments Identify different kinds of technical drawings Interpret technical drawing Prepare/make changes on electrical/electronic schematics and drawings Plan and prepare for tasks to be undertaken Prepare hand tools Use appropriate hand tools and test equipment Maintain hand tools Plan and prepare for termination/connection of electrical wiring/electronics circuits Terminate/connect wiring/electronic circuits Test termination/connections of electrical wiring/electronics circuits
8/22/2011
Nominal Duration 9 hours 9 hours
9 hours 9 hours
9 hours
9 hours
- ๓๙CORE COMPETENCIES (320 hours) Units of Competency
Module Title
1. Install computer systems and networks 2. Diagnose and troubleshoot computer systems
1.1 Installing computer systems and networks 2.1 Diagnosing and trouble shooting computer systems
Learning Outcomes 1.1.1 1.1.2 1.1.3 2.1.1 2.1.2 2.1.3
3. Configure computer 3.1 Configuring computer systems systems and and networks networks
2.1.4 3.1.1 3.1.2 3.1.3
4. Maintain computer systems and networks
4.1 Maintaining computer systems and networks
4.1.1
4.1.2 4.1.3 4.1.4
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
Plan and prepare for installation Install equipment/device system Conduct test Plan and prepare for diagnosis of faults of computer systems Diagnose faults of computer systems Repair defects in computer systems and networks Test systems and networks Plan and prepare for configuration Configure computer systems and networks Inspect and test configured computer systems and networks Plan and prepare for the maintenance of computer systems and networks Maintain computer systems Maintain network systems Inspect and test configured/repaired computer system and networks
8/22/2011
Nominal Duration 60 hours 100 hours
100 hours
60 hours
- ๔๐ขั้นตอนที่๙
กําหนดวิธีการฝึก (Course Delivery) รายละเอียด: เป็นการระบุวิธีการนําเสนอเนื้อหาของหลักสูตร และระบุกลไกการถ่ายทอดเนื้อหาที่สนับสนุนและ เชื่อมโยงกับภาคอุตสาหกรรมเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการฝึกมากทีส่ ุด
ตัวอย่าง : วิธกี ารฝึกอบรม (Course Delivery) COURSE DELIVERY: Lecture-demonstration Self-paced instruction Group discussion วิธีการฝึก: การบรรยายและสาธิตการปฏิบัติงาน การเรียนรู้ตามความก้าวหน้าของตนเอง การอภิปรายกลุ่ม
ขั้นตอนที่๑๐ กําหนดวิธีการประเมิน (Assessment Method) รายละเอียด: เป็นการอธิบายวิธีการประเมินและวิธีการที่ใช้ประเมินเกี่ยวข้องกับผลการฝึกอย่างไรและจะตัดสิน หรือให้คะแนนความสามารถของผู้รับการฝึกได้อย่างไร ตัวอย่าง : วิธกี ารประเมิน (Assessment Method) ASSESSMENT METHODS:
วิธีการประเมินผล:
Hands on Direct observation Practical demonstration Oral and written exam โดยการใช้แบบทดสอบ โดยการสังเกตพฤติกรรมโดยตรง โดยการสาธิตการปฏิบัติ โดยการทดสอบปากเปล่าและข้อเขียน
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๔๑ขั้นตอนที่๑๑ แหล่งทรัพยากร (Resources) รายละเอียด: เป็นการระบุ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้และเครื่องอํานวยความสะดวกที่จําเป็นในการฝึก ของหลักสูตรนี้ ตัวอย่าง : แหล่งทรัพยากร (Resources) Tools
Operating System Application program Components / Dividers Oscilloscope Rulers T-square Calculator Multi-tester Soldering gun Pliers Cutters Screw drivers Goggles Gloves Protractor Steel rule LAN tester Utility software Anti-static wrist wrap Masks Crimping tools Flashlights Sharp pointed tweezers Mirror (inspection) Soldering gun
Equipment
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
Hubs/switches CDROMs Modem/router Printers Hubs Server Peripherals Desktop Computers
Materials
UTP Cat. 5 cables UTP Cat.3 cables RJ 45 modular plug Learning Manuals Work Instruction Hand-outs Board marker White board Schematic diagrams Charts Block diagrams Layout plans Location Plans Instrumentation diagrams Loop diagrams System Control diagrams Drawing boards
8/22/2011
- ๔๒ขั้นตอนที่๑๒ คุณสมบัติของวิทยากร/ครูฝกึ (Qualification of Instructors) รายละเอียด: เป็นการระบุคุณสมบัติขั้นต่ําของวิทยากร/ครูฝึก ที่จําเป็นของหลักสูตร ได้แก่ คุณวุฒทิ างการ ศึกษา ประสบการณ์ในการทํางาน และความรู้ความสามารถของวิทยากรหรือครูฝึก และคุณสมบัติ พิเศษอื่นๆ ที่จาํ เป็นของหลักสูตร ควรกําหนดไว้ถ้าจําเป็น ตัวอย่าง : คุณสมบัติของวิทยากร/ครูฝึก (Qualification of Instructors) คุณสมบัติวิทยากร/ครูฝึก ต้องได้คุณวุฒิตามมาตรฐานฝีมือแรงงาน สาขา.................. ระดับ..................... มีประสบการณ์ในงานสาขา/อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย ๒ ปี ผ่านการฝึกอบรมเทคนิคการสอน มีพื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๔๓-
ขั้นตอนการจัดทําโมดุลการฝึกตามความสามารถ (Developing A Training of modules)
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๔๔๑๓. ขัน้ ตอนการจัดทํารายละเอียดโมดุลการฝึกตามความสามารถ (Developing A Training of modules) มี ๑๑ ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่๑
ตั้งชื่อโมดุลการฝึก (Module Title)
แนวทาง : การตั้งชื่อโมดุลการฝึก - วิเคราะห์หน่วยความสามารถ(Unit of Competency) - ตั้งชื่อโมดุลการฝึก โดยใช้โครงสร้าง ดังต่อไปนี้ หน่วยความสามรถ Unit of Competency หน่วยความสามรถ Unit of Competency ความสามารถย่อย ความสามารถย่อย ความสามารถย่อย ความสามารถย่อย ความสามารถย่อย ความสามารถย่อย
โมดุลการฝึก
๒
โมดุลการฝึก ๑
๓
ชุดของโมดุลการฝึก (Set of Modules)
รายละเอียด: ชื่อโมดุลการฝึกที่ตั้งขึ้น อาจมีอิทธิพลบางอย่างต่อวิธีการฝึก ซึ่งเป็นที่รับรูก้ ันในภาคการฝึกอบรม จึงควร ตั้งชื่อที่เห็นรายละเอียดที่ชัดเจนของโมดุลการฝึก และชื่อของโมดุลการฝึกที่ตั้งเป็นตัวบ่งบอกได้ดีที่สุดว่าในโมดุล การฝึกนั้นผู้รับการฝึกจะได้ประโยชน์อะไร ซึ่งการตั้งชื่อโมดุลการฝึกต้องใช้คํากริยา ขึ้นต้นด้วย “การ” จึงจะ เหมาะสม
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๔๕ตัวอย่าง : หน่วยความสามารถ (Unit of Competency) ความสามารถย่อย (Element) 1. วางแผนและเตรียมงาน (Plan and prepare for work) 2.เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ทสี่ ิ่งจําเป็น(Prepare hardware, tools and equipment) 3. ตรวจสอบความถูกต้องของระบบ(Erect ERS)
การติดตั้งระบบกู้คืนโครงสร้างฉุกเฉิน(ERS)
ชื่อโมดุลการฝึก (Module Title)
หน่วยความสามารถ (Unit of Competency)
ปฏิบัติงานกับคอมพิวเตอร์(Perform Computer Operation)
ความสามารถย่อย (Element) 1. วางแผนและเตรียมการดําเนินงาน 2. ป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ 3. ประมวลผลข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ 4. บํารุงรักษาอุปกรณ์และระบบคอมพิวเตอร์ ชื่อโมดุลการฝึก ว่า “การจัดการข้อมูลคอมพิวเตอร์” (Managing computer data) ชื่อโมดุลการฝึก ว่า “การบํารุงรักษาอุปกรณ์และระบบคอมพิวเตอร์”(Maintaining equipment and system)
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๔๖ขั้นตอนที่๒
กําหนดขอบเขตและรายละเอียดโมดุลการฝึก (Module Descriptor)
แนวทาง : การเขียนขอบเขตและรายละเอียดของโมดุลการฝึก - จัดทําโดยใช้การอธิบายสั้นๆ ถึงขอบเขตของโมดุลการฝึกนั้น ให้ครอบคลุมความสามารถด้าน ต่างๆ อย่างย่อๆ กว้างๆ (ด้านความรู้ ด้านทักษะและเจตคติที่จําเป็นต่อการปฏิบัติงาน) - เป็นการชี้แจงเจตนารมณ์ของโมดุลการฝึกนี้ และบอกแนวทางในการทํางานหรือต้องปฏิบัติ ในสถานประกอบกิจการหรือในโรงงาน รายละเอียด: โมดุลการฝึกเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนหรือการฝึกอบรมทีม่ ีวัตถุประสงค์เฉพาะ ให้เขียนเป็นประโยคสั้นๆ ที่เน้นอธิบายถึงภาพรวมของโมดุลการฝึก โดยมุ่งเน้นไปที่ผลการฝึกที่ต้องการ(LO) เป็นสําคัญ ในแต่ละโมดุลการฝึกจะมีการเชื่อมโยงกับหน่วยความสามารถ(Unit of Competency) ของมาตรฐาน ความสามารถ (Competency Standard) ผู้จัดทําหลักสูตรต้องพิจารณาหน่วยความสามารถ (Unit of Competency) เหล่านั้นอย่างถ่องแท้และ ต้องมั่นใจว่าได้ทําความเข้าใจผลการฝึกที่ต้องการ (LO) เป็นอย่างดีว่าเมื่อผู้รับการฝึกจบโมดุลการฝึกดังกล่าวแล้ว สามารถทําอะไรได้บ้าง ตัวอย่าง : การระบุขอบเขตของโมดุลการฝึก “โมดุลการฝึกนี้ครอบคลุมความรู้ ทักษะและเจตคติที่จาํ เป็นเพื่อให้สอดคล้องกับข้อกําหนด กฎ ระเบียบในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทํางาน......”
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๔๗ขั้นตอนที่๓
เขียนสรุปรายการความสามารถ / ผลการฝึก ที่ต้องการ (Summary of Learning Outcome)
แนวทาง : การเขียนสรุปรายการความสามารถ / ผลการฝึกที่ต้องการ ของแต่ละโมดุลการฝึก - เป็นสรุปรายการความสามารถ / ผลการฝึก ที่ต้องการทั้งหมดหลังผ่านการฝึกในแต่ละหน่วย การฝึก (สรุปผลการฝึก/ความสามารถที่ต้องการหลังฝึก) - เป็นการอธิบายผลการฝึกของความสามารถย่อยๆ ทีผ่ ู้รับการฝึกต้องฝึก ที่จําเป็นต่อการ ทํางานในสถานประกอบกิจการตามสาขาอาชีพนั้นๆ (*สามารถตรวจสอบและแก้ไขได้หากจําเป็น) รายละเอียด: ในการเขียนผลการฝึกที่ต้องการให้ผู้รับการฝึกบรรลุนั้น จะต้องตรวจสอบหน่วยความสามารถอย่าง ละเอียด เพื่อให้แน่ใจว่าผู้รับการฝึกจําเป็นต้องฝึกตามผลการฝึกที่กําหนดไว้จริง ผลการฝึก หรือความสามารถที่ต้องการ คือวัตถุประสงค์การฝึกของแต่ละโมดุลการฝึก ดังนั้นจึงต้องเขียน บรรยายในงานหรือกิจกรรมทีผ่ ู้รับการฝึกต้องฝึก จึงต้องเขียนเป็นประโยคที่ชัดเจน เข้าใจง่าย ในการเขียนผลการฝึก หรือความสามารถทีต่ ้องการ เขียนเรียงกันลงมาโดยให้ขึ้นต้นประโยคด้วย คํากริยา ที่แสดงการกระทํา โดยมีหลักว่า - ขึ้นต้นประโยคด้วยคํา “กริยาการกระทํา” (งาน/ภารกิจ) - มีเงื่อนไขการกระทําหรือสถานการณ์(condition) และเกณฑ์หรือมาตรฐานการปฏิบัติ(criteria) ตัวอย่าง : การเขียนรายการ ผลการฝึก / รายการความสามารถ ย่อๆ (Summary of Learning Outcome) เมื่อผู้รบั การฝึกได้ผ่านโมดุลการฝึกนี้แล้ว ต้องสามารถ 1. ระบุภัยและอันตรายจากการทํางานได้ถูกต้อง 2. ประเมินผลกระทบจากภัยและอันตรายจากการทํางานได้ถูกต้องตามมาตรฐานบริษัท 3. ควบคุมไม่ไห้เกิดภัยและอันตรายจากการทํางานได้ถูกต้องตามมาตรฐานบริษัท 4. เฝ้าระวังและตระหนักถึงภัยและอันตรายจากการทํางานได้ถูกต้องตามมาตรฐานบริษัท งาน/ภารกิจ
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
เงื่อนไข / สถานการณ์
เกณฑ์ /มาตรฐาน
8/22/2011
- ๔๘ขั้นตอนที่๔
กําหนดระยะเวลาการฝึกโดยประมาณ (Nominal Duration)
แนวทาง : การกําหนดระยะเวลาการฝึกโดยประมาณ - เป็นการจัดจํานวนชั่วโมงฝึกโดยประมาณ(ระยะเวลาฝึก) ที่ใช้ฝึกในแต่ละวัตถุประสงค์การฝึก หรือแต่ละผลการฝึกที่ต้องการ(LO: Learning Outcome) หรือในรายการความสามารถใน แต่ละโมดุลการฝึกหรือแต่ละหน่วยการฝึก - การใส่ระยะเวลาการฝึกทั้งหมดของโมดุลการฝึกนั้น ขึ้นอยู่กับระยะเวลาที่กําหนดในแต่ละ วัตถุประสงค์ หรือผลการฝึก(LO) หรือรายการความสามารถที่ต้องการ ของโมดุลการฝึกนั้น ซึ่งจะได้ผลรวมของระยะเวลาการฝึกทั้งหมดของแต่ละโมดุลการฝึกนั่นเอง (การกําหนดเวลา รวมของโมดุลการฝึก ได้จากผลรวมของการกําหนดระยะเวลาฝึกย่อยๆ ในแต่ละ วัตถุประสงค์ หรือแต่ละผลการฝึก(LO) / รายการความสามารถที่ตอ้ งการ ย่อยๆ ที่ เกิดขึ้น ในโมดุลการฝึกนั้น ) (*สามารถตรวจสอบและแก้ไขได้หากจําเป็น) รายละเอียด: การกําหนดระยะเวลาการฝึกโดยประมาณ ในการกําหนดชั่วโมงฝึกโดยเฉลี่ย ผู้จัดทําจะต้องพิจารณาตัดสินใจกําหนดจากจํานวนครั้งของการฝึก ที่ ผู้รับการฝึกต้องฝึกให้จบและต้องผ่านการประเมินหรือบรรลุผลการฝึกของโมดุลนั้นด้วย (ต้องมีการเผื่อระยะเวลา สําหรับการฝึกซ้ํา หรือการฝึกทบทวน ในกรณีผู้รบั การฝึกบางรายที่อาจจะต้องฝึกซ้ําไว้ด้วย) ตัวอย่าง : รายการผลการฝึก / รายการความสามารถที่ต้องการ (Learning จํานวนชั่วโมงฝึกโดยประมาณ Outcome) (วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม) (Estimated number of hour) ๑. ระบุภัยและอันตรายจากการทํางานได้ ๒ ๒. ประเมินผลกระทบจากภัยและอันตรายจากการทํางานได้ ๔ ๓. ควบคุมไม่ให้เกิดภัยและอันตรายจากการทํางานได้ ๖ ๔. เฝ้าระวังและตระหนักถึงภัยและอันตรายจากการทํางานได้ ๖ รวม (Total) ๑๘ เป็นจํานวนชั่วโมงฝึกที่กําหนดขึ้นโดยประมาณ ของโมดุลการฝึก ซึ่งการกําหนดชั่งโมงฝึก ดังกล่าวนั้นมีหลักว่าหากผู้รับการฝึกต้องฝึก และผ่านการประเมินในระดับความสามารถ ขั้นสูงทีส่ ุดในงานนัน้ จะต้องใช้เวลาเท่าไหร่ ? กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๔๙-
ขั้นตอนที่๕
กําหนดระดับของวุฒิบัตร หรือใบรับรองความสามารถ (Level of Certification)
แนวทาง : การกําหนดระดับของวุฒิบัตรหรือระดับใบรับรองความสามารถ (ขึ้นอยูก่ ับระเบียบกรมฯ) - เป็นการกําหนดระดับการรับรองความสามารถซึ่งขึ้นอยู่กับระเบียบกรมฯ ว่าด้วยการออก วุฒิบัตรและใบรับรองความสามารถในระดับต่างๆ (ปรับปรุงระเบียบต่อไป) รายละเอียด: พิจารณาจากระดับการรับรองหรือการกําหนดระดับของวุฒิบัตรหรือใบรับรองตามระเบียบของ กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน ตัวอย่าง : -
ความสามารถ / สมรรถนะแห่งชาติ ระดับ ๑ สาขา................................................. ความสามารถ / สมรรถนะแห่งชาติ ระดับ ๒ สาขา................................................. ความสามารถ / สมรรถนะแห่งชาติ ระดับ ๓ สาขา................................................. มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ระดับ ๑ สาขา................................................. มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ระดับ ๒ สาขา................................................. มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ระดับ ๓ สาขา.................................................
(* ต้องอ้างอิง จากการกําหนดมาตรฐานฝีมือแรงงาน และระเบียบของหน่วยงานที่ออกใบวุฒิบตั ร หรือ ใบรับรอง)
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๕๐ขั้นตอนที่๖
กําหนดความรู้ ความสามารถพื้นฐาน (Pre-Requisite)
แนวทาง : การกําหนดความรู้ ความสามารถพื้นฐาน - เป็นการระบุความสามารถพื้นฐานที่ผู้รับการฝึกต้องมีก่อนเข้าสู่โมดุลการฝึกนี้(ต้องมีการระบุ ไว้หากจําเป็นต้องมี) รายละเอียด: เป็นโมดุลพื้นฐานหรือความสามารถพื้นฐานที่ผู้รับการฝึกต้องจบฝึกมาก่อนหรือมีผลการประเมิน การฝึกมาแล้ว (ผ่านการประเมินขั้นสุดท้ายแล้ว) ก่อนที่จะเข้ารับการฝึกในโมดุลดังกล่าว หรือหลักสูตรถัดไป ตัวอย่าง : - ต้องผ่านการฝึกและผ่านการประเมิน ใน โมดุลการฝึก: การใช้งานเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า ระดับ ๑
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๕๑ขั้นตอนที่๗
กําหนดเกณฑ์การประเมิน (Assessment Criteria)
แนวทาง : การกําหนดเกณฑ์การประเมิน - เป็นการกําหนดเกณฑ์การประเมินของแต่ละวัตถุประสงค์หรือผลการฝึก(LO) /รายการ ความสามารถ ที่ต้องการ ทั้งหมดของโมดุลการฝึกนั้น - เกณฑ์การประเมิน ต้องกําหนดผลการปฏิบัติงานที่ปรากฏออกมาให้เห็นเป็นที่ประจักษ์ (Performance Outcome) ที่แสดงให้เห็นถึงการใช้ความรู้ ทักษะและเจตคติในการปฏิบัติงานนั้น ซึ่งผู้รับการฝึก จะต้องแสดงให้เห็นถึงภาพรวมของแต่ละวัตถุประสงค์ หรือผลการฝึกทีต่ ้องการ(LO) * (สามารถตรวจสอบหรือแก้ไขหากมีความจําเป็น) รายละเอียด: การกําหนดเกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินที่กําหนดขึ้น จะถูกนําไปใช้เป็นแนวทางในการตัดสินผูร้ ับการฝึกว่าบรรลุวัตถุประสงค์ การฝึกหรือไม่ สําหรับผลการฝึกที่ต้องการในแต่ละรายการ จะมีเกณฑ์ทใี่ ช้ในการตัดสินว่าผู้รับการฝึกได้บรรลุ วัตถุประสงค์การฝึกทุกรายการ ซึ่งในแต่ละวัตถุประสงค์หรือผลการฝึก(LO) / ความสามารถที่ต้องการแต่ละรายการ เกณฑ์การประเมิน ดังกล่าวจะถูกนําไปใช้เพื่อตัดสินใจว่าผู้รับการฝึกผ่านเกณฑ์ความสามารถที่ตั้งไว้หรือไม่ (ถ้าผ่าน ไปฝึกโมดุลต่อไป ถ้าไม่ผ่านให้ฝกึ ซ้ําหรือทบทวน) ตัวอย่าง : ผลการฝึกที่ตอ้ งการ/รายการความสามารถที่ต้องการ (LO1): สามารถระบุ เครื่องมือ อุปกรณ์ เครื่องมือวัด และวัสดุที่จาํ เป็น ในการติดตั้งได้ถูกต้องตามมาตรฐานบริษัท
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
เกณฑ์การประเมิน(Assessment Criteria) ๑. วัสดุที่จําเป็นในการติดตั้งถูกระบุและ จัดเตรียมครบถ้วนตามคู่มือการปฏิบัติงาน ๒. ชนิดเครื่องมือและประเภทของอุปกรณ์ที่ จําเป็นต่อการติดตั้งถูกระบุและจัดเตรียม ครบถ้วนตามมาตรฐานการติดตั้ง ๓. อุปกรณ์ทดสอบและเครื่องมือปฏิบัติงานที่ จําเป็นสําหรับการติดตั้งถูกระบุไว้และ จัดเตรียมครบถ้วนตามคู่มือการใช้งาน ๔. อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลถูกใช้งานตาม ข้อกําหนดของอาชีวอนามัยและข้อกําหนด ด้านความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
8/22/2011
- ๕๒ขั้นตอนที่๘
กําหนดเนื้อหา สาระในการฝึก (Contents)
แนวทาง : การกําหนดเนื้อหา สาระในการฝึก - เป็นการกําหนดหัวข้อวิชาหรือเนื้อหาที่ต้องฝึกเพื่อพัฒนาความสามารถด้านความรู้เฉพาะ(K) ด้านทักษะเฉพาะ(S)และคุณลักษณะที่จําเป็น(A) ต่อการปฏิบัติงาน ซึ่งจะระบุไว้ใน วัตถุประสงค์หรือผลการฝึกทีต่ ้องการ(LO) หรือรายการความสามารถทีต่ ้องการ ดังนี้ o รายการความรู้ที่จําเป็นต่อการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพ o การเก็บร่องรอยหลักฐานด้านความรู้ที่จําเป็นต่อการปฏิบัติงาน เช่น ความรู้ หรือ หลักการปฏิบัติงาน ระเบียบการปฏิบัติงาน ต่างๆ เป็นต้น o พื้นฐานความรู้ประกอบอื่นๆ ที่ทําให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ ได้แก่ ความสามารถพื้นฐานทั่วๆไป (ด้านการสื่อสาร พื้นฐานทางคณิตศาสตร์และ วิทยาศาสตร์) และทักษะเฉพาะในสาขาอาชีพหรือในอุตสาหกรรม นั่นๆ รายละเอียด: ขั้นตอนนี้เป็นการกําหนดขอบเขตของเนื้อหา สาระที่ใช้ฝกึ (ขอบเขตการฝึก) ได้แก่ ความรู้ที่จําเป็น (Underpinning Knowledge) หรือเนื้อหาความที่ช่วยให้ผู้รับการฝึกบรรลุผลการฝึกที่ต้องการ เนื้อหาสาระที่ใช้ฝึกดังกล่าวมีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับผลการฝึกที่ต้องการ/ความสามารถที่ต้องการ (Learning Outcomes) หากมีการเพิ่มส่วนนี้เข้าไปในโมดุลการฝึก (หากมีการเพิ่ม ผลการฝึกที่ต้องการ/ ความสามารถที่ต้องการ (LO) ผู้จัดทําต้องใส่เนื้อหาสาระ (Contents) ที่เกี่ยวข้อง เพิ่มเข้าไปด้วย) ข้อควรระวัง อย่าพยายามใส่เนื้อหาหรือหัวข้อวิชาด้วยการสมมติขึ้น หรือไม่ได้เกิดจากการวิเคราะห์งาน จริง เข้าไป แต่ควรใส่เนื้อหาหรือหัวข้อที่มาจากประเด็นที่ใช้ในกระบวนการวัดและเมินการฝึกในแต่ละโมดุลการฝึก หรือ เนื้อหานั้นมีการกําหนดเข้าไปไว้ในเกณฑ์การประเมินผลการฝึกที่ต้องการ / ความสามารถที่ต้องการ (ถ้าจะ ประเมินเกี่ยวกับสิ่งใด ก็ควรสอนหรือฝึกผู้รับการฝึกเกี่ยวกับสิ่งนัน้ ด้วย) ตัวอย่าง : เนื้อหา สาระที่ใช้ฝึก (Contents) - ประเภทและชนิดของอุปกรณ์และเครื่องมือติดตั้ง - การใช้งานเครื่องมือและอุปกรณ์วัด - อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล - เครื่องมือ อุปกรณ์การวัดและสัญลักษณ์การวัด
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๕๓ขั้นตอนที่๙
กําหนดเงื่อนไขการฝึก (Condition)
แนวทาง : การกําหนดเงื่อนไขการฝึก - ขั้นตอนนี้ต้องอ้างมาจากมาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานฝีมือแรงงานโดยเฉพาะหัวข้อที่ เกี่ยวกับเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ในการปฏิบัติงานในอาชีพนั้นๆ - เป็นการระบุเงื่อนไขตามที่การฝึกและการประเมินผลการฝึกที่เกิดขึ้น ซึง่ รวมไปถึงรายการ เครื่องมือ อุปกรณ์และแหล่งเรียนรู้ทผี่ ู้รับการฝึกสามารถเข้าถึง และคูม่ ือการใช้งานและ ประเภทของเครื่องอํานวยความสะดวกในการฝึกด้วย รายละเอียด: การกําหนดเงือ่ นไขการฝึก เป็นการบอกรายละเอียดเกี่ยวกับทรัพยากรที่จําเป็นต่อการฝึก ประกอบด้วยรายการ วัสดุ เครื่องมือ อุปกรณ์ เครื่องอํานวยความสะดวกและเครื่องใช้ต่างๆ ในโมดุลการฝึกนั้นๆ นอกจากนี้ยังเป็นการแนะนําแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ที่ทันสมัย เหมาะสมและเป็นประโยชน์แก่ผู้รับการฝึก ตัวอย่าง : เงื่อนไขการฝึก(Condition) หน่วยฝึกต้องจัดเตรียมสิง่ ต่อไปนี้ให้ผู้เข้ารับการฝึก -
ชุดหรืออุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล แนวทางการฝึก/คู่มือการฝึกในหลักสูตรนั้นๆ สื่อต่างๆ เช่น CD, Tape (ทีผ่ ู้รับการฝึกต้องใช้เรียน) คู่มือต่างๆ o คู่มือเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝึก (เอกสาร นิสัยอุตสาหกรรม) o คู่มือเกี่ยวกับข้อควรระวังในการฝึกในหลักสูตรที่ฝึก o คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานหรือมาตรฐานอาชีพ เป็นต้น
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๕๔ขั้นตอนที่๑๐ กําหนดวิธีการฝึก (Methodology) แนวทาง : การกําหนดวิธีการฝึก - ขั้นตอนนี้เป็นการกําหนดระเบียบวิธีการถ่ายทอดเนื้อหาสาระของหลักสูตรนั่นเอง ซึ่งมีหลาย วิธี เช่น o เรียนตามความก้าวหน้าของตนเอง หรือ แบบโมดุล o การอภิปรายกลุ่ม o เรียนผ่านสื่อวีดิทัศน์ o การเรียนแบบตัวต่อตัว รายละเอียด: ในการถ่ายทอดเนื้อหาสาระของหลักสูตรนัน้ มีเทคนิค ระเบียบวิธีการนําเสนอและถ่ายทอดที่หลากหลาย ที่จะนํามาใช้ในกระบวนการฝึก ตัวอย่าง : -
อภิปรายกลุ่ม(Group discussion) กรณีศึกษา(Case Study) เรียนตามความก้าวหน้าของตนเอง(Self-paced learning) การเรียนแบบบรรยาย(Lecture) การสาธิตทักษะ(Skill Demonstration) เป็นต้น
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๕๕ขั้นตอนที่๑๑ กําหนดวิธีการประเมิน (Assessment Method) แนวทาง : การกําหนดวิธีการฝึก - ขั้นตอนนี้เป็นการกําหนดวิธีการประเมินผลการฝึกที่ต้องการ/ความสามารถที่ต้องการ(LO) มี การประเมินหลายวิธี เช่น o การสังเกตโดยตรง o การประเมินด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ แบบทดสอบกระดาษ o การสัมภาษณ์หรือสอบปากเปล่า o การสาธิตการปฏิบัติงาน ในการฝึกสามารถกําหนดวิธกี ารประเมินอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือผสมผสานกันก็ได้ รายละเอียด: มีการระบุร่องรอยหลักฐานทีจ่ ําเป็นในการประเมินผลการเรียนรู้/ผลการฝึก ในขณะเดียวกันเราต้อง พิจารณาวิธีการประเมินด้วยเพื่อสนับสนุนการเก็บร่องรอยหลักฐาน ที่ปรากฏในการฝึก วิธีการประเมินที่เป็นไปได้ เราควรใช้แนวทางการประเมินแบบองค์รวม แนวทางการประเมินความสามารถ แบบองค์รวมเป็นหนึ่งในหลายแนวทางการประเมินความสามารถ เช่น ความสามารถในการวาดภาพ ซึ่งเป็น ความสามารถที่ผสมผสานและมีความหลากหลายของความสามารถด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านทักษะ ด้านความรู้ และทัศนคติทจี่ ําเป็นในการวาดภาพ เป็นต้น ในการประเมินต้องมีการระบุร่องรอยหลักฐานที่จําเป็นในการประเมินผลการฝึกด้วย โดยสามารถพิจารณา จากวิธีการประเมินที่ใช้ในการฝึกซึ่งจะบอกได้ว่า หลักฐานที่เกิดขึ้นควรเป็นอะไร (เช่น ถ้าประเมินความรู้ โดยใช้ แบบทดสอบทีเ่ ป็นกระดาษ หลักฐาน คือ ผลคะแนนทดสอบของผู้รับการฝึกและกระดาษคําตอบ) ในทางปฏิบัติควรเลือกวิธีประเมินให้ครบทั้งสามด้าน คือ ด้านความรู้ ทักษะและเจตคติ โดยเก็บร่องรอย หรือ หลักฐานประกอบทุกความสามารถทีป่ ระเมิน ตัวอย่าง : การประเมินผลการฝึก - การประเมินผลความรู้ วิธีประเมิน : ประเมินผลจากแบบทดสอบก่อนฝึกและแบบทดสอบหลังฝึก หลักฐาน คือ คะแนนทดสอบก่อนฝึกและหลังฝึกของผู้รบั การฝึกและกระดาษคําตอบ - การประเมินผลทักษะ วิธีประเมิน: ประเมินผลจากแบบสังเกตการปฏิบัติงานของผู้รบั การฝึก และแบบบันทึกผลการปฏิบัติงาน หลักฐาน คือ คะแนนปฏิบัติของผู้รับการฝึกและผลงานหรือชิ้นงาน - การประเมินผลคุณลักษณะเชิงพฤติกรรม วิธีประเมิน: ประเมินผลจากแบบสังเกตการปฏิบัติงานของผู้รับการฝึกและบันทึกพฤติกรรม ผรฝ. หลักฐาน คือ คะแนนพฤติกรรมจากการปฏิบัติงานของผู้รับการฝึกและผลที่เกิดหลังการ ปฏิบัติงาน
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๕๖๑๓.๑ ตัวอย่างหลักสูตรฐานสมรรถนะ หลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทํางาน ชื่อหลักสูตร ติดต่อศูนย์บริการ รหัสหลักสูตร(09XXXXXXXXXXX) ระยะเวลาฝึก 356 ชั่วโมง กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน กระทรวงแรงงาน ....................................................................................................................................... 1. ชื่อหลักสูตร : ติดต่อศูนย์บริการ (CONTACT CENTER SERVICES NC II) 2. ระยะเวลาฝึก : 356 ชั่วโมง 3.คําอธิบายขอบเขตหลักสูตร : หลักสูตรนี้ออกแบบมาเพื่อส่งเสริมความรู้ ทักษะและเจตคติแก่ ผู้ รั บ การฝึ ก เกี่ ย วกั บ การใช้ ภ าษาอั ง กฤษเพื่ อ การสื่ อ สารอย่ า งมี ประสิทธิภาพ, การบริการลูกค้าอย่างมีคุณภาพ,ปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์และ อินเทอร์เนต, แสดงถึงความเข้าใจและความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมอเมริกัน และภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานอุตสาหกรรม ซึ่งจะรวมถึงความสามารถทั่วไปเช่น; ประยุกต์ใช้มาตรฐานคุณภาพ ปฏิบัติตามการดําเนินงานคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ยังรวมถึงสมรรถนะพื้นฐาน เช่น มีส่วนร่วมในการสื่อสารใน ที่ทํ า งาน ทํ า งานในสภาพแวดล้อ มของที ม งาน ปฏิบั ติง านวิ ช าชี พและ ปฏิบัติตามกระบวนงานความปลอดภัยและสุขอนามัยในสาขาอาชีพ 4. คุณสมบัติของผู้รับการฝึก: สามารถสื่อสารด้วยคําพูดและการเขียน จบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มีความประพฤติตามศิลธรรม มีสุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตดี ผ่านการทดสอบความสนใจความถนัดในอาชีพ เป็นต้น 5.โครงสร้างหลักสูตร (Course Structure) 5.1 หลักสูตรการฝึกโดยหน่วยงานฝึกของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแบ่งตามความสามารถเป็น 3 กลุ่มความสามารถ ใช้ระยะเวลาในการฝึก...................................ชั่วโมง โดยจําแนกรายละเอียดได้ ดังนี้ กลุ่มความสามารถพื้นฐาน........................................................................................ (จํานวน)โมดูล กลุ่มความสามารถทั่วไป........................................................................................... (จํานวน)โมดูล กลุ่มความสามารถหลัก........................................................................................... (จํานวน)โมดูล กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๕๗5.2 โมดูลการฝึก หน่วยความสามารถ ความสามารถพื้นฐาน 1.มีส่วนร่วมในการ สื่อสารในทีท่ ํางาน 2. ทํางานในสภาวะ แวดล้อมของทีมงาน 3. ปฏิบัติงานอย่างมือ อาชีพ 4. ปฏิบัติตามวิธีการ อย่างปลอดภัยและถูก สุขลักษณะตามอาชีพ
รหัส/ชื่อโมดูล
ผลลัพธ์การเรียนรู้
ระยะเวลา
1.1 การติดต่อสื่อสารในที่ 1.1.1 รับและสื่อข้อมูลในสถานที่ทํางาน ทํางาน 1.1.2 มีส่วนร่วมในการประชุมและการ อภิปราย 1.1.3 ทํางานเอกสารที่เกี่ยวข้องได้สมบูรณ์ 2.1 ทํางานร่วมกับผู้อื่น 2.1.1 อธิบายและกําหนดบทบาท หน้าที่ความ รับผิดชอบในทีมงาน 2.1.2 ทํางานเป็นสมาชิกในทีม 3.1 ปฏิบัติงานอย่างมือ 3.1.1 บูรณาการวัตถุประสงค์ส่วนบุคคลกับ อาชีพ เป้าหมายขององค์กร 3.1.2 กําหนดและตรงตามลําดับความสําคัญ ของงาน 4.1 ปฏิบัติตามวิธีการ 4.1.1 ระบุอันตรายและความเสี่ยง อย่างปลอดภัยและถูก 4.1.2 ประเมินอันตรายและความเสี่ยง สุขลักษณะตามอาชีพ 4.1.3 ควบคุมอันตรายและความเสี่ยง 4.1.4 รักษาและตระหนักรู้ในความปลอดภัย และสุขภาพในสายอาชีพ
ความสามารถทั่วไป 1.ประยุกต์ใช้มาตรฐาน 1.1 ประยุกต์ใช้มาตรฐาน 1.1.1 ประเมินคุณภาพของวัสดุที่ได้รับ คุณภาพ คุณภาพ 1.1.2 ประเมินการทํางานของตัวเอง 1.1.3 ร่วมในการพัฒนาคุณภาพ 2. ปฏิบัติงาน 2.1 ปฏิบัติงาน 2.1.1 ประยุกต์ใช้วิธีการทํางานพื้นฐานของ คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ 2.1.2 จัดระเบียบและจัดการกับไฟล์ 2.1.3 ติดตั้ง กําหนดค่า และทํางานด้วย โปรแกรมประยุกต์ 2.1.4 ทํางานด้วยอินเทอร์เนต 2.1.5 ออกจากระบบคอมพิวเตอร์
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
18 ชม. 4
4 5
5
18 ชม. 8
8/22/2011
10
- ๕๘หน่วยความสามารถ รหัส/ชื่อโมดูล ความสามารถหลัก 1. ติดต่อสื่อสารอย่างมี 1.1 ติดต่อสื่อสารอย่างมี ประสิทธิภาพในศูนย์ ประสิทธิภาพในศูนย์ ติดต่อฝ่ายบริการลูกค้า ติดต่อฝ่ายบริการลูกค้า 2. ให้บริการลูกค้าอย่าง 2.1 ให้บริการลูกค้าอย่าง มีคุณภาพ มีคุณภาพ
3.ปฏิบัติงาน คอมพิวเตอร์พื้นฐาน และท่องอินเทอร์เนต
3.1 ปฏิบัติงาน คอมพิวเตอร์พื้นฐานและ ท่องอินเทอร์เนต
4. แสดงให้เห็นถึงความ เข้าใจและความรู้ เกี่ยวกับวัฒนธรรมของ ชาวอเมริกันและ ภูมิศาสตร์
4.1 แสดงให้เห็นถึงความ เข้าใจและความรู้เกี่ยวกับ วัฒนธรรมของชาว อเมริกันและภูมิศาสตร์
ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1.1.1 วิเคราะห์กระบวนการสื่อสาร 1.1.2 ติดต่อสื่อสารและฟังอย่างกระตือรือร้น
ระยะเวลา 320 ชม. 120
1.1.3 ระบุและใช้ตัวชี้นําการ สื่อสาร paralanguage 2.1.1 แสดงให้เห็นถึงความเข้าใจ ของ BFO / อุตสาหกรรม Call Center 2.1.2 ส่ง / เรียกไปยัง / จากลูกค้า 2.1.3 จัดการข้อร้องเรียนของลูกค้า 2.1.4 ให้บริการหลังการขายและบริการ เอกสาร 3.1.1 ประยุกต์ใช้ขั้นตอนการทํางาน คอมพิวเตอร์พื้นฐาน 3.1.2 จัดระเบียบและจัดการกับไฟล์ 3.1.3 ติดตั้ง กําหนดค่า และทํางานด้วย โปรแกรมประยุกต์ 3.1.4 ทํางานด้วยอินเทอร์เนต 3.1.5 ออกจากระบบคอมพิวเตอร์ 4.1.1 ประยุกต์ใช้ความรู้ตัวแปรทางวัฒนธรรม ร่วมกัน 4.1.2 ประยุกต์ใช้ความรู้ภูมิศาสตร์อเมริกัน
5.3 วิธีการประเมิน เขียน / การสอบปากเปล่า สาธิตของทักษะการปฏิบัติ การสังเกตโดยตรง
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
120
40
40
- ๕๙5.4 วิธีการฝึกอบรม บรรยาย / สาธิต ตามความก้าวหน้าของตนเอง ระบบการฝึกอบรมแบบ Dual การเรียนรู้ทางไกล บทบาทสมมุติ เพื่อนสอน / ให้คําปรึกษา 5.5 แหล่งทรัพยากร รายการเครื่องมือ อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์ต่อพ่วง โต๊ะคอมพิวเตอร์และเก้าอี้ที่ถูกสุขลักษณะ Dialer การสมัครสมาชิกอินเทอร์เน็ต โทรศัพท์ ชุดหูฟัง UPS Server Hub -- 24 พอร์ต โมเด็ม เครื่องFax เครื่องบันทึกเสียง กล้องวีดีโอพีซี ระบบการตอบสนองเสียงแบบบูรณาการ (IVRS) แผง/ สวิตช์ กระดานไวท์บอร์ด
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
รายการวัสดุ โปรแกรมซอฟท์แวร์ เสียงและข้อมูลติดต่อ Solution Center Call master RJ 45 UTP cable Contact cleaner เทปเสียง Bond paper ตัวอย่างเสียง คู่มือบริษัท/คูม่ ือปฏิบัติงาน วารสารวิชาการ หนังสืออ้างอิง โมดูล Hand-outs อินเทอร์เน็ต
8/22/2011
- ๖๐5.6 คุณสมบัตวิ ิทยากร / ครูฝึก ต้องได้คุณวุฒิตามมาตรฐานฝีมือแรงงาน ระดับ..................... มีประสบการณ์ในงานสาขา/อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย ๒ ปี ผ่านการฝึกอบรมเทคนิคการสอน มีพื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี 6. รายละเอียดของโมดูลการฝึก 6.1 ชื่อหน่วยความสามารถ : รับและสื่อข้อมูลในสถานทีท่ ํางาน 6.2 ชื่อโมดูล :
รับและสื่อข้อมูลในสถานทีท่ ํางาน
6.3 คําอธิบายขอบเขต :
โมดูลนี้จะครอบคลุมถึงความรู้ ทักษะและทัศนคติที่ จําเป็นในการแปลความหมายและการถ่ายทอด ข้อมูลในการตอบสนองต่อความต้องการของสถาน ประกอบการ
6.4 ระยะเวลาฝึกอบรม :
4 ชั่วโมง
6.5 ระดับวุฒิบัตร :
ความสามารถแห่งชาติระดับ 2
6.6 คุณสมบัติที่มีมาก่อน :
รับและสนองต่อการทํางานการสื่อสาร (ความสามารถ แห่งชาติระดับ 1)
6.7 ผลการเรียนรู้ :
เมื่อสําเร็จการฝึกในหน่วยการฝึกนี้ ผู้เข้ารับการฝึก สามารถปฏิบัติงานโดยมีสมรรถนะและระยะเวลา การพัฒนาความสามารถ ดังนี้ ชื่อผลการเรียนรู้ที่ต้องการ 1. รับและสื่อข้อมูลในทีท่ ํางาน 2. มีส่วนร่วมในการประชุมและการ อภิปราย 3. ทํางานเอกสารได้สมบูรณ์
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
รหัส..................... รหัส.....................
8/22/2011
- ๖๑7. รายละเอียดผลการเรียนรู้ที่ต้องการ (Learning Outcome) 7.1 ชื่อโมดูล : มีส่วนร่วมในการติดต่อสื่อสารในทีท่ ํางาน 7.2 ชื่อผลการเรียนรู้
: รับและสื่อข้อมูลในทีท่ ํางาน
7.3 เกณฑ์การ ประเมินผล
:
1. ข้อมูลเฉพาะทีเ่ กี่ยวข้องสามารถเข้าถึงได้จาก แหล่งที่เหมาะสม 2. ประสิทธิภาพของคําถาม,ทักษะการพูดและ การฟังที่ถูกใช้เพื่อรวบรวมและนําเสนอ ข้อมูล 3. สื่อที่เหมาะสมในการถ่ายโอนข้อมูลและ ความคิด 4. การสื่อสารด้วยคําพูดถูกใช้อย่างเหมาะสม 5. เส้นทางการสื่อสารที่เหมาะสมต่อ ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนร่วมงานจะมีการ ระบุและปฏิบัติตาม 6. ระบุขั้นตอนการทํางานที่กําหนดไว้สําหรับ สถานที่และจัดเก็บข้อมูลที่ใช้ 7. ปฏิสัมพันธ์ส่วนบุคคลจะดําเนินการอย่าง ชัดเจนและรัดกุม
7.4 เนื้อหา
:
ส่วนต่างๆ ของคําพูด โครงสร้างของประโยค สือ่ สารอย่างมีประสิทธิภาพ
7.5 เงื่อนไข
: อุปกรณ์ เครือ่ งมือ คู่มือ เอกสารอ้างอิง จะต้องจัดสิ่งต่อไปนี้แก่ผู้รับการฝึก วัสดุการเขียน เช่น (ปากกา & กระดาษ) หนังสืออ้างอิง คู่มือวิธีปฏิบัติ ขั้นตอนและวิธีการตรวจความพร้อมด้วย วิธีการประชุมก่อนเข้างาน (Morning Meeting)
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
รหัสโมดูล......
8/22/2011
- ๖๒-
7.6 วิธีการฝึกอบรม
:
7.7 วิธีการประเมินผล
:
การอภิปรายกลุ่ม Interaction การบรรยาย การรายงาน
สอบข้อเขียน สอบปฏิบัติ สัมภาษณ์
ผู้เห็นชอบหลักสูตร........................................................ ผู้อนุมัติหลักสูตร……………………………………… ..................................................................................... ............................................................................. วันที่................................................................................. วันที่.................................................................
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๖๓-
เอกสารและสิ่งอ้างอิง กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน. มปป. รายงานการวิเคราะห์สมรรถนะ โครงการศึกษารูปแบบและแนวทางเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการพัฒนาฝีมือแรงงาน กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน.กรมพัฒนาฝีมือ แรงงาน. กระทรวงแรงงาน. กลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก. ๒๕๕๔. เอกสารสรุปผลการประชุม เรื่อง การพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึกตาม ความสามารถ (Competency Based Training: CBT). กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน. เอกสารและสิ่งอ้างอิงต่างประเทศ TESDA. ๒๕๕๔. หลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency Based Curriculum:CBC) Computer Services NC II. Technical Education and Skills Development Authority (TESDA). ฟิลิปินส์. TESDA. ๒๕๕๔. หลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency Based Curriculum).Technical Education And Skills Development Authority (TESDA). (Online) Available. http://www.tesda.gov.ph/program.aspx?page_id=29., 20 ก.ค.2554. TESDA. มปป. แผ่นใส่นําเสนออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องCompetency Based Curriculum Development. Technical Education And Skills Development Authority (TESDA). ฟิลิปินส์.
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๖๔-
ภาคผนวก
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๖๕-
ภาคผนวก 1 โครงร่าง (template) หลักสูตรตามความสามารถ
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๖๖โครงร่าง (Template) ของหลักสูตร แบบที่ 1. ส่วนที่ 1: รายละเอียดหลักสูตร (Course outline) 1.ชื่อหลักสูตร: …………………….................................................... รหัส : ……………. …………………………………………………………………. 2.ระยะเวลาการฝึกอบรม ………………. ชั่วโมง ทฤษฎี .......ชั่วโมง ปฏิบัติ ..... ชั่วโมง (Nominal duration) : 3.ขอบข่ายหลักสูตร (Course Description) : หลักสูตรครอบคลุมการปฏิบัติงานในการพัฒนาสมรรถนะด้าน…………………………………………………….. ............................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ที่ประชุมมีมติ: ให้แนวทางในการกําหนดขอบข่ายหลักสูตร มีหัวข้อ ดังนี้ 1. การปฏิบัติงานที่ดีกว่า. (better performance at work) 2. คุณสมบัต/ิ คุณวุฒิ ที่แสดงว่าสามารถทําได้(can do qualification) 3. การฟันฝ่า พัฒนาตนเอง (self development breakthroughs) 4. การประเมินตามจุดประสงค์และข้อกําหนดที่ต้องการ(objective needs driven) และให้เขียนรายละเอียด ของขอบเขต(เกณฑ์)การฝึก ที่ ผู้รับการฝึกเมื่อผ่านการฝึกในหลักสูตรนี้ แล้วสามารถปฏิบัติงานได้ตามขอบเขตที่กําหนดนี้
4.คุณสมบัตผิ สู้ มัครเข้ารับ การฝึกอบรม (Trainee entry requirements)
ที่ประชุมมีมติ: ให้กําหนดคุณสมบัติตามระเบียบกรมฯ ที่ว่าด้วย คุณสมบัติของผู้สมัคร กิจกรรมการฝึกยกระดับปี 2547
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๖๗ส่วนที่ 1: รายละเอียดหลักสูตร (Course outline) 1.ชื่อหลักสูตร: …………………….................................................... รหัส : ……………. …………………………………………………………………. 5.โครงสร้างและองค์ประกอบของหลักสูตร (Course Structure) ระยะเวลา รายการความสามารถ/สมรรถนะที่ หน่วยความสามารถ/ ชื่อโมดุลการ ต้องการ(Learning Outcome) (Nominal สมรรถนะ (Unit of ฝึก(Module (ผลลัพธ์การฝึกที่ต้องการ) hours) : ชั่วโมง Competence) Title) ทฤษฎี ปฏิบัติ …….. ตัวอย่าง:ช่างตัดเย็บ เสื้อผ้า 1. การทําปก 1.สามารถวัดขนาดปกเสื้อได้อย่างถูกต้อง 1. วัดขนาดปก ตามแบบที่กําหนด เสื้อเชิ้ต 2. สร้างแบบปก สิ่งที่ ผรฝ…….. 2. สามารถสร้างแบบเสื้อได้อย่างถูกต้อง 3. ตัดแบบปกเสื้อ ต้อง สามารถ ปฏิบัติได้ 3.สามารถตัดแบบปกเสื้อได้อย่างถูกต้อง 4. เย็บประกอบปก ตามที่กําหนด 4.สามารถเย็บประกอบปกเสื้อเชิ้ตได้ เสื้อเชิ้ต หลังจบการ อย่างถูกต้อง ฝึก ตัวอย่าง:ช่างเชื่อม Weld carbon steel plates ความรู้ความสามารถที่ ต้องมีในงานนั้น
1 Weld carbon steel plates in flat position (1F) 2 Weld carbon steel plates in horizontal position (2F) 3 Weld carbon steel plates in vertical position (3F) ต้อง ฝึก (ควรเขียน 4 Weld carbon steel plates in จากขั้นตอนการ ปฏิบัติงาน) overhead position (4F) 1.Weld carbon steel plates in flat Perform position (1G) groove welding on 2.Weld carbon steel plates in carbon steel horizontal position (2G) 3.Weld carbon steel plates in plates vertical position (3G) Performing fillet welding on steel ชืcarbon ่องาน /ชื่อหน่ วย การฝึกที่ ผรฝ. plates
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
……..
……..
8/22/2011
- ๖๘ส่วนที่ 1: รายละเอียดหลักสูตร (Course outline) 1.ชื่อหลักสูตร: …………………….................................................... รหัส : ……………. …………………………………………………………………. ตัวอย่าง:ช่างซ่อม รถจักรยานยนต์ …….. …….. การถอดใส่ล้อ 1.สามารถใช้เครื่องมือได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย และยาง รถจักรยานยน 2.สามารถถอดใส่ยางรถจักรยานยนต์ได้ อย่างถูกต้อง ต์ 4. .......................... 4.……………… ........................................................... .............................. ………………… ……………………………………………………. …….. …….. ............................. …………………. ............................................................ รวมทั้งสิ้น …….. …….. 6. วิธีการประเมินผล (Assessment ที่ประชุมมีมติ: ให้กําหนดวิธีการประเมินการฝึก คือ Method) : 1. สอบข้อเขียน 2. ทดสอบภาคปฏิบัติ 1. ถอด ใส่ล้อและ ยางรถจักรยานยนต์
*โดยกําหนดวิธีการประเมิน ต้องสอดคล้องกับเนื้อหาทีฝ่ กึ 7. วิธีการฝึกอบรม: (Methodologies) พบครูฝึก หรือ ผูส้ อน
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
1 ที่ประชุมมีมติ: ควรระบุเทคนิคต่อไปนี้ในการฝึก CBT คือ 1.การฝึกอบรมด้วยตนเอง (self learning) 2.การฝึกปฏิบตั ิ (Practical exercise) *** 3.การฝึกแบบเข้ากลุ่ม (Group discussion) (ในการฝึกอบรม ต้องผสมผสานหลายวิธกี ารฝึก) มายงาน)
8/22/2011
- ๖๙ส่วนที่ 1: รายละเอียดหลักสูตร (Course outline) 1.ชื่อหลักสูตร: …………………….................................................... รหัส : ……………. …………………………………………………………………. 8. สรุปเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ (Resource) ในหลักสูตร 8.1ระบุชื่อและจํานวน เครือ่ งจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ 1. ................................................................. 2. .................................................................. 3. .................................................................. 4. .................................................................. 5. .................................................................. 6. .................................................................. 7. .................................................................. 8. .................................................................. 9. .................................................................. 10. .................................................................. 8.2 ระบุชื่อและจํานวน วัสดุ วัตถุดิบ 1. .................................................................. 2. .................................................................. 3. .................................................................. 4. .................................................................. 5. .................................................................. 6. .................................................................. 7. .................................................................. 8. .................................................................. 9. .................................................................. 10. ..................................................................
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
จํานวน ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... จํานวน ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... ....................... .......................
8/22/2011
- ๗๐ส่วนที่ 1: รายละเอียดหลักสูตร (Course outline) 1.ชื่อหลักสูตร: …………………….................................................... รหัส : ……………. …………………………………………………………………. 8.3 ระบุชื่อและจํานวน เอกสาร คู่มือการฝึก 1. .................................................................. 2. .................................................................. 3. .................................................................. 4. .................................................................. 5. ..................................................................
จํานวน ....................... ....................... ....................... ....................... .......................
ระบุชื่อและจํานวน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ (Resource) ในการประเมินผล 8.4ระบุเครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ จํานวน .................................. 1. .................................................................. ................................ 2. .................................................................. .................................. 3. .................................................................. ................................ 4. .................................................................. .................................. 5. .................................................................. 8.5 ระบุ วัสดุ วัตถุดิบ 1. .................................................................. 2. .................................................................. 3. .................................................................. 4. .................................................................. 5. ..................................................................
จํานวน .................................. ................................ .................................. ................................ ..................................
8.6 ระบุชื่อและจํานวน เอกสาร คู่มือการประเมิน 1. .................................................................. 2. .................................................................. 3. .................................................................. 4. .................................................................. 5. ..................................................................
จํานวน .................................. ................................ .................................. ................................ ..................................
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๗๑ส่วนที่ 1: รายละเอียดหลักสูตร (Course outline) 1.ชื่อหลักสูตร: …………………….................................................... รหัส : ……………. …………………………………………………………………. 9. คุณสมบัตขิ องครูฝึก/วิทยากร (Qualification of Instructors or Trainers) 1. ผ่านการคัดเลือกตามระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ปี 2547 1 . 2. ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร ทักษะการถ่ายทอดงานและการประเมินผลการฝึกรูปแบบ CBT 3. มีความสามารถในการใช้โปรแกรมและเครื่องคอมพิวเตอร์
ส่วนที่ 2: รายละเอียดหน่วยการฝึก (Module) 1.ชื่อหลักสูตร : การตัดเย็บเสือ้ เชิ้ต รหัส : ............... ตัวอย่างชื่อ 2.ชื่อหน่วยการฝึก .............................................................................................. หลักสูตร รหัส : …………….. .............................................................................................. (โมดุล): 3.ระยะเวลา รวม............... ชั่วโมง ทฤษฎี.....ชั่วโมง ปฏิบัติ ....... ชั่วโมง การฝึก: ในโมดุลนี้ ………………………………………………………………………………………………………….... 4.ขอบเขตของ หน่วยการฝึก ……………………………………………………………………………………………………………. ขอบเขตเนื้อหาที่ฝึกในโมดุลนี้ (โมดุล) : 1. ..................................................................................... 5.พื้นฐานของผู้รับการฝึกทีต่ ้องมีมา 2. .................................................................................... ก่อน (Prerequisite) : 3. .................................................................................... 6.ผลลัพธ์การฝึก/รายการสมรรถนะที่ต้องการ (Learning Outcomes) : เมื่อสําเร็จการฝึกในหน่วย การฝึกนี้ ผู้เข้ารับการฝึกสามารถปฏิบัติงานโดยมีสมรรถนะ และระยะเวลาการพัฒนาสมรรถนะ ดังนี้ กําหนดเวลา ชั่วโมง ชื่อหน่วยความสามารถ/หน่วย ท. และ ป. รหัส สมรรถนะ ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม X001 วัดขนาดของปกเสื้อเชิ้ต ………. ………. …….. X002 สร้างแบบปกเสื้อเชิ้ต ………. ……… …….. ตัวอย่าง X003 ตัดแบบปกเสื้อเชิ้ต ………. ………. ……… หลักสูตรการตั X004 เย็บปกเสื้อเชิ้ต ………. ………. ……… ดเย็บปกเสื้อ รวมทั้งสิ้น ………. ………. ……..
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๗๒ส่วนที่ 3: รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 1 (Content Outline) 1.ชื่อหลักสูตร : การตัดเย็บเสือ้ เชิ้ต รหัส : …………… 2.ชื่อหน่วยการฝึก : การเย็บปกเสือ้ เชิ้ต รหัส : x001 3.ชื่อหัวข้อวิชา (Content) : การวัดขนาดปกเสื้อเชิ้ต รหัส : …………… 4.วัตถุประสงค์ของการฝึก (Assessment Criteria) เมื่อผ่านการฝึกในหัวข้อวิชานี้แล้วผู้เข้ารับการฝึก สามารถปฏิบัติงาน (ในการเขียนวัตถุประสงค์การฝึก ให้เขียนตามโครงสร้างต่อไปนี้) สามารถ+ (คํากริยาแสดงอาการ) (เงื่อนไข/สถานการณ์) (เกณฑ์/มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน) เช่น 1. สามารถ อธิบาย หลักความปลอดภัยในการปฏิบัตงิ านการวัดขนาดปกเสื้อเชิ้ต ได้อย่าง ถูกต้อง 2. ………………………………………………………………………………………………………………… 3. ………………………………………………………………………………………………………………… 5.รายละเอียดเนื้อหา (Contents) (ให้ระบุความรู้และความสามารถ ที่จําเป็นต่อการปฏิบัติงานตามที่ กําหนดในมาตรฐานฯ ในแต่ละโมดุล) เช่น รายละเอียด หัวข้อวิชา การวัดขนาดปกเสื้อเชิ้ต 1. ความรู้ด้านความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน การวัดขนาดปกเสื้อเชิ้ต ตัวอย่างการระบุ 2. ความรู้เกี่ยวกับหน่วยการวัดขนาด ความรู้ 3. ความรู้เกี่ยวกับวิธีการวัด ความสามารถ 4. ความรู้และทักษะการใช้งาน วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือที่จําเป็นในการวัด 6.ระบุชื่อและจํานวน วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือ (Resources) ของโมดุลนี้ อุปกรณ์ เครือ่ งมือ วัสดุ วัตถุดิบ 1. ………………………………. 1. สายวัด ตั ว อย่ า งการระบุ 2. ………………………………. 2. ดินสอ วั ส ดุ อุ ป กรณ์ 3. สมุดบันทึกขนาด เครื่องมือที่ใช้ใน 4. ยางลบ 7. เงื่อนไขการฝึกอื่นๆ (ถ้าจําเป็นต้องมี) 1. …………………………………………………………………………………………………………………………….. ควรมีคําแนะนํา / 2. …………………………………………………………………………………………………………………………….. คําชี้แจงการฝึก
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๗๓คู่มือครูฝึก (ตาม รูปแบบของกรมฯ) 1.ชื่อหลักลสูะตร : การตัดเย็บเสือ้ เชิ้ต รหัส : …………… ให้จัดทําแยกในแต่ การเย็บปกเสือ้ เชิ้ต รหัส : x001 โมดุล 2.ชื่อหน่วยการฝึก : 3.ชื่อหัวข้อวิชา (Content) : การวัดขนาดปกเสื้อเชิ้ต รหัส : …………… 8. คู่มือ วิธีปฏิบัติ และเอกสารอ้างอิง ตัวอย่าง (คู่มือและสื่อสําหรับครูฝึก) เรือ่ ง การวัดขนาดปกเสื้อเชิ้ต มีเนื้อหาดังนี้ เอกสาร - รายละเอียดและคําชี้แจงสิง่ ที่จําเป็นที่ครูฝึกต้องรู้ในการฝึก เรื่องนี้ ***** 1. ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงานการวัดขนาดปกเสื้อเชิ้ต เตรียมการฝึก Training ให้จัดทําในแต่ Packages 2. ความรู้เกี่ยวกับหน่วยการวัดขนาด (ชุดการฝึก โ 3. ความรู้เกี่ยวกับวิธีการวัด เรื่องการ 4. ความรู้และทักษะการใช้งาน วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือที่จําเป็นในการวัด เอกสารการ วัดขนาด ปก - มาตรฐาน / ระเบียบข้อบังคับการทํางานการวัดขนาดปกเสื้อเชิ้ต ประเมิน เสื้อเชิ้ต) - ใบงาน ให้จัดทําแยกใน - แบบประเมินก่อน-หลังการฝึก พร้อมเฉลย แต่ละโมดุล ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
(เอกสารและสื่อประกอบการฝึกสําหรับผู้รบั การฝึก) เรื่อง การวัดขนาดปกเสื้อเชิ้ต หัวข้อวิชาและเนื้อหาเดียวกัน เอกสารและสือ่ - แบบฝึกหัดในแต่ละหัวข้อ ประกอบการฝึก - ใบงาน ให้จัดทําแยกใน แบบประเมินหลังฝึก (ขั้นสุดท้ายของหัวข้อการวัดขนาดปกเสื้อเชิ้ต) แต่โมดุล ***** เป็นคู่มอื ข้อกําหนดและรายละเอียดของครูฝึกสําหรับการฝึกCBT (Training regulation for CBT) 9.วิธีการฝึกอบรม วิธีการฝึกและสื่อการฝึก ให้ (Methodologies) กําหนดตาม :หัวข้อวิชา ,วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม/เกณฑ์ มาตรฐานการปฏิบัติงานที่กําหนด (ตัวอย่าง:วิธีการฝีกอบรม: การ ฝึกด้วยตนเอง สื่อการฝึก เช่น สื่อ/ชุดการฝึกด้วยตนเอง(self Training) เรื่อง การวัดขนาดปกเสื้อเชิ้ต) 10. วิธีการประเมินผล วิธีการประเมินผลการฝึก ให้ (Assessment Methods) ประเมินตาม : หัวข้อวิชา ,วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม / เกณฑ์ มาตรฐานการปฏิบัติงานที่กําหนด
ผู้เห็นชอบหลักสูตร........................................................ ผู้อนุมัติหลักสูตร…………………………………… ..................................................................................... ..................................................................... วันที่................................................................................. วันที่..........................................................
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๗๔โครงร่าง(Template) ของหลักสูตร แบบที่2: หลักสูตรการฝึก ชื่อหลักสูตร รหัสหลักสูตร ระยะเวลาฝึก กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน กระทรวงแรงงาน
แบบฟอร์มหลักสูตรฐานสมรรถนะ ระดับ..........
ส่วนที่ 1; รายละเอียดหลักสูตร รายละเอียดหลักสูตร (Course outline) ชื่อหลักสูตร ระยะเวลาการฝึกอบรม
(ระดับ...........) (Nominal duration):
รหัส....................
ชั่วโมง
คําอธิบายขอบเขตหลักสูตร
คุณสมบัติผเู้ ข้ารับการ ฝึกอบรม (Trainee entry requirements)
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๗๕-
หน่วยสมรรถนะ
โครงสร้างและองค์ประกอบของหลักสูตร (Course Structure) ชื่อ Module ผลการเรียนรู/้ รายการสมรรถนะที่ ต้องการ (Learning Outcome)
วิธีการประเมินผล (Assessment Method): สอบข้อเขียน/สอบปากเปล่า สอบปฏิบัติ สังเกตโดยตรง
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
ระยะเวลา: ชั่วโมง
วิธีการฝึกอบรม (Methodologies) บรรยาย/สาธิต เรียนรู้ตามความก้าวหน้าของตน/โมดูล ระบบฝึกหัด Dual Training System การเรียนทางไกล บทบาทสมมุติ เพื่อนสอน/Peer Teaching / Mentoring
8/22/2011
- ๗๖เครื่องมือและอุปกรณ์ (Resource) เครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์และ สิ่งอํานวยความสะดวก
วัตถุดิบ วัสดุ
คุณวุฒิและสมรรถนะของครูฝึก/วิทยากร (Qualification of Instructors or Trainers) ต้องได้คุณวุฒิตามมาตรฐานฝีมือแรงงาน ระดับ.....................สาขา มีประสบการณ์ในงานสาขา/อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย ๒ ปี ผ่านการฝึกอบรมเทคนิคการสอน มีพื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๗๗ส่วนที2่ ; รายละเอียดของหน่วยการฝึก/โมดุลการฝึก ชื่อหน่วยสมรรถนะ ชื่อโมดุล คําอธิบายขอบเขต
รหัส..... รหัส.....
ระยะเวลาฝึกอบรม ระดับวุฒิบัตร พื้นฐานความสามารถและ คุณสมบัติที่มมี าก่อน ผลการเรียนรู/้ รายการสมรรถนะที่คาดหวัง : เมื่อสําเร็จการฝึกในหน่วยการฝึกนี้ ผู้เข้ารับการฝึกสามารถ ปฏิบัติงานโดยมีสมรรถนะ และระยะเวลาการพัฒนาสมรรถนะ ดังนี้ รหัส
ผลการเรียนรู/้ สมรรถนะที่คาดหวัง
ชั่วโมงฝึก ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม
ส่วนที่ 3: รายละเอียดผลการเรียนรู้ที่ต้องการ (Training Outcome) ชื่อโมดุล รหัส .................................................................................................. โมดูล………. ชื่อผลการเรียนรู้/ รหัส................ เกณฑ์การประเมินผล
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๗๘-
เนื้อหา
เงื่อนไข:
วิธีการฝึกอบรม
วิธีการประเมินผล (Assessment Methods)
อุปกรณ์ เครือ่ งมือ คู่มือ เอกสารอ้างอิง จะต้องจัดสิ่งต่อไปนี้แก่ผู้รับการฝึก วัสดุการเขียน เช่น (ปากกา & กระดาษ) หนังสืออ้างอิง คู่มือวิธีปฏิบัติ ขั้นตอนและวิธีการตรวจความพร้อมด้วยวิธีการ ประชุมก่อนเข้างาน (Morning Meeting) ……………………………………………………….. การอภิปรายกลุ่ม การสาธิตปฏิบัติ การบรรยาย การรายงาน ………………………………………………………… สอบข้อเขียน สอบปฏิบัติ สัมภาษณ์ .................................................................
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๗๙ส่วนที่3: รายละเอียดผลการเรียนรู้ที่ต้องการ (Training Outcome) ชื่อโมดุล การทําปกเสื้อเชิ้ต
รหัสโมดูล……….
ชื่อผลการฝึก(LO) วัตถุประสงค์การฝึก/ เกณฑ์การประเมินผล
การวัดขนาดปกเสื้อเชิ้ต รหัส................ เมื่อผ่านการฝึกในโมดุลนี้แล้ว ผู้เข้ารับการฝึก สามารถ 1.เลือกใช้งาน วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือที่จําเป็นในการวัด ขนาดปกเสื้อเชิ้ต ได้อย่างเหมาะสม 2. อธิบายหลักความปลอดภัยในการปฏิบัติงานการวัดขนาด ปกเสื้อเชิ้ต ได้อย่างถูกต้อง 3. บอกหน่วยการวัดขนาดที่ใช้ในการปฏิบัติงานเรื่องการวัด ขนาดปกเสื้อเชิ้ต ได้อย่างถูกต้อง 4. กําหนดจุดวัดขนาดปกเสือ้ เชิ้ตตามแบบที่กําหนดให้
เนื้อหา
1.ความรู้ด้านความปลอดภัยในการปฏิบัติงานการวัดขนาดปก เสื้อเชิ้ต 2. ความรู้เกี่ยวกับหน่วยการวัดขนาด 3.ความรู้เกี่ยวกับวิธีการวัด 4. ความรู้และทักษะการใช้งาน วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือที่ จําเป็นในการวัด อุปกรณ์ เครือ่ งมือ คู่มือ เอกสารอ้างอิง จะต้องจัดสิ่งต่อไปนี้แก่ผู้รับการฝึก วัสดุการเขียน เช่น (ปากกา & กระดาษ) หนังสืออ้างอิง คู่มือวิธีปฏิบัติ ขั้นตอนและวิธีการตรวจความพร้อมด้วยวิธีการ ประชุมก่อนเข้างาน (Morning Meeting) ……………………………………………………….. การอภิปรายกลุ่ม การสาธิตปฏิบัติ การบรรยาย การรายงาน …………………………………………………………
เงื่อนไข:
วิธีการฝึกอบรม
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
8/22/2011
- ๘๐วิธีการประเมินผล (Assessment Methods)
สอบข้อเขียน สอบปฏิบัติ สัมภาษณ์ .................................................................
ผู้เห็นชอบหลักสูตร........................................................ ..................................................................................... วันที่.................................................................................
กลุ่มงานพัฒนาระบบและรูปแบบการฝึก
ผู้อนุมัติหลักสูตร…………………………………… ..................................................................... วันที่..............................................................
8/22/2011
กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน