คู่มือการประกันคุณภาพการฝึก

Page 1

คู่มือ การดําเนินงานประกันคุณภาพ การพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ กลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก สํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน


คํานํา กรมพัฒนาฝีมือแรงงานได้เริ่มกําหนดให้จัดทําระบบประกันคุณภาพ การ พัฒนาฝีมือแรงงานในแผนแม่บทการพัฒนากําลังคนเพื่ออุตสาหกรรมการผลิต และบริการของประเทศไทย พ.ศ. 2541 – 2549 ในปี พ.ศ. 2547 ได้เริ่ ม ทดลองจัดทําข้อกําหนดและเอกสารคู่มือเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการพัฒนา ฝีมือแรงงานที่ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดมหาสารคาม ต่อมาได้มีการขยายผล ไปยังหน่วยฝึกของกรมฯ อีกหลายแห่งโดยประยุกต์ใช้มาตรฐาน ISO เป็นแนวทาง แต่ประสบปัญหาหลายประการในทางปฏิบัติ ในปี พ.ศ. 2554 ได้ปรับแนวทาง การดําเนินงานมาประยุกต์ใช้เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) เป็นกรอบในการกําหนดมาตรฐานและข้อกําหนด โดยมีหลักการให้การดําเนินงาน ประกั น คุ ณภาพการพั ฒ นาฝี มือแรงงานในระยะแรกไม่ ยุ่ ง ยากซั บ ซ้ อ นและลด ปัญหาความยุ่งยากในการจัดทําเอกสาร ในการจัดทํามาตรฐานและข้อกําหนด ต่ า งๆได้ จั ด ให้ มี ก ารรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น จากหน่ ว ยปฏิ บั ติ ห ลายครั้ ง จนได้ เ ป็ น เอกสารคู่มือการดําเนินงานประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงานระยะที่ 1 ฉบับ นี้

กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงานจึ ง ได้ กํ า หนดให้ ห น่ ว ยฝึ ก ของกรมฯ เริ่ ม ดําเนินการตามคู่มือฉบับนี้ตั้งแต่เดือนเมษายน 2555 เป็นต้นไป เพื่อให้การจัด ฝึกอบรมฝีมือแรงงานดําเนินการตามมาตรฐานคุณภาพและข้อกําหนดซึ่งเป็นเพียง มาตรฐานเบื้องต้น เมื่อได้ดําเนินการไประยะหนึ่งจะมีการประเมินผลและจะมีการ ปรับปรุงแก้ไขข้อกําหนดและแนวทางการดําเนินงานให้มีระดับมาตรฐานที่สูงขึ้น หรือรัดกุมมากยิ่งขึ้นในระยะต่อไป ตลอดจนจะได้มีการพิจารณาเชิญหน่วยงาน ภาคเอกชนและภาครั ฐ ที่ เ กี่ ย วข้ องมาร่ ว มในการกํ า หนดวิ ธี ก ารตรวจประเมิ น ภายนอก และดําเนินการตรวจประเมินภายนอกที่จะทําให้การดําเนินงานประกัน คุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงานของกรมฯ ได้รับความน่าเชื่อถือและการยอมรับ จากสังคมและองค์กรเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง กรมพัฒนาฝีมือแรงงานขอขอบคุณเจ้าหน้าที่กลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก สํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก ที่รับผิดชอบงานนี้มาอย่างต่อเนื่องและ ขอขอบคุ ณเจ้ าหน้ าที่ทุกท่าน ที่ มีส่ว นร่ วมแสดงความคิ ดเห็น ในการประชุ มใน โอกาสต่ างๆ พร้ อมทั้ ง หวั ง เป็ น อย่ างยิ่ ง ว่ า การดํ าเนิ น งานประกั น คุ ณ ภาพการ พัฒ นาฝี มือแรงงานจะเป็ น ก้ าวสํ าคั ญในการพั ฒ นายกระดั บ การฝึ กอบรมฝี มือ แรงงานของกรมฯ ให้มีคุณภาพรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 ได้อย่างยั่งยืน

(นายประพันธ์ มนทการติวงศ์) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มีนาคม 2555 คู่มือการดําเนินงานประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ …ก


สารบัญ หน้า ก ข ค ฉ 1 3 6 9 14 16 18 20 21 22

คํานํา สารบัญ การบริหารโครงการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน นิยามศัพท์ มาตรฐานที่ ๑ การจัดหลักสูตรการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน มาตรฐานที่ ๒ ผู้รับการฝึก มาตรฐานที่ 3 ครูฝึก มาตรฐานที่ 4 วิธีการฝึก มาตรฐานที่ 5 สถานที่และสภาพแวดล้อมของการฝึก มาตรฐานที่ 6 การประเมินผลระบบการฝึก มาตรฐานที่ 7 การประชาสัมพันธ์ รายชื่อเจ้าหน้าที่ดําเนินการ ภาคผนวก - สารบัญแบบฟอร์มที่ใช้ - ตัวอย่างคําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานประกันคุณภาพ การพัฒนาฝีมือแรงงาน - ระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ว่าด้วยการฝึกเตรียมเข้าทํางาน พ.ศ. 2547 - ระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ว่าด้วยการฝึกยกระดับฝีมือ พ.ศ. 2547 - ระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ว่าด้วยการฝากฝึกในกิจการ พ.ศ. 2547 - ระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ว่าด้วยการคัดเลือกบุคคลภายนอกเป็น วิทยากรดําเนินการสอนในหลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทํางาน พ.ศ. 254๑

คู่มือการดําเนินงานประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ …ข


การบริหารโครงการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน แนวคิดการประกันคุณภาพ การประกันคุณภาพ หมายถึง การดําเนินงานตามระบบและแผนงาน ที่วางไว้อย่างเคร่งครัด เพื่อให้มั่นใจว่าผลิตภัณฑ์หรือบริการมีคุณภาพตามที่ลูกค้า ต้องการ การประกั น คุ ณ ภาพการพั ฒนาฝี มือ แรงงาน หมายถึ ง การนํ าระบบ บริหารคุณภาพมาเป็นหลักในการปฏิบัติตามมาตรฐานคุณภาพและข้อกําหนดใน กระบวนการพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้แก่นายจ้างว่าผู้สําเร็จ การฝึกจะเป็นแรงงานฝีมือที่มีคุณภาพตามความต้องการ ความเป็นมาของการดําเนินงานโครงการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กรมพัฒนาฝีมือแรงงานได้จ้างสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทยจัดทํา แผนแม่บทการพัฒนากําลังคนเพื่ออุตสาหกรรมการผลิตและบริการของประเทศไทย พ.ศ. 2541 – 2549 ในแผนแม่บทดังกล่าวได้เสนอให้มีการจัดทําระบบประกัน คุณภาพกํากับการดําเนินงานพัฒนาฝีมือแรงงานในหน่วยฝึกของกรมทั่วประเทศ กรมพัฒนาฝีมือแรงงานได้เชิญวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารคุณภาพ มาเป็ น วิ ทยากรที่ ป รึ ก ษาในการจั ด ฝึ ก อบรมให้ แ ก่ เ จ้ าหน้ า ที่ โดยประยุ กต์ ใ ช้ มาตรฐาน ISO มาจัดทําเกณฑ์การประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ดังนี้ พ.ศ. 2547 ได้ เริ่มทดลองพั ฒนาข้ อกําหนดคุ ณภาพและจัดทํ าเอกสาร คู่มือต่างๆ ที่ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2549 ดําเนินการ 6 แห่ง ได้แก่ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค 1 สมุทรปราการ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค 6 ขอนแก่น สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน ภาค ๗ อุบลราชธานี สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค 11 สุราษฎร์ธานี ศูนย์พัฒนา ฝีมือแรงงานจังหวัดนครปฐม และศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดกําแพงเพชร

พ.ศ. 2552 ขยายการดําเนินงานไปที่สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค 8 นครสวรรค์ และสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค 9 พิษณุโลก พ.ศ. 2553 ขยายการดําเนินงานไปที่สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค 2 สุพรรณบุรี และสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค 3 ชลบุรี การดําเนินงานประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงานหลายปีที่ผ่านมา ยัง ไม่ปรากฏว่ามีหน่วยงานใดสามารถดําเนินงานได้ทุกข้อกําหนด มีสาเหตุมาจากต้อง จั ดทํ าคู่ มื อหลายเล่ ม มี เอกสารควบคุ มจํ านวนมากและมี รายละเอี ยดที่ ซับซ้ อน เจ้าหน้าที่ซึ่งมีจํานวนจํากัดอยู่แล้วไม่มีเวลาเพียงพอที่จะดําเนินการให้ครบถ้วน อีก ทั้งมีการโยกย้ายเจ้าหน้าที่ ทําให้การดําเนินงานขาดความต่อเนื่อง ในปี พ.ศ. 2554 ผู้ บริ หารกรมฯ จึ งได้พิจารณาทบทวนแนวทางการ ดําเนินงานใหม่ โดยกําหนดหลักการให้การดําเนินงานประกันคุณภาพการพัฒนา ฝีมือแรงงานในระยะแรก ให้ลดขั้นตอนการจัดทําเอกสารลงและลดความยุ่งยาก ในการดําเนินงาน เพื่อให้หน่วยฝึกดําเนินการได้สะดวกโดยยังคงรักษาคุณภาพ การดําเนินงานในทุกกระบวนการฝึก ประกอบกับนโยบายรัฐบาลที่ส่งเสริมให้ส่วน ราชการนําเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award: PMQA) มาใช้ในการพัฒนาระบบราชการ จึงเห็นควรนําหลักเกณฑ์ คุ ณภาพการบริ ห ารจั ด การภาครั ฐ (PMQA) มาประยุ กต์ ใ ช้ กั บ การดํ า เนิ น งาน ประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน สํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก โดยกลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก เป็นหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายในการจัดทําระบบประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือ แรงงาน ได้ประชุมหน่ วยงานที่เกี่ ยวข้ องหลายครั้งเพื่ อระดมความคิดเห็ นในการ กําหนดมาตรฐานคุณภาพและข้อกําหนดรวมทั้งแนวทางการดําเนินงานที่ได้ยกร่าง ขึ้นให้ ผู้ บริ หารหน่ วยฝึ กในภาคต่ างๆร่ วมกั นพิจารณาระดมความคิ ดเห็ น เพื่ อให้ ข้ อกํ าหนดและแนวทางการดํ าเนิ นงานมี ความสมบู รณ์ สามารถปฏิ บั ติได้ โดยได้ จัดการประชุมระดมความคิดเห็นจํานวนทั้งสิ้น 4 ครั้ง ในภาคกลางที่จังหวัดระยอง คู่มือการดําเนินงานประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ …ค


ภาคเหนื อที่ จั งหวั ดพิ ษณุ โลก ภาคตะวั นออกเฉี ยงเหนื อที่ จั งหวั ดขอนแก่ น และ ภาคใต้ที่จังหวัดสงขลา ภายหลังการประชุมระดมความคิดเห็นจาก 4 ภาค กลุ่มงานพัฒนาระบบ การฝึก ได้นําความคิดเห็นจากการประชุมมาปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ได้จัดทําเป็นร่างคู่มือการดําเนินงานประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน และ ได้จัดประชุมผู้บริหารพร้อมเจ้าหน้าที่จากสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค และ ผู้ บ ริ ห ารพร้ อ มเจ้ าหน้ าที่ จ ากศู น ย์ พั ฒ นาฝี มื อแรงงานจั ง หวั ด ภาคละ 1 แห่ ง ตลอดจนเจ้าหน้าที่จากส่วนกลาง เมื่อวันที่ 20–22 กุมภาพันธ์ 2555 ที่ประชุมมี การเสนอแนะปรับปรุงแก้ไขประเด็นต่าง ๆ เพิ่มเติม กลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก ได้นําข้อเสนอแนะต่าง ๆ มาปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมจนเป็นคู่ มือการดํ าเนินงาน ประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงานฉบับนี้ วัตถุประสงค์ของโครงการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน 1. เพื่ อให้ หน่ วยฝึ กของกรมพั ฒนาฝี มื อแรงงานทั่ วประเทศดํ าเนิ นงาน พัฒนาฝีมือแรงงานตามมาตรฐาน ข้อกําหนด และแนวทางการดําเนินงาน ในทุ ก กระบวนการของการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ในหลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทํางานและ หลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือ 2. เพื่อให้ผู้สําเร็จการฝึกจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงานมีความรู้ ทักษะ และพฤติกรรมที่ได้มาตรฐานตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และสอดคล้องกับ ความต้องการของตลาดแรงงานและสถานประกอบกิจการ แนวทางการบริหารโครงการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ส่วนกลาง หน่วยงานรับผิดชอบได้แก่ สํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึกโดย กลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก

1. เสนอผู้ บริ หารกรมฯ พิ จารณาให้ ความเห็ นชอบคู่ มือการดํ าเนิ นงาน ประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงานและสั่งการให้หน่วยฝึกทั่วประเทศดําเนินการ ตามคู่มือดังกล่าวภายในเดือนมีนาคม พ.ศ.2555 2. จั ดส่ ง คู่ มือการดํ าเนิ น งานประกั น คุ ณภาพพั ฒ นาฝี มือแรงงานและ หนังสือสั่งการให้หน่วยฝึกทั่วประเทศดําเนินการภายในต้นเดือนเมษายน พ.ศ. 2555 3. เสนอผู้บริหารกรมฯ แต่งตั้งคณะเจ้าหน้าที่ออกตรวจเยี่ยมและติดตาม ความก้าวหน้าการดําเนินงานโดยมีเจ้าหน้าที่ระดับสูงเป็นหัวหน้าคณะ 4. จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดําเนินงานประกันคุณภาพการพัฒนา ฝีมือแรงงานให้คณะเจ้าหน้าที่ตามข้อ 3 ได้ทราบรายละเอียด 5. ตอบคําถามให้เจ้าหน้าที่หน่วยฝึกเมื่อมีคําถาม 6. ประเมินผลการดําเนินงานในระยะที่ 1 ภายในเดือนกันยายน พ.ศ. 2555 เพื่ อ ประมวลปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น นํ า มาปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขการดํ า เนิ น งานใน ปีงบประมาณ 2556 อย่างต่อเนื่องแล้วรายงานให้ผู้บริหารกรมฯ ทราบ หน่วยฝึก ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานกรุงเทพมหานคร สถาบั น พั ฒ นาฝี มื อแรงงานนานาชาติ เ ชี ย งแสน กลุ่ มงานอุ ตสาหกรรมบริ การ สังกัดสํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก ดําเนินการดังนี้ 1. เวียนคู่มือการดําเนินงานประกันคุณภาพพัฒนาฝีมือแรงงานให้เจ้าหน้าที่ ทุกคนได้ทราบ 2. แต่งตั้งคณะกรรมการการดําเนินงานประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือ แรงงาน (ดูตัวอย่างคําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการแนบท้าย) และประชุมติดตามผล การดําเนินงานอย่างสม่ําเสมอ เสนอแนวทางแก้ไขปัญหาและรายงานให้ผู้บริหาร (ผู้อํานวยการ) ทราบ คู่มือการดําเนินงานประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ …ง


3. มอบหมายเจ้าหน้าที่รับผิดชอบตามมาตรฐาน ข้อกําหนดและแนวทาง การดํ า เนิ น งานให้ ชั ด เจน และกํ า หนดระยะเวลาการดํ า เนิ น งานตามความ เหมาะสม 4. แต่งตั้งคณะทํางานตรวจติดตามภายใน คณะทํางานนี้จะตรวจติดตาม ความก้ า วหน้ า การดํ า เนิ น งานตามมาตรฐาน ข้ อ กํ า หนดและแนวทางการ ดําเนินงาน รายงานให้คณะกรรมการตามข้อ 2 ทราบ 5. รายงานผลการดําเนินงานให้สํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก ทราบ 6. ประเมินผลการดําเนินงานภายในหน่วยฝึก สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค ดําเนินการดังนี้ 1. ดําเนินการตามข้อ 1 – 6 ตามการดําเนินงานของศูนย์พัฒนาฝีมือ แรงงานจังหวัด 2. ผู้อํานวยการสถาบันพั ฒนาฝีมือแรงงานภาคแต่ง ตั้งคณะเจ้าหน้าที่ ออกตรวจเยี่ยมความก้าวหน้าการดําเนินงานของศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด ในเครือข่าย (สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค จะได้รับโอนเงินงบประมาณเพื่อเป็น ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดเครือข่าย จาก สํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก แห่งละ 10,000 บาท)

คู่มือการดําเนินงานประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ …จ


นิยามศัพท์ ๑. หน่วยฝึก หมายถึง หน่วยงานของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ที่มีภารกิจ ในการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ได้แก่ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค สถาบันพัฒนา ฝีมือแรงงานนานาชาติเชียงแสน ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด ศูนย์พัฒนาฝีมือ แรงงานกรุงเทพมหานคร และกลุ่มงานอุตสาหกรรมบริการ (สพท.) ๒. ครูฝึก หมายถึง บุคลากรที่ทําหน้าที่ในการถ่ายทอดความรู้ภาคทฤษฎี ดําเนินการถ่ายทอดประสบการณ์และฝึกทักษะฝีมือในภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก ในสาขาอาชี พต่างๆ ที่เข้ ารั บการฝึกในหน่วยฝึก ได้ แก่ นักวิ ชาการพั ฒนาฝีมือ แรงงาน นั ก วิ ช าการฝึ ก อาชี พ ครู ฝึ ก ฝี มื อ แรงงาน วิ ท ยากร (ภายนอก) และ บุคลากรอื่นที่ดําเนินการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์แก่ผู้รับการฝึก ๓. ผู้รับการฝึก หมายถึง บุคคลที่เข้ารับการฝึกในหน่วยฝึกหลักสูตร การฝึ กเตรี ย มเข้ าทํ างานและหลั ก สู ต รการฝึ ก ยกระดั บ ฝี มือ ทุ ก สาขาอาชี พ ที่ ดําเนินการฝึก ๔. คู่มือการฝึก หมายถึง เอกสารประกอบการฝึกในแต่ละหลักสูตรของ สาขาอาชีพ ที่จัดทําโดยกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือตําราที่ใช้ในการสอน/ฝึกที่ ครูฝึ ก จั ด ทํ า ขึ้ น เพื่ อ ใช้ ใ นการฝึ ก โดยมี ผู้ ต รวจคู่ มื อ ให้ ก ารรั บ รองคู่ มื อ การฝึ ก ประกอบด้วย

๔.๒ ใบข้อมูล (Information Sheet) เป็นเอกสารที่สําคัญของบทเรียน และอธิ บ ายขยายความของหั ว ข้ อ สํ า คั ญ ที่ กํ า หนดไว้ ใ นใบเตรี ย มการสอน รายละเอียดของเนื้ อหาวิชาจะมีการจัดเรียงตามลําดับหัวข้ ออย่างถูกต้อง ตาม ความยากง่าย ๔.๓ ใบงาน (Job sheet) เป็นเอกสารที่ใช้สําหรับการฝึกปฏิบัติ ใบงานนี้ จะมี คํ า สั่ ง ให้ ผู้ รั บ การฝึ ก ปฏิ บั ติ ต ามชิ้ น งาน จะมี ภ าพของชิ้ น งานหรื อ ภาพ ประกอบก็ได้ ๔.๔ ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Operation Sheet) เป็นเอกสารที่ จัดเตรียมไว้เพื่อใช้เป็นบทเรียนภาคปฏิบัติ โดยมีคําแนะนําเกี่ยวกับขั้นตอนในการ ทํางานที่ถูกต้องตรงกับงานที่ปฏิบัติจริง เน้นจุดสําคัญในการทํางานย่อยและเน้น ถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับคน เครื่องจักรและอุปกรณ์ โดยใช้คู่กับใบงาน ๔.๕ ใบทดสอบ (Test sheet) เป็นเอกสารที่จัดเตรียมขึ้นสําหรับใช้ วั ด ผลการฝึ กของผู้ เ ข้ า รั บ การฝึ ก ทั้ ง ภาคทฤษฎี แ ละปฏิ บั ติ โดยใช้ ร ะยะเวลา ทดสอบสั้น ๆ มุ่งทดสอบเกี่ยวกับความรู้ ความสามารถ และทัศนคติ ๕. สมุดบันทึกการฝึก หมายถึง เอกสารสําหรับครูฝึกที่ใช้ในการบันทึก เวลาฝึก เนื้อหาวิชาที่ฝึก ผลการฝึกของผู้รับการฝึก ตามแบบที่กรมพัฒนาฝีมือ แรงงานกําหนด

๔.๑ ใบเตรียมการสอน (Lesson plan) เป็นเอกสารที่จัดทําขึ้นสําหรับ ครูฝึกใช้ในการวางแผนการสอนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ คู่มือการดําเนินงานประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ …ฉ


มาตรฐานที่ 1 การจัดหลักสูตรการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน จํานวน 3 ข้อกําหนด ข้อกําหนดที่ แนวทางการดําเนินงาน 1.1 การหาความต้ อ งการของ ๑.๑.๑ การหาความต้องการของตลาด สถานประกอบกิจการ แรงงาน

วิธีปฏิบัติ แบบฟอร์มที่ใช้ ๑. มีการสํารวจความต้องการโดยส่งแบบสอบถามความ ต้ องการแรงงานไปยั ง สถานประกอบกิ จ การเพื่ อ จะได้ ทราบความต้องการแรงงานฝีมือ สาขาต่างๆ ตามที่สถาน ประกอบกิจการต้องการ หรือ ๒. มี ก ารประชุ ม สอบถามข้ อ มู ล /สั ม ภาษณ์ จ าก คณะกรรมการที่ ป รึ ก ษา หรื อ สอบถามข้ อ มู ล จาก แหล่ ง ข้ อ มู ลที่ มี ค วามรู้ ส ถานการณ์ ด้ า นเศรษฐกิ จ ของ จั ง หวั ด ประธานหอการค้ า จั ง หวั ด ประธานสภา อุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด ผู้ ป ระกอบกิ จ การที่ ส ามารถให้ ข้ อ มู ล ได้ หรื อ วิ ธี ก ารอื่ น ๆ ที่ ส ามารถได้ ข้ อ มู ล ความ ต้องการแรงงานฝีมือในแต่ละช่วงเวลา ๓. มีการสอบถามข้อมูลจากการประชุม กพร.ปจ. ๔. ในการปฏิบัติอาจใช้วิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธีเพื่อให้ได้ ข้อมูลเพื่อใช้ในการประมวลผลต่อไป 1.1.2 การวิเคราะห์ความต้องการของ มีการนําข้อมูลจากการหาความต้องการของตลาดแรงงาน มาประมวลผล ศึ ก ษาวิ เ คราะห์ ทิ ศ ทางแรงงานฝี มื อ ที่ ตลาดแรงงานในปัจจุบันและอนาคต เชื่ อ มโยงไปในอนาคตของจั ง หวั ด หรื อ พื้ น ที่ อื่ น ๆ ที่ เชื่อมโยงในการจัดทําแผนพัฒนาฝีมือแรงงาน 1.2 การจัดทําแผนการพัฒนาฝีมือ ๑.๒.๑ การจัดทําแผนการพัฒนาฝีมือ มี การนํ า ผลการวิ เคราะห์ ความต้ องการแรงงานฝี มื อมา แรงงาน แรงงาน จัดทําแผนการพัฒนาฝีมือแรงงานตามระยะเวลาซึ่งอาจ เป็นแผนประจําปี หรือแผน ๖ เดือน หรือแผน ๓ เดือน

คู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ …. 1


มาตรฐานที่ 1 การจัดหลักสูตรการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน จํานวน 3 ข้อกําหนด ข้อกําหนดที่ แนวทางการดําเนินงาน วิธีปฏิบัติ แบบฟอร์มที่ใช้ ๑.3 การใช้ ห ลั ก สู ต รการฝึ ก ที่ 1.3.1 การใช้ หลั กสูต รกลางของกรม มีการใช้หลักสูตรการฝึกอบรมที่สอดคล้องกับแผนพัฒนา ฝีมือแรงงาน ดังนี้ สอดคล้องกับสถานประกอบกิจการ ในการฝึก 1. กรณีการฝึกหลักสูตรเตรียมเข้าทํางานให้ใช้หลักสูตรที่ และตลาดแรงงาน กรมพัฒนาฝีมือแรงงานอนุมัติ 2. ในกรณีที่ ไม่ มีหลั กสู ตรที่เหมาะสมให้จัดทํ าหลัก สูต ร ตามความต้ อ งการของพื้ น ที่ แ ละส่ ง ให้ ก รมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงานอนุมัติก่อนดําเนินการ (ยกเว้นหลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทํางาน ประเภท ข.) 1.3.2 การใช้หลักสูตรที่จัดทําขึ้นโดย หลั ก สู ต รต้ องจั ดทํ าโดยความร่ วมมือ กั บสถานประกอบ หน่วยฝึกในการฝึก กิจการ หรือสมาคมอาชีพ/วิชาชีพ หรือชมรมกลุ่มอาชีพที่ ได้รับการยอมรับในพื้นที่ หรือหอการค้าจังหวัด หรือสภา อุ ต สา ห ก ร ร ม จั ง ห วั ด ทั้ ง นี้ โ ด ย ไ ด้ รั บ อ นุ มั ติ จ า ก ผู้อํานวยการหน่วยฝึกก่อน

-

คู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ …. 2


มาตรฐานที่ 2 ผู้รับการฝึก จํานวน ๕ ข้อกําหนด ข้อกําหนดที่ ๒.๑ คุณสมบัติของผู้รับการฝึก

แนวทางการดําเนินงาน 2.1.1 ตามระเบีย บกรมพัฒ นาฝี มื อ แรงงาน ว่าด้วยการฝึกเตรียมเข้าทํางาน พ .ศ .2547 หมวด ๑ หลั กเกณฑ์ ก าร รับสมัครผู้รับการฝึก

วิธีปฏิบัติ แบบฟอร์มที่ใช้ ผู้ รั บ การฝึ ก หลั ก สู ต รการฝึ ก เตรี ย มเข้ า ทํ า งานต้ อ งมี คุณสมบัติดังนี้ 1. มีความรู้ไม่ต่ํากว่ามัธยมศึกษาปีที่ 3 เว้นกรณีสาขาอาชีพที่ได้กําหนดเป็นการเฉพาะ 2. มีอายุไม่ต่ํากว่าสิบห้าปีบริบูรณ์ ณ วันเปิดฝึกเว้นแต่ใน กรณีที่สาขาอาชีพนั้นได้กําหนดหลักเกณฑ์ ในเรื่องนี้ไว้เป็น เฉพาะ 3. มีสัญชาติไทย 4. มีร่างกายแข็งแรงเหมาะสมที่จะเข้ารับการฝึกในสาขา นั้นๆ ได้ตลอดหลักสูตร 5. ไม่เป็นผู้ติดยาเสพติดให้โทษหรือเป็นโรคติดต่ออย่าง ร้ายแรง 6. สามารถเข้ารับการฝึกอบรมและร่วมในกิจกรรมที่ เกี่ยวข้องได้เต็มตามวันเวลาที่กําหนด 7. มีภูมิลําเนาเป็นหลักแหล่งโดยมีสําเนาทะเบียนบ้าน หรือหลักฐานของทางราชการในลักษณะเดียวกันมาแสดง 2.1.2 ตามระเบี ย บกรมพั ฒ นาฝี มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก หลั ก สู ต รการยกระดั บ ฝี มื อ แรงงานต้ อ งมี แรงงานว่าด้วยการฝึกยกระดับฝีมือ พ.ศ. คุณสมบัติดังนี้ ๒๕๔๗ หมวด ๑ คุณสมบัติของผู้สมัคร 1. เป็ นผู้ ป ระกอบอาชี พ เกี่ ย วกั บสาขาที่ สมัค รหรื องาน อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. เป็ น ผู้ มี ค วามรู้ ความสามารถ หรื อ ประสบการณ์ เกี่ยวกับสาขาที่สมัครเข้ารับการฝึก

คู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ …. 3


มาตรฐานที่ 2 ผู้รับการฝึก จํานวน ๕ ข้อกําหนด ข้อกําหนดที่ ๒.๑ คุณสมบัติของผู้รับการฝึก

แนวทางการดําเนินงาน วิธีปฏิบัติ แบบฟอร์มที่ใช้ 2.1.2 ตามระเบี ย บกรมพั ฒ นาฝี มื อ 3. มีสุขภาพดีและร่างกายแข็งแรง เหมาะสมที่จะเข้ารับ แรงงานว่าด้วยการฝึกยกระดับฝีมือ พ.ศ. การฝึกในสาขาอาชีพนั้น ๆ ได้ตลอดหลักสูตรการฝึก ๒๕๔๗ หมวด ๑ คุณสมบัติของผู้สมัคร 4. ไม่เป็นผู้ติดยาเสพติดให้โทษหรือโรคติดต่อร้ายแรง 5. มีความประพฤติดี ป ๒.๑ ๒ .๒ การแนะนํ า การฝึ ก ให้ แ ก่ 2.2.1 การแนะนําข้อมูลอาชีพในสาขา ให้คําแนะนําในการกรอกใบสมัครและให้ข้อมูลเกี่ยวกับ เนื้ อ หาของหลั ก สู ต ร ที่ เ กี่ ย วกั บ อาชี พ ต่ า งๆ เช่ นความ ที่เปิดฝึก ผู้สมัคร ต้องการของตลาดแรงงาน โอกาสการมีงานทํา อาชีพที่จะ ทํา อาชีพที่เกี่ยวเนื่อง สภาพการทํางาน ผู้ว่าจ้าง ช่องทาง ความก้าวหน้า เพื่อประกอบการตัดสินใจ ๒.๓ การคัดเลือกผู้รับการฝึก 2.3.1 หน่วยฝึกมีการคัดเลือกผู้สมัคร 1.จัดทําคําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกผู้สมัครเข้ารับ เข้ารับการฝึกหลักสูตรการฝึกเตรียมเข้า การฝึก ประกอบด้ วยผู้ แทนแต่ละสาขาอาชี พ และฝ่ า ย ทํางาน ส่งเสริม เพื่อสร้างความสัมพันธ์และความคุ้นเคยกับผู้รับ การฝึก 2. ดําเนินการคัดเลือกผู้รับการฝึกโดยการสอบข้อเขียน และหรือสอบปฏิบัติ หรือสัมภาษณ์ เพื่อจัดให้ผู้รับการฝึก ได้เข้าฝึกตามพื้นฐานความรู้ ความถนัดและศักยภาพของ สาขาที่เปิดฝึก 3. รวบรวมผลการคัดเลือกและประกาศผลการคัดเลือก 2.3.2 หน่วยฝึกปฏิบัติตามระเบียบกรม 1. ผู้ ส มั ค รเข้ า รั บ การฝึ ก จะต้ อ งยื่ น บั ต รประจํ า ตั ว พั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน ว่ า ด้ ว ยการฝึ ก ประชาชนหรือหลักฐานอื่นที่ทางราชการออกให้ ยกระดั บ ฝี มื อ พ.ศ. ๒๕๔๗ หมวด ๒ 2. การดํ า เนิน คั ด เลื อ กผู้ ส มั ค รเข้ า รั บ การฝึ ก โดย สอบ ข้ อ เขี ย น และหรื อ สอบปฏิ บั ติ และหรื อ สอบสั ม ภาษณ์ การรับสมัครและการคัดเลือก (ทั้ ง นี้ วิ ธี ก ารดํ า เนิ น การคั ด เลื อ กให้ พิ จ ารณาความ เหมาะสม) คู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ …. 4


มาตรฐานที่ 2 ผู้รับการฝึก จํานวน ๕ ข้อกําหนด ข้อกําหนดที่ ๒.๓ การคัดเลือกผู้รับการฝึก

แนวทางการดําเนินงาน 2.3.3 การปฐมนิเทศผู้รับการฝึก

วิธีปฏิบัติ แบบฟอร์มที่ใช้ 1. ชี้แจง กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการฝึก 2. ชี้ แ จงการใช้ อ าคารสถานที่ ต่ า งๆ เช่ น โรงอาหาร ห้องน้ํา สนามกีฬา โรงจอดรถ เป็นต้น 3. แนะนํ า เจ้ า หน้ า ที่ ใ นหน่ ว ยงานแก่ ผู้รั บ การฝึ ก เช่ น ผู้บริหาร ฝ่ายบริหาร ฝ่ายช่าง คณะครูผู้ปกครอง และครู ฝึกแต่ละสาขาอาชีพ ๒.๔ การประเมินความรู้พื้นฐาน 2.4.1 มีแบบประเมินความรู้พื้นฐานใน ทําการทดสอบความรู้พื้นฐานของผู้รับการฝึกในสาขาที่จะ ผู้รับการฝึกก่อนการฝึก สาขาที่จะเข้าฝึก ฝึ ก เช่ น คณิ ต ศาสตร์ ภาษาต่า งประเทศ คอมพิ วเตอร์ เบื้องต้น เพื่อจะได้ทราบความรู้พื้นฐานของผู้รับการฝึก 2.4.2 มีโมดูลการฝึกปรับพื้นฐานให้ผู้รับ นําผลการประเมินมาจัดทําโมดูลการฝึก เพื่อปรับความรู้ การฝึก มีความพร้อมที่จะเข้าฝึกในสาขา พื้นฐานของผู้รับการฝึกให้มีความพร้อมที่จะเข้าฝึก อาชีพนั้น ๆ ป ๒.๒ 2.5 การจัดทําทะเบียนผู้รับการฝึก 2.5.1 มีระบบทะเบียนผู้รับการฝึกและ 1. มีการจัดทํา ทะเบีย นผู้รับการฝึกและควบคุมวุฒิบัต ร และควบคุมวุฒิบัตร ควบคุมวุฒิบัตร ตามแบบฟอร์มที่กําหนด ๒. ในกรณีที่มีผู้มาขอรับวุฒิบัตรแทนผู้สําเร็จการฝึก ให้ บั น ทึ ก เลขบั ต รประจํ า ตั ว ประชาชนของผู้ รั บ ไว้ เ ป็ น หลักฐานด้วย 2.5.๒ การออกวุฒิบัตร ให้เจ้าหน้า ที่ผู้รับผิดชอบจัดทําวุฒิ บัตรดําเนิ นการให้ผู้มี อํานาจลงนามในวุ ฒิ บัตรภายหลัง จากการจบฝึกไม่ เกิ น ๑๕ วัน

คู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ …. 5


มาตรฐานที่ 3 ครูฝึก จํานวน ๖ ข้อกําหนด ข้อกําหนดที่ แนวทางการดําเนินงาน ๓.๑ ความรู้ ความสามารถ หรือ ๓.๑.๑ การคัดเลือกบุคคลภายนอกเป็น วิทยากร ในหลักสูตรการฝึกเตรียมเข้า ประสบการณ์ในสาขาที่สอน ทํางาน ๓.๑.๒ การจัดทําทะเบียนวิทยากร ๓.๒ การจั ดทํ า แผนการฝึ ก และ ๓.๒.๑ การจัดทําแผนการฝึก ฝึกตามคู่มือการฝึก ๓.๒.๒ การจัดทําคู่มือการฝึก

วิธีปฏิบัติ แบบฟอร์มที่ใช้ มีการประกาศรับสมัครบุคคลภายนอกเป็นวิทยากร มีการ ป 3.1 ประเมิ น ความรู้ ใ นสาขาที่ จ ะสอนโดยการทดสอบ มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติในสาขาที่เกี่ยวข้อง และ ประเมินความสามารถโดยใช้แบบประเมินตามแบบฟอร์ม ที่กําหนดและมีการประกาศรายชื่อผู้ได้รับการคัดเลือก มีการรวบรวมข้อมู ลของวิท ยากร บั นทึกข้อมู ลแยกเป็ น ป ๓.๒ สาขาอาชีพ และจัดทําเป็นเอกสาร ป 3.๓ มี ก ารจั ด ทํ า แผนการฝึ ก ประกอบด้ ว ย ชื่ อ หลั ก สู ต ร ระยะเวลา สาขาวิ ช า สาขาช่ า ง รหั ส วิ ช า หั ว ข้ อ วิ ช า จํานวนชั่วโมงทฤษฎี/ปฏิบัติ ชื่อผู้สอน ชื่อผู้ควบคุม มีการจัดทําคู่มือการฝึก (เอกสารประกอบการฝึก) มีเอกสาร ประกอบด้วย ป 3.๔ - ใบเตรียมการสอน ป 3.๕ - ใบข้อมูล ป 3.๖ - ใบงาน ป 3.๗ - ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ป 3.๘ - ใบทดสอบ โดยให้รวบรวมเป็นรูปเล่มเพื่อสะดวกในการใช้งาน

คู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ …. 6


มาตรฐานที่ 3 ครูฝึก จํานวน ๖ ข้อกําหนด ข้อกําหนดที่ 3.3 ความรับผิดชอบต่อการฝึก

แนวทางการดําเนินงาน ๓.๓.๑ การตรวจสอบการเข้าฝึกของผู้รับ การฝึก การให้คําปรึกษา แนวทางการฝึก การหาแหล่งงาน การสมัครงานให้แก่ผู้รับ การฝึก

๓.4 กระบวนการถ่ า ยทอดที่ ๓.๔.๑ ครู ฝึก มี ก ระบวนการถ่ า ยทอด เหมาะสม ความรู้ ความสามารถ ทั ก ษะ และ ประสบการณ์ตามขั้นตอนการสอนงานที่ เหมาะสม ตามขั้ นตอนการสอนงาน ๔ ขั้นตอน ดังนี้

วิธีปฏิบัติ แบบฟอร์มที่ใช้ ๑. มีการตรวจเช็ครายชื่อการเข้าฝึกของผู้รับการฝึก ป 3.๙ ๒. มีการให้คําปรึกษาเมื่อมีข้อสงสัยในการฝึก ป 3.10 ๓. มี ค วามสามารถกํ า หนดแนวทางการฝึ ก ได้ โ ดยการ สอบถามความพร้อมในการฝึกของผู้รับการฝึก ๔. มีแผนการฝึกที่ชัดเจน ๕. มีการเตรียมการสอนที่สมบูรณ์ ๖. มีความสามารถในการหาแหล่งงานให้แก่ผู้รับการฝึก สําหรับการฝากฝึก ๗. สามารถแนะนําแหล่งงานที่มีความต้องการแรงงานใน สถานประกอบกิจการภายในจังหวัดหรือจังหวัดใกล้เคียง ๑. การเตรียมและการนําเข้าสู่การฝึก คือ การให้ความรู้สึก ป 3.๑1 เป็นกันเอง มีการแจ้งขอบเขตงานที่ต้องการสอน เพื่อให้ เกิดความสนใจในการเรียนรู้ ๒ .การแสดงให้เห็น คือ การทําให้เห็นเป็นตัวอย่าง มีการ สอนที่เน้นย้ําและอธิบายช้าในจุดที่สําคัญอยู่เสมอ ๓ .การทดลองให้ปฏิบัติ คือ การให้ผู้รับการฝึกทดลองทํา เมื่อทําไม่ถูกต้องให้ทําการแก้ไขข้อผิดพลาดโดยทันที ให้ ผู้รับการฝึกฝึกอย่างต่อเนื่องจนมั่นใจว่าสามารถปฏิบัติได้ ๔ .การติดตามผล คือ มีการตรวจสอบความเข้าใจของ ผู้รับการฝึกบ่อยๆ และเปิดโอกาสให้ผู้รับการฝึกสอบถาม ในสิ่งที่ไม่เข้าใจ ๕ .ให้หัวหน้าฝ่าย/งาน หรือผู้รับการฝึก เป็นผู้ประเมิน กระบวนการถ่ายทอดของครูฝึก คู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ …. 7


มาตรฐานที่ 3 ครูฝึก จํานวน ๖ ข้อกําหนด ข้อกําหนดที่ ๓.๕ การพั ฒ นาตนเองอย่ า ง สม่ําเสมอ

แนวทางการดําเนินงาน วิธีปฏิบัติ แบบฟอร์มที่ใช้ ๓ .๕ .๑ การค้ น คว้ า ความรู้ จ ากแหล่ ง มีการพัฒนาองค์ความรู้จากแหล่งต่างๆ และได้ขยายผลเป็น ต่างๆ ด้วยตนเองอย่างสม่ําเสมอ สื่ อ การฝึ ก หรื อ เอกสารประกอบการฝึ ก หรื อการสร้ าง หลักสูตรใหม่ ๓.๕.๒ การเข้ารับการฝึกอบรมทุกครั้ง มีการแจ้งข่าวการฝึกอบรมโดยให้ครูฝึกมีความเต็มใจที่จะ ด้วยความเต็มใจ เข้ารับการฝึกอบรม ๓.๖ การนิ เ ทศสอนงานอย่ า ง ๓ .๖ .๑ การกํ า หนดหน้ า ที่ ผู้ นิเ ทศสอน มีการกําหนดผู้นิเทศสอนงานให้แก่ครูฝึกเป็นลายลักษณ์ งานแนะนําให้แก่ครูฝึก อักษร โดยให้ผู้อํานวยการหน่วยฝึกเป็นผู้แต่งตั้ง สม่ําเสมอ ๓ .๖ .๒ การประกาศการนิเทศสอนงาน มีการประกาศการนิเทศสอนงานแก่ครูฝึกให้เป็นนโยบาย แก่ครูฝึกของหน่วยงาน ของหน่วยฝึก ๓ .๖ .๓ การนิ เ ทศสอนงานให้ ค วามรู้ มีการนิเทศสอนงานระหว่างผู้ทําหน้าที่นิเทศสอนงานและ ป 3.๑2 ใหม่ๆ แก่ ครูฝึกอย่างสม่ําเสมอ รวมทั้ ง ครูผู้รับการนิเทศสอนงาน อย่างสม่ําเสมออย่างน้อยเดือน ละ ๑ ครั้ง การเชิญบุคคลภายนอกมาให้ความรู้

คู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ …. 8


มาตรฐานที่ 4 วิธีการฝึก จํานวน ๖ ข้อกําหนด ข้อกําหนดที่ แนวทางการดําเนินงาน วิธีปฏิบัติ แบบฟอร์มที่ใช้ ๔.๑ การใช้สื่อ เครื่องมือ อุปกรณ์ ๔.๑.๑ การใช้สื่อการฝึกที่สอดคล้องกับ มีการใช้สื่อ ชุดสาธิต ชุดทดลอง คอมพิวเตอร์เพื่อการฝึก ป ๔.๑ หัวข้อวิชา และเอกสารการฝึกที่ถูกต้อง ชัดเจนสอดคล้องกับหัวข้อ การฝึกที่เหมาะสม วิชา ๔.๑.๒ การใช้เครื่องมืออุปกรณ์การฝึก มีการใช้เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์การฝึกที่ถูกต้อง ชัดเจน สอดคล้องกับหัวข้อวิชา สอดคล้องกับหัวข้อวิชา ป ๔.๒ ๔.๒ การจั ด กระบวนการฝึ ก ให้ ๔.๒.๑ การจัดให้มีเครื่องป้องกันอันตราย ๑. จัดให้มีเครื่องป้องกันอันตรายจากเครื่องจักรที่อาจก่อ คํ า นึ ง ถึ ง ความปลอดภั ย และ จากเครื่องจักรที่อาจเกิดอันตราย และ อันตรายแก่ผู้รับการฝึก ครูฝึกหรือผู้เกี่ยวข้อง จัดให้มีการติดป้ายความปลอดภัย วิธีการ ๒. เครื่ อ งจั ก รต้ อ งมี ค วามแข็ ง แรงเพี ย งพอ และติ ด ตั้ ง สิ่งแวดล้อม ใช้งาน ข้อควรระวังไว้ที่เครื่องจักร และ สัญลักษณ์ความปลอดภัยให้เห็นเด่นชัด และมีการอธิบาย จัดให้มีถังดับเพลิง ความหมายของสัญลักษณ์ความปลอดภัยไว้ด้วย ๓. มีการติดตั้งถังดับเพลิงที่เข้าถึงโดยสะดวกและพร้อมใช้ งาน มีคําแนะนําการใช้ถังดับเพลิง มีการตรวจสอบการใช้ งานเป็นระยะและมีการซ้อมดับเพลิงปีละไม่น้อยกว่า ๑ ครั้ง ๔.๒.๒ การจัดให้มีและใช้เครื่องป้องกัน ให้ ค รู ฝึ ก และผู้ รั บ การฝึ ก สวมเครื่ อ งป้ อ งกั น อั น ตราย อันตราย ระหว่างการปฏิบัติงาน ระหว่างการฝึก ตามข้อกําหนดของแต่ละสาขาช่าง ๔ .๒.๓ การจั ด การด้ า นสภาพและสิ่ ง ๑. จัดให้มีสุขภัณฑ์ที่สะอาดและเพียงพอ ๒. มีระบบระบายอากาศ และเครื่องดูดฝุ่น/ดูดอากาศ ใน แวดล้อมในโรงฝึกงาน บริเวณที่มีฝุ่น และมีแสงสว่างเพียงพอ ๓. มี ถั ง ขยะที่ มีฝาปิ ดมิ ดชิ ด และแยกขยะตามประเภท ของขยะ ๔. มีการกําจัดขยะจากการฝึกอย่างถูกต้องและเหมาะสม ๕. มี น้ําดื่ ม และแก้ วที่ สะอาดปลอดภั ย และมี ปริ มาณที่ เพียงพอ คู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ …. 9


มาตรฐานที่ 4 วิธีการฝึก จํานวน ๖ ข้อกําหนด ข้อกําหนดที่ ๔ .๓ การบํ า รุ ง รั ก ษาเครื่ อ งมื อ เครื่องจักร อุปกรณ์ สิ่งอํานวยความ สะดวก ให้อยู่ในสภาพดี เหมาะสม กับหลักสูตร

แนวทางการดําเนินงาน วิธีปฏิบัติ แบบฟอร์มที่ใช้ ๔ .๓ .๑ การจั ด ทํ า แผนบํ า รุ ง รั ก ษ า มีการกํ าหนดแผนการบํ ารุ งเครื่อ งจัก รให้ อยู่ ใ นสภาพที่ ดี ป 4.๓ เครื่ องจั กรให้ อ ยู่ใ นสภาพที่ ดีเหมาะสม พร้อมใช้งานสม่ําเสมอ กับหลักสูตร ประจําปีงบประมาณ ๔.๓.๒ การจัดทําแผนการใช้เครื่องจักร มีการกําหนดแผนการใช้เครื่องมือ เครื่องจักรและอุปกรณ์ ป 4.๔ การฝึก ประจําปีงบประมาณ ป 4.๕ ๔.๓.๓ การบันทึกการใช้งานเครื่องจักร มี ก ารบั น ทึ ก เวลาการใช้ ง านของเครื่ อ งจั ก รที่ ส ามารถ ที่ สามารถตรวจสอบชั่ วโมงการใช้ ง าน ตรวจสอบชั่วโมงการใช้งานได้ ของเครื่องจักรได้ ๔ .๓ .๔ การบริหารจัดการวัสดุ ฝึกให้ ๑. มีการวางแผนการบริหารจัดการวัสดุฝึก พร้อมก่อนการฝึก ๒. มีการเบิกจ่ายวัสดุฝึกให้พร้อมก่อนการฝึกทุกครั้ง โดย มีการกําหนดรายการวัสดุฝึกที่ต้องใช้ในการฝึกในแต่ละรุ่น หรือแต่ละครั้งให้ชัดเจน ๓. มีการจัดซื้อวัสดุฝึกให้ทันต่อการใช้งาน ๔. มีการเก็บรักษาวัสดุให้ปลอดภัยแบ่งเป็นหมวดหมู่ให้ ชัดเจน ๕. มีหลักฐานการเบิกจ่ายวัสดุทุกครั้ง ๖. ในกรณีที่มีวัสดุฝึกคงเหลือให้นําส่งคืนเก็บไปไว้ในห้อง เก็บวัสดุฝึกโดยมีหลักฐานการส่งคืน ๗. มีการตรวจสอบวัสดุฝึกคงเหลือเป็นประจําทุกปี ๔.๓.๕ การเตรียมเครื่องมืออุปกรณ์ให้ มีการสํารวจสภาพความพร้อมและจํานวนของเครื่องมือ ป 4.๖ พร้อมก่อนการฝึก เครื่ อ งจั ก รอุ ป กรณ์ ก ารฝึ ก ให้ พ ร้ อ มต่ อ การใช้ ง านและ เพียงพอก่อนการฝึกอยู่เสมอ

คู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ …. 10


มาตรฐานที่ 4 วิธีการฝึก จํานวน ๖ ข้อกําหนด ข้อกําหนดที่ แนวทางการดําเนินงาน ๔ .๔ การประเมิ นผลตามเกณฑ์ ๔ .๔ .๑ การประเมิ น ผลการฝึ ก โดยใช้ มาตรฐานการวัดผลของผู้รับการ เครื่องมือวัดผลการฝึกซึ่งเป็นมาตรฐาน การฝึกกลางของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ฝึก หรือหน่วยฝึกได้จัดทําขึ้น

วิธีปฏิบัติ แบบฟอร์มที่ใช้ มีการประเมินผลการฝึกโดยใช้เครื่องมือวัดผลการฝึก ซึ่ง เป็ นมาตรฐานการฝึ ก กลางของกรมพั ฒ นาฝี มื อแรงงาน ตามเกณฑ์ มาตรฐานการวั ดผลตามระเบี ยบกรมพั ฒ นา ฝีมือแรงงาน ว่าด้วยการฝึกเตรียมเข้าทํางาน พ.ศ.๒๕๔๗ หมวด ๑๐ การวัดและประเมินผลการฝึก ข้อ ๖๓ วิธีการ ประเมินผลการฝึก และข้อ ๖๔ การตัดสินผลการฝึก ๔.๔ .๒ การประเมินผลระหว่างการฝึก มีการทดสอบความรู้ระหว่างการฝึกถึงจบฝึกเป็นรายวิชา ป 4.๗ ทั้งภาค ทฤษฎีและภาคปฏิบัติ และมีการบันทึกผลการทดสอบ ตามระเบียบกรมฯ ว่า ด้วยการฝึกเตรียมเข้าทํ างาน พ .ศ .๒๕๔๗ หมวดการวั ด และประเมิ นผล ข้ อ ๖๒ หลั กในการประเมิ นผลการฝึ ก ข้อ ๖๓ วิธีการประเมินผลการฝึก และข้อ ๖๔ การตัดสิน ผลการฝึก ๔.๔.๓ การประเมินผลเมื่อสิ้นสุดการฝึก มีการทดสอบความรู้โดยออกแบบทดสอบภาคปฏิบัติ (จะ ป 4.๘ มีภาคทฤษฎีหรือไม่ก็ได้) ให้ผู้รับการฝึกทดสอบและมีการ ประเมินผลการทดสอบ ตามระเบียบกรมฯ ว่าด้วยการฝึก เตรียมเข้าทํางาน พ.ศ.๒๕๔๗ หมวดการวัดและประเมินผล ข้อ ๖๓ วิธีการประเมินผลการฝึก และข้อ ๖๔ การตัดสิน ผลการฝึก ๔.๕ การบั น ทึ ก การฝึ ก การ ๔.๕.๑ การบันทึกการฝึกในสมุดบันทึก มีการกําหนดให้ครูฝึกมีการบันทึกการฝึกในสมุดบันทึกการฝึก ป 4.๙ ในแต่ละประเภทการฝึกทุกวัน พร้อมให้หัวหน้าฝ่ายลงนาม รายงานผล และการส่ง ต่อข้อมู ล การฝึก รับรองและเสนอผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปทราบ ของผู้ รั บ การฝึ ก อย่ า งถู ก ต้ อ ง ครบถ้วน

คู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ …. 11


มาตรฐานที่ 4 วิธีการฝึก จํานวน ๖ ข้อกําหนด ข้อกําหนดที่ แนวทางการดําเนินงาน ๔.๕ การบั น ทึ ก การฝึ ก การ ๔.๕ .๒ การส่งต่อข้อมูลของผู้รับการฝึก รายงานผล และการส่ง ต่อข้อมู ล เพื่ อ การฝากฝึ ก เป็ นเอกสารที่ มี ค วาม ของผู้ รั บ การฝึ ก อย่ า งถู ก ต้ อ ง ชัดเจนทันเวลาและมีผู้ลงนามรับผิดชอบ ครบถ้วน

๔.๖ การฝากฝึกในกิจการ

วิธีปฏิบัติ แบบฟอร์มที่ใช้ ๑. มีการรวบรวมข้อมูลของผู้รับการฝึก ประกอบด้วย ชื่อนามสกุล รายชื่อหัวข้อวิชา วันเวลาเข้ารับการฝึก และผลการ ฝึก กรณีที่ครูฝึกเป็นผู้ดําเนินการฝากฝึก ให้จัดทําข้อมูลที่ สมบูรณ์และทันกําหนดเวลาการฝากฝึกในกิจการ ๒. ส่งต่อข้อมูลผู้รับการฝึกให้ผู้เกี่ยวข้องดําเนินการส่งฝาก ฝึกในกิจการให้ทันตามกําหนดเวลา โดยมีผู้รับผิดชอบลง นามกํากับ ๔.๖.๑ การส่งผู้รับการฝึกฝากฝึกในกิจการ ๑. มี ก ารกํ า หนดการฝากฝึ ก ในกิ จ การแจ้ ง เวี ย นให้ ผู้เกี่ยวข้องทราบ ๒. ส่งแบบแจ้งความจํานงรับผู้รับการฝึกเข้าฝึกในกิจการ ป 4.๑๐ ให้สถานประกอบกิจการแจ้งความจํานง ๓. รวบรวมข้อมูลความต้องการรับผู้รับการฝึกเข้าฝึกใน กิจการแยกตามสาขาอาชีพ ๔. คัดเลือกสถานประกอบกิจการที่จะส่งผู้รับการฝึกเข้าฝึกใน กิจการโดยคํานึงถึงขนาดและประเภทของสถานประกอบกิจการ สวัสดิการ โอกาสในการทํ างานของผู้รับการฝึก โดยการหารื อ ร่วมกันของฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ๕. ทําหนัง สือส่งตั วผู้รั บการฝึ กเข้าฝึ กในสถานประกอบ กิจการตามผลจากการประชุมหรือผู้เกี่ยวข้อง ๖. จัดประชุม ชี้แจงการฝากฝึกในกิจการแก่ผู้รั บการฝึ ก ก่อนการส่งฝึก ๗. มี การส่ง ผู้รั บการฝึ กให้ แก่ สถานประกอบกิจการโดย เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับฝากฝึกหรือครูฝึก คู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ …. 12


มาตรฐานที่ 4 วิธีการฝึก จํานวน ๖ ข้อกําหนด ข้อกําหนดที่ ๔.๖ การฝากฝึกในกิจการ

แนวทางการดําเนินงาน วิธีปฏิบัติ แบบฟอร์มที่ใช้ ๔.๖.๒ การบันทึกการฝากฝึกของสถาน ๑. ครูฝึกหรือเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบแจ้งให้สถานประกอบ ประกอบกิจการ กิ จการที่ รั บ ผู้ รั บ การฝึ ก ฝึ กในสถานประกอบกิ จ การให้ เข้าใจวัตถุประสงค์ของการฝากฝึก ๒. ขอความร่วมมือสถานประกอบกิจการทึกการฝากฝึกใน สมุดการฝากฝึกอย่างสม่ําเสมอ ๔ .๖ .๓ การติ ด ตามผลการฝากฝึ ก ใน ๑. มีการวางแผนตรวจเยี่ยมผู้รับการฝึกในสถานประกอบ กิจการ กิจการ ๒. ให้ครูฝึกร่วมตรวจเยี่ยมผู้รับการฝึกและบันทึกการเยี่ยม ป 4.๑๑ ในสมุดการฝากฝึกทุกครั้งอย่างน้อย ๑ ครั้งต่อแห่ง ๓. กรณีการส่งฝากฝึกนอกพื้นที่ให้ประสานแจ้งหน่วยฝึก ในพื้นที่ฝากฝึกในกิจการทราบ และขอให้ตรวจเยี่ยมแทน กรณีที่ไม่สามารถเดินทางไปตรวจเยี่ยมได้ ๔.๖.๔ การสําเร็จการฝึก ผู้ รั บ การฝึ ก จะสํ า เร็ จ การฝึ ก เตรี ย มเข้ า ทํ า งาน ต้ อ งมี คุณสมบัติดังนี้ ๑. มีเวลาการฝึกงานในสถานประกอบกิจการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละแปดสิบของเวลาการฝึกทั้งหมด ๒. มีหลักฐานการฝึกในหน่วยฝึกและสถานประกอบกิจการ ๓. ต้องมีผลการประเมิน “ผ่าน” การฝึกในกิจการไม่น้อย กว่าร้อยละหกสิบ

คู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ …. 13


มาตรฐานที่ 5 สถานที่และสภาพแวดล้อมของการฝึก จํานวน ๓ ข้อกําหนด ข้อกําหนดที่ แนวทางการดําเนินงาน วิธีปฏิบัติ แบบฟอร์มที่ใช้ ๕.๑ สถานที่ ฝึ ก เหมาะสมกั บ 5.1.1 ห้ อ งบรรยาย (ภาคทฤษฎี ) มี 1. มีพื้นที่ใช้งานเหมาะสมกับจํานวนผู้รับการฝึก ป ๕.๑ หลักสูตรและจํานวนผู้รับการฝึก สิ ่ ง อํ า นวยความสะดวกได้ม าตรฐาน 2. มีระบบแสงสว่าง และระบบระบายอากาศที่ดี และอยู่ในสภาพใช้งานได้ดี 3. มีโสตทัศนูปกรณ์ที่จําเป็นต่อการฝึกอบรมเพียงพอ 4. มี ก ระดานดํา หรื อ กระดานไวท์ บ อร์ ด และชุ ด เครื่อง เขียนวิทยากร 5.1.2 ห้องปฏิบัติการ (โรงฝึก งาน) มี 1. มีพื้นที่ใช้งานเหมาะสมกับจํานวนผู้รับการฝึก สิ่ง อํ า นวยความสะดวกได้ม าตรฐาน 2. มีระบบแสงสว่าง และระบบระบายอากาศที่ดี 3. มีโสตทัศนูปกรณ์ที่จําเป็นต่อการฝึกอบรมเพียงพอ และอยู่ในสภาพใช้งานได้ดี 4. มี ก ระดานดํา หรื อ กระดานไวท์ บ อร์ ด และชุ ด เครื่องเขียนวิทยากร 5. จัดผังเครื่องจักรโรงฝึกงานให้ได้ตามมาตรฐานของกรม พัฒนาฝีมือแรงงานในกรณีที่อาคารสถานที่มีข้อจํากัด การวางผังเครื่องจักรขอให้พิจารณาถึงความจําเป็ นของ พื้ นที่ ใ ช้ สอยที่ เหมาะสม และพิ จ ารณาหาทางแก้ ไ ข ปรั บ ปรุ ง ให้ เ ป็ น ไปตามมาตรฐานในอนาคต 6. จัดทําเส้นแบ่งเขตพื้นติดตั้งเครื่องจักรและทางเดิน

ป ๕.๒

คู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ …. 14


มาตรฐานที่ 5 สถานที่และสภาพแวดล้อมของการฝึก จํานวน ๓ ข้อกําหนด ข้อกําหนดที่ ๕.๒ มีแหล่งค้นคว้าเรียนรู้

แนวทางการดําเนินงาน วิธีปฏิบัติ แบบฟอร์มที่ใช้ ๕.๒.๑ มีแหล่งค้นคว้าเรียนรู้และติดตาม จัดให้มีแหล่งค้นคว้าเรียนรู้และติดตามความก้าวหน้าทาง ความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยีสําหรับครู เทคโนโลยีต ลอดจนมี ก ารกระตุ ้ น ให้ ผู ้ ร ั บ การฝึก ได้ ฝึกและผู้รับการฝึก เรียนรู้กับแหล่งค้นคว้าเหล่านี้ ได้แก่ - ห้ องสมุ ด - มุ มหนัง สื อ - มุ ม สื่ อการสอน (มัลติมิเดีย) - มุมอินเตอร์เน็ต - มุมเรียนรู้นอกเวลาในแต่ละสาขาช่าง เช่น บอร์ดแสดง เครื่ อ งมื อ เครื่ อ งจั ก ร ที่ มี ชื่ อ กํ า กั บ ทั ้ ง ภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ ๕.๓ อาคารและสภาพแวดล้ อ ม 5.3.1 มีการกําหนดมาตรฐาน 5ส และ 1. ทุกอาคารต้องปฏิบัติตามกิจกรรม 5ส ป 5.3 2. แต่งตั้งคณะกรรมการ 5ส สะอาด มีพื้นที่สีเขียว กําหนดผู้รับผิดชอบในแต่ละพื้นที่ ป 5.4 3. ประกาศใช้มาตรฐาน 5ส 4. กําหนดผู้รับผิดชอบในแต่ละอาคารและพื้นที่โดยรอบ ป 5.5 5.3.2 มี ก ารดํ า เนิ น การกิ จ กรรม 5ส 1. ดําเนินการกิจกรรม 5ส ตามกรอบแนวทางปฏิบัติที่วาง และการตรวจผลการปฏิบัติ ไว้ร่วมกัน ๒. จั ด ให้ มี การศึ ก ษาดู ง านในหน่ วยงานที่ ป ฏิ บัติ กิจกรรม ๕ส ได้ดีเด่น 3. จั ด ให้ มี ก ารตรวจผลการดํา เนิ น งานรวมทั้ ง ผลการ ปฏิบัติ และทําการปรับปรุงแก้ไข

คู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ …. 15


มาตรฐานที่ 6 การประเมินผลระบบการฝึก จํานวน ๔ ข้อกําหนด ข้อกําหนดที่ แนวทางการดําเนินงาน ๖.1 การตั้งคณะทํางานประเมิน 6.1.1 แต่งตั้งคณะทํางานประเมินผล ผลระบบการฝึก ระบบการฝึก 6.1.2 จั ด ทํ า รายงานการประชุ ม ของ คณะทํางานต่ อ ผู้อํ านวยการของหน่ วย ฝึก

6.2 การประเมินผลระบบการฝึก ๖.๒.๑ ศึกษาข้อมูลปัจจัยภายนอกที่มีผล ต่อระบบการฝึกในหลักสูตรการฝึกเตรียม เข้าทํางาน และหลักสูตรยกระดับฝีมือ

วิธีปฏิบัติ แบบฟอร์มที่ใช้ ป ๖.๑ 1. ผู้ อํ า นวยการหน่ วยฝึ ก ออกคํ าสั่ ง แต่ ง ตั้ ง คณะทํ างาน ประเมินผลระบบการฝึก 2. แจ้งเวียนคําสั่งแต่งตั้งฯ ให้คณะทํางานทราบ ๑. ฝ่ายเลขานุการคณะทํางานประเมินผลระบบการฝึก จัด ประชุมคณะทํางานฯ ชี้แจง บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบ และวางแผนการดําเนินงานประเมินผลระบบการฝึก 2. จัดทํารายงานการประชุม 3. แจ้งเวียนรายงานการประชุมให้คณะทํางานรับรองรายงาน การประชุม 4. เสนอรายงานผลการประชุมต่อผู้อํานวยการหน่วยฝึก 1. เจ้ าหน้าที่ ฝ่า ยแผนงานศึกษาข้อมู ลของจังหวัด ข้ อมู ล ต้องมีอย่างน้อย ดังนี้ - โครงสร้างทางเศรษฐกิจ สังคม ประชากร - จํานวน/ประเภทกําลังแรงงาน - ยุทธศาสตร์และแผนพัฒนาของจังหวัด - สถานประกอบกิจการภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ - ผู้ประกอบการรายย่อย วิสาหกิจขนาดกลางและย่อม - การศึกษาต่อ/ไม่ศึกษาต่อของประชากรในพื้นที่ - อัตราค่าจ้างแรงงานภายในจังหวัด - รายได้ของประชากร ทั้งนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลเพียงพอสําหรับการวางแผนการจัด ฝึกและใช้อธิบายกรอบการประเมินผลระบบการฝึกในแต่ ละปีงบประมาณ โดยให้หน่วยฝึกทําการศึกษาข้อมูลข้างต้น และสรุปผลการศึกษาทุกปีงบประมาณ คู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ …. 16


มาตรฐานที่ 6 การประเมินผลระบบการฝึก จํานวน ๓ ข้อกําหนด ข้อกําหนดที่ แนวทางการดําเนินงาน 6.2 การประเมินผลระบบการฝึก ๖ .๒ .๒ ประเมิ นผลระบบการฝึ กอบรม หลั ก สู ต รการฝึ ก เตรี ยมเข้ าทํ า งานและ กา รฝึ กย กระดั บ ฝี มื อ โ ดยใช้ แ บบ สอบถามในการสํารวจความคิดเห็นของ ผู้ รั บ บริ ก ารเกี่ ย วกั บ ปั จ จั ย ด้ า นต่ า งๆ ของระบบการฝึก

6.3 การประมวลผลการประเมิน 6.3.1 คณะทํ า งานประเมิ นผลระบบ ระบบการฝึก การฝึ ก ดํ า เนิ น การประมวลผลการ ประเมินและพิจารณาสรุปผล 6.4 การพิจารณารายงานผลการ 6.4.1 ผู้อํา นวยการหน่วยฝึกพิจารณา ปร ะเ มิ น ร ะบ บ ก า ร ฝึ ก แ ละ ผลการประเมิ น และข้ อ เสนอแนะ พิจารณาสั่งการ พร้อมสัง่ ปรับปรุงแก้ไข

วิธีปฏิบัติ 1. ประเมินผลปัจจัยด้านต่างๆ ของระบบการฝึกที่หน่วย ฝึ ก ได้ ใ ช้ เ ป็ น กรอบในการจั ด ฝึ ก โดยใช้ เ ครื่ อ งมื อ การ ประเมิน คือ แบบสอบถาม กําหนดกลุ่มเป้าหมายในการ เก็บข้อมูล ได้แก่ ๑.๑ ผู้ รับการฝึกในหลักสูตรฝึ กเตรี ยมเข้ าทํางานและ หลักสูตรฝึกยกระดับฝีมือ ๑.๒ สถานประกอบกิจการที่ส่งพนักงานเข้ารับการฝึก 1.๓ สถานประกอบกิจการที่รับการฝากฝึก โดยเก็บข้อมูลภายหลังจบการฝึกในแต่ละหลักสูตร ๒. วิเคราะห์ผลการประเมิน ๓. สรุปผลการประเมิน ๑. คณะทํางานประเมิลผลระบบการฝึก วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผลการประเมิน ๒. จั ด ทํ า รายงาน โดยสรุ ป สภาพปั ญ หา ข้ อ เท็ จ จริ ง ข้อเสนอแนะ แนวทางการแก้ไขต่อผู้อํานวยการของหน่วย ฝึก ๑. ผู้ อํ า นวยการหน่ ว ยฝึ ก พิ จารณาสั่ ง การให้ เ จ้ า หน้ า ที่ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งดํ า เนิ น การพั ฒ นา ปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ข ตามข้ อ เสนอแนะ

แบบฟอร์มที่ใช้

แบบ ป ๖.๒ แบบ ป ๖.๓ แบบ ป ๖.๔

-

-

คู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ …. 17


มาตรฐานที่ 7 การประชาสัมพันธ์ จํานวน ๓ ข้อกําหนด ข้อกําหนดที่ แนวทางการดําเนินงาน ๗.๑ การประชาสั ม พั น ธ์ ก าร 7.1.1 การเผยแพร่ผ่านสื่อต่างๆและมี พัฒนาฝีมือแรงงาน ร ะ บ บ ก า ร ส อ บ ท า น ข่ า ว ส า ร จ า ก กลุ่ ม เป้ า หมาย นํ า เสนอการติ ดตามมา วิ เ คราะห์ แ ละเสนอแนวทางปรั บ ปรุ ง แก้ไข

วิธีปฏิบัติ แบบฟอร์มที่ใช้ ๑. มีการนําแผนปฏิบัติการพัฒนาฝีมือแรงงานที่จัดทําขึ้น ตามมาตรฐานที่ 1 รวมทั้งประกาศรับสมัครบุคคลเข้ารับ การฝึ กอบรมตลอดจนผลการดํ า เนิ นงานที่เสร็ จ สิ้ นแล้ ว ส่งไปยังสื่อต่างๆเช่น สถานีวิทยุแห่งประเทศไทยในพื้นที่ วิทยุชุมชน สถานีวิท ยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทยในพื้นที่ หนั ง สื อ พิ ม พ์ ท้ อ งถิ่ น องค์ ก รปกครองท้ อ งถิ่ น หรื อ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ทั้งนี้สามารถจัดทําในรูปแบบของประกาศ วารสาร หรือ จดหมายข่าว ฯลฯ 2. มีการติดตามผลการรับทราบข้อมูลข่าวสารที่ประกาศ เผยแพร่กับกลุ่มเป้าหมายต่างๆได้แก่ นายจ้าง/ลูกจ้างใน สถานประกอบกิ จ การ องค์ก รท้ อ งถิ่ น สมาคม สโมสร ชมรม สภาอุตสาหกรรมจังหวัด หรือหอการค้าจังหวัด 3. นําผลการติดตามมาศึกษาวิเคราะห์และเสนอ แนะ แนวทางปรับปรุงแก้ไขวิธีการประชาสัมพันธ์ให้เข้าถึง กลุ่มเป้าหมายให้มากขึ้น 7.1.2 การสร้ า งมาตรการจู ง ใจให้ มี ก ารกํ า หนดรู ป แบบและวิ ธี ก ารใช้ สื่ อ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ แรงงานในสถานประกอบกิจการเข้าร่วม ความสนใจของแรงงานในสถานประกอบกิ จการให้เห็ น ความสํ า คั ญ ในการพั ฒ นาฝี มื อ และสมั ค รเข้ า รั บ การ ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน ฝึกอบรมในหลักสูตรที่เป็นประโยชน์ เช่น การสื่อสารผ่าน สหภาพแรงงาน ผ่านองค์กรลูกจ้างต่างๆ เป็นต้น

คู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ …. 18


มาตรฐานที่ 7 การประชาสัมพันธ์ จํานวน ๓ ข้อกําหนด ข้อกําหนดที่ แนวทางการดําเนินงาน วิธีปฏิบัติ แบบฟอร์มที่ใช้ ๗.๒ การประชาสั ม พั น ธ์ ง านที่ ๗.2.1 การจั ด นิ ท รรศการ การสาธิ ต 1. มีการจัดนิทรรศการ/สาธิตการฝึกอาชีพ และการจัด ร่วมกับเครือข่ายต่างๆ การฝึก การออกหน่วยเคลื่อนที่ เจ้ า หน้า ที่ ออกหน่ วยเคลื่ อนที่ ไปร่ วมประชาสั มพั นธ์ ใ น โอกาสต่างๆ อาทิ การออกหน่วยประชาสัมพันธ์ร่วมกับ อําเภอ/จั ง หวั ด หรือในโอกาสงานงานมหกรรมที่ จัดขึ้ น โดยหน่วยราชการหรือภาคเอกชน ๒. มี ก ารประชาสั ม พั น ธ์ ผ่ า นคณะอนุ ก รรมการพั ฒ นา แรงงานและประสานงานการฝึ ก อาชี พ จั ง หวั ด หรื อ คณะกรรมการที่ปรึกษา ๗.๓ การประชาสั ม พั น ธ์ ก าร 7.๓.1 การแจ้ ง ข่ าวสารกิ จกรรมต่ า งๆ มี ก ารประมวลข้ อ มู ล ข่ า วสารเกี่ ย วกั บ แผนปฏิ บั ติ ก าร พั ฒ น า ฝี มื อ แ ร ง ง า น ร ะ ดั บ ให้ประชาสัมพันธ์จังหวัดและหน่วยงาน พัฒนาฝีมือแรงงาน การรับสมัครเข้ารับการฝึกอบรม หรือ ประเทศ/สากล ในเครื อ ข่ า ยกระทรวงแรงงานและ ผลการดํ า เนิ น งานของหน่ ว ยงานเพื่ อ ส่ ง ให้ สํ า นั ก งาน ประชาสัมพันธ์จังหวัดตลอดจนส่งให้หน่ วยงานในสังกั ด องค์กรระหว่างประเทศในระดับพื้นที่ กระทรวงแรงงานและองค์กรระหว่างประเทศในพื้นที่เพื่อ เผยแพร่ 7.3.2 การแจ้ง ข้ อมู ลข่าวสารต่ างๆให้ มี ก ารประมวลข้ อ มู ล ข่ า วสารเกี่ ย วกั บ แผนปฏิ บั ติ ก าร กรมพัฒนาฝีมือแรงงานนําไปเผยแพร่ลง พัฒนาฝีมือแรงงาน การรับสมัครเข้ารับการฝึกอบรม หรือ ในเว็บไซต์ แ ละวารสารของกรมฯ และ ผลการดําเนินงานของหน่วยงานเพื่อส่งให้กรมพัฒนาฝีมือ นํ า ข้ อ มู ล ข่ า วสารกิ จ กรรมนั้ น ๆ ขึ้ น แรงงานนํ าไปเผยแพร่ใ นเว็บ ไซต์และวารสารของกรมฯ และนํ า ข้ อ มู ล ข่ า วสารนั้ น ๆขึ้ น เว็ บ ไซต์ ข องหน่ ว ยงาน เว็บไซต์ของหน่วยงาน รวมทั้ง Social Network อื่นๆ

คู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ …. 19


รายชื่อเจ้าหน้าที่ดําเนินการ คณะที่ปรึกษา ๑. นายประพันธ์ มนทการติวงศ์ ๒. ม.ล.ปุณฑริก สมิติ ๓. นายวิษณุ ปาณวร ๔. นายสมใจ บุญประสิทธิ์

อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

ผู้อํานวยการโครงการ นายสันโดษ เต็มแสวงเลิศ

ผู้อํานวยการสํานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก

ผู้รับผิดชอบโครงการ ๑. ผู้อํานวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก (ว่าง) ๒. นายเลอพงษ์ แตงเนียม นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานชํานาญการพิเศษ ๓. นางสาวสาระศรี นามอินทร์ นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานชํานาญการ ๔. นายคงฤทธิ์ พาลีวัน นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานชํานาญการ ๕. นางพันธ์ยมล ฤทธิโชติ นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานชํานาญการ ๖. นายดนุพล คลอวุฒินันท์ นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานปฏิบัติการ ๗. นางสายฝน อินศิริ พนักงานพิมพ์ ระดับ ๓ ๘. นางสาวสาวิตรี ทัศนา นักวิชาการฝึกอาชีพ ผู้ร่วมให้ความคิดเห็น เจ้ าหน้ าที่ ทุกท่ านที่ เข้ าร่ วมการประชุ มในโอกาสต่ างๆ ที่ ได้ แสดงความคิ ดเห็ นและ ข้อเสนอแนะแนวทางการดําเนินงาน

คู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ …. ๒๐


ภาคผนวก - แบบฟอร์มที่ใช้ - ตัวอย่างคําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือ แรงงาน - ระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ว่าด้วยการฝึกเตรียมเข้าทํางาน พ.ศ. 2547 - ระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ว่าด้วยการฝึกยกระดับฝีมอื พ.ศ. 2547 - ระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ว่าด้วยการฝากฝึกในกิจการ พ.ศ. 2547 - ระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ว่าด้วยการคัดเลือกบุคคลภายนอกเป็น วิทยากรดําเนินการสอนในหลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทํางาน พ.ศ. 254๑

คู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ ….๒๑


สารบัญแบบฟอร์มที่ใช้ แบบที่ ๒.๑ ๒.๒ 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 3.7 3.8 3.9 ๓.๑๐ 3.1๑ 3.1๒ 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6

เรื่อง ใบสมัครเข้ารับการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ทะเบียนผู้รับการฝึกและควบคุมวุฒิบัตร ใบสมัครเป็นวิทยากร (ภายนอก) ทะเบียนวิทยากร แผนการฝึก ใบเตรียมการสอน ใบข้อมูล ใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบทดสอบ แบบสํารวจเวลาฝึก แบบบันทึกให้คําปรึกษา/แนะนําผู้รับการฝึก แบบประเมินกระบวนการถ่ายทอดของครูฝึก แบบบันทึกการนิเทศสอนงาน แบบบันทึกการใช้งานสื่อและอุปกรณ์การฝึก แบบสํารวจความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมในโรงฝึกงาน แผนการบํารุงเครื่องจักร แผนการใช้เครื่องมือ/เครื่องจักร/อุปกรณ์ แบบบันทึกการใช้งานของเครื่องจักร แบบสํารวจสภาพความพร้อมและจํานวนของเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์การฝึก

สารบัญแบบฟอร์มที่ใช้ หน้า ๑ ๒ ๓ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ 1๐ 1๑ 1๒ ๑๓ 1๔ 1๕ 1๖ 1๗ 1๘ ๑๙ 2๐ 2๑

แบบที่ 4.7 ๔.8 4.9 4.10 4.11 ๕.1 ๕.๒ ๕.๓ 5.4 5.5 6.1 6.2 6.3 6.4

เรื่อง แบบบันทึกผลการฝึก (รายวิชา) แบบแสดงผลการฝึก สมุดบันทึกการฝึก ใบแจ้งความจํานงรับผู้รับการฝึกเข้าฝึกในกิจการ บันทึกการตรวจเยี่ยมผู้รับการฝึก แบบตรวจสอบความพร้อมของห้องบรรยาย แบบตรวจสอบความพร้อมของห้องปฏิบัติการ คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกิจกรรม 5ส ประกาศใช้มาตรฐาน 5ส แบบประเมินกิจกรรม 5ส คําสั่งแต่งตั้งคณะทํางานประเมินผลระบบการฝึก แบบสอบถามเกี่ยวกับระบบการฝึกอบรม (สําหรับผู้รับการฝึก) แบบสอบถามเกี่ยวกับระบบการฝึกอบรม (สําหรับสถานประกอบกิจการที่ส่งพนักงานเข้ารับการฝึก) แบบสอบถามเกี่ยวกับระบบการฝึกอบรม (สําหรับสถานประกอบกิจการที่รับการฝากฝึก)

หน้า ๒2 2๓ 2๔ 2๕ 2๖ 2๗ 2๘ ๒๙ 3๐ 3๒ 3๕ 37 39 41

คู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑ …. ๒๒


аЄБ аЄБ аЄБ

аЄБ

аЄБ аЄБ

аЄБ # ! $

аЄЫаЄДаЄЮ. аєТ.аєС

аЄБ : .................................................................. аЄБ!" : .............................................................................................

# % ( / / ! ).................................................... !аЄБ) ..................................................... * # +$ # % , - аЄБ.-(Mr./Mrs./Miss).................................................... !аЄБ) .................................................... / 0 / # # / аЄБ$ ........../...................../................... )............/ * ! ........................ % " % $ 1 %/# % .................................................................................................................................................................. 2 / аЄБ3 ........................................... ...................................... , ......................................... 0 .......................................... !1/ -4 5............................. 6 * 5................................................... 6 ! ........................................ 5............................................ % " %................................................................. 2 / аЄБ3 .................................................................................... .............................................. , ............................................. 0 .................................................. !1/ -4 5........................... 6 * 5.............................................................. 6 ! .............................................................. 5............................................................ аЄБ *7аЄБ- !" !) / 2 *7аЄБ- .3 .6 /аЄБ.*. /аЄБ.*.!" / )/ $++ / #. / . / !. / $++ / $++ 6 / $++ аЄБ ! $# ...................................... !2 *7аЄБ- ................................................... 0 .......................................... / .*. %! :0........................ !2 , ! . "аЄБ ;" !" ) аЄБ # ;" " < !2 $ $0 ;" % = ) .......................................................... аЄБ < />00) 1 ( < 1/? аЄБ ) аЄБ < аЄБ аЄБ @ ;" % !2 , аЄБ , ? аЄБ# 0 / аЄБ A) аЄБ$0! # A) аЄБ$0< ? , ? B B $! аЄБ$0 аЄБ аЄБ ) # / , аЄБ 0 / 1 # % 6 ; % = / # ............................................................................................................. ? 0 / 1 .................................................... !2 % %/# % .................................................................................................................................................................. 2 / аЄБ3 .......................................................... ...................................................... , .............................................................. 0 .......................................................... !1/ -4 5........................ 6 * 5........................................ 6 ! ........................................ аЄБ ) ) ! аЄБ % 5 #$C ! !$% D# % 3 D 5 5 D 5 $ 0 5 ; $ , 4E5 3 $аЄБ!5 1DDF $ аЄБ: $аЄБ!5 $ 5 :аЄБ :аЄБаЄБ /G6 ? % $аЄБ 6 0$! $аЄБ!5 аЄБ ! % = ? аЄБ ? / ! ?50 < аЄБ аЄБ 0 < % ; аЄБ аЄБ 1 аЄБ аЄБ 0 < / * ............................................... аЄБ ) ) ! аЄБ ........................................... аЄБ 0 < / * / * %0 1/ ................................................................................................ аЄБ $ /G ; " ! )?? < аЄБ B аЄБ# % / 6 # 5< аЄБ 0 $ 1/ $ /G ; 1 /G ; !, аЄБ /аЄБ $ $аЄБ ? $аЄБ аЄБ : аЄБ 1 $ аЄБ ? % 1 ) $аЄБ ........................... ); %! ? аЄБ % $% аЄБ- аЄБ 2 ?6 6 / % % аЄБ B ! ? < / * ! ? / * $% $ / 1 % / аЄБ # ! % /H / 6 # 5аЄБ ? ? % аЄБ аЄБ $ ) 6 * 5 ! % !$% $ 5 /F / аЄБ * $ 5 : !2 /*" 5 % ! аЄБ аЄБ !2 *7аЄБ- 0./ . + $ % % аЄБ ) # аЄБ ) ! аЄБ ) ! аЄБ 45 аЄБ ) 5 0 0 ? /H 0 $ )аЄБ/ аЄБ 1 аЄБB / аЄБ аЄБ ! ? ! / 0 / # # ! ! ) $аЄБ *7аЄБ- "/2 1 $C 0 2 "/ % = ................................ 0 % ! ? ............................................................. % ! ? ............../................................/..................

# % ..............................................................;" ! ? %............/.........................../....................


ป ๒.๒ ทะเบียนผู้รับการฝึกและควบคุมวุฒิบัตร หลักสูตร (การฝึกเตรียมเข้าทํางาน / การฝึกยกระดับฝีมือ) สาขาอาชีพ.......................................................................................... วันเริ่มต้นการฝึก.................................................................................. ผู้ควบคุมการฝึก.................................................................................. ตําแหน่ง............................................................................................... ลําดับ

ชื่อ - ชื่อสกุล

1 นางสาวพิมพ์พิชชา ดวงกมล

เลขประจําตัว ประชาชน

อายุ

วุฒิ

x-xxxx-xxxxx-xx-x

20

ม.6 6 หมู่ 4 ต.วังไก่เถื่อน อ.หันคา ชัยนาท 17130

ที่อยู่

อาชีพ

โทรศัพท์

ว่างงาน

08-4811-xxxx

วันสิ้นสุดการฝึก................................................................. ครูฝึก.................................................................................... เลขทะเบียน ลายมือชื่อ ผลการฝึก หน่วยฝึก ฝากฝึก วุฒิบัตร ผู้รับวุฒิบัตร

แบบฟอร์มที่ใช้ในคู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑…๒


ป ๓.๑

ใบสมัครเป็นวิทยากร (ภายนอก) สพภ./ศพจ.................................................................. หลักสูตร ( ) เตรียมเข้าทํางาน ( ) ยกระดับฝีมือ ( ) ทุกหลักสูตร สาขาวิชา.............................................................................................................

รูปถ่าย 1 นิ้ว หรือ 2 นิ้ว

1. ประวัติส่วนตัว ชื่อ (นาย/นาง/นางสาว) ......................................................... สกุล ..................................................................... ชื่อ-สกุลภาษาอังกฤษ.............................................................. เลขที่บัตรประชาชน............................................. เกิดวันที่...................เดือน..................................พ.ศ.................อายุ............ปี สัญชาติ......................... เชื้อชาติ.........................ศาสนา.............................. สถานภาพ โสด สมรส ภูมิลําเนาเดิมเลขที่................ หมู่ที่.......... บ้าน....................................... ถนน/ซอย............................................ ตําบล...................................... อําเภอ..................................................... จังหวัด................................................. ที่อยู่ปัจจุบันเลขที่.................. หมู่ที่.......... บ้าน....................................... ถนน/ซอย............................................ ตําบล...................................... อําเภอ..................................................... จังหวัด................................................. รหัสไปรษณีย์ ..........................โทรศัพท์ที่ติดต่อได้.............................................. Email……………………………….. 2. ประวัติการศึกษา/การฝึกอบรม 2.1 จบการศึกษาชั้นสูงสุดระดับ.............................................. ชื่อสถานศึกษา..................................................... ที่อยู่ของสถานศึกษา.................................................................................. เมื่อปี พ.ศ................................... 2.2 จบการฝึกหลักสูตรเตรียมเข้าทํางานของสถานบันพัฒนาฝีมือแรงงาน/ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด .............................................. สาขาวิชา..................................................... เมื่อปี พ.ศ................................... 2.3 ได้รับวุฒิบัตรมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ชั้น..................สาขา................................................................. จากสถานบันพัฒนาฝีมือแรงงาน/ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด................................................................. 2.4 เคยได้รับการอบรมวิชาชีพเกี่ยวกับ 1) หลักสูตร............................................จากหน่วยงาน................................................เมื่อปี พ.ศ................... 2) หลักสูตร............................................จากหน่วยงาน................................................เมื่อปี พ.ศ................... 3) หลักสูตร............................................จากหน่วยงาน................................................เมื่อปี พ.ศ................... 3. ประวัติการทํางาน 3.1 มีประสบการณ์ในงานการสอน.......... ปี เป็นงานเกี่ยวกับ 1) ............................................................................................................. 2) ............................................................................................................. 3) .............................................................................................................. 3.2 เคยทํางานไม่เกี่ยวกับงานการสอน.......... ปี ลักษณะเป็นงานเกี่ยวกับ 1) ............................................................................................................. 2) ............................................................................................................. 3) ..............................................................................................................


-23.3 ปัจจุบันทํางานอยู่ที่............................................................................................ ทํามา.......... ปี.......... เดือน ที่อยู่เลขที่.................... หมู่ที่................ ซอย/ถนน.............................................. ตําบล................................. อําเภอ ..................................................จังหวัด.................................................... โทร................................... 3.4 ( ) ว่างงาน ( ) กําลังหางานทํา ( ) อื่นๆ โปรดระบุ..................................................................................... 4. ผู้แนะนํา 4.1 ผู้แนะนํามาเป็นวิทยากร ชื่อ.............................................................นามสกุล................................................ ชื่อสถานที่ทํางาน..............................................................................ที่อยู่เลขที่........................ หมู่ที่............. ถนน/ซอย.........................................ตําบล.................................... อําเภอ..................................................... จังหวัด..............................................รหัสไปรษณีย์ .........................โทรศัพท์ที่ติดต่อได้................................. 4.2 ได้ทราบข่าวการรับสมัครวิทยากรจาก โปรดระบุ........................................................................................... 1) ............................................................................................................. 2) ............................................................................................................. 3) .............................................................................................................. 4.3 เหตุผลที่สมัครเป็นวิทยากร โปรดระบุ............................................................................................................ 1) ............................................................................................................. 2) ............................................................................................................. 3) .............................................................................................................. 5. ข้าพเจ้าขอรับรองว่า เมื่อได้รับการแต่งตั้งหรือขึ้นบัญชีให้เป็นวิทยากรดําเนินการสอนหลักสูตรใดๆ ข้าพเจ้า จะปฏิบัติตามคําสั่งข้อบังคับระเบียบวินัยทางราชการ และขอรับรองว่าข้อความดังกล่าวข้างต้นเป็นความจริง ทุกประการ จึงขอยื่นใบสมัคร พร้อมสําเนาหลักฐานดังนี้ ( ) รูปถ่าย ขนาด 1 หรือ 2 นิ้ว จํานวน ........... รูป ( ) สําเนาทะเบียนบ้านหรือบัตรประชาชน ........... ฉบับ ( ) สําเนาวุฒิบัตร/วุฒิการศึกษา ........... ฉบับ ( ) สําเนาใบผ่านประสบการณ์ในการทํางาน (ถ้ามี) ........... ฉบับ ( ) สําเนาวุฒิบัตรมาตรฐานฝีมือแรงงาน ชั้น........ ........... ฉบับ สาขาช่าง......................................................... สาขาช่าง......................................................... ( ) หลักฐานอื่นๆ 1) .................................................................... ………. ฉบับ 2) .................................................................... ………. ฉบับ 3) .................................................................... ………. ฉบับ 4) .................................................................... ………. ฉบับ ลงชื่อ....................................................ผู้สมัคร (...................................................) วันที่................เดือน...............................พ.ศ............


ป ๓.๒

ทะเบียนวิทยากร สพภ. / ศพจ.............................................................................................. ฝ่าย / งาน / สาขาอาชีพ............................................................................... ลําดับที่

ชื่อ-สกุล

ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้สะดวก

เบอร์โทรศัพท์

อายุ (ปี)

วุฒิการศึกษาสูงสุด

สาขาวิชาที่สอน

แบบฟอร์มที่ใช้ในคู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑…๕


ป ๓.๓ แผนการฝึก (ตารางฝึกอบรม) ประเภทหลักสูตร.............................................................. (ระยะเวลา......................ชั่วโมง) สาขาช่าง..................................................................................... สาขาวิชา...............................................................................

รหัสวิชา

หัวข้อวิชา

ผู้สอน

เดือน สัปดาห์ที่ วันที่ ท ป

1

ม.ค.-55 2 3

4

5

ก.พ.-55 6 7

8

9

มี.ค.-55 เม.ย.-55 พ.ค.-55 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม ลงชื่อ...........................................ผู้สอน ตําแหน่ง...................................... ลงชื่อ...........................................ผู้ควบคุม ตําแหน่ง......................................

แบบฟอร์มที่ใช้ในคู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑…๖


ป 3.๔

ใบเตรียมการสอน เรื่อง

หลักสูตร หน่วยการฝึก หัวข้อวิชา งานย่อยที่

วัตถุประสงค์

วิธีการฝึก หัวข้อสําคัญ

อุปกรณ์ช่วยฝึก/สื่อการฝึก

การมอบหมายงาน

การวัดผล หนังสืออ้างอิง

หน้า

เวลา

ชัว่ โมง


ป 3.๕

ใบข้อมูล เรื่อง

หลักสูตร หน่วยการฝึก

หน้า

หัวข้อวิชา งานย่อยที่

เนื้อหา..................................................................................................................................................................... เนื้อหา..................................................................................................................................................................... เนื้อหา..................................................................................................................................................................... เนื้อหา..................................................................................................................................................................... เนื้อหา..................................................................................................................................................................... เนื้อหา..................................................................................................................................................................... เนื้อหา..................................................................................................................................................................... เนื้อหา..................................................................................................................................................................... เนื้อหา..................................................................................................................................................................... เนื้อหา..................................................................................................................................................................... เนื้อหา.....................................................................................................................................................................


ป 3.๖

ใบงาน

หลักสูตร หน่วยการฝึก หัวข้อวิชา

เรื่อง

งานย่อยที่

ชื่อผู้รับการฝึก

หน้า

วัน/เดือน/ปี

งานที่

มาตราส่วน


ป 3.๗ ใบขั้นตอน การปฏิบัติงาน เรื่อง

หลักสูตร หน่วยการฝึก

หน้า

หัวข้อวิชา งานย่อยที่

งานที่

วัตถุประสงค์

เครื่องมือ/วัสดุ/อุปกรณ์

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ข้อควรระวัง


ป 3.๘

ใบทดสอบ

หลักสูตร หน่วยการฝึก

หน้า

หัวข้อวิชา

เรื่อง

งานย่อยที่

เวลา

คําถาม

ชื่อผู้รับการฝึก

วัน/เดือน/ปี

คะแนน


ป ๓.๙

5

6

7

8

9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

ชื่อ - นามสกุล

(.............................................) ครูฝึก

เดือน................................ จ. อ. พ. พฤ. ศ.

จ. อ. พ. พฤ. ศ.

จ. อ. พ. พฤ. ศ.

จ. อ. พ. พฤ. ศ.

x / ส ข ล

x x x x x

x x x x x

x / x ล x

ร้อยละ

4

รวมเวลามาฝึก

3

สาย (ส)

2

ลา (ล)

ลําดับ

1

ขาด ( / )

หลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทํางาน

รวมเวลาฝึก

แบบสํารวจเวลาฝึก สาขา..................................................................... หน่วยฝึก................................................................................................... หมายเหตุ

(.........................................) หัวหน้าฝ่าย.............................. แบบฟอร์มที่ใช้ในคู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑…๑๒


ป ๓.๑๐

แบบบันทึกการให้คําปรึกษา/คําแนะนําผู้เข้ารับการฝึก สพภ./ศพจ................................................................. --------------------------------------ชื่อผู้รับการฝึก........................................................................................................... วันที่........................................................................................................................... เวลา..................................................... ณ โรงฝึกงาน/ห้องพักครู ....................................................................... 1) ปัญหาที่ต้องการคําปรึกษา/คําแนะนํา ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ 2) ผลการให้คําปรึกษา/คําแนะนํา ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ลงชื่อ............................................ผู้ให้คําปรึกษา ( ) ตําแหน่ง................................................ ลงชื่อ............................................ผู้บังคับบัญชา ( ) ตําแหน่ง................................................


ป ๓.๑๑ แบบประเมินกระบวนการถ่ายทอดของครูฝึก หน่วยงาน.................................................................................................................................................................................................... ชื่อผู้รับการประเมิน.................................................................................................................................................................................. สาขาช่าง...................................................................................................................................................................................................... รายละเอียดกระบวนการถ่ายทอด

ดี

การประเมิน พอใช้ ปรับปรุง

๑) การเตรียมและ การนําเข้าสู่ การฝึก

๑.๑) ให้ความรู้สึกเป็นกันเอง ๑.๒) แจ้งขอบเขตงานที่ต้องการสอน ๑.๓) ทําให้เกิดความสนใจในการเรียนรู้ ๑.๔) ให้ผู้รับการฝึกอยู่ในตําแหน่งที่ถูกต้อง เช่น การนั่ง การยืน สถานที่ ๒.๑) การทําให้เห็นเป็นตัวอย่าง ๒.๒) การสอนต้องมีการเน้นย้ําในจุดที่สําคัญ (key point) อยู่เสมอ ซึ่งจุดที่ สําคัญ หมายถึง สิ่งที่หากทํ าไม่ถู กต้องจะทําให้ งานนั้ น ๒) แสดงให้เห็น เสียหาย หรือใช้เวลานานกว่า ๒.๓) การสอนงานในแต่ละจุด ต้องทําให้ชัดเจนสมบูรณ์ โดยต้อง ทําการอธิบายช้าๆ ในประเด็นที่สําคัญ ๒.๔) การแสดงให้เห็นมีการวางแผนเป็นอย่างดี เพราะว่าผู้รับการ ฝึกมีความสามารถในการเรียนรู้จํากัด ต้องมีการพักและตอกย้ํา เป็ นระยะๆ อย่ าสอนเกิ นกว่ าความสามารถในการเรี ยนรู้ ได้ ใน ช่วงเวลานั้นๆ ๓.๑) ก่อนให้ทดลองปฏิบัติทําการทบทวนจุดสําคัญสรุปว่าต้องทํา อะไรบ้างและอย่างไร ๓.๒) ให้ผู้รบั การฝึกทดลองทําเมื่อทําไม่ถูกต้องให้ทาํ การแก้ไข ๓) ทดลองให้ปฏิบัติ ข้อผิดพลาดโดยทันที ๓.๓) ให้ผู้รบั การฝึกอธิบายในแต่ละจุดสําคัญ ๓.๔) แน่ใจว่าผู้รบั การฝึกมีความเข้าใจในจุดที่สาํ คัญ ๓.๕) ให้ผู้รบั การฝึกฝึกอย่างต่อเนือ่ งจนมัน่ ใจว่าสามารถปฏิบัตไิ ด้ ๔) ติดตามผล ๔.๑) การตรวจสอบความเข้าใจของผู้รบั การฝึกบ่อยๆ ๔.๒) เปิดโอกาสให้ผู้รับการฝึกสอบถามในสิง่ ทีไ่ ม่เข้าใจ ๔.๓) การใช้สื่ออุปกรณ์ช่วยฝึกต่าง ๆ ลงชื่อ................................................................ผู้ประเมิน (...............................................................) ตําแหน่ง.......................................................... วันที่...................................................................


ป ๓.๑๒

แบบบันทึกการนิเทศสอนงาน สพภ./ศพจ........................................................ .................................................

ชื่อผู้รับการนิเทศสอนงาน........................................................................................................ วันที่..........................................................................เวลา........................................................ ณ โรงฝึกงาน/ห้องพักครู ......................................................................................................... 1) เรื่องที่นิเทศสอนงาน ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ 2) ผลการนิเทศสอนงาน ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ลงชื่อ............................................ผู้รับการนิเทศสอนงาน ( ) ตําแหน่ง................................................ ลงชื่อ............................................ผู้นิเทศสอนงาน ( ) ตําแหน่ง................................................


ป ๔.๑

แบบบันทึกการใช้งานสื่อและอุปกรณ์การฝึก สพภ./ศพจ. .......................................................................................... ฝ่าย/งาน/สาขาช่าง............................................................................... ชื่อสื่อ/อุปกรณ์การฝึก

บันทึกการใช้งาน

ผู้บันทึก

วันที่

เวลา


ป ๔.๒

แบบสํารวจความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมในโรงฝึกงาน สพภ./ศพจ. ................................................................................................................................... สถานที่........................................................................................................................................... ลําดับ

รายการที่สํารวจ

1 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8

ความปลอดภัย

2 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9 2.10

มี

ไม่มี

หมายเหตุ

มีป้ายคําเตือนเกี่ยวกับความปลอดภัยในสถานฝึกและการทํางาน มีข้อกําหนดเรื่องความปลอดภัยในสถานฝึกและการทํางาน มีการกําหนดช่องทางเดินทีป่ ลอดภัยในสถานฝึก มีอุปกรณ์หรือเครื่องมือป้องกันความปลอดภัยในการทํางาน มีเครื่องหมายสัญลักษณ์ความปลอดภัยในสถานฝึกและการทํางาน เครื่องจักรมีเครื่องป้องกันจากอันตราย เช่น แว่นตา ถุงมือ หมวก การจัดวางถังดับเพลิงที่ถูกต้องเหมาะสม ครูฝึกและผู้รับการฝึกต้องสวมเครื่องป้องกันอันตรายระหว่างการ ปฏิบัติงาน

สิ่งแวดล้อม มีป้ายแสดงชื่อห้องชัดเจน พื้นที่มีการจัดเก็บอุปกรณ์อย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย มีตารางการใช้ห้องเรียนประจําห้อง มีการใช้ห้องตรงตามตาราง มีการกําจัดของเสียเป็นไปตามมาตรฐานอนามัยสิ่งแวดล้อม มีการจัดหาสุขภัณฑ์ให้เพียงพอ มีระบบระบายอากาศ และแสงสว่างเพียงพอ มีถังขยะมูลฝอยโดยมีฝาปิดมิดชิด มีการแยกขยะตามประเภทของขยะ จัดให้มีน้ําดื่มที่สะอาดปลอดภัยและมีปริมาณที่เพียงพอ

ผู้สํารวจ ................................................... (.................................................) ตําแหน่ง.................................................... วันที่..........................................................


ป ๔.๓

O แผนการบํารุงรักษาเครื่องจักร ประจําปีงบประมาณ ................ ฝ่าย/งาน/สาขาช่าง........................................................................ ชื่อเครื่องจักร............................................................................................................. แผนการบํารุงรักษา

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4

ลงชื่อ.................................................. ผู้บันทึก วันที่...................................................

ลงชื่อ.............................................. หัวหน้าฝ่าย/งาน วันที่................................................ แบบฟอร์มที่ใช้ในคู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑...๑๘


ป ๔.๔

O แผนการใช้เครื่องมือ/เครื่องจักร/อุปกรณ์ ประจําปีงบประมาณ ................ ฝ่าย/งาน/สาขาช่าง........................................................................ ชื่อเครื่องมือ/เครื่องจักร/อุปกรณ์.............................................................................................................. แผนการใช้

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4

ลงชื่อ.................................................. ผู้บันทึก วันที่...................................................

ลงชื่อ.............................................. หัวหน้าฝ่าย/งาน วันที่................................................

แบบฟอร์มที่ใช้ในคู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑…๑๙


ป ๔.๕

แบบบันทึกการใช้งานเครื่องจักร สพภ./ศพจ. .......................................................................................... ฝ่าย/งาน/สาขาช่าง............................................................................... ชื่อเครื่องจักร…………………………………………………………………………………………………………………… วันที่

เวลา

บันทึกการใช้งาน

ผู้บันทึก

ผู้ควบคุม


ป ๔.๖

แบบสํารวจสภาพความพร้อมและจํานวนของเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ สพภ./ศพจ. .......................................................................................... ฝ่าย/งาน/สาขาช่าง............................................................................... วันที่

ชื่อเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์

ผลการสํารวจ

ผู้สํารวจ

ผู้ควบคุม


ป ๔.๗

แบบบันทึกผลการฝึก (รายวิชา)

ร้อยละ (%)

รวมคะแนน

หัวข้อ..........

หัวข้อ..........

หัวข้อ..........

หัวข้อ..........

หัวข้อ..........

หัวข้อ..........

ลําดับที่

หัวข้อวิชา

หัวข้อ..........

สาขาช่าง/อาชีพ ............................................................................................... วิชา.......................................................................................................................

ชื่อ-สกุล/คะแนนเต็ม

ป ๔.๗

แบบฟอร์มที่ใช้ในคู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑…๒๒

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20


ป ๔.๘

แบบแสดงผลการฝึก

ผลการฝึก (ผ่าน/ไม่ผ่าน)

ร้อยละ (%)

คะแนน

ร้อยละ (%)

คะแนน

ร้อยละ (%)

หัวข้อวิชา คะแนน

ลําดับที่

หลักสูตร .................................................... รุ่นที่ ................................. สาขา ............................................................................................... ผู้มีสิทธิ์สอบ .............. คน สอบได้ ............ คน สอบตก ............ คน ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ รวมทฤษฎี รวมปฏิบัติ รวม ท./ป.

ชื่อ-สกุล/คะแนนเต็ม 1 2 3 4 5 6 7 8 เกณฑ์การตัดสิน ตรวจถูกต้องแล้ว ภาคทฤษฎี ไม่ตํากว่าร้อยละ ................. ลงชื่อ.................................................. ผู้ลงคะแนน ลงชื่อ......................................... หัวหน้าฝ่าย/งาน ภาคปฏิบัติ ไม่ตํากว่าร้อยละ ................. วันที่................................................... วันที่........................................... ผลสุดท้าย ทฤษฎีและปฏิบัติ ไม่ต่ํากว่าร้อยละ 60 จึงจะถือว่าผ่านการฝึก แบบฟอร์มที่ใช้ในคู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑…๒๓


ป ๔.๙

สมุดบันทึกการฝึก สพภ./ศพจ. ................................................................................................................................... หลักสูตร..................................................................... สาขาช่าง/อาชีพ......................................... วิชา................................................................................................................................................. ชื่อวิทยากร….................................................................................................................................. ชื่อผู้ควบคุม/ผู้รับผิดชอบ…............................................................................................................ วันที่

เวลา

ชั่วโมงการฝึก ทฤษฎี ปฏิบัติ

หัวข้อวิชา

วิทยากรลงนาม

รวมชั่วโมงการฝึก ลงชื่อ..............................................หัวหน้าฝ่าย/งาน วันที่................................................


ป ๔.๑๐

ใบแจ้งความจํานงรับผู้รับการฝึกเข้าฝึกในกิจการ หน่วยงาน.......................................................................... ชื่อสถานประกอบการ....................................................................................................................................... สถานที่ใกล้เคียง............................................................................................................................................... ประเภทกิจการ................................................................................................................................................. สถานที่ตั้งเลขที่..................หมู่ที่................ถนน..................................ตําบล/แขวง......................................... อําเภอ/เขต................................................จังหวัด............................................รหัสไปรษณีย์.......................... โทรศัพท์............................................................................โทรสาร................................................................... มีความประสงค์จะรับผู้รับการฝึกหลักสูตรเตรียมเข้าทํางานเข้าฝึกในสถานประกอบการ ดังนี้ ที่ สาขาช่าง จํานวน (คน) ระยะเวลาฝึกในกิจการ

โดยสถานประกอบการจะให้ความช่วยเหลือด้านสวัสดิการ ดังนี้ จัดอาหารเลี้ยง....................มื้อ (เช้า/กลางวัน/เย็น) ให้ค่าตอบแทน.....................บาท (ต่อวัน/ต่อเดือน)

ที่พัก อื่น ๆ...........................................

ลงชื่อ................................................................ผู้แจ้งความจํานง (.................................................................) ตําแหน่ง................................................................ วันที่...................เดือน.............................พ.ศ....................

กรุณาส่งคืน สพภ./ศพจ........................................................ ภายในวันที่.............................................. ที่อยู่.......................................................................................................................................... โทรศัพท์ 0 XXXX XXXX - XX ต่อ XXX – XXX โทรสาร 0 XXXX XXXX สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมกรุณาติดต่อ ............(ผู้รับผิดชอบงาน)................ 08 XXXX XXXX


ป ๔.๑๑ บันทึกการตรวจเยี่ยมผู้รับการฝึก สถานที่..................................................................................................... วัน / เดือน / ปี

บันทึกการตรวจเยี่ยม

ลายมือชื่อผู้ตรวจเยี่ยม


ป ๕.๑ แบบตรวจสอบความพร้อมของห้องบรรยาย (ภาคทฤษฎี) สพภ./ศพจ................................................................. อาคาร/สถานที่..................................................................................................................... กลุ่มอาชีพ............................................. สาขา................................................. ลําดับ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘.

รายการ มีพื้นที่ใช้งานเหมาะสมกับจํานวนผู้รับการฝึก มีโต๊ะและเก้าอี้ให้แก่วิทยากร มีโต๊ะและเก้าอี้เพียงพอให้แก่ผู้รับการฝึก มีระบบแสงสว่างที่เหมาะสม มีระบบระบายอากาศที่ดี มีโสตทัศนูปกรณ์ที่จําเป็นต่อการฝึกอบรมเพียงพอ มี ก ระดานดํา หรื อ กระดานไวท์ บ อร์ ด มี ชุ ด เครื่องเขียนวิทยากร

มี

ไม่มี


ป ๕.๒ แบบตรวจสอบความพร้อมของห้องปฏิบัติการ (โรงฝึกงาน) สพภ./ศพจ................................................................. อาคาร/สถานที่..................................................................................................................... กลุ่มอาชีพ............................................. สาขา................................................. ลําดับ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙.

รายการ มีพื้นที่ใช้งานเหมาะสมกับจํานวนผู้รับการฝึก มีระบบแสงสว่างที่เหมาะสม มีระบบระบายอากาศที่ดี มีโสตทัศนูปกรณ์ที่จําเป็นต่อการฝึกอบรมเพียงพอ มี ก ระดานดํา หรื อ กระดานไวท์ บ อร์ ด มี ชุ ด เครื่องเขียนวิทยากร มีการจัดผังเครื่องจักรโรงฝึกงานให้ได้ตามมาตรฐานของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มีการจัดทําเส้นแบ่งเขตพื้นที่ติดตั้งเครื่องจักร มีการจัดทําเส้นแบ่งเขตพื้นที่ทางเดิน

มี

ไม่มี


ป ๕.3

คําสั่งสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค/ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด ที่ /๒๕๕๕ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการกิจกรรม ๕ส ด้วยกรมพัฒนาฝีมือแรงงานมีนโยบายให้ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน จังหวัด และศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานกรุงเทพมหานคร เข้าสู่ระบบการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ซึ่งมี กิจกรรม ๕ส เป็นส่วนหนึ่งในการดําเนินการภายใต้ข้อกําหนด ๕.๓ อาคารและสภาพแวดล้อมสะอาดมีพื้นที่สีเขียว เพื่ อ ให้ ก ารประกั น คุ ณ ภาพการพั ฒ นาฝี มื อ แรงงานดํ า เนิ น งานอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ บรรลุ วัตถุประสงค์ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค/ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด จึงมีคําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ กิจกรรม ๕ส ดังนี้ ๑. ผู้อํานวยการ สพภ./ศพจ. ประธานคณะกรรมการ ๒. หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน คณะกรรมการ และศักยภาพแรงงาน ๓. หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนาฝีมือและศักยภาพแรงงาน คณะกรรมการ ๔. หัวหน้าฝ่ายช่าง คณะกรรมการ ๕. หัวหน้าฝ่ายช่าง คณะกรรมการ ๖. หัวหน้าฝ่ายช่าง คณะกรรมการ ๗. หัวหน้าฝ่ายช่าง คณะกรรมการ ๘. หัวหน้างานงานบริหารทั่วไป คณะกรรมการ และเลขานุการ ๙. ............................................. คณะกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ ให้คณะกรรมการมีอํานาจหน้าที่ ดังนี้ ๑. วิเคราะห์การดําเนินงาน ๒. กําหนดกลยุทธ์ ๓. กําหนดการมอบหมายงาน ๔. แต่งตั้งคณะทํางาน ๓. ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ .................................... พ.ศ. ๒๕๕๕


ป ๕.๔

ประกาศ สพภ./ศพจ........................................................ เรื่อง ประกาศใช้มาตรฐาน ๕ส ด้านอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม -----------------------------------ตามที่ สพภ./ศพจ.......................................................... ได้ดําเนินการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ การพัฒนาฝีมือแรงงาน โดยกําหนดให้มีการดําเนินกิจกรรม ๕ส เป็นส่วนหนึ่งของระบบประกันคุณภาพการพัฒนา ฝี มื อ แรงงาน จึ ง ขอประกาศใช้ ม าตรฐาน ๕ส ด้ า นอาคารสถานที่ แ ละสภาพแวดล้ อ ม ของสพภ./ศพจ ....................................................... จํานวน ๙ มาตรฐาน ๓๐ ข้อ ดังต่อไปนี้ ๑) มาตรฐานพื้นที่รอบอาคาร จํานวน ๓ ข้อ ได้แก่ ๑.๑ พื้นที่รอบอาคารต้องสะอาด มีการทําความสะอาดเป็นประจําทุกสัปดาห์ ๑.๒ สนามหญ้าต้องตัดแต่งอยู่เสมอ ความสูงของหญ้าไม่เกิน ๐.๕ – ๓ นิ้ว ตามชนิดของหญ้า ๑.๓ การจัดตกแต่งสวนหย่อมต้องทําเป็นประจําทุกสัปดาห์ โดยต้นไม้ยืนต้นต้องตัดแต่งกิ่งไม้ ใบไม้ให้เป็น ระเบียบ และไม่กองใบไม้ไปทั่วโดยให้กองไว้ในจุดที่กําหนด ๒) มาตรฐานทางเดินภายในอาคาร จํานวน ๓ ข้อ ได้แก่ ๒.๑ ต้องมีป้ายบอกทิศทางการเดิน ป้ายเตือน และป้ายแนะนําต่างๆ ๒.๒ จะต้องตีเส้นสีเหลืองแสดงทางเดินในอาคาร (เฉพาะในโรงฝึกงาน) ๒.๓ ไม่วางสิ่งของอุปกรณ์ต่างๆ บนทางเดินซึ่งอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้ ๓) มาตรฐานบอร์ดติดประกาศภายในอาคาร จํานวน ๓ ข้อ ได้แก่ ๓.๑ บอร์ดต้องสะอาดอยู่เสมอ และมีชื่อผู้รับผิดชอบและชื่อหน่วยงานกํากับไว้ที่บอร์ด ๓.๒ ให้ระบุประเภทของบอร์ดที่ติดประกาศ ๓.๓ ติดประกาศให้เป็นระเบียบง่ายต่อการอ่าน กรณีเอกสารหมดเวลาดําเนินการให้เก็บเอกสารออกภายใน ๑ สัปดาห์ ๔) มาตรฐานเครื่องทําน้ําเย็นภายในอาคาร จํานวน ๓ ข้อ ได้แก่ ๔.๑ เครื่องทําน้ําเย็นต้องสะอาดอยู่เสมอ ไม่มีน้ําไหลเลอะพื้น ไม่มีฝุ่นเกาะบริเวณถังน้ําและเครื่องทําน้ําเย็น ๔.๒ ถังใส่น้ําต้องสะอาด ไม่มีตะไคร่น้ําเกาะ และต้องมีถังน้ําสํารองอย่างน้อยจุดละ ๑ ถัง ๔.๓ มีแก้วน้ําประจําเครื่องที่สะอาด และล้างทําความสะอาดทุกวัน ๕) มาตรฐานพื้นโรงฝึกงาน จํานวน ๒ ข้อ ได้แก่ ๕.๑ พื้นโรงงานต้องสะอาดอยู่เสมอ หลังจากการฝึกต้องมีการทําความสะอาดดูแลรักษาทุกครั้ง ๕.๒ มีป้ายแบ่งพื้นที่และชื่อผู้รับผิดชอบพื้นที่ ๖) มาตรฐานระบบไฟฟ้าและแสงสว่าง จํานวน ๓ ข้อ ได้แก่ ๖.๑ แสดงแผงควบคุมแสงสว่างที่ชัดเจนไม่ชํารุด ๖.๒ มีแสงสว่างเพียงพอและเปิดติดได้ทุกดวง ๖.๓ ระบบปลั๊กไฟฟ้ามีเพียงพอ ไม่ชํารุด ปลอดภัยต่อการใช้งาน


ป ๕.๔ -๒๗) มาตรฐานเครื่องจักร จํานวน ๕ ข้อ ได้แก่ ๗.๑ เครื่องจักรต้องมีความสะอาดอยู่เสมอ หลังการใช้งานต้องมีการทําความสะอาดดูแลรักษาทุกครั้ง ๗.๒ มีป้ายบอกเครื่องจักรเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ๗.๓ มีป้ายเตือนและข้อแนะนําในการใช้งานเครื่องจักรติดกํากับให้มองเห็นอย่างชัดเจน ๗.๔ มีป้ายบอกชื่อผู้รับผิดชอบเครื่องจักร ๗.๕ มีบันทึกการปฏิบัติงานประจําเครื่องจักรและบันทึกการบํารุงรักษา ๘) มาตรฐานห้องแต่งตัวผู้รับการฝึก จํานวน ๓ ข้อ ได้แก่ ๘.๑ ห้องแต่งตัวผู้รับการฝึกต้องมีความสะอาดอยู่เสมอ มีการทําความสะอาดดูแลรักษาทุกวัน ๘.๒ พื้นห้องแต่งตัวผู้รับการฝึกไม่มีคราบสกปรก ไม่ลื่น ไม่ก่อให้เกิดอันตรายหรืออุบัติเหตุ ๘.๓ ควรจัดให้มีแสงสว่างและระบบระบายอากาศในห้องอย่างเหมาะสม ๙) มาตรฐานห้องน้ําโรงฝึกงาน จํานวน ๕ ข้อ ได้แก่ ๙.๑ ห้องน้ําต้องสะอาดอยู่เสมอ มีการทําความสะอาดทุกวัน ๙.๒ พื้นห้องน้ําไม่มีคราบสกปรก ไม่ลื่น ไม่ก่อให้เกิดอันตรายหรืออุบัติเหตุ ๙.๓ ไม่มีกลิ่นรบกวน และมีถังขยะฝาปิดให้เรียบร้อย ๙.๔ มีสบู่เหลวสําหรับล้างมือและมีถังน้ําสํารองพร้อมขันตักน้ํา ๙.๕ อุปกรณ์ต่างๆ เช่น ประตู ไฟฟ้า เพดาน อ่างน้ํา ก็อกน้ํา ซักโครก กลอน/ลูกบิด ต้องใช้งานได้ดีไม่ชํารุด ประกาศ ณ วันที่ .......................................... ลงชื่อ.............................................................. ตําแหน่ง.........................................................


ป ๕.๕

หัวข้อมาตรฐาน

คะแนนเต็ม โรงฝึกงานช่างกล โรงฝึกงานช่างเชื่อม โรงฝึกงานช่างไฟฟ้า โรงฝึกงานช่างยนต์ โรงฝึกงานช่างก่อสร้าง โรงฝึกงานช่าง........ โรงฝึกงานช่าง........

แบบประเมินกิจกรรม 5ส ด้านอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม หน่วยงาน สพภ./ศพจ....................................................................

คุณลักษณะที่ประเมิน

1. มาตรฐานพื้นที่รอบอาคาร

1.1 พื้นที่รอบอาคารต้องสะอาด มีการทําความสะอาดเป็นประจําทุกสัปดาห์ 1.2 สนามหญ้าต้องตัดแต่งอยู่เสมอ ความสูงของหญ้าไม่เกิน 0.5 – 3 นิ้ว ตามชนิดของหญ้า 1.3 การจัดตกแต่งสวนหย่อมต้องทําเป็นประจําทุกสัปดาห์ โดยต้นไม้ยืนต้นต้องตัดแต่งกิ่งไม้ ใบไม้ให้เป็นระเบียบ และไม่กองใบใบไม้โดยทั่งไปโดยกองในจุดที่กําหนด 2. มาตรฐานทางเดินภายใน 2.1 ต้องมีป้ายบอกทิศทางการเดิน ป้ายเตือน และป้ายแนะนําต่างๆ อาคาร 2.2 จะต้องตีเส้นสีเหลืองแสดงทางเดินในอาคาร (เฉพาะในโรงฝึกงาน) 2.3 ไม่วางสิ่งของอุปกรณ์ต่างๆ บนทางเดินซึ่งอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้ 3. มาตรฐานบอร์ดติดประกาศ 3.1 บอร์ดต้องสะอาดอยู่เสมอ และมีชื่อผู้รับผิดชอบและชื่อหน่วยงานกํากับไว้ที่บอร์ด ภายในอาคาร 3.2 ให้ระบุประเภทของบอร์ดที่ติดประกาศ

4. มาตรฐานเครื่องทําน้ําเย็น ภายในอาคาร

3.3 ติดประกาศให้เป็นระเบียบง่ายต่อการอ่าน กรณีเอกสารหมดเวลาดําเนินการให้เก็บเอกสารออก ภายใน ๑ สัปดาห์ 4.1 เครื่องทําน้ําเย็นต้องสะอาดอยู่เสมอไม่มีน้ําไหลเลอะพื้น ไม่มีฝุ่นเกาะถังน้ําและเครื่องทําน้ําเย็น 4.2 ถังใส่น้ําต้องสะอาด ไม่มีตะไคร่น้ําเกาะ และต้องมีถังน้ําสํารองอย่างน้อยจุดละ ๑ ถัง 4.3 มีแก้วน้ําประจําเครื่องที่สะอาด และล้างทําความสะอาดทุกวัน

3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3

แบบฟอร์มที่ใช้ในคู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑…๓๒


ป ๕.๕

หัวข้อมาตรฐาน

5. มาตรฐานพื้นโรงฝึกงาน 6. มาตรฐานระบบไฟฟ้าและ แสงสว่าง 7. มาตรฐานเครื่องจักร

8. มาตรฐานห้องแต่งตัว ผู้รับการฝึก

คะแนนเต็ม โรงฝึกงานช่างกล โรงฝึกงานช่างเชื่อม โรงฝึกงานช่างไฟฟ้า โรงฝึกงานช่างยนต์ โรงฝึกงานช่างก่อสร้าง โรงฝึกงานช่าง........ โรงฝึกงานช่าง........

แบบประเมินกิจกรรม 5ส ด้านอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม หน่วยงาน สพภ./ศพจ....................................................................

คุณลักษณะที่ประเมิน

5.1 พื้นโรงงานต้องสะอาดอยู่เสมอ หลังจากการฝึกต้องมีการทําความสะอาดดูแลรักษาทุกครั้ง 5.2 มีป้ายแบ่งพื้นที่และชื่อผู้รับผิดชอบพื้นที่ 6.1 แสดงแผงควบคุมแสงสว่างที่ชัดเจนไม่ชํารุด 6.2 มีแสงสว่างเพียงพอและเปิดติดได้ทุกดวง 6.3 ระบบปลั๊กไฟฟ้ามีเพียงพอ ไม่ชํารุด ปลอดภัยต่อการใช้งาน 7.1 เครื่องจักรต้องมีความสะอาดอยู่เสมอ หลังการใช้งานต้องมีการทําความสะอาดดูแลรักษาทุกครั้ง 7.2 มีป้ายบอกเครื่องจักรเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7.3 มีป้ายเตือนและข้อแนะนําในการใช้งานเครื่องจักรติดกํากับให้มองเห็นอย่างชัดเจน 7.4 มีป้ายบอกชื่อผู้รับผิดชอบเครื่องจักร 7.5 มีบันทึกการปฏิบัติงานประจําเครื่องจักรและบันทึกการบํารุงรักษา 8.1 ห้องแต่งตัวผู้รับการฝึกต้องมีความสะอาดอยู่เสมอ มีการทําความสะอาดดูแลรักษาทุกวัน 8.2 พื้นห้องแต่งตัวผู้รับการฝึกไม่มีคราบสกปรก ไม่ลื่น ไม่ก่อให้เกิดอันตรายหรืออุบัติเหตุ 8.3 ควรจัดให้มีแสงสว่างและระบบระบายอากาศในห้องอย่างเหมาะสม

3 3 3 3 3 5 5 5 5 5 3 3 3

แบบฟอร์มที่ใช้ในคู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑…๓๓


ป ๕.๕

หัวข้อมาตรฐาน

คะแนนเต็ม โรงฝึกงานช่างกล โรงฝึกงานช่างเชื่อม โรงฝึกงานช่างไฟฟ้า โรงฝึกงานช่างยนต์ โรงฝึกงานช่างก่อสร้าง โรงฝึกงานช่าง........ โรงฝึกงานช่าง........

แบบประเมินกิจกรรม 5ส ด้านอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม หน่วยงาน สพภ./ศพจ....................................................................

คุณลักษณะที่ประเมิน

9. มาตรฐานห้องน้ําโรงฝึกงาน 9.1 ห้องน้ําต้องสะอาดอยู่เสมอ มีการทําความสะอาดทุกวัน 9.2 พื้นห้องน้ําไม่มีคราบสกปรก ไม่ลื่น ไม่ก่อให้เกิดอันตรายหรืออุบัติเหตุ 9.3 ไม่มีกลิ่นรบกวน และมีถังขยะฝาปิดให้เรียบร้อย 9.4 มีสบู่เหลวสําหรับล้างมือและมีถังน้ําสํารองพร้อมขันตักน้ํา 9.5 อุปกรณ์ต่างๆ เช่น ประตู ไฟฟ้า เพดาน อ่างน้ํา ก็อกน้ํา ซักโครก กลอน/ลูกบิดต้องใช้งานได้ดีไม่ชํารุด รวม

3 3 3 3 3 100

ผลการประเมิน O ผ่าน

O ไม่ผ่าน

ลงชื่อ................................................................ ผู้ประเมิน ตําแหน่ง........................................................... วันที่..................................................................

แบบฟอร์มที่ใช้ในคู่มือการดําเนินงานการประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ระยะที่ ๑…๓๔


ป 6.1 คําสั่งสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค...... ที่.........../2555 เรื่อง แต่งตั้งคณะทํางานประเมินผลระบบการฝึก -----------------------------------------ด้วยสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค................................................ จะดําเนินการประเมินระบบการฝึก โดยเป็นการดําเนินงานภายใต้การประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ตามมาตรฐานที่ ๖ การประเมินผลการ ระบบการฝึก ข้อที่ ๖.๑.๑ กําหนดให้แต่งตั้งคณะทํางานประเมินผลระบบการฝึก เพื่อให้การดําเนินงานประเมินผลระบบการฝึก ดําเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุวัตถุประสงค์อาศัย อํานาจตามความในมาตรฐาน ๓๓ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ จึงมีคําสั่งแต่งตั้ง คณะทํางานประเมินผลระบบการฝึก ดังนี้ 1. ผู้อํานวยการสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค............ ที่ปรึกษา 2. หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนาฝีมือและศักยภาพแรงงาน ประธานคณะทํางาน 3. หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมพัฒนาฝีมือและศักยภาพแรงงาน คณะทํางาน 4. หัวหน้าส่งเสริมมาตรฐานฝีมือแรงงาน คณะทํางาน 5. หัวหน้าฝ่ายในกลุ่มงานพัฒนาฝีมือและศักยภาพแรงงานทุกฝ่าย คณะทํางาน 6. หัวหน้าฝ่ายในกลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาฝีมือและ คณะทํางาน ศักยภาพแรงงานทุกฝ่าย 7. หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป คณะทํางาน 8. หัวหน้าฝ่ายแผนงานและประเมินผล คณะทํางานและเลขานุการ (หรือชื่ออื่นที่ทําหน้าที่ด้านแผนงาน) 9. จะแต่งตั้งเจ้าหน้าที่อื่นเป็นคณะทํางานและผู้ช่วยเลขานุการหรือไม่ก็ได้ ให้คณะทํางานที่ได้รับแต่งตั้งมีอํานาจหน้าที่ ดังนี้ 1. วางแผนการดําเนินงานประเมินผลระบบการฝึก 2. ดําเนินการให้มีการจัดเก็บข้อมูลจากกลุ่มเป้าหมายที่กําหนด 3. วิเคราะห์ผลการประเมินระบบการฝึก สรุปผลการประเมินและจัดทํารายงานการประเมินระบบการฝึก 4. นําเสนอรายงานผลการประเมินระบบการฝึกต่อผู้อํานวยการสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่..............................เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่....................................... ลงชื่อ…………………………………. (..........................................) ผู้อํานวยการสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค.............. หมายเหตุ กรณีสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานนานาชาติเชียงแสนและกลุ่มงานอุตสาหกรรมบริการให้แต่งตั้ง คณะทํางานตามความเหมาะสมกับตําแหน่งที่มี


ป 6.1 คําสั่งศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด...... ที่.........../2555 เรื่อง แต่งตั้งคณะทํางานประเมินผลระบบการฝึก -----------------------------------------ด้วยสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค................................................ จะดําเนินการประเมินระบบการฝึก โดยเป็นการดําเนินงานภายใต้การประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ตามมาตรฐานที่ ๖ การประเมินผลการ ระบบการฝึก ข้อที่ ๖.๑.๑ กําหนดให้แต่งตั้งคณะทํางานประเมินผลระบบการฝึก เพื่อให้การดําเนินงานประเมินผลระบบการฝึก ดําเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุวัตถุประสงค์อาศัย อํานาจตามความในมาตรฐาน ๓๓ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ จึงมีคําสั่งแต่งตั้ง คณะทํางานประเมินผลระบบการฝึก ดังนี้ 1. ผู้อํานวยการศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด...... ที่ปรึกษา 2. หัวหน้าฝ่ายพัฒนาศักยภาพแรงงาน ประธานคณะทํางาน 3. หัวหน้าฝ่ายส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน คณะทํางาน 4. หัวหน้าฝ่ายส่งเสริมมาตรฐานฝีมือแรงงาน (ถ้ามี) คณะทํางาน 5. หัวหน้าฝ่ายในสายงานการฝึก คณะทํางาน ๖. หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป คณะทํางาน ๗. หัวหน้าฝ่ายแผนงาน (หรือชื่ออื่นที่ทําหน้าที่ด้านแผนงาน) คณะทํางานและเลขานุการ ๘. จะแต่งตั้งเจ้าหน้าที่อื่นเป็นคณะทํางานและผู้ช่วยเลขานุการหรือไม่ก็ได้ ให้คณะทํางานที่ได้รับแต่งตั้งมีอํานาจหน้าที่ ดังนี้ 1. วางแผนการดําเนินงานประเมินผลระบบการฝึก 2. ดําเนินการให้มีการจัดเก็บข้อมูลจากกลุ่มเป้าหมายที่กําหนด 3. วิเคราะห์ผลการประเมินระบบการฝึก สรุปผลการประเมินและจัดทํารายงานการประเมินระบบการฝึก 4. นําเสนอรายงานผลการประเมินระบบการฝึกต่อผู้อํานวยการสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่..............................เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่....................................... ลงชื่อ…………………………………. (..........................................) ผู้อํานวยศูนย์สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด..............


แบบสอบถามเกี่ยวกับระบบการจัดฝึกอบรม ของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค/ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงงานจังหวัด (สําหรับผู้รับการฝึก) ----------------------คําชี้แจง แบบสอบถามฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลเกี่ยวกับระบบการจัดฝึกอบรม ภายในสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค และศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด เพื่อนํามาวิเคราะห์ผลและใช้เป็นข้อมูลเพื่อปรับปรุงระบบการฝึกและวางแผนดําเนินงานพัฒนา ฝีมือแรงงานให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการฝึกอบรมและความจําเป็นในการฝึกอย่างแท้จริง ส่วนที่1 1. ชื่อหลักสูตรที่สําเร็จการฝึกอบรม.............................................................................ประเภทการฝึก เตรียมเข้าทํางาน ยกระดับฝีมือ 2.ระยะเวลาที่ท่านเข้ารับการฝึกอบรม .....................................ชั่วโมง ตั้งแต่........................................ถึง................................................... 3.สถานภาพก่อนเข้ารับการฝึกอบรม ว่างงาน มีงานทํา 4.สถานภาพภายหลังจบฝึกอบรม ยังคงว่างงาน ได้งานทําแล้ว ส่วนที่ 2 ขอให้ผู้ตอบแบบสอบถามตอบตามความเป็นจริงและตามความคิดเห็นของท่าน โดยกาเครื่องหมาย ในช่องระดับคะแนนความ คิดเห็น ดังนี้ ระดับคะแนนความคิดเห็น 1 = น้อยที่สุด 2 = น้อย 3 = ปานกลาง 4 = มาก 5 = มากที่สุด ข้อ ประเด็นที่ต้องการประเมิน

คะแนน ความคิดเห็น 5 4 3 2 1

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

มีแรงจูงใจในการเข้ารับการฝึกอบรม ณ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค/ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด การฝึกอบรมมีความสําคัญต่อการประกอบอาชีพทุกสาขาอาชีพ หลักสูตรที่ท่านเข้ารับการฝึกอบรมตอบสนองความจําเป็นในการประกอบอาชีพของท่าน การสมัครเข้ารับการฝึกอาชีพมีความสะดวกสบายและรวดเร็ว เจ้าหน้าที่ได้แนะแนวการฝึกและแนะแนวอาชีพจนท่านมีความเข้าใจ มีประเภทและจํานวนหลักสูตรการฝึกอบรมให้เลือกเข้ารับการฝึกเพียงพอและตรงตามความต้องการฝึก หลักสูตรที่ตัดสินใจเข้ารับรับการฝึกตรงกับความต้องการฝึก เนื้อหาสาระภายในหลักสูตรมีความทันสมัย ทันต่อเทคโนโลยี หัวข้อวิชาและเนื้อหาวิชาในหลักสูตรมีความเหมาะสมกับการฝึกอบรม ระยะเวลาฝึกตลอดหลักสูตรมีความสอดคล้องกับระดับทักษะฝีมือที่ต้องการ สื่อ เอกสาร ประกอบการฝึกในหลักสูตรที่ท่านเข้ารับการฝีกมีความเหมาะสมกับการฝึก กิจกรรมระหว่างฝึกอบรมมีความเหมาะสมกับเนื้อหา


ป ๖.๒ [2]

ข้อ

ประเด็นที่ต้องการประเมิน

คะแนน ความคิดเห็น 5 4 3 2 1

13 เกณฑ์วัดผลการฝึกภาคทฤษฎีและประเมินผลการฝึกภาคปฏิบัติมีมาตรฐานชัดเจน 14 วัสดุ เครือ่ งมือ อุปกรณ์ มีความเหมาะสมต่อการจัดการฝึกอบรม 15 จํานวน เครื่องจักร (ครุภัณฑ์) การฝึก เพียงพอต่อการฝึกภาคปฏิบัติ 16 สถานที่ฝึกอบรมมีความสะดวกสบายและเหมาะสมต่อการฝึกอบรม 17 กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฏีและการฝึกภาคปฏิบัติมีความน่าสนใจ 18 ครูฝึกมีความรู้ความสามารถในเนื้อหาสาระในหลักสูตร 19 ครูฝึกมีความสามารถในการชี้แนะ ให้คําปรึกษาหารือเกี่ยวกับเนื้อหาในหลักสูตร 20 เจ้าหน้าที่/ครูฝึกได้แนะนํา ชี้แจงเกี่ยวกับระเบียบการฝึก 21 ท่านมีความเข้าใจในระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานว่าด้วยการฝึกอบรม 22 ในระหว่างเข้ารับการฝึกอบรมท่านสามารถปฎิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับซึ่งผู้รับการฝึกต้องปฎิบัติ 23 ระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานมีความทันสมัยเหมาะกับสถานการณ์ปัจจุบัน 24 ท่านมีความรู้สึกพึงพอใจต่อการจัดการฝึกอบรมของ สพภ./ศพจ. 25 ท่านมีความรู้สึกพึงพอใจต่อผลการฝึกอบรมภาคทฤษฎีและการฝึกภาคปฏิบัติ ข้อ 26 –30 สําหรับผู้รับการฝึกหลักสูตรฝึกเตรียมเข้าทํางานที่เข้ารับการฝากฝึกในสถานประกอบกิจการ 26 ท่านได้รับความรู้และประสบการณ์จริงจากการเข้ารับการฝึกในสถานประกอบกิจการ 27 ท่านได้เข้าฝึกในแผนกตรงกับหลักสูตรที่ฝึกอบรมในสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน/ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน 28 เครื่องมือเครื่องจักรในสถานประกอบกิจการมีความทันสมัย 29 ระยะเวลาฝึกในสถานประกอบกิจการมีความเหมาะสม 30 เมื่อจบฝึกจากสถานประกอบกิจการแล้วมีแนวโน้มหางานทําได้ง่าย

ปัญหาอุปสรรคในระหว่างการเข้ารับการฝึกอบรม........................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................. ข้อแนะนําเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบการจัดการฝึกอบรม........................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................


ป ๖.๓ แบบสอบถามเกี่ยวกับระบบการจัดฝึกอบรมของ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค/ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงงานจังหวัด (สําหรับสถานประกอบกิจการที่ส่งพนักงานเข้ารับการฝึก) ----------------------------------------------------------------คําชี้แจง แบบสอบถามฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลเกี่ยวกับระบบการจัดฝึกอบรม ภายในสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค และศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด เพื่อนํามาวิเคราะห์ผลและใช้เป็นข้อมูลเพื่อปรับปรุงระบบการฝึกและวางแผนดําเนินงานพัฒนา ฝีมือแรงงานให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการฝึกอบรมและความจําเป็นในการฝึกอย่างแท้จริง ส่วนที่1 1. ชื่อสถานประกอบกิจการ ........................................................................................................................................................ ขนาด ใหญ่ (พนักงานจํานวน 201 คนขึ้นไป) กลาง (พนักงานจํานวน 51- 200 คน) ย่อม (พนักงานจํานวน 1- 50 คน) ประเภท อุตสาหกรรม สาขา........................................... บริการ ด้าน........................................................................... 2. ประเภทการฝึกที่ส่งพนักงานเข้าอบรม ฝึกยกระดับฝีมือ ฝึกเตรียมเข้าทํางาน ฝึกอาชีพเสริม โดยส่งพนักงานเข้าฝึกอบรมใน สพภ./ศพจ................................................................................................................................... 3. ส่งพนักงานเข้ารับการฝึกอบรมในหลักสูตร...............................................ตั้งแต่วันที่...................................ถึง............................ 4. สถานประกอบกิจการของท่านตั้งอยูใ่ นจังหวัด ...........................................ที่ตั้ง ณ....................................................................... .......................................................................................................................................................................................................... 5.ปัจจุบันสถานประกอบกิจการของท่าน ยังคงใช้บริการฝึกอบรมของ สพภ./ศพจ. ยุติการใช้บริการฝึกอบรมของ สพภ./ศพจ. เนื่องจาก ไม่มีหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการฝึกอบรม สพภ./ศพจ. ไม่สามารถจัดหลักสูตรที่ต้องการฝึกอบรมให้ได้ จํานวนเครื่องมือเครื่องจักรไม่เพียงพอต่อการจัดฝึกอบรม ไม่มีครูฝึกสาขาอาชีพ/วิชาที่ต้องการฝึก ใช้บริการของ สพภ./ศพจ.อื่น คือ................................................................เนื่องจากมีความพร้อมมากกว่า อื่นๆ โปรดระบุ..............................................................................................................................................................


ป ๖.๓ [2]

ส่วนที่ 2 ขอให้ผู้ตอบแบบสอบถามตอบตามความเป็นจริงและตามความคิดเห็นของท่าน โดยกาเครื่องหมาย ในช่องระดับคะแนนความ คิดเห็น ดังนี้ ระดับคะแนนความคิดเห็น 1 = น้อยที่สุด 2 = น้อย 3 = ปานกลาง 4 = มาก 5 = มากที่สุด ข้อ

ประเด็นที่ต้องการประเมิน

คะแนน ความคิดเห็น 5 4 3 2 1

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

15 16

สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค/ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดมีการประชาสัมพันธ์หน่วยงาน ภารกิจ และ สิทธิประโยชน์ต่างๆ ที่สถานประกอบกิจการจะได้รับให้เป็นที่ทราบโดยทั่วกัน สพภ./ศพจ. ที่ท่านประสานงานและส่งพนักงานเข้ารับการฝึกอบรมมีภาพลักษณ์ที่ดี เป็นที่ยอมรับ แรงจูงใจในการส่ง พนักงานของท่านเข้ารับการเข้ารับการฝึก อบรม ณ สถาบันพัฒนาฝีมือ แรงงานภาค/ ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด การฝึกอบรมมีความสําคัญต่อการปฏิบัติงานทุกสาขาอาชีพ การติดต่อประสานงานกับ สพภ./ศพจ. มีความสะดวก รวดเร็ว เจ้าหน้าที่ผู้ประสานงานของ สพภ./ศพจ. มีความรู้ สามารถให้คําแนะนํา เป็นที่ปรึกษาในการจัดฝึกอบรม ให้กับพนักงานของท่าน มีประเภทและจํานวนหลักสูตรการฝึกอบรมให้เลือกเข้ารับการฝึกเพียงพอและตรงตามความต้องการพัฒนา พนักงาน (training need) หลักสูตรฝึกอบรมมีความทันสมัย ทันต่อเทคโนโลยี สภาพเศรษฐกิจ สังคม ระยะเวลาฝึกในหลักสูตรที่ส่งพนักงานเข้าฝึกอบรมมีความเหมาะสม สถานที่ฝึกอบรมมีความสะดวกสบายและเหมาะสมต่อการฝึกอบรม ความพึงพอใจโดยรวมของพนักงานที่มีต่อการจัดการฝึกอบรมของ สพภ./ศพจ. ความพึงพอใจโดยรวมของพนักงานที่มีต่อครูฝึก ซึ่งเป็นผู้สอนในหลักสูตรที่เข้ารับการฝึกอบรม พนักงานที่ผ่านการฝึกอบรมจาก สพภ./ศพจ. นําความรู้ไปประยุกต์ใช้ทํางานได้ พนักงานที่ผ่านการฝึกอบรมจาก สพภ./ศพจ. มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะฝีมือเพิ่มขึ้น สิทธิประโยชน์ที่ได้รับตามกฏหมาย จากการส่งพนักงานเข้ารับการอบรมมีความเหมาะสม ความคุ้มค่าที่เกิดจากการส่งพนักงานของท่านเข้ารับการฝึกอบรม

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................................


ป ๖.๔ แบบสอบถามเกี่ยวกับระบบการจัดฝึกอบรมของ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค/ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงงานจังหวัด (สําหรับสถานประกอบกิจการที่รับการฝากฝึก) --------------------------------------------------คําชี้แจง แบบสอบถามฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลเกี่ยวกับระบบการจัดฝึกอบรม ภายในสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค และศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด เพื่อนํามาวิเคราะห์ผลและใช้เป็นข้อมูลเพื่อปรับปรุงระบบการฝึกและวางแผนดําเนินงานพัฒนา ฝีมือแรงงานให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการฝึกอบรมและความจําเป็นในการฝึกอย่างแท้จริง ส่วนที่1 1. ชื่อสถานประกอบกิจการ ........................................................................................................................................................ ขนาด ใหญ่ (พนักงานจํานวน 201 คนขึ้นไป) กลาง (พนักงานจํานวน 51- 200 คน) ย่อม (พนักงานจํานวน 1- 50 คน) ประเภท อุตสาหกรรม สาขา........................................... บริการ ด้าน........................................................................... 2. มีผู้รับการฝึก เข้าฝึกงานในสถานประกอบกิจการของท่าน 2.1 หลักสูตร/สาขา..................................................................................จํานวน .........................คน ระยะเวลา.................เดือน 2.2 หลักสูตร/สาขา..................................................................................จํานวน ..........................คน ระยะเวลา.................เดือน 3. สถานประกอบกิจการของท่านตั้งอยูใ่ นจังหวัด ...........................................ที่ตั้ง ณ....................................................................... .......................................................................................................................................................................................................... 5.ปัจจุบันสถานประกอบกิจการของท่าน ยังคงรับผู้จบฝึกจาก สพภ./ศพจ. เข้าฝึกงาน ณ สถานประกอบกิจการของท่าน ยุติการรับผู้จบฝึกจาก สพภ./ศพจ. เข้าฝึกงานในสถานประกอบกิจการ เนื่องจาก หลักสูตรที่จบฝึกไม่ตรงกับประเภทของอุตสาหกรรม/ธรุกิจ ที่ดําเนินงาน ไม่มีความพร้อมในการรับฝากฝึก ผู้จบฝึกจาก สพภ./ศพจ. ไม่มีคุณสมบัติพร้อม ที่จะรับเข้าฝึกงาน อื่นๆ โปรดระบุ .............................................................................................................................


ป ๖.๔ [2]

ส่วนที่ 2 ขอให้ผู้ตอบแบบสอบถามตอบตามความเป็นจริงและตามความคิดเห็นของท่าน โดยกาเครื่องหมาย ในช่องระดับคะแนนความ คิดเห็น ดังนี้ ระดับคะแนนความคิดเห็น 1 = น้อยที่สุด 2 = น้อย 3 = ปานกลาง 4 = มาก 5 = มากที่สุด ข้อ

ประเด็นที่ต้องการประเมิน

คะแนน ความคิดเห็น 5 4 3 2 1

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

15

สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค/ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจัง หวัดมีการประชาสัมพันธ์หน่วยงาน ภารกิจ ให้ เป็นที่ทราบโดยทั่วกัน สพภ./ศพจ. ในจังหวัดที่ท่านประกอบกิจการมีภาพลักษณ์ที่ดี เป็นที่ยอมรับ แรงจูงใจในการรับผู้จบฝึกอบรมจาก สพภ./ศพจ. เข้าฝึกงานในสถานประกอบกิจการของท่าน การฝึกงานในสถานประกอบกิจการ มีความสําคัญต่อการปฏิบัติงานทุกสาขาอาชีพ สพภ./ศพจ. มีการติดต่อประสานงาน ขอความร่วมมือเกี่ยวกับการฝากฝึกในสถานประกอบกิจการของท่าน อย่างรวดเร็ว และแจ้งวัตถุประสงค์อย่างชัดเจน ผู้ฝึกงาน ณ สถานประกอบกิจการของท่าน มีความรู้ ความเข้าใจตามหลักวิชาการที่ถูกต้องซึ่งจําเป็นต่อการ ปฏิบัติงาน ผู้ฝึกงาน มีระเบียบแบบแผนในการปฏิบัติงาน โดยมีลักษณะนิสัยอุตสาหกรรมในการทํางาน ผู้ฝึกงาน มีความประพฤติดี ซื่อสัตย์ อดทน รับฟังความเห็นของผู้อื่น สํานึกในหน้าที่ และ ทํางานเป็นทีม ผู้ฝึกงานมีความตั้งใจ เต็มใจเรียนรู้ ทักษะภาคปฎิบัติ ภายใต้การควบคุมดูแลของพี่เลี้ยง ระยะเวลาฝึกงานในสถานประกอบกิจการตามระบุในหลักสูตรมีความเหมาะสม การประเมินทักษะฝีมือระหว่างการฝึกงาน ผู้ฝึกงานมีการพัฒนาทักษะฝีมือ การประเมินทักษะฝีมือภายหลังจบการฝึกงาน ผู้ฝึกงานสามารถปฏิบัติงานได้ถูกต้องตามขั้นตอน สามารถ ปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัย ภายในระยะเวลาที่กําหนด เจ้าหน้าที่จาก สพภ./ศพจ. มีการตรวจเยียม ผู้ฝึกงานตามแผนที่กําหนด พี่เลี้ยงผู้ควบคุมดูแลการฝึกงานมีความพึงพอใจต่อพัฒนาการของผู้รับการฝึก แนวโน้มการจ้างงาน ภายหลังผู้ฝึกงานจบหลักสูตรการฝึกโดยสมบูรณ์

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................................


(ตัวอย่าง)

คําสั่งศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด........................... ที่............./2555 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ด้วยกรมพัฒนาฝีมือแรงงานมีนโยบายให้ ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด.............................. ดําเนินงาน ประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ตามที่กําหนดในคู่มือการดําเนินงานประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อให้การดําเนินงานประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงานสัมฤทธิ์ผล จึงแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงาน ประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ประกอบด้วย 1. ผู้อํานวยการศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด............... ที่ปรึกษา 2. หัวหน้าฝ่ายพัฒนาศักยภาพแรงงาน ประธานกรรมการ 3. หัวหน้าฝ่ายส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน กรรมการ 4. หัวหน้าฝ่ายส่งเสริมมาตรฐานฝีมือแรงงาน (ถ้ามี) กรรมการ 5. หัวหน้างานในสายงานการฝึก (เท่าที่มีอยู่) กรรมการ 6. หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป กรรมการ 7. หัวหน้างานแผนงาน (หรือเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบด้านแผนงาน) กรรมการและเลขานุการ 8. จะแต่งตั้งเจ้าหน้าที่อื่นเป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการหรือไม่ก็ได้ ให้คณะกรรมการที่ได้รับแต่งตั้ง มีอํานาจหน้าที่ดังนี้ 1. กําหนดนโยบายกลยุทธ์และแผนการดําเนินงานประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน 2. แต่งตั้งคณะทํางานตรวจติดตามภายใน 3. มอบหมายเจ้าหน้าที่รับผิดชอบตามมาตรฐาน ข้อกําหนดและแนวทางการดําเนินงาน 4. ติดตามผลการดําเนินงานและพิจารณาแก้ไขปัญหา 5. ดําเนินงานอื่นตามที่ผู้อํานวยการมอบหมาย ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่..............................เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่............................................. ลงชื่อ………………………………………. (.............................................) ผู้อํานวยการศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด.................. หมายเหตุ 1. ประธานกรรมการอาจสลับระหว่างหัวหน้าฝ่ายพัฒนาศักยภาพแรงงานหรือหัวหน้าฝ่ายส่งเสริมการพัฒนาฝีมือ แรงงานก็ได้ ทั้งนี้ให้คํานึงถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลการดําเนินงาน 2. ให้ ศู น ย์ พั ฒ นาฝี มื อ แรงงานกรุ ง เทพมหานคร สถาบั น พั ฒ นาฝี มื อ แรงงานนานาชาติ เ ชี ย งแสน และกลุ่ ม งาน อุตสาหกรรมบริการแต่งตั้งคณะกรรมการตามตัวอย่างคําสั่งนี้ และสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามตําแหน่งบุคลากรที่มีอยู่


(ตัวอย่าง)

คําสั่งสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค.......................... ที่.........../2555 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ด้วยกรมพัฒนาฝีมือแรงงานมีนโยบายให้ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค ........................... ดําเนินงาน ประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ตามที่กําหนดในคู่มือการดําเนินงานประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อให้การดําเนินงานประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงานสัมฤทธิ์ผล จึงแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงาน ประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน ประกอบด้วย 1. ผู้อํานวยการสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค.......... ที่ปรึกษา 2. หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนาฝีมือและศักยภาพแรงงาน ประธานกรรมการ 3. หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาฝีมือและศักยภาพแรงงาน กรรมการ 4. หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมมาตรฐานฝีมือแรงงาน กรรมการ 5. หัวหน้าฝ่ายในกลุ่มงานพัฒนาฝีมือและศักยภาพแรงงานทุกฝ่าย กรรมการ 6. หัวหน้าฝ่ายในกลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาฝีมือและ ศักยภาพแรงงานทุกฝ่าย กรรมการ 7. หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป กรรมการ 8. หัวหน้าฝ่ายแผนงานและประเมินผล (หรือชื่ออื่นที่ทําหน้าที่ด้านแผนงาน) กรรมการและเลขานุการ 9. จะแต่งตั้งเจ้าหน้าที่อื่นเป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการหรือไม่ก็ได้ ให้คณะกรรมการที่ได้รับแต่งตั้ง มีอํานาจหน้าที่ดังนี้ 1. กําหนดนโยบายกลยุทธ์และแผนการดําเนินงานประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน 2. แต่งตั้งคณะทํางานตรวจติดตามภายใน 3. มอบหมายเจ้าหน้าที่รับผิดชอบตามมาตรฐาน ข้อกําหนดและแนวทางการดําเนินงาน 4. ติดตามผลการดําเนินงานและพิจารณาแก้ไขปัญหา 5. ดําเนินงานอื่นตามที่ผู้อํานวยการมอบหมาย ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่..............................เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่............................................... ลงชื่อ…………………………………………. (..............................................) ผู้อํานวยการสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค………….….. หมายเหตุ : ประธานกรรมการอาจสลับกันระหว่างหัวหน้ากลุ่มงานพัฒนาฝีมือและศักยภาพแรงงาน กับหัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาฝีมือและศักยภาพแรงงานก็ได้ ทั้งนี้ให้คํานึงถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลการดําเนินงาน


-1-

ระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ว่าด้วยการฝึกเตรียมเข้าทํางาน พ.ศ. 2547 โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานว่าด้วยการฝึกเตรียมเข้าทํางาน ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน จึงออกระเบียบไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานว่าด้วยการฝึกเตรียมเข้าทํางาน พ.ศ. 2547” ข้อ 2 ให้ยกเลิกระเบียบดังต่อไปนี้ (1) ระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานว่าด้วยการฝึกเตรียมเข้าทํางาน พ.ศ. 2538 ลงวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538 (2) ระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานว่าด้วยการฝึกเตรียมเข้าทํางาน พ.ศ. 2539 ลงวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 (3) ระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานว่าด้วยการประเมินผลการฝึกกิจกรรมการฝึกเตรียมเข้า ทํางาน พ.ศ. 2546 ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2546 ข้อ 3 บรรดาระเบียบคําสั่งหรือแนวปฏิบัติใดที่ขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบนี้แทน ข้อ 4 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2547 เป็นต้นไป ข้อ 5 ในระเบียบนี้ “สพภ.” หมายถึง สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค “ศพจ.” หมายถึง ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด “ศพร.กทม.” หมายถึง ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานกรุงเทพมหานคร “การฝึกเตรียมเข้าทํางาน” หมายความว่า การฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ที่จัดขึ้นเพื่อพัฒนาฝีมือ ความรู้ ความสามารถขั้นพื้นฐานในสาขาอาชีพต่างๆ รวมทั้งสร้างเสริมทัศนคติที่ดีต่อการทํางานหรือประกอบ อาชีพให้กับกําลังแรงงานใหม่ผู้ประสงค์จะเข้าสู่การทํางานเป็นแรงงานผู้มีฝีมือได้มาตรฐานตามที่กําหนด “ครูฝึก” หมายความว่า เจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งกรมพัฒนาฝีมือแรงงานมอบหมายให้ทําหน้าที่เป็น วิทยากร หรือผู้ฝึกอาชีพในกิจกรรมการฝึกเตรียมเข้าทํางาน “ผู้รับการฝึก” หมายความว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมฝีมือแรงงานของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน “ผู้ปกครอง” หมายความว่า บิดาหรือมารดาหรือบุคคลซึ่งรับผู้เยาว์นั้นไว้ในความปกครอง หรือความอุปการะเลี้ยงดูหรือบุคคลซึ่งผู้เยาว์นั้นอาศัยอยู่ด้วย ข้อ 6 ให้ทุก สพภ. ศพจ. และ ศพร.กทม. ดูแลให้เป็นไปตามระเบียบนี้ ข้อ 7 ให้อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงานรักษาการตามระเบียบนี้


-2-

หมวด 1 หลักเกณฑ์การรับสมัครผู้รับการฝึก ข้อ 8 ผู้สมัครเข้ารับการฝึกต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ (1) มีความรู้ไม่ต่ํากว่ามัธยมศึกษาปีที่สามเว้นกรณีสาขาอาชีพที่ได้กําหนดเป็นการเฉพาะ (2) มี อายุ ไม่ ต่ํา กว่า สิบ ห้า ปีบริ บูร ณ์ ณ วั นเปิด ฝึกเว้น แต่ ในกรณี ที่ส าขาอาชีพนั้นได้มีการ กําหนดหลักเกณฑ์ในเรื่องนี้ไว้เป็นการเฉพาะ (3) มีสัญชาติไทย (4) มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง เหมาะสมที่จะเข้ารับการฝึกในสาขาอาชีพนั้นๆได้ตลอดหลักสูตร (5) ไม่เป็นผู้ติดยาเสพติดให้โทษ หรือเป็นโรคติดต่ออย่างร้ายแรง (6) สามารถเข้ารับการฝึกอบรมและร่วมในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องได้เต็มตามวัน เวลาที่กําหนด (7) มีภูมิลําเนาเป็นหลักแหล่ง โดยมีสําเนาทะเบียนบ้านหรือหลักฐานของทางราชการใน ลักษณะเดียวกันมาแสดง ข้อ 9 เอกสารหลักฐานที่ต้องนํามายื่นในการสมัครสอบ (1) หนังสือรับรองทางการศึกษาฉบับจริง พร้อมสําเนา (2) รูปถ่ายหน้าตรง ไม่สวมหมวก ไม่สวมแว่นตาดํา ขนาดหนึ่งนิ้ว จํานวนสามรูป (3) ทะเบียนบ้าน และบัตรประชาชนฉบับจริง พร้อมสําเนา ข้อ 10 ให้ผู้สมัครที่ผ่านการคัดเลือกแล้วไปลงทะเบียน ในกรณีผู้ผ่านการคัดเลือกยังไม่บรรลุ นิติภาวะให้นําผู้ปกครอง หรือผู้อุปการะผู้สมัครซึ่งเชื่อถือได้ ให้คํารับรองและทําใบมอบตัว ข้ อ 11 ผู้ รั บ การฝึ ก ไม่ ต้ อ งเสี ย ค่ า ธรรมเนี ย มใดๆ ทั้ ง สิ้ น แต่ ต้ อ งจั ด หาเครื่ อ งแบบเสื้ อ ปฏิบัติงานและเครื่องมือประจําตัวที่จําเป็นสําหรับสาขาช่าง ซึ่งจะแจ้งให้ทราบต่อไป ข้อ 12 ให้ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. ออกบัตรประจําตัวให้แก่ผู้รับการฝึก หมวด 2 หลักเกณฑ์การฝึก ข้อ 13 การฝึกเตรี ยมเข้ า ทํา งาน ประกอบด้ ว ยการฝึ กภายใน หรื อการฝึ กโดยใช้ส ถานที่ ภายนอก สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. และการฝึกในกิจการ ข้อ 14 การฝึกภายในหรือการฝึกภายนอก สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. ผู้รับการฝึกต้องเข้า รับการฝึกทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติเป็นเวลาไม่น้อยกว่าร้อยละแปดสิบของเวลาการฝึกทั้งหมด จึงจะมีสิทธิ เข้ารับการทดสอบวัดผลการฝึกขั้นสุดท้าย เมื่อผ่านการทดสอบวัดผลจึงจะถือว่าผ่านการฝึกของ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. มีสิทธิเข้ารับการฝึกในกิจการตามที่กําหนดไว้ในข้อ 15 และข้อ 16 ในกรณีที่ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. เห็นว่าผู้ผ่านการฝึกตามวรรคแรก มีปัญหาในด้าน ความประพฤติ หรือมีปัญหาอื่นใดที่เป็นอุปสรรคต่อการฝากฝึกในกิจการ และชื่อเสียงของ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. อาจจะไม่ส่งผู้รับการฝึกนั้นเข้าฝึกในกิจการ


-3-

ข้อ 15 ระยะเวลาการฝึกภายใน สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. และการฝึกในกิจการให้เป็นไป ตามข้อกําหนดของหลักสูตรในแต่ละสาขาอาชีพ หรือให้เป็นไปตามประกาศของ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. ข้อ 16 การฝึกในกิจการ ผู้รับการฝึกจะต้องมีระยะเวลาการฝึก ไม่น้อยกว่าร้อยละแปดสิบ ของเวลาการฝึกในกิจการทั้งหมด และมีผลการประเมินว่าผ่านจากสถานประกอบการนั้น จึงจะถือว่าเป็นผู้ผ่าน การฝึกในกิจการ ข้อ 17 ผู้ผ่านการฝึกภายในหรือผ่านการฝึกโดยใช้สถานที่ภายนอก สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.ก ทม. และผ่านการฝึกในกิจการจะได้รับวุฒิบัตรจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ส่วนผู้ไม่ผ่านการฝึกในกิจการ จะ ได้รับหนังสือรับรองผลการฝึกจาก สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. เท่านั้น การฝึ ก ในกรณี อื่ น นอกเหนื อ จากที่ กํ า หนดไว้ นี้ การได้ รั บ วุ ฒิ บั ต รหรื อ ใบรั บ รองให้ อยู่ ใ น ดุลพินิจของอธิบดีหรือเจ้าพนักงานที่อธิบดีมอบหมาย หมวด 3 การเข้าฝึก ข้อ 18 ผู้รับการฝึกต้องแต่งกายในการฝึกสาขาอาชีพช่างต่างๆ ให้เป็นไปตามรูปแบบที่กรม พัฒนาฝีมือแรงงานกําหนด ในส่วนสาขาอาชีพที่มิใช่ช่างให้แต่งกายตามเหมาะสมที่ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. กําหนด ข้อ 19 ผู้รับการฝึกต้องแต่งกายในการฝึกสาขาอาชีพช่างต่างๆ ให้เหมาะสมกับการฝึก และมี ความสะอาดเรียบร้อย ข้อ 20 ผู้รับการฝึกต้องมาถึงสถานที่ฝึกไม่ช้ากว่าเวลาที่ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. กําหนดไว้ ข้อ 21 ผู้รับการฝึกต้องเคารพธงชาติเมื่อมีการเชิญธงชาติขึ้นและลง หรือได้ยินเสียงเพลงชาติ โดยการยืนตรงหยุดนิ่งในอาการสํารวม พร้อมหันหน้าไปทางบริเวณธงชาติจนเสร็จการ ข้อ 22 ผู้รับการฝึกจะต้องสนใจและเชื่อฟังคําสั่งของครูฝึกอย่างเคร่งครัด ข้ อ 23 กรณี ผู้ รั บ การฝึ ก มี ธุ ร ะจํ า เป็ น ต้ อ งออกจากห้ องฝึ ก อบรมหรื อ บริ เ วณปฏิ บั ติ ง าน จะต้องขออนุญาตต่อครูฝึก ถ้าฝ่าฝืน ให้ครูฝึกหรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องว่ากล่าวตักเตือนถ้าไม่เชื่อฟังให้ลงโทษ ตามที่กําหนดไว้ในระเบียบนี้ ข้อ 24 กรณีผู้รับการฝึกจะออกนอกบริเวณ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. ต้องรับอนุญาต จากผู้อํานวยการ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ถ้าฝ่าฝืนจะถือว่าขาดการฝึก และจะได้รับการลงโทษ ตามที่กําหนด ไว้ในระเบียบนี้ ข้อ 25 ในกรณีที่เจ็บป่วยหรือมีกิจธุระอันจําเป็นรีบด่วน ไม่อาจเข้ารับการฝึกได้ผู้รับการฝึก ต้ องยื่ น ใบลาต่ อครู ฝึ กในวั น แรกที่ กลั บ เข้ า รั บ การฝึ ก โดยให้ ชี้ แจงสาเหตุ ที่ไม่ เ ข้ า ฝึ กพร้ อมการรั บ รองจาก ผู้ปกครอง ถ้าเป็นการรักษาพยาบาลหรือกิจธุระที่ทราบล่วงหน้าจะต้องขออนุญาตและยื่นใบลาก่อนล่วงหน้า ถ้าฝ่าฝืนจะถือว่าขาดการฝึก เว้นแต่จะได้รับการฝึกชดเชย และจะได้รับการลงโทษตามที่กําหนดไว้ในระเบียบนี้


-4-

หมวด 4 ความประพฤติและวินัยการฝึก ข้อ 26 ห้ามผู้รับการฝึกหยอกล้อ หรือส่งเสียงดังขณะที่อยู่ในแถว หรือในขณะเข้ารับการฝึก หรือในที่ประชุม ข้อ 27 ห้ามผู้รับการฝึกสูบบุหรี่ในโรงฝึกงานและสถานที่ที่อาจจะเกิดอันตราย ข้อ 28 ห้า มผู้รับ การฝึกเสพยาเสพติดให้โ ทษ หรือนํา เข้ามาในบริเ วณ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร. กทม. ข้อ 29 ห้ามผู้รับการฝึกดื่มและนําสุรา ของมึนเมาเข้ามาในบริเวณ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. ข้อ 30 ห้ามผู้รับการฝึกเล่นการพนันใน สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. ข้อ 31 ห้ามกระทําอย่างใดอันแสดงถึงการไม่เชื่อฟังหรือความไม่เคารพครูฝึกหรือเจ้าหน้าที่ ของ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. ข้อ 32 ห้ามปีนป่ายออกนอกบริเวณห้องฝึกอบรมหรือโรงฝึกงานของ สพภ. ศพจ. หรือ ศพ ร.กทม. ข้อ 33 ห้ามนําอาหารเข้าไปรับประทานในห้องฝึกอบรมหรือโรงฝึกงาน ข้อ 34 ห้ามผู้รับการฝึกทะเลาะวิวาทหรือทําร้ายร่างกายผู้อื่น ข้อ 35 ห้ามผู้รับการฝึกหยิบฉวยทรัพย์สินของผู้อื่นไปเป็นของตนโดยไม่ได้รับอนุญาต ข้อ 36 เมื่อพบครูฝึก หรือเจ้าหน้าที่ของ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. ให้ผู้รับการฝึกแสดง ความเคารพ เว้นแต่อยู่ในระหว่างการฝึกหรือรับประทานอาหาร ข้อ 37 ผู้รับการฝึกต้องปฏิบัติตามระเบียบ กฏเกณฑ์ ข้อบังคับของโรงฝึกงาน ข้อ 38 เมื่อครูฝึกหรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตักเตือนเรื่องความประพฤติให้ผู้รับการฝึกเชื่อฟัง และปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด หมวด 5 ความปลอดภัยและความเรียบร้อย ข้อ 39 ความปลอดภัยและความเรียบร้อยด้านอาคารสถานที่ และการปฏิบัติงาน (1) ห้ามผู้รับการฝึกทําลายทรัพย์สินของ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. ให้เกิดความเสียหาย (2) ห้ามผู้รับการฝึกหยอกล้อกันในขณะใช้เครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่างๆ


-5-

(3) ห้ามผู้รับการฝึกใช้เครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่างๆ โดยไม่ได้รับอนุญาต (4) ให้ผู้รับการฝึกใช้อุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยตามที่กําหนด พร้อมเก็บเครื่องมือไว้ในที่ที่ กําหนด (5) ผู้ รั บการฝึ กต้องรั บผิ ด ชอบร่ว มกัน ต่ อความชํ า รุด เสีย หายหรือสู ญ หายของเครื่ องจั กร เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ และทรัพย์สินอื่นของ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. ไม่ว่าจะโดยจงใจหรือประมาท เลินเล่อก็ตาม ข้อ 40 ความปลอดภัยและความเรียบร้อยด้านบุคลากร (1) ห้ามผู้รับการฝึกนําทรัพย์สิน ซึ่งมิใช่ของตนเองออกนอกบริเวณ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. (2) ห้ามผู้รับการฝึกใช้เครื่องไฟฟ้าที่ไม่เกี่ยวข้องยกเว้นได้รับคําสั่งหรืออนุญาตให้ทําได้ (3) ห้ามผู้รับการฝึกนําของมีคมหรืออาวุธเข้ามาใน สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. (4) เมื่อมีอุบัติเหตุเกิดขึ้น ต้องรีบรายงานให้ครูฝึกหรือเจ้าหน้าที่ทราบทันที (5) เมื่อผู้รับการฝึกประสบอุบัติเหตุเนื่องจากการฝึกให้รีบทําการปฐมพยาบาลทันที ถ้าได้รับ บาดเจ็บมากให้รีบนําส่งโรงพยาบาลโดยหน่วยการฝึกอบรมออกค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลตามระเบียบที่ กระทรวงการคลังกําหนด หมวด 6 การใช้อาคาร สถานที่ เครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์การฝึก ข้อ 41 ห้ามปิดประกาศหรือขีดเขียนข้อความใดๆ ลงบนฝาผนังหรือส่วนต่างๆของอาคาร หรือเครื่องจักร เครื่องมือ ข้อ 42 ห้ า มนํา บุ คคลภายนอกเข้ าไปในอาคาร สถานที่ ห รื อบริ เ วณโรงฝึ กงานก่ อนได้ รั บ อนุญาต ข้อ 43 ผู้รับการฝึกต้องช่วยกันรักษาความสะอาดอาคาร สถานที่ และบริเวณโรงฝึกงาน ตลอดจนดูแลเครื่องใช้ไฟฟ้า ระบบประปา เมื่อเลิกใช้ช่วยกันปิดให้เรียบร้อย ข้อ 44 ผู้รับ การฝึกต้องช่ วยกันดู แลบํา รุงรักษาเครื่ องจักร เครื่ องมือ และอุ ปกรณ์ การฝึ ก ตามที่ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. ได้กําหนด ข้อ 45 ให้ทําบัตรเข้า-ออก สําหรับรถยนต์หรือจักรยานยนต์ที่เข้ามาจอดในบริเวณ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. หมวด 7 คุณธรรมและจริยธรรม ข้อ 46 ผู้รับการฝึกต้องมีกริยามารยาทดี วาจาสุภาพและมีความประพฤติเรียบร้อย ข้อ 47 ผู้รับการฝึกต้องมีความซื่อสัตย์สุจริต ข้อ 48 ผู้รับการฝึกต้องตรงต่อเวลา ข้อ 49 ผู้รับการฝึกต้องขยันหมั่นเพียรและอุตสาหะในการทํางาน


-6-

ข้อ 50 ผู้รับ การฝึกต้องมีความเคารพเชื่อฟัง ครูฝึกและเจ้า หน้า ที่ของ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. ข้อ 51 ผู้รับ การฝึกต้องมีความเคารพเชื่อฟัง ครูฝึกและเจ้า หน้า ที่ของ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. ข้อ 52 ผู้รับการฝึกต้องมีความเป็นมิตรต่อผู้อื่น ข้อ 53 ผู้รับการฝึกต้องมีความสามัคคีในระหว่างหมู่คณะ ข้อ 54 ผู้รับการฝึกต้องมีน้ําใจให้ความร่วมมือแก่ส่วนรวม หมวด 8 กิจกรรมเสริมหลักสูตร ข้อ 55 ระหว่างการฝึกใน สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. ควรจัดให้มีกิจกรรมดังนี้ (1) การปฐมนิเทศผู้รับการฝึกก่อนเข้ารับการฝึกในหลักสูตรเตรียมเข้าทํางาน (2) การอบรมทางวิชาการต่างๆ อันเป็นการเสริมความรู้เพื่อความสมบูรณ์ในการประกอบ อาชี พ และมี ทั ศ นคติ ใ นการทํ า งานที่ ดี ต่ อ ไปในอนาคต เช่ น ประสบการณ์ ธุ ร กิ จ อุ ต สาหกรรม วิ นั ย และ จรรยาบรรณในการทํางาน มนุษยสัมพันธ์ การสื่อข้อความ ความปลอดภัยในการทํางาน จริยธรรมในสังคมและ ทัศนศึกษา (3) จัดให้มีการออกกําลังกายและการแข่งขันกีฬา (4) จัดกิจกรรมทําความสะอาดภายในและภายนอกโรงฝึกงาน ดูแลต้นไม้ รดน้ําพรวนดินที่ อยู่ในความรับผิดชอบของแต่ละสาขาอาชีพ (5) จัดกิจกรรมในวันสําคัญต่างๆ (6) มัชฌิมนิเทศก่อนการฝากฝึกในกิจการ (7) ปัจฉิมนิเทศเพื่อประโยชน์ก่อนเข้าสู่การทํางาน หรือประกอบอาชีพ (8) กิจกรรมอื่นๆ หมวด 9 การลงโทษ ข้อ 56 ผู้รับการฝึกคนใดประพฤติตนไม่เรียบร้อยหรือไม่สนใจการฝึกให้ครูฝึกหรือเจ้าหน้าที่ที่ เกี่ยวข้องว่ากล่าวตักเตือน ถ้าไม่เชื่อฟังให้ลงโทษด้วยวิธีการต่างๆ ตามลําดับต่อไปนี้คือ ไม่อนุญาตให้เข้าฝึก ชั่วขณะ ให้บําเพ็ญประโยชน์ ให้ออกกายบริหาร ภาคทัณฑ์ ทําทัณฑ์บน ตัดคะแนนความประพฤติ พักการฝึก ไม่อนุญาตให้เข้าสอบ ไม่ส่งเข้าฝึกในกิจการ และให้ออกจากการเป็นผู้รับการฝึกของ สพภ. ศพจ.หรือศพร.กทม. ข้อ 57 ให้ผู้รับการฝึกมีคะแนนความประพฤติคนละหนึ่งร้อยคะแนนหากผู้ใดประพฤติผิด หรือไม่สมควร ครูฝึกหรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องมีอํานาจตัดคะแนนความประพฤติดังนี้ (1) ผู้ฝ่าฝืน ข้อ 18 ข้อ 19 ข้อ 20 ข้อ 21 ข้อ 23 ข้อ24 ข้อ 25 ข้อ 26 ข้อ 39(4) ข้อ 40(2) (4) (5) ข้อ 41 ข้อ 43 ข้อ 44 และข้อ 45 แห่งระเบียบนี้ตัดคะแนนครั้งละห้าคะแนน


-7-

(2) ผู้ฝ่าฝืนข้อ 22 ข้อ 27 ข้อ 31 ข้อ 32 ข้อ 39(2) (5) (6) และข้อ 42 แห่งระเบียบนี้ ตัดคะแนนครั้งละสิบคะแนน (3) ผู้ฝ่าฝืนข้อ 29 ข้อ 30 ข้อ 38 และข้อ 39(1) แห่งระเบียบนี้ตัดคะแนนครั้งละยี่สิบ คะแนน (4) ผู้ฝ่าฝืนระเบียบนี้และขัดคําสั่งของครูฝึกหรือเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้องของ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. หลายครั้งตัดคะแนนครั้งละไม่เกินยี่สิบคะแนน และถ้ากระทําความผิดซ้ําความผิดเดิมจะพิจารณา เพิ่มโทษ ข้อ 58 ให้ประกาศให้ผู้รับการฝึกลงลายมือชื่อรับทราบ เมื่อผู้รับการฝึกคนใดถูกตัดคะแนน ความประพฤติ ข้อ 59 ผู้ที่ถูกตัดคะแนนความประพฤติจนเหลือคะแนนต่ํากว่าห้าสิบคะแนนไม่มีสิทธิเข้ารับ การทดสอบในครั้งสุดท้าย ส่วนผู้รับการฝึกที่ถูกตัดคะแนนจนหมด ไม่มีสิทธิให้เข้ารับการฝึกต่อไป และให้พ้น สภาพจากการเป็นผู้รับการฝึกของ สพภ. ศพจ. หรือศพร.กทม. ข้อ 60 ผู้ฝ่าฝืนระเบียบข้อ 28 ข้อ 34 ข้อ 35 ข้อ 40 (1) (3) ให้พ้นสภาพจากการเป็น ผู้รับการฝึกของสพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. ข้อ 61 ผู้รับการฝึกอาจพ้นสภาพจากการเป็นผู้รับการฝึก โดยเหตุอย่างหนึ่งอย่างใดต่อไปนี้ (1) ตาย (2) ลาออก (3) ขาดคุณสมบัติ ตามข้อ 8 (4) ไม่ปฏิบัติตามระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับของโรงฝึกงาน (5) ขาดการฝึกติดต่อกันเกินเจ็ดวัน โดยไม่แจ้งให้ทราบ หรือไม่มีเหตุผลอันสมควร หรือมี พฤติกรรมอย่างอื่นที่แสดงว่าไม่มีความตั้งใจที่จะรับการฝึกอาชีพ (6) ต้องโทษคดีอาญา โดยคําพิพากษาของศาลถึงที่สุดให้จําคุก เว้นแต่ความผิดลหุโทษหรือ ความผิดที่ได้กระทําโดยประมาท (7) มีความประพฤติหรือพฤติการณ์ที่ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. เห็นว่าไม่สมควรที่จะได้รับ การฝึกต่อไปและให้ออก หมวด 10 การวัดและประเมินผลการฝึก ข้อ 62 หลักในการประเมินผลการฝึก (1) ให้ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. มีหน้าที่และรับผิดชอบในการประเมินผลการฝึก โดยใช้ เครื่องมือวัดผลการฝึก ซึ่งเป็นมาตรฐานการฝึกกลางของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานหรือ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. ได้จัดทําขึ้น (2) ให้ประเมินผลการฝึกโดยให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การฝึกของแต่ละหัวข้อวิชา (3) ให้มีการประเมินผลการฝึกเพื่อปรับปรุงการฝึกและวัดผลการฝึก


-8-

(4) ให้ สพภ. ศพจ. หรือศพร.กทม. และหรือสถานประกอบการมีส่วนร่วมในการประเมินผล การฝึกร่วมกัน ข้อ 63 วิธีการประเมินผลการฝึก (1) ให้มีการประเมิ นผลระหว่า งการฝึ กหรือสิ้ นสุ ดการฝึ กหรื อกระทํ าทั้ งสองวิ ธีตามความ เหมาะสมและความสอดคล้องกับเนื้อหาของหลักสูตรที่ดําเนินการฝึก นั้น (2) การประเมินผลระหว่างการฝึกให้มีการประเมินผลการฝึกเป็นระยะทั้งภาคทฤษฎี และ ภาคปฏิบัติ ส่วนการประเมินผลจบฝึกใน สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. ให้ทําการประเมินผลเมื่อจะสิ้นสุดการฝึก (3) การประเมินผละการฝึกให้ประเมินองค์ความรู้ ความสามารถในการทํางาน และทักษะ ฝีมือในการสร้างผลผลิตและให้บริการ ทั้งเชิงคุณภาพและประสิทธิภาพ โดยอิงตัวชี้วัดมาตรฐานฝีมือแรงงาน แห่งชาติ ในทุกหมวดวิชาและให้ผลการฝึกมีระดับค่าคะแนน ดังต่อไปนี้ (ก) คะแนนร้อยละแปดสิบถึงหนึ่งร้อย อยู่ในเกณฑ์ดีมาก (ข) คะแนนร้อยละหกสิบถึงเจ็ดสิบเก้า อยู่ในเกณฑ์ดี (ค) คะแนนร้อยละห้าสิบถึงห้าสิบเก้า อยู่ในเกณฑ์ปานกลาง (ง) คะแนนร้อยละศูนย์ถึงสี่สิบเก้า ให้ถือว่าไม่ผ่านการฝึก ในกรณีที่ไม่ผ่านการฝึกจะต้องมีการทดสอบใหม่ และเมื่อผ่านการทดสอบแล้วให้ถือว่าผ่าน การฝึก (4) การประเมิ น ผลรายวิ ช าให้ คิ ด ว่ า อั ต ราส่ ว น ของคะแนนภาคทฤษฎี เ ชิ ง ปฏิ บั ติ และ ภาคปฏิบัติ เท่ากับยี่สิบต่อแปดสิบ (5) ถ้าผู้รับการฝึกไม่เข้ารับการทดสอบ ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการฝึกเป็นผู้พิจารณาเหตุผล การทดสอบและทําการสอบซ่อม กรณีผู้รับการฝึกขาดการติดต่อ ให้พิจารณาผลการฝึกเป็น “ไม่จบการฝึก” (6) ถ้าผู้รับการฝึกทุจริตการสอบ ให้พิจารณาผลการฝึกเป็น “ไม่จบการฝึก” ข้อ 64 การตัดสินผลการฝึกใน สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. (1) การตัดสินผลการฝึกเพื่อการจบฝึกนั้นให้ผู้รับการฝึกต้องฝึกให้ครบโครงสร้างที่กําหนดไว้ ในหลักสูตรแต่ละกลุ่มอาชีพโดยแยกตามสาขาช่างนั้นๆ (2) หลักเกณฑ์การตัดสินให้นําคะแนนระหว่างฝึกรวมกับคะแนนวัดผลการฝึกใน สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. โดยจะต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละหกสิบ จึงถือว่า “ผ่านการฝึก” ส่วนการให้ค่าระดับผล การฝึกให้เป็นไปตามข้อ 63 (3) หมวด 11 การสําเร็จการฝึกและการพ้นสภาพ ข้อ 65 ผู้รับการฝึกจะสําเร็จการฝึกจะต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ (1) มีเวลาการฝึกงานในกิจการไม่น้อยกว่าร้อยละแปดสิบของเวลาฝึกทั้งหมด (2) มีหลักฐานการฝึกงานทั้งใน สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. และสถานที่ฝึกงานครบถ้วน (3) ต้องมีผลการประเมินว่า “ผ่าน” การฝากฝึกในกิจการไม่น้อยกว่าร้อยละหกสิบ


-9-

(4) เข้ารับการปัจฉิมนิเทศ และรับมอบวุฒิบัตรรับรอบผลการฝึกเพื่อประโยชน์ในการเตรียม ตัวเข้าสู่การทํางาน ข้อ 66 ผู้รับการฝึกพ้นสภาพจากการเป็นผู้รับการฝึกในกรณีดังต่อไปนี้ (1) ครบกําหนดหรือจบการฝากฝึกในกิจการ (2) ตาย (3) ลาออก (4) ขาดการฝึกงานติดต่อกันเกินเจ็ดวัน โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร (5) มีความประพฤติหรือพฤติกรรมที่ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. เห็นว่าไม่ควรที่จะได้รับ การฝากฝึก (6) ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบ ข้อบังคับของสถานที่ฝึกงานและส่งตัวกลับคืน สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. โดยถูกกล่าวโทษอย่างร้ายแรง (7) เปลี่ยน หรือย้าย สถานที่ฝึกงานเองโดยไม่ได้รับความเห็นชอบจาก สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. (8) ไม่เข้ารับการปฐมนิเทศ มัชฌิมนิเทศ หรือปัจฉิมนิเทศ ข้อ 67 หลักฐานการจบฝึก (1) ให้ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. จัดให้มีเอกสารการประเมินผลการฝึกตามที่กรมพัฒนา ฝีมือแรงงาน กําหนดดังต่อไปนี้ (ก) ระเบี ย นแสดงผลการฝึ ก (ใบระเบี ย น) ออกให้ เ มื่ อผู้จ บฝึ กยื่น ใบคํ าร้ องขอและแบบ แสดงผลการฝึกใน สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. (แบบแสดงผลการฝึกในสมุดบันทึกการฝึก) (ข) แบบรายงานผลการฝึกของผู้ที่จบหลักสูตร (แบบที่หน่วยงานใช้ในการรายงานการจบฝึก) (2) ให้ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. เป็ นผู้ออกหลักฐานแสดงผลการจบฝึก และหนังสื อ รับรองผลการฝึกต่างๆ ตามแบบที่กรมพัฒนาฝีมือแรงงานกําหนด (3) การออกวุฒิบัตรกรมพัฒนาฝีมือแรงงานให้เป็นไปตามหมวด 2 ข้อ 17 หมวด 12 อื่นๆ ข้ อ 68 กรณี น อกเหนื อ จากที่ กํ า หนดไว้ ใ นระเบี ย บนี้ ใ ห้ สพภ. ศพจ. หรื อ ศพร.กทม. พิจารณาเป็นกรณีไป

ประกาศ ณ วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2547 สมชาติ เลขาลาวัณย์ (นายสมชาติ เลขาลาวัณย์) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน


- 10 -

ระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ว่าด้วยการฝึกยกระดับฝีมือ พ.ศ. 2547 โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานว่าด้วยการฝึกยกระดับฝีมือให้ เหมาะสมยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน จึงออกระเบียบไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานว่าด้วยการฝึกยกระดับฝีมือ พ.ศ. 2547” ข้อ 2 ให้ยกเลิกระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานว่าด้วยการฝึกยกระดับฝีมือ พ.ศ. 2538 ลง วันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538 ข้อ 3 บรรดาระเบียบ คําสั่ง หรือแนวปฏิบัติใดที่ขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบนี้แทน ข้อ 4 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2547 เป็นต้นไป ข้อ 5 ในระเบียบนี้ “สพภ.” หมายถึง สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค “ศพจ.” หมายถึง ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด “ศพร.กทม.” หมายถึง ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานกรุงเทพมหานคร “ฝึกยกระดับ” หมายความว่า การฝึกอบรมฝีมือแรงงานที่จัดขึ้นเพื่อยกระดับฝีมือ ความรู้ ความสามารถ รวมทั้งสร้างเสริมทัศนคติในการทํางานให้กับผู้ทํางานอยู่แล้วให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น และทันกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีหรือลักษณะ ข้อ 6 ให้ทุก สพภ. ศพจ. และ ศพร.กทม. ดูแลให้เป็นไปตามระเบียบนี้ ข้อ 7 ให้อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงานรักษาการตามระเบียบนี้ หมวด 1 คุณสมบัติของผู้สมัคร ข้อ 8 ผู้สมัครเข้ารับการฝึก แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ (1) ผู้สมัครเข้ารับการฝึกที่สถานประกอบการหรือหน่วยงานต่างๆ เป็นผู้ส่ง (2) ผู้สมัครเข้ารับการฝึกที่สมัครด้วยตนเอง ข้อ ๙ ผู้สมัครเข้ารับการฝึกต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ (1) เป็นผู้ประกอบอาชีพเกี่ยวกับสาขาที่สมัคร หรืองานอื่นที่เกี่ยวข้อง (2) เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์เกี่ยวกับสาขาที่สมัครเข้ารับการฝึก (๓) มีสุขภาพดีและร่างกายแข็งแรง เหมาะสมที่จะเข้ารับการฝึกในสาขาอาชีพนั้นๆได้ตลอด หลักสูตรการฝึก


- 11 -

(๔) ไม่เป็นผู้ติดยาเสพติดให้โทษ หรือเป็นโรคติดต่ออย่างร้ายแรง (๕) มีความประพฤติดี หมวด 2 การรับสมัครและการคัดเลือก ข้ อ 10 ผู้ ส มั ค รเข้ า รั บ การฝึ กจะต้ อ งยื่ น บั ต รประจํ า ตั ว ประชาชนหรื อหลั กฐานอื่ น ที่ ทาง ราชการออกให้ ข้อ 1๑ การดําเนินการคัดเลือกผู้สมัครเข้ารับการฝึก โดย (1) สอบข้อเขียนและหรือ (๒) สอบปฏิบัติและหรือ (๓) สอบสัมภาษณ์ ทั้งนี้ วิธีดําเนินการคัดเลือกให้ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. พิจารณาตามความเหมาะสม ข้อ 1๒ ผู้สมัครเข้ารับการฝึกไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมใดๆ ทั้งสิ้น ยกเว้นสาขาอาชีพที่สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. พิจารณาเห็นสมควรเก็บค่าธรรมเนียม หมวด ๓ การฝึกและการวัดผล ข้อ 1๓ หลักสูตรที่เปิดฝึกจะต้องมีผู้ได้รับการคัดเลือกเข้ารับการฝึก ตามหลักเกณฑ์ที่ปรากฏ ในตารางแนบท้ายระเบียบนี้ เมื่อเปิดดําเนินการฝึกไปแล้วเป็นระยะเวลาไม่เกินร้อยละยี่สิบของเวลาฝึกทั้งหมดในแต่ละ หลักสูตร หากจํานวนผู้รับการฝึกเหลือน้อยกว่าแปดคนให้ปิดการฝึก ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อํานวยการ สพภ. ผู้อํานวยการศพจ. หรือผู้อํานวยการศพร.กทม. จะเห็นสมควรเป็นประการอื่น ข้อ 1๔ ผู้รับการฝึกจะต้องมีเวลาการฝึกไม่น้อยกว่าร้อยละแปดสิบของเวลาการฝึกทั้งหมด จึง จะมีสิทธิเข้ารับการวัดผลและประเมินผลการจบฝึก ข้ อ 1๕ ให้ มี ก ารประเมิ น ผลการฝึ ก เมื่ อ จะสิ้ น สุ ด การฝึ ก โดยให้ ป ระเมิ น องค์ ค วามรู้ ความสามารถในการทํางาน และทักษะฝีมือในการสร้างผลผลิตและบริการ ทั้งเชิงคุณภาพและประสิทธิภาพ โดยอิงแนวตัวชี้วัดมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ซึ่งมีความสอดคล้องกับเนื้อหาและหลักสูตรที่ดําเนินการฝึก ข้อ 1๖ ผู้รับการฝึกจะต้องได้คะแนนวัดผลภาคทฤษฎีเชิงปฏิบัติและภาคปฏิบัติรวมกันไม่ น้อยกว่าร้อยละหกสิบ จึงจะถือว่าผ่านการฝึกและได้รับวุฒิบัตรรับรองจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน หมวด ๔ การสิ้นสุดการฝึกยกระดับฝีมือ ข้อ 1๗ การสิ้นสุดการฝึกยกระดับฝีมือ มีดังนี้


- 12 -

(๑) เมื่อผู้รับการฝึกผ่านการฝึกและวัดผลตามหลักสูตรการฝึก (๒) ให้ผู้รับการฝึกพ้นสภาพจากการเป็นผู้รับการฝึก โดยเหตุอย่างหนึ่งอย่างใด ต่อไปนี้ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ขาดคุณสมบัติตามข้อ 9 (๔) ไม่ปฏิบัติตามระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับของโรงฝึกงาน (๕) ต้องโทษคดีอาญา โดยคําพิพากษาของศาลถึงที่สุดให้จําคุก เว้นแต่ความผิดลหุโทษ หรือความผิดที่ได้กระทําโดยประมาท (๖) มีความประพฤติหรือพฤติการณ์ที่สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. เห็นว่าไม่สมควรที่จะ ได้รับฝึกต่อไป หมวด ๕ ค่าตอบแทนของเจ้าหน้าที่ ข้อ 1๘ ในการปฏิบัติงานนอกเวลาทําการปกติของเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ หรือประสานงาน หรืออํานวยความสะดวก ให้ถือปฏิบัติตามตารางแนบท้ายระเบียบนี้ หมวด ๖ อื่นๆ ข้ อ 1๙ กรณี น อกเหนื อ จากที่ กํ า หนดไว้ ใ นระเบี ย บนี้ ใ ห้ สพภ. ศพจ. หรื อ ศพร.กทม. พิจารณาเป็นกรณีไป

ประกาศ ณ วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2547 สมชาติ เลขาลาวัณย์ (นายสมชาติ เลขาลาวัณย์) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน


- 13 -

ระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ว่าด้วยการฝากฝึกในกิจการ พ.ศ. 2547 โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานว่าด้วยการฝากฝึกในกิจการ ให้ เหมาะสมยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน จึงออกระเบียบไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานว่าด้วยการฝากฝึกในกิจการ พ.ศ. 2547” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2547 เป็นต้นไป ข้อ 3 บรรดาระเบียบ คําสั่ง หรือแนวปฏิบัติใดที่ขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบนี้แทน ข้อ ๔ ในระเบียบนี้ “สพภ.” หมายถึง สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค “ศพจ.” หมายถึง ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด “ศพร.กทม.” หมายถึง ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานกรุงเทพมหานคร “ผู้เข้ารับการฝึกในกิจการ” หมายความว่า ผู้เข้ารับการฝึกในสถานประกอบการหรือกิจการ ของหลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทํางาน ข้อ ๕ ให้ทุก สพภ. ศพจ. และ ศพร.กทม. ดูแลให้เป็นไปตามระเบียบนี้ ข้อ ๖ ให้อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงานรักษาการตามระเบียบนี้ หมวด 1 คุณสมบัติของผู้เข้ารับการฝึกในกิจการ ข้อ ๗ ผู้มีสิทธิเข้ารับการฝึกการฝึก จะต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ (1) เป็นผู้รับการฝึกหลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทํางานของสพภ. ศพจ. หรือศพร.กทม. (2) เป็นผู้ผ่านเกณฑ์การฝึกที่กําหนด (๓) เป็นผู้ได้รับการฝึกอบรมและผ่านการมัชฌิมนิเทศจากเจ้าหน้าที่ก่อนการไปฝึกในกิจการ (๔) ไม่เป็นผู้ที่อยู่ในโครงการพิเศษที่มีข้อกําหนดหรือข้อตกลงให้ยกเว้นการฝึกในกิจการ ข้อ ๘ ผู้ที่ขาดคุณสมบัติตามข้อ ๗ ให้ผู้อํานวยการ สพภ. ผู้อํานวยการ ศพจ. หรือผู้อํานวยการ ศพร.กทม. พิจารณาผ่อนผันได้เป็นกรณีไป


- 14 -

หมวด 2 การฝึกในกิจการ ข้อ ๙ ให้ผู้รับการฝึกไปฝึกงานตามวันเวลาที่ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. กําหนดไว้และต้อง มีเวลาการฝึกงานในกิจการไม่น้อยกว่าร้อยละแปดสิบชองเวลาฝึกงานในกิจการทั้งหมด ข้อ 1๐ ให้ผู้รับการฝึกปฏิบัติตามกฎ ข้อบังคับของสพภ. ศพจ. หรือศพร.กทม. และคําแนะนํา ของเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการฝากฝึกในกิจการโดยเคร่งครัด ข้อ 1๑ ให้ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. เป็นผู้กําหนดสถานที่ฝึกงานหรือผู้รับการฝึกประสงค์ หาที่ฝึกงานเอง ต้องได้รับความเห็นขอบจาก สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. ก่อน และเมื่อผู้รับการฝึกเลือก สถานที่ฝึกแล้วจะเปลี่ยนแปลงสถานที่ฝึกด้วยตนเองมิได้ ข้อ 1๒ ห้ามผู้รับการฝึกเรียกร้องค่าตอบแทนหรือผลประโยชน์อื่นใดจากผู้ควบคุมดูแล หรือ เจ้าของสถานที่ฝึกงาน เว้นแต่ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. จะได้ตกลงกับเจ้าของสถานที่ฝึกงานนั้นไว้ ข้อ 1๓ ให้ผู้รับการฝึกปฏิบัติตามกฎข้อบังคับต่างๆ ที่สถานที่ฝึกงานกําหนดไว้ และเคารพ เชื่อฟังผู้ควบคุมการฝึกของสถานที่ฝึกงานนั้นโดยเคร่งครัด ข้อ 1๔ ในกรณีที่สถานที่ฝึกงานแจ้งสพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. ส่งผู้รับการฝึกคืนก่อนครบ กําหนดการฝึกในกิจการ ให้ผู้รับการฝึกรายงานตัวต่อเจ้าหน้าที่ฝากฝึกภายในสามวันทําการ มิฉะนั้นจะถือว่า ผู้รับการฝึกขาดการฝึกและพ้นสภาพการเป็นผู้เข้ารับการฝึกในกิจการ ข้อ 1๕ การลากิจและลาป่วยของผู้รับการฝึกระหว่างฝึกงานต้องปฏิบัติดังต่อไปนี้ (๑) การลากิจให้ยื่นใบลาต่อผู้ควบคุมการฝึกของสถานที่ฝึกงานและต้องได้รับอนุญาตจากผู้มี อํานาจก่อนจึงจะหยุดฝึกงานได้ (๒) การลาป่วยให้ยื่นใบลาต่อผู้ควบคุมการฝึกของสถานประกอบการที่ฝึกงานในวันแรกที่ กลับเข้าฝึกงาน ในกรณีที่ป่วยติดต่อกันตั้งแต่สามวันขึ้นไป จะต้องมีใบรับรองแพทย์มาแสดงด้วย ข้อ 1๖ ให้ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. ไปตรวจเยี่ยมการฝึกงานของผู้รับการฝึกเพื่อให้ คําปรึกษาแนะนําแก่ผู้รับการฝึกรับทราบปัญหาข้อเสนอแนะ จากผู้ควบคุมและเจ้าของสถานที่ฝึกงานอย่าง น้อยรุ่นละหนึ่งครั้ง ข้อ 1๗ ให้ผู้รับการฝึกเป็นผู้รับผิดชอบในการติดตามตลอดจนดําเนินการจัดส่งใบลงเวลา ใบ ประเมินผลการฝึกในกิจการจากสถานที่ฝึกงาน และผลการมีงานทําให้แก่เจ้าหน้าที่ฝากฝึกภายในเจ็ดวันนับแต่ วันที่สิ้นสุดการฝึกในกิจการ หมวด ๓ การสิ้นสุดการฝึกในกิจการ ข้อ 1๘ ให้ผู้รับการฝึกในกิจการ สิ้นสุดการฝึกในกิจการ ดังนี้ (๑) เมื่อผู้รับการฝึกในกิจการมารายงานตัวต่อเจ้าหน้าที่ฝากฝึกพร้อมทั้งนําหลักฐานใบลง เวลา ใบประเมินผลการฝึกในกิจการและผลการมีงานทําจากสถานที่ฝึกงานให้แก่เจ้าหน้าที่ฝากฝึกภายในเจ็ด วันนับแต่วันที่ครบกําหนดการฝึกงาน


- 15 -

(๒) ในกรณี ที่สถานที่ฝึกงานจัดส่งผลการฝึกและผลการมีงานทํา ของผู้รับการฝึกให้ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. ในภายหลัง ให้ผู้รับการฝึกมารายงานตัวกับเจ้าหน้าที่ฝากฝึกภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ ครบกําหนดการฝึกงาน ข้อ 1๙ ให้ สพภ. ศพจ. หรือ ศพร.กทม. จัดให้มีการปัจฉิมนิเทศผู้ผ่านการฝึกในกิจการ เพื่อ ประโยชน์ในการเตรียมตัวเข้าสู่การทํางาน หมวด ๔ อื่นๆ ข้อ ๒๐ กรณีนอกเหนือจากที่กําหนดไว้ในระเบียบนี้ให้ผู้อํานวยการ สพภ. ผู้อํานวยการ ศพจ. หรือ ผู้อํานวยการ ศพร.กทม. พิจารณาเป็นกรณีไป ประกาศ ณ วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2547 สมชาติ เลขาลาวัณย์ (นายสมชาติ เลขาลาวัณย์) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน


- 16 -

ระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ว่าด้วยการคัดเลือกบุคคลภายนอกเป็นวิทยากรดําเนินการสอน ในหลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทํางาน พ.ศ. 254๑ เพื่อให้การคัดเลือกบุคคลภายนอกเป็น วิทยากรดํา เนิน การสอนในหลักสูตรการฝึกเตรีย ม เข้าทํางาน เป็นไปอย่างมีระเบียบอยู่บนบรรทัดฐานและหลักเกณฑ์เดียวกัน อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน จึง วางระเบียบไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานว่าด้วยการคัดเลือกบุคคลภายนอก เป็นวิทยากรดําเนินการสอนในหลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทํางาน พ.ศ. 254๑” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๓1 มีนาคม พ.ศ. 254๑ เป็นต้นไป ข้ อ 3 ให้ ย กเลิ กระเบี ยบกรมพั ฒ นาฝี มื อแรงงานว่ า ด้ ว ยการคั ด เลื อ กบุ ค คลภายนอกเป็ น วิทยากรดําเนินการสอนในหลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทํางาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. 25๓๘ ลงวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๘ ข้อ ๔ วิทยากรตามระเบียบนี้ต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ (๑) สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ในสาขาที่เกี่ยวกับการฝึก หรือ (๒) สํา เร็จ การศึกษาระดับ ประกาศนีย บัตรวิชาชีพชั้ นสู ง (ปวส.) หรือเที ยบเท่าในสาขาที่ เกี่ยวกับการฝึก และมีประสบการณ์ในการสอนเกี่ยวกับวิชาชีพนั้นไม่น้อยกว่า 1 ปี หรือมีประสบการณ์ในการ ทํางานเกี่ยวกับวิชาชีพนั้นไม่น้อยกว่า 2 ปี หรือ (๓) สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าในสาขาที่เกี่ยวกับ การฝึก และมีประสบการณ์ในการสอนเกี่ยวกับวิชาชีพนั้นไม่น้อยกว่า 2 ปี หรือมีประสบการณ์ในการทํางาน เกี่ยวกับวิชาชีพนั้นไม่น้อยกว่า 4 ปี หรือ (๔) ได้รับวุฒิบัตรมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติในสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวกับการฝึก หรือ (๕) ได้รับวุฒิบัตรหลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทํางานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานกลาง หรือ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค หรือศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดในสาขาที่เกี่ยวกับการฝึก มีอายุไม่ตํากว่า 20 ปี และมีประสบการณ์ในการสอนเกี่ยวกับวิชาชีพนั้นไม่น้อยกว่า 2 ปี หรือมีประสบการณ์ในการทํางาน เกี่ยวกับวิชาชีพนั้นไม่น้อยกว่า 4 ปี หรือ (๖) สํา เร็จ การศึกษาตั้ง แต่ร ะดั บประถมศึกษาปีที่ 6 ขึ้นไป มีอายุไม่ ตํากว่า 25 ปี และมี ประสบการณ์ในการสอนเกี่ยวกับวิชาชีพนั้นไม่น้อยกว่า ๓ ปี หรือมีประสบการณ์ในการทํางานเกี่ยวกับวิชาชีพ นั้นไม่น้อยกว่า ๖ ปี หรือ (๗) สํา เร็จ การศึกษาตั้ง แต่ร ะดั บประถมศึกษาปีที่ ๔ ขึ้นไป มีอายุไม่ ตํากว่า 25 ปี และมี ประสบการณ์ในการสอนเกี่ยวกับวิชาชีพนั้นไม่น้อยกว่า ๕ ปี หรือมีประสบการณ์ในการทํางานเกี่ยวกับวิชาชีพ นั้นไม่น้อยกว่า ๘ ปี


- 17 -

ข้อ ๕ กรณีเป็นชาวต่างประเทศ ให้มีคุณสมบัติเทียบเท่าข้อ 4 (1) – (7) โดยอนุโลม ข้ อ ๖ ให้ ผู้ อํา นวยการสถาบั น พั ฒ นาฝี มือ แรงงานกลาง ผู้ อํา นวยการสถาบั น พั ฒ นาฝี มื อ แรงงานภาค ผู้อํานวยการศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบ เป็นผู้มีอํานาจแต่งตั้งวิทยากร จากผู้มีคุณสมบัติตามข้อ 4 และข้อ 5 ตามที่เห็นสมควร ข้อ ๗ ให้อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงานเป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้ ประกาศ ณ วันที่ ๓1 มีนาคม พ.ศ. 254๑ นิทัศน์ ธีระวิทย์ (นางนิทัศน์ ธีระวิทย์) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.