ศูนย์ขมุ ทองเพื่อการลงทุน ข้อมูลลึก (206) กุมภาพันธ์ 2555 บทวิเคราะห์ ทางธุรกิจ ผูร้ บั ผิดชอบ อ.ประเสริฐ วิจติ รนพรัตน์
ประเด็นสาคัญ บทวิเคราะห์ ทางธุรกิจ อาทิ ประเมินเม็ดเงินสะพัดถนนคนเดิน , ต้ นทุนธุรกิจสปา , นักท่องเที่ยวแห่ จัดสัมมนาขอนแก่น โอกาสทองของธุรกิจโรงแรม/ที่พกั ชูแคมเปญมัดใจลูกค้ า “ มนต์เสน่ห์วฒ ั นธรรม อีสานและเมืองแห่งการพักผ่อน , ธุรกิจโรงเรี ยนสอนภาษาอนาคตสดใส นักเรี ยนเต็มใจจ่ายเพิ่มเพราะ เชื่อมัน่ มาตรฐานการสอน
โครงการความร่วมมือ หอการค้าจังหวัดขอนแก่น และคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณของ องค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น เทศบาลนครขอนแก่น สานักงานพาณิชย์จงั หวัดขอนแก่ น
ข้อมูลลึก (206) บทวิเคราะห์ทางธุรกิจ ประเมินเม็ดเงินสะพัดของถนนคนเดินในจังหวัดขอนแก่น
ศูนย์ขุมทองเพื่อการลงทุน กุมภาพันธ์ 2555
ประเมินเม็ดเงินสะพัดของถนนคนเดินในจังหวัดขอนแก่น เทศบาลนครขอนแก่นและกลุ่มปัญจมิตร ได้ร่วมกันจัดตั้งถนนคนเดินขึ้น ปิดขายสินค้าทุกเย็น วันเสาร์ เปิดเวลาตั้งแต่ 17.00 – 24.00 น. ถือเป็นการส่งเสริมทั้งด้านการท่องเที่ยวจังหวัดขอนแก่น และเป็นการเผยแพร่วัฒนธรรมอีสานไปในตัว การศึกษาเม็ดเงินหมุนเวียนต่อเดือนที่ถนนคนเดิน จะได้ ว่า ถนนคนเดินมีเม็ดเงินเดินสะพัดประมาณ เดือนละประมาณ 12 ล้านบาท – 26 ล้านบาท ด้านผู้ผลิต ผูผ้ ลิตส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 20 -29 ปีคิดเป็นร้อยละ 31.9 อันดับที่สอง 30 – 39 ร้อยละ30.4 และช่วงอายุที่ 40 - 49 50ปีขึ้นไป การศึกษา จานวน ประชากรของผู้ผลิต มีสัดส่วนระดับการศึกษาที่ ปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 46.9 และ ระดับ มัธยม/ปวช. ที่ ร้อยละ 30.4 ปวส./อนุปริญญาที่รอ้ ยละ 11.9 ระดับประถมที่ ร้อย ละ 6.9 และระดับปริญญาโทขึ้นไปร้อยละ 3.8 ด้านอาชีพ ทาอาชีพด้านธุรกิจส่วนตัว รองลงมาคือ พนักงานบริษทั ข้าราชการและนักเรียนนักศึกษา ตามลาดับ ด้ า นผู้ บ ริ โ ภค มี ก ารใช้ การซื้อสินค้า จ่ายเงินไปกับสินค้าที่เป็นอาหารการ 74.8 กิ น เป็ น จ านวนที่ เ กิ น ครึ่ ง ถึ ง ร้ อ ยละ 43.8 74.8 เพราะเป็นราคาที่ไม่แพงมาก 34.0 และจ าเป็ น รองลงมาจะเป็ น งาน 16.5 15.5 15.3 9.3 ศิลปะ ของทามือ ร้อยละ 43.8 ต่อมาเป็นเสื้อผ้าร้อยละ 34 ต่อมา เป็นเครื่องประดับ ของใช้ต่างๆ การ บริจาค และการแสดงเปิดหมวกร้อง เพลง ตามล าดั บ ส่ ว นคนที่ ม าใช้ บริ ก ารส่ ว นใหญ่ จ ะอยู่ ใ นแถบภาค อีสาน คิดเป็นสัดส่วนคนขอนแก่น : คนนอกพื้นที่ร้อยละ 71.3 : 28.8 กลุ่มอาชีพของผู้บริโภค นักเรียน/นักศึกษา ที่ร้อยละ 56.8 ลูกจ้าง/พนักงานบริษัท ร้อยละ 19.5 รับราชการ/รัฐวิสาหกิจร้อยละ 10.5 แม่บ้าน/พ่อบ้าน ร้อยละ 8.5 ธุรกิจส่วนตัว/ค้าขาย ร้อยละ5 รายได้จานวนประชากร อยู่ที่ระดับ 5,000 – 10,000 บาทต่อเดือนที่ร้อยละ 43 เป็นอันดับสูงที่สุด และที่ระดับ ต่ากว่า 5,000 ร้อยละ 29.5 ระดับ 10,001 – 15,000 ร้อยละ 11.8 เป็นอันดับที่ สองและสามตามลาดับ ที่มา : นางสาวณิชา ทองบ่อ ปริญญาตรี หลักสูตรเศรษฐศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปี2554 สามารถติดต่อขอข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ : ศูนย์ขุมทองเพื่อการลงทุน
163
ข้ อมูลลึก (206) บทวิเคราะห์ ทางธุรกิจ ธุรกิจร้ านสะดวกซือ้ จังหวัดขอนแก่ น
ศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน กุมภาพันธ์ 2555
ธุรกิจร้านสะดวกซื้อ จังหวัดขอนแก่น 1.ขนาดธุรกิ จ จากข้อมูลผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดขอนแก่น ปี 2553 พบว่า มีสดั ส่วนสาขาการผลิต อุตสาหกรรมมากทีส่ ุด คิดเป็น 38.4% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด รองลงมา คือ สาขาการค้าส่ง และค้าปลีก คิดเป็น 13.7% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด แสดงว่าสาขาการผลิตอุตสาหกรรมและ สาขาการค้าส่งและค้าปลีก ถือเป็นสาขาทีม่ คี วามสาคัญในการผลักดันเศรษฐกิจของจังหวัดขอนแก่นให้ เกิดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมาก เมือ่ พิจารณาถึงมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด สาขา การค้าส่งและค้าปลีก พบว่า มีการปรับเพิม่ ขึน้ ทุกๆ ปี โดยในปี 2553 มีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด สาขาการค้าส่งและค้าปลีก จานวน 21,341 ล้านบาท(สศช.) ประกอบกับ จานวนประชากรของจังหวัด ขอนแก่น ในแต่ละปีนนั ้ เพิม่ สูงขึน้ เรือ่ ย ๆ (สศช .) อีกทัง้ ข้อมูลสถิตกิ ารย้ายเข้าจังหวัดขอนแก่น ปี 2553 มีการย้ายเข้าจานวนทัง้ หมด 80,450 คน ซึง่ มีการย้ายเข้าในเขตอาเภอเมืองมากทีส่ ุด จานวน 12,698 คน(กรมการปกครอง) ดังนัน้ จานวนประชากรทีเ่ พิม่ ขึน้ เรือ่ ย ๆ จะส่งผลทาให้การจับจ่ายใช้สอย สินค้าอุปโภคบริโภคในชีวติ ประจาวันของประชากรภายในจังหวัดขอนแก่นมีแนวโน้มสูงขึน้ ด้วย จึงส่งผล ให้เกิดการเพิม่ ขึน้ ของร้านสะดวกซือ้ และศูนย์การค้าขนาดใหญ่หลายแห่ง รวมทัง้ ร้านค้าต่างๆ เพื่อ ตอบสนองความต้องการของประชากรจังหวัดขอนแก่นทีเ่ พิม่ มากขึน้ จากข้อมูลข้างต้น พบว่า ธุรกิจ ประเภทค้าส่งและค้าปลีกจึงเป็นธุรกิจทีน่ ่าสนใจ โดยเฉพาะธุรกิจร้านสะดวกซือ้ ในจังหวัดขอนแก่น บริเวณเขตเทศบาลนครขอนแก่นและบริเวณชุมชนเขตอาเภอเมืองขอนแก่นทีม่ จี านวนมากและกาลังมี แนวโน้มเพิม่ มากขึน้ เรือ่ ยๆ ซึง่ โดยส่วนใหญ่ธุรกิจร้านสะดวกซือ้ ในจังหวัดขอนแก่นจะเกิดการกระจุกตัว อยูบ่ ริเวณสถานศึกษา หอพักนักศึกษาและย่านธุรกิจ จานวนร้านซือ้ สะดวกในเขตเทศบาลและเขตชุมชนในอาเภอเมืองจังหวัดขอนแก่น ทัง้ หมด 75 แห่ง (พิจารณาได้จากตารางที่ 1) ตารางที่ 1 แสดงจานวนร้านสะดวกซื้อและคนงานในรอบ 1 ปี ที่ผา่ นมาในเขตเทศบาลและเขตชุมชนในอาเภอ เมืองขอนแก่น คนงานในรอบปี ลาดับ ร้านสะดวกซื้อ จานวน(แห่ง) ที่ผา่ นมา(คน) 1 7-eleven 50 12-15 2 Family Mart 14 7 3 Lotus express 9 20-25 4 Jiffy 2 10-13 ที่มา : จากการสารวจ
164
ข้ อมูลลึก (206) บทวิเคราะห์ ทางธุรกิจ ธุรกิจร้ านสะดวกซือ้ จังหวัดขอนแก่ น
ศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน กุมภาพันธ์ 2555
ภาพที่ 1 แสดงตาแหน่ งร้านสะดวกซื้อ ในชุมชนเมืองและบริเวณรอบมหาวิ ทยาลัยขอนแก่น
ที่มา : จากการสารวจ
จากภาพที่ 1 สีเหลือง คือร้าน 7-eleven สีเขียวคือร้าน Lotus express สีฟ้าคือร้าน Family mart และสี เขียวคือร้าน Jiffy แสดงให้เห็นว่าร้านสะดวกซือ้ ในจังหวัดขอนแก่นค่อนข้างจะกระจุกตัวอยูใ่ นบริเวณ ใกล้เคียงกัน โดยเฉพาะบริเวณสถานศึกษา หอพักนักศึกษา และย่านธุรกิจ ทัง้ จากร้านค้าเดียว กันเอง หรือจากร้านค้าคู่แข่งขันอื่นๆ ซึง่ ทาให้เกิดการแข่งขันสูงในตลาด เกิดผลกระทบต่อ ผูป้ ระกอบการเป็นอย่างมาก 2. การขยายตัวของธุรกิ จประเภทค้าส่งและค้าปลีก ศูนย์การค้าและตลาดทีส่ าคัญตัง้ อยูใ่ นเขตเทศบาลนครขอนแก่นจานวนมาก ซึง่ มีทงั ้ การค้าปลีก แบบดัง้ เดิมและการค้าปลีกแบบสมัยใหม่ ต่อมามีการเข้ามาของธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่ทงั ้ ทีเ่ ป็นธุรกิจค้า ปลีกของคนไทยในท้องถิน่ เองและธุรกิจค้าปลีกของต่างชาติมาเปิดกิจการในจังหวัดขอนแก่น เช่น เซ เว่นอิเลฟเว่น Family mart Jiffy ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลพลาซ่า ห้างสรรพสินค้าบิก๊ ซี ห้างสรรพสินค้าเทสโก้- โลตัส ห้างสรรพสินค้าแฟรีพ่ ลาซ่า ห้างสรรพสินค้าแม็คโคร ห้างสรรพสินค้าเซ็น โทซ่า ตึกคอมพลาซ่า เป็นต้น ธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่มเี ทคโนโลยีทท่ี นั สมัย ซึง่ มีรปู แบบในการ ให้บริการครบวงจร มีสนิ ค้าทีห่ ลากหลาย สินค้าทีจ่ าหน่ายราคาถูกมีการจัดวางสินค้าทีส่ วยงามและมี การติดตัง้ เครือ่ งปรับอากาศ ซึง่ ทาให้ประชาชนในเขตเทศบาลนครจังหวัดขอนแก่นมีวถิ ชี วี ติ ที่ เปลีย่ นแปลงไป โดยล่าสุดมีการขยายการลงทุนธุรกิจค้าส่งและค้าปลีก เปิดห้างสรรพสินค้าโลตัสเอ็กซ์ตร้า บริเวณตาบลศิลา อาเภอเมืองขอนแก่น บนเนื้อที่ 30 ไร่ ทีก่ าลังจะเปิดให้บริการเร็วๆ นี้ จะเป็นการ กระตุน้ ผูป้ ระกอบการท้องถิน่ หรือผูป้ ระกอบการจากต่างชาติให้ตดั สินใจเข้ามาลงทุนทาธุรกิจค้าปลีกใน จังหวัดขอนแก่นเพิม่ มากขึน้ อีกทัง้ เพิม่ โอกาสในการขยายตัวของธุรกิจอื่น ๆ ในจังหวัดขอนแก่นด้วย
165
ข้ อมูลลึก (206) บทวิเคราะห์ ทางธุรกิจ ธุรกิจร้ านสะดวกซือ้ จังหวัดขอนแก่ น
ศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน กุมภาพันธ์ 2555
โดยธุรกิจค้าปลีกในจังหวัดขอนแก่นยังคงมีแนวโน้มในการขยายตัวต่อไปอย่างต่อเนื่อง ทัง้ ผูค้ า้ ปลีกที่ ดาเนินธุรกิจในเขตอาเภอเมืองขอนแก่นอยูแ่ ล้ว ส่วนใหญ่มแี ผนทีจ่ ะขยายสาขาต่อไปอย่าง ต่อเนื่อง นอกเหนือจากนี้ผคู้ า้ ปลีกประเภทร้านขายสินค้าลดราคา (Discout Store) บางราย เช่น เทสโก้โลตัส และบิก๊ ซี มีแผนการชัดเจนทีจ่ ะขยายสาขาในรูปแบบศูนย์การค้าแบบเปิด โดยเปิดให้เช่าพืน้ ทีแ่ ก่ผคู้ า้ ปลีกรายอื่นๆ ทีย่ งั ไม่มธี ุรกิจในเขตอาเภอเมืองขอนแก่น ทีจ่ ะเข้ามาเปิดตลาดในจังหวัดขอนแก่น เช่น ร้านขายยา ร้านขายเฟอร์นิเจอร์ ซูเปอร์มาร์เก็ต เป็นต้น 3. ต้นทุนธุรกิ จสะดวกซื้อ ตารางที่ 2 แสดงต้นทุนการซื้อแฟรนไชส์ธรุ กิ จสะดวกซื้อ ผูไ้ ด้รบั สิ ทธิ์ การบริหาร(แฟรนไชส์) การลงทุน รายละเอียดสิ นเชื่อ รูปแบบ B รูปแบบ C สัญญา 6 ปี สัญญา 10 ปี อุปกรณ์การขายทุกรายการ โครงการสินเชื่ออัตราพิเศษเจ้าของร้านแฟรน ไชส์ TYPE B วงเงินกู้ ไม่เกิน 600,000 สินค้า บาทระยะเวลา สูงสุดไม่เกิน 5 ปี หรือ การตกแต่งภายใน และภายนอก โครงการสิ น เชื อ ่ อั ต ราพิ เ ศษเจ้ า ของร้ า นแฟรน ร้าน ไชส์ TYPE C วงเงินกู้ ไม่เกิน 900,000 บาท ระยะเวลา สูงสุดไม่เกิน 8 ปี ค่าสิทธิในการบริหาร 1,200,000 บาท ค่าธรรมเนียม แฟรนไชส์ 350,000 บาท 500,000 บาท ค่าดาเนินการอื่น ๆ 130,000 บาท 30,000 บาท เงินสดค้าประกัน 1,000,000 บาท 900,000 บาท Total 1,480,000 บาท 2,630,000 บาท ที่มา : ซีพอี อลล์ ที่มา : นางสาววันสุดา อัคนิจ ปริ ญญาตรี หลักสูตรเศรษฐศาสตร์ บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปี 2554 สามารถติดต่ อขอข้ อมูลเพิ่มเติมได้ ท่ ี : ศูนย์ขมุ ทองเพื่อการลงทุน
166
ข้ อมูลลึก (206) บทวิเคราะห์ ทางธุรกิจธุรกิจอสังหาริมทรั พย์ บ้านจัดสรร จังหวัดขอนแก่ น
ศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน กุมภาพันธ์ 2555
ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์บา้ นจัดสรร จังหวัดขอนแก่น ตลาดธุรกิจบ้านจัดสรรในเขตเทศบาล นครขอนแก่น มีลกั ษณะโครงสร้างตลาดเป็นตลาด ผูข้ ายน้อยราย โดยปจั จุบนั นี้มจี านวนหมูบ่ า้ น จัดสรร ทัง้ สิน้ 38 หมูบ่ า้ น จากผูป้ ระกอบการกว่า 30 ราย การเข้ามาการแข่งขันของผูป้ ระกอบการ รายใหม่อาจทาได้ยาก ความรุนแรงในการแข่งขัน นัน้ ยังไม่ค่อยรุนแรง แต่ผปู้ ระกอบการทีท่ าธุรกิจที่ สามารถทดแทนบ้านจัดสรรได้ เช่นธุรกิจหอพัก และบ้านเช่า จะเพิม่ ความรุนแรงในการแข่งขัน เป็นจานวนมาก ซึง่ ส่งผลต่อธุรกิจบ้านจัดสรร เนื่องจากผูบ้ ริโภคทีม่ กี าลังซือ้ น้อยอาจจะเลือกการเช่าทีอ่ ยูอ่ าศัยราคาถูกแทนการซือ้ บ้านจัดสรรทีม่ ี ราคาแพงกว่า แต่ธุรกิจบ้านจัดสรรยังคงเป็นธุรกิจทีน่ ่าลงทุนอยู่ เนื่องจากจานวนประชากรทีย่ งั เพิม่ สูงขึน้ เรือ่ ยๆ ประกอบกับความต้องการทีอ่ ยูอ่ าศัยของผูบ้ ริโภคทีม่ อี ยูอ่ ย่างต่อเนื่อง ธุรกิจบ้านจัดสรรใน ปี 2554 ยังมีทศิ ทางทีด่ ี แม้จะเกิดภาวะน้าท่วม จนส่งผลต่อแรงซือ้ ให้ชะงักลงไปบ้าง แต่จะเห็นว่ามี ผูป้ ระกอบการบ้านจัดสรรขึน้ โครงการในปี 2554 ประมาณ 30 โครงการ จึงนับว่าเป็นสัญญาณทีด่ ขี อง โครงการหมูบ่ า้ นจัดสรรในขอนแก่นทีแ่ สดงให้เห็นว่าบ้านยังเป็นทีต่ อ้ งการของประชาชนอยู่ อีกทัง้ ใน อนาคตทีจ่ งั หวัดขอนแก่นจะเป็นหนึ่งในจังหวัดทีม่ เี ส้นทางการขนส่งคมนาคม EWEC พาดผ่าน นอกจากนัน้ ยังมีการเข้ามาตัง้ รกรากของชาวต่างชาติทเ่ี พิม่ สูงขึน้ เรือ่ ยๆ ทุกปี และรัฐบาลยังได้ลดอัตรา ดอกเบีย้ ลงจากเดิมในช่วงเวลาไม่กเ่ี ดือนทีผ่ ่านมา ผนวกเข้ากับสถาบันการเงินส่งสัญญาณด้านการ ปล่อยกู้ ทาให้อาจจะเป็นโอกาสทีด่ ที ท่ี าให้ผบู้ ริโภคซือ้ บ้านจัดสรรเพิม่ สูงขึน้ ผูป้ ระกอบการทีต่ อ้ งการเข้ามาทาธุรกิจบ้านจัดสรรในเขตเทศบาลนครขอนแก่นควรทีจ่ ะให้ ความสาคัญเกีย่ วกับปจั จัยดังต่อไปนี้ 1.ปจั จัยด้านการจัดจาหน่ าย โดยทีม่ บี า้ นตัวอย่างในโครงการให้ ดูก่อนซือ้ บ้านสร้างเสร็จก่อนขาย เพื่อ ความน่าเชื่อถือในการสร้างบ้าน 2.ปจั จัยด้านการส่งเสริม การตลาด ไม่ว่าจะเป็นการมอบส่วนลดพิเศษ บริการหลังการขาย 3.ปจั จัยด้านราคาจะมีผลสอดคล้อง กับรายได้เฉลีย่ ต่อเดือนทีผ่ บู้ ริโภคจะตัดสินใจซือ้ ไม่ว่าจะเป็นราคาบ้านจัดสรรพร้อมทีด่ นิ ภายใน โครงการ ต่ออัตราการผ่อนชาระต่อเดือน อัตราดอกเบีย้ เงินกูข้ องธนาคารในการซือ้ บ้าน จานวนเงิน ดาวน์ในการซือ้ บ้าน และการจัดหาสินเชื่อจากธนาคารของโครงการ 4.ปจั จัยด้านผลิตภัณฑ์ ไม่ว่าจะ เป็นสภาพแวดล้อมโดยรวมภายในโครงการ การบริการจากส่วนกลางต่างๆ ได้แก่ สโมสรประจาหมูบ่ า้ น สระว่ายน้า สนามกีฬา สนามเด็กเล่น มาตรฐานระบบรักษาความปลอดภัยภายในโครงการ จนกระทัง้ คุณภาพวัสดุอุปกรณ์ทเ่ี ลือกใช้ในการสร้างบ้าน การตกแต่งภายใน
167
ข้ อมูลลึก (206) บทวิเคราะห์ ทางธุรกิจธุรกิจอสังหาริมทรั พย์ บ้านจัดสรร จังหวัดขอนแก่ น
ศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน กุมภาพันธ์ 2555
เนื่องจากปจั จัยเหล่านี้ เป็ นปจั จัยทีส่ ่งผลต่อการ ตัดสินใจซือ้ บ้านจัดสรรของผูบ้ ริโภคมากทีส่ ุด นอกจากนัน้ ผูป้ ระกอบการทัง้ รายใหญ่ และรายย่อยควรสร้างบ้าน จัดสรรทีม่ ลี กั ษณะเป็นบ้านเดีย่ ว ทีม่ รี าคาตัง้ แต่ 1,000,000 ถึง 2,000,000 บาท โดยมีขนาดเนื้อทีข่ องบ้าน จัดสรรอยูร่ ะหว่าง 200 ตารางเมตร ซึง่ มีอตั ราผ่อนดาวน์ ต่อเดือนอยูท่ ่ี 8,000-16,000 บาทต่อเดือน และเหตุผลอีก ประการหนึ่งทีท่ าให้มกี ารตัดสินใจเลือกซือ้ ทีอ่ ยูอ่ าศัย ประเภทบ้านจัดสรรก็เพื่อความสะดวกสบาย ต้องการความ เป็ นส่วนตัวเพราะปจั จุบนั นิยมอยูก่ นั แบบครอบครัวเดีย่ ว เป็นครอบครัวเล็กๆ ส่วนปจั จัยด้าน สภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสมก็เป็นส่วนสาคัญในด้านกายภาพทีส่ ่งผลสนับสนุนให้มกี ารตัดสินใจเลือกซือ้ ที่มา : นางสาววณิชยา แสนสุโพธิ์ ปริ ญญาตรี หลักสูตรเศรษฐศาสตร์ บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปี 2554 สามารถติดต่ อขอข้ อมูลเพิ่มเติมได้ ท่ ี : ศูนย์ขมุ ทองเพื่อการลงทุน
168
ข้ อมูลลึก (206) บทวิเคราะห์ ทางธุรกิจ ต้ นทุนธุรกิจสปา จังหวัดขอนแก่ น
ศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน กุมภาพันธ์ 2555
ต้นทุนธุรกิจสปา จังหวัดขอนแก่น ธุรกิจบริการเป็นกลยุทธ์หนึ่งทีภ่ าครัฐให้ความสาคัญ สนับสนุนส่งเสริม เมือ่ พิจารณารายได้ ภาคบริการด้านการ ท่องเทีย่ วมีสดั ส่วนทีส่ งู ทีส่ ุด ถึงประมาณร้อยละ 50 มีกระแสการ ตื่นตัวในเรือ่ งของการดูแลสุขภาพ จึงได้เกิดธุรกิจ สปา” เกิดขึน้ มากมาย เดย์ สป า บริการแบบครบวงจรทัง้ การนวดและดูแล สุขภาพผิว สะดวกรวดเร็ว ขัน้ ตอนไม่ยงุ่ ยาก ผูบ้ ริโภคส่วนใหญ่ ร้อยละ 48 หันมาใช้วธิ ที างธรรมชาติในการบาบัด จึงส่งผลให้ม ี ผูใ้ ช้บริการเพิม่ มากขึน้ และมีแนวโน้มขยายตัวในอนาคต โดยในปี 2545 ถึงปี 2549 มูลค่าตลาดด้าน ยอดขายของธุรกิจสปาและนวดเพื่อสุขภาพเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง ด้านยอดขายทัวประเทศมี ่ การปรับตัว เฉลีย่ เพิม่ ขึน้ 4.33% ต่อปี ปจั จุบนั ธุรกิจสปาและนวดเพื่อสุขภาพในเขตเทศบาลนครขอนแก่นทีไ่ ด้รบั อนุญาตและได้ขน้ึ ทะเบียนต่อสาธารณสุขจังหวัดและเทศบาลนครขอนแก่น มีผปู้ ระกอบการทัง้ สิน้ 22 ราย ส่วนใหญ่มกี ารให้บริการในรูปแบบเดย์สปา (Day Spa) ซึง่ สถานบริการสปาทีช่ าวขอนแก่นนิยม เข้าไปใช้บริการ ทาให้ธุรกิจสปาและนวดเพื่อสุขภาพมีอตั ราการขยายตัวเพิม่ ขึน้ ส่งผลต่อการแข่งขันใน ธุรกิจสปาและนวดเพื่อสุขภาพในเขตเทศบาลนครขอนแก่นมีแนวโน้มสูงขึน้ ตามไปด้วย ทาให้เกิดการ แข่งขันสูง รวมถึงมีสนิ ค้าทดแทนของธุรกิจสปา เช่น ศูนย์ออกกาลังกาย การเต้นแอโรบิค การวิง่ และ การฝึกโยคะ แต่การเข้ามาใหม่ในธุรกิจนี้ทาได้ไม่งา่ ยนัก เนื่องจากรูปแบบการดาเนินธุรกิจทีต่ อ้ งอาศัย ทาเลทีต่ งั ้ ทีเ่ หมาะสมและการเดินทางไปมาสะดวก ต้องใช้เงินลงทุนสูง ต้องมีบุคลากรโดยเฉพาะ พนักงานนวดทีม่ คี วามชานาญ รวมทัง้ กฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆทีต่ อ้ งปฏิบตั ติ าม เมือ่ เปรียบเทียบต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ ของทัง้ 2 กลุ่มผูป้ ระกอบการ คือ กลุ่ม ผูป้ ระกอบการคือผูป้ ระกอบการเดย์ สปาและนวด เพื่อสุขภาพ ทีป่ ระกอบกิจการบนทีด่ นิ บุคคลอื่น โดยการเช่าและกลุ่มผูป้ ระกอบการสปาทีป่ ระกอบ กิจการบนทีด่ นิ ของตนเอง จานวน 20 แห่ง พบว่า ผูป้ ระกอบการ ร้อยละ 35 ประกอบกิจการมาประมาณ 4 – 6 ปี และส่วนใหญ่ใช้เงินลงทุนของตัวเองใน การประกอบการสปา ซึง่ ผูป้ ระกอบการสปาทีเ่ ช่าทีด่ นิ หรืออาคารของผูอ้ ่นื ทีไ่ ม่ใช่ของตนในการ ประกอบการสปามีตน้ ทุนคงทีท่ งั ้ หมดจะมีค่าใช้จา่ ยโดยเฉลีย่ ประมาณ 548,500 บาท ต้นทุนผันแปร ทัง้ หมด มีค่าใช้จา่ ยโดยเฉลีย่ ประมาณ 16,000บาท และต้นทุนค่าเสียโอกาสเฉลีย่ ต่อเดือน ประมาณ 23,412 บาท รวมต้นทุนเฉลีย่ ของการประกอบกิจการสปา ประมาณ 600,000 บาท ส่วนผูป้ ระกอบการ สปา ทีป่ ระกอบกิจการสปา บนทีด่ นิ ของตนเอง มีตน้ ทุนคงทีท่ งั ้ หมดจะมีค่าใช้จา่ ยโดยเฉลีย่ ประมาณ 2,040,300 บาท ต้นทุนผันแปรทัง้ หมด มีค่าใช้จา่ ยโดยเฉลีย่ ประมาณ 34,000 บาท และต้นทุนค่าเสีย โอกาสเฉลีย่ ต่อเดือน ประมาณ 53,186 บาท รวมต้นทุนเฉลีย่ ของการประกอบกิจการสปา ประมาณ
169
ข้ อมูลลึก (206) บทวิเคราะห์ ทางธุรกิจ ต้ นทุนธุรกิจสปา จังหวัดขอนแก่ น
ศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน กุมภาพันธ์ 2555
2,127,486 บาท พบว่า กลุ่มผูป้ ระกอบการสปา ทีป่ ระกอบกิจการสปา บนทีด่ นิ ของตนเองมีตน้ ทุนทาง เศรษฐศาสตร์มากกว่า กลุ่มผูป้ ระกอบการสปาทีเ่ ช่าทีด่ นิ หรืออาคารของผูอ้ ่นื ทีไ่ ม่ใช่ของตนในการ ประกอบการสปา ที่มา : จารุวรรณ ลาดภูเขียว ปริ ญญาตรี หลักสูตรเศรษฐศาสตร์ บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปี 2554 สามารถติดต่ อขอข้ อมูลเพิ่มเติมได้ ท่ ี : ศูนย์ขมุ ทองเพื่อการลงทุน
170
ข้ อมูลลึก (206) บทวิเคราะห์ ทางธุรกิจ ธุรกิจหอพักผุดรอบมข.
ศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน กุมภาพันธ์ 2555
ธุรกิจหอพักผุดรอบมข. จังหวัดขอนแก่น เป็นศูนย์กลางการศึกษาของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ จึงเป็ นปจั จัยให้มปี ระชากรเคลื่อนย้าย เข้ามาในจังหวัดขอนแก่นสูงมาก ปจั จุบนั จังหวัดขอนแก่นมี ผูป้ ระกอบการทีจ่ ดทะเบียนกับงานพัฒนาสังคมและความ มันคงของมนุ ่ ษย์ 810 ราย(หอพักหญิง 447 ราย และหอพัก ชาย 361 ราย ; ข้อมูลเดือน เม.ย. 54) มีจานวนห้องพัก มากกว่า 25,000 ห้อง โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยขอนแก่น พบ สถิตนิ กั ศึกษาเพิม่ ขึน้ จากเดิมเมือ่ ปี 2549 มีนกั ศึกษา ประมาณ 20,715 คน จานวนหอพักก็ยงั มีไม่มาก แต่ปจั จุบนั มีนกั ศึกษากว่า 43,827 คน (สานักทะเบียน และประมวลผล) ยังไม่รวมถึงคณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาอีกกว่า 10,000 คน ทาให้ในแต่ละปี มีหอพักเกิดขึน้ เป็นจานวน มากกว่า 10,000 ห้อง และจากการสารวจพบว่ายังมีโครงการใหม่ทก่ี าลัง ก่อสร้างอีกจานวนมาก ส่งผลทาให้อตั ราการแข่งขันของธุรกิจหอพักมีมากขึน้ ั่ การวิเคราะห์การกระจุกตัวโดยการใช้ขอ้ มูลจานวนห้องพักฝงโนนม่ วงในปี พ.ศ.2549 – 2554 ซึง่ มี 106 หอพัก และมีจานวนห้องพัก6,360 ห้อง คานวณการกระจุกตัวโดย ใช้การคานวณ 3 วิธ ี คือ 1 Concentration Ratio (CR) เป็นวิธเี พื่อดูความรุนแรงในการแข่งขันระหว่างหน่วยธุรกิจ อานาจการผูกขาดว่ามีมากน้อยเพียงใด ในปี พ.ศ. 2549 – 2554 มีการปรับตัวลดลงจากร้อยละ 68.94 เหลือร้อยละ 21.57 แสดงให้เห็นว่า มีระดับการแข่งขันสูงมากและอานาจการผูกขาดทางตลาดมีน้อย 2 Herfindahl- Hirschman Index (HHI) การวัดการกระจุกตัวโดยการนาเอาหน่วยธุรกิจทุก หน่วยในตลาดมาใช้คานวณ แสดงค่าการปรับตัวลดลงจาก 0.07 เป็น 0.01 แสดงให้เห็นว่า ธุรกิจ ั่ หอพักฝงโนนม่ วงมีการกระจุกตัวต่ า มีการแข่งขันกันสูง เนื่องจากมีจานวนหอพักเพิม่ ขึน้ ทุกๆปีส่งผล ั่ ทาให้ธุรกิจหอพักฝงโนนม่ วงมีการแข่งขันกันสูงขึน้ 3 Comprehensive Concentration Index (CCI) ดัชนีน้โี ดยให้น้าหนักแก่ธุรกิจขนาดเล็กทีอ่ ยูใ่ น ตลาดนัน้ ได้รบั น้าหนักทีถ่ ่วงมากกว่าธุรกิจทีม่ ขี นาดใหญ่ ซึง่ ค่า CCI ได้ปรับตัวลดลงจาก 0.26 เป็น 0.08 แสดงให้เห็นว่า ลักษณะการแข่งขันสูง ผูป้ ระกอบการรายใหญ่ไม่ค่อยมีอทิ ธิพลในตลาด หอพัก แต่ละแห่งนัน้ มีอานาจต่อรองในธุรกิจต่า และในขณะเดียวกันก็มแี นวโน้มการแข่งขันก็สงู ขึน้ เรือ่ ยๆ เนื่องจากค่าดัชนี CCI มีแนวโน้มใกล้เคียง 0 มากขึน้ อาจเป็นเพราะมีจานวนหอพักเพิม่ ขึน้ ทุกปี แนวโน้มธุรกิจห้องพักในอนาคต เนื่องจากรัฐบาลประกาศจะผลักดันโครงการรถไฟความเร็วสูงจาก ประเทศจีน ผ่านประเทศลาว และเข้าสู่ประเทศไทยที่ จ.หนองคาย ทีม่ จี ดุ จอดทีจ่ งั หวัดขอนแก่น ผนวก กับจุดแข็งทีจ่ งั หวัดขอนแก่นเป็นศูนย์กลางด้านการศึกษา และโครงการขยายรับนักศึกษาเพิม่ ทุกปีทาให้ เกิดโอกาสแก่หอพักเอกชนซึง่ ยังคงขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง แต่อย่างไรก็ด ี ปจั จุบนั หอพักมีจานวน มากกว่าจานวนผูใ้ ช้บริการ จากจานวนห้องพักทัง้ หมด 30,000 ห้อง ในขณะทีม่ อี ตั ราการเข้าพักเฉลีย่ ประมาณ 90% (บางพืน้ ทีอ่ าจต่ากว่านี้) หรือ 27,000 ห้อง ซึง่ รวมแล้วยังมีหอ้ งว่างอีกกว่า 3,000 ห้อง ที่มา : นางสาวปนัดดา นิ่มนวล ปริ ญญาตรี หลักสูตรเศรษฐศาสตร์ บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปี 2554 สามารถติดต่ อขอข้ อมูลเพิ่มเติมได้ ท่ ี : ศูนย์ขมุ ทองเพื่อการลงทุน
171
ข้ อมูลลึก (206) บทวิเคราะห์ ทางธุรกิจ ปั จจัยที่มีอทิ ธิพลต่ อการตัดสินใจเลือกประกอบอาชีพเสริมของนักศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
ศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน กุมภาพันธ์ 2555
ปั จจัยที่มีอทิ ธิพลต่อการตัดสินใจเลือกประกอบอาชีพเสริม ของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ราคาเครือ่ งอุปโภคบริโภคต่างๆ ในปจั จุบนั ได้ปรับราคาสูงขึน้ ทาให้ค่าใช้จา่ ย ต่างๆ ของนักศึกษาไม่ค่อยสมดุลกับรายได้ในแต่ละเดือนทีไ่ ด้รบั จากผูป้ กครองเท่าใดนัก รายได้เฉลีย่ ต่อ เดือนทีไ่ ด้รบั จากผูป้ กครองส่วนใหญ่ อยูร่ ะหว่าง 3,001-7,000 คิดเป็นร้อยละ 49 ต่อมาคือ ระหว่าง 7,001-10,000 ร้อยละ 39 ทาให้นกั ศึกษาต้องแสวงหาช่องทางต่างๆ จากเวลาว่างทีเ่ หลือหลังจากเรียน หนังสือ ประกอบอาชีพเสริม เพื่อบรรเทาปญั หา ดังกล่าว : 64.5
57.8 47.5
44.8 38.7 18.3
12.3 5.0 0.0
20.0
40.0
60.0
80.0
ปจั จัยทีเ่ ป็ นตัวตัดสินใจให้ประกอบอาชีพเสริม เพื่อเพิม่ รายได้แต่ละเดือนให้มมี ากขึน้ ร้อยละ 64.5 รองลงมาคือ เพื่อซือ้ สิง่ ของทีอ่ ยากได้ ร้อยละ 57.8 และต้องการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ร้อย ละ 47.5 ตามลาดับ อาชีพเสริมทีน่ กั ศึกษาให้ความสนใจมากทีส่ ุด คือ TA, GA ร้อยละ 36.3 รองลงมาคือ เปิดท้าย ขายของ ร้อยละ 25.5 เด็กเสิรฟ์ ร้อยละ 18.8 ตามลาดับ ส่วนสิง่ ทีม่ ผี ลต่อการตัดสินใจประกอบอาชีพ เสริมของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นส่วนใหญ่ คือ ค่าตอบแทนทีเ่ หมาะสม เช่น เงิน ประกาศนียบัตร คิดเป็นร้อยละ 88.5 รองลงมาคือ ชื่อเสียงของ สถานที่ ร้านค้า หรือองค์กร ร้อยละ 82 อย่างไรก็ตาม การประกอบอาชีพเสริม ของนักศึกษายังมีผลต่อการเรียนด้วย : เช่น เวลาในการอ่านหนังสือ หรือ ทบทวนตาราเรียน มีน้อยลง โอกาสทีจ่ ะ TA, GA , 25.5 ทากิจกรรมร่วมกับทางมหาวิทยาลัย 18.8 หรือการทาประโยชน์เพื่อสังคม มี 13.0 น้อยลง ดังนัน้ นักศึกษาทีต่ อ้ งการหา 11.3 รายได้เสริมควร แบ่งเวลาให้ถูกต้อง 0
10
20
30
36.3
40
ที่มา : นางสาวปาริ ฉตั ร หงส์ทอง ปริ ญญาตรี หลักสูตรเศรษฐศาสตร์ บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปี 2554 สามารถติดต่ อขอข้ อมูลเพิ่มเติมได้ ท่ ี : ศูนย์ขมุ ทองเพื่อการลงทุน
172
ข้ อมูลลึก (206) บทวิเคราะห์ ทางธุรกิจ นักท่ องเที่ยวแห่ จัดสัมมนาขอนแก่ น โอกาสทองของธุรกิจโรงแรม/ที่พัก ชูแคมเปญมัดใจลูกค้ า “มนต์ เสน่ ห์วัฒนธรรมอีสานและเมืองแห่ งการพักผ่ อน”
ศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน กุมภาพันธ์ 2555
นักท่องเที่ยวแห่จดั สัมมนาขอนแก่น โอกาสทองของธุรกิจโรงแรม/ทีพ่ กั ชูแคมเปญมัดใจลูกค้า “มนต์เสน่ห์วฒ ั นธรรมอีสานและเมืองแห่งการพักผ่อน” จังหวัดขอนแก่น เป็ นดินแดนที่อดุ มสมบูรณ์ จุดบรรจบของแม่น ้าชี แม่น ้าพอง มีที่ราบทุง่ กว้ างใหญ่ และหนองบึงทะเลสาบธรรมชาติมากแห่ง จึงเป็ นที่ตงถิ ั ้ ่นฐานของชุมชนมาหลายยุคหลายสมัยต่อเนื่องมาจน ปั จจุบนั ทาให้ จงั หวัดขอนแก่นเป็ นดินแดนมรดกทางธรรมชาติ มรดกทางวัฒนธรรม ประเพณี โบราณสถาน โบราณวัตถุมากมาย และมีกิจกรรมการผลิตจากภูมิปัญญาพื ้นบ้ านหลากหลายรูปแบบแต่เป็ นเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น ซึง่ นักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวในจังหวัดขอนแก่นมีมลู เหตุจงู ใจ คือ การท่องเที่ยวเพื่อการพักผ่อน ร้ อยละ 38.3 และการท่องเที่ยว เพื่อความสนุกสนานและความบันเทิง ร้ อยละ 36.3
: 45.5
โดยมีทศั นคติ ต่อการท่องเที่ยวจังหวัดขอนแก่นดังนี ้ 1).เป็ นการให้ รางวัลกับชีวิต ร้ อยละ 49.0 2).การท่องเที่ยวทาให้ เกิดการไหลเวียนของเงินในจังหวัด ร้ อยละ 48.8 3).การท่องเที่ยว 49.0 เพื่อให้ ได้ เรี ยนรู้สงิ่ ใหม่ ๆ ร้ อยละ 45.5 ดังแผนภาพ ส่วนใหญ่ 42.0 44.0 46.0 48.0 50.0 นักท่องเที่ยวที่เดินทางมาจังหวัดขอนแก่นมากกว่า 5 ครัง้ ในช่วง วันหยุดต่อเนื่อง จะเดินทางมาโดยรถยนต์สว่ นตัวซึง่ เดินทางมากับเพื่อน ๆ รองลงมาคือเดินทางมากับครอบครัว โดยนักท่องเที่ยว จะใช้ เวลา 2-3 คืนในการท่องเที่ยว ซึง่ สถานที่ทอ่ งเที่ยว ในจังหวัดขอนแก่นที่นกั ท่องเที่ยวชอบเดินทางมาเที่ยวมากที่สดุ คือ ห้ างสรรพสินค้ า รองลงมาคือสถานที่ทอ่ งเที่ยวตามธรรมชาติ 48.8
ส่วนสิง่ ที่ดงึ ดูดให้ นกั ท่องเที่ยวเข้ ามาท่องเที่ยวส่วนใหญ่จะมาเพื่อประชุมสัมมนา ติดต่อธุระ มา เยี่ยมญาติ การมาเพื่อการพักผ่อน และการศึกษา นิยมท่องเที่ยวในสถานที่ทอ่ งเที่ยวที่ใกล้ ๆ มีการเดินทาง สะดวกใช้ ระยะเวลาในการเดินทางไม่นาน ใช้ ระยะเวลาท่องเที่ยวประมาณ 2-3 วัน นิยมท่องเที่ยว เพื่อความบันเทิง ถ้ ามองในภาพรวมส่วนใหญ่ของการเดินทางท่องเที่ยวจะเป็ น การท่องเที่ยว ภายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือกันเอง ส่วนการพัฒนาการท่องเที่ยวจังหวัดขอนแก่นนัน้ 1). ควรมีการประชาสัมพันธ์ จังหวัดขอนแก่นต้ องมีการประชาสัมพันธ์ด้านการท่องเที่ยวให้ มากขึ ้น ไม่วา่ จะเป็ นการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว หรื องานเทศกาลต่าง ๆ 2). ด้ วยข้ อจากัดของ สถานที่ทอ่ งเที่ยวในจังหวัดขอนแก่นที่อยูห่ า่ งกันทาให้ การท่องเที่ยวของจังหวัดไม่ประสบ ความสาเร็ จ และไม่ได้ มีทรัพยากรด้ านการท่องเที่ยวเหมือนอย่างจังหวัดที่มีทะเล หรื อที่มีภเู ขา มีอากาศที่หนาว ซึง่ จังหวัดขอนแก่น นันไม่ ้ ได้ มีอะไรที่จะดึงดูดนักท่องเที่ยวได้ เท่าที่ควร การสร้ างแหล่งท่องเที่ยวที่ใกล้ ตวั เมือง เดินทางสะดวก จะสามารถดึงดูด นักท่องเที่ยวได้ 3).ด้ านการคมนาคมขนส่ง คือเส้ นทางที่จะให้ นกั ท่องเที่ยวเข้ าถึงแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดขอนแก่นดังนันควรมี ้ การ ปรับปรุงถนนที่จะไปยังสถานที่ทอ่ งเที่ยวให้ ดี สามารถเดินทางได้ สะดวก และเพิ่มเที่ยวบินที่จะมายังจังหวัดขอนแก่น 4).การจัดงาน เทศกาลหรื อ งาน EVENT ต่างๆ การจัดงาน EVENT จะทาให้ นกั ท่องเที่ยวเดินทางมาท่องในจังหวัดขอนแก่นมากยิ่งขึ ้น ที่มา : ทัศนคติและพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวในจังหวัดขอนแก่น : จารุวรรณ อุชาดี - ปริ ญญาโท หลักสูตรบริ หารธุรกิจ มหาบัณฑิต วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปี 2554 สามารถดาวน์ โหลดข้ อมูลเพิ่มเติมได้ ท่ ี : http://www.etatjournal.com/web/etat-journal
173
ข้ อมูลลึก (206) บทวิเคราะห์ ทางธุรกิจ “ สัมพันธ์ ไทย-ลาวยังเหนียวแน่ น” โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาฯ สาเร็จอย่ างต่ อเนื่องสู้ เป้าหมายขยายความร่ วมมือกลุ่มประเทศอนุภูมภิ าคลุ่มแม่ นา้ โขง (GMS)
ศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน กุมภาพันธ์ 2555
“ สัมพันธ์ไทย-ลาวยังเหนียวแน่น ” โครงการแลกเปลีย่ นนักศึกษาฯ สาเร็จอย่างต่อเนือ่ ง สู่เป้าหมายขยายความร่วมมือกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่นา้ โขง (GMS) ความร่วมมือด้ านวิชาการระหว่างไทย -ลาวได้ มีการพัฒนาเพิ่มมากขึ ้นและอย่างต่อเนื่อง อาทิ ในด้ านจานวนลักษณะของ กิจกรรมโครงการต่างๆ ในช่วงระหว่างปี 2544-2549 ได้ มีจานวนมากถึง 330 กว่าโครงการ ซึง่ ในแต่ละปี จะมีโครงการความร่วมมือเพิ่ม จานวนสูงขึ ้นทุกๆ ปี ส่วนด้ านเงินทุน ก็จะมีเงินทุนของความร่วมมือหรื อมี จานวนผู้เข้ าร่ วมโครงการ GMS ปี งบประมา 2543-2553 มูลค่าสูงถึง 305,310 ล้ านบาท รวมทังโครงการ ้ ความร่วมมือระหว่างไทยกับ หน่ ว ย : คน ลาวภายใต้ โครงการแลกเปลีย่ บุนคลากรและนักศึกษาไทยกับประเทศอนุภมู ิภาค ลุม่ แม่น ้าโขง(GMS) ปี 2543-2553 จากแผนภูมิจะเห็นได้ วา่ ปี งบประมาณที่ มีผ้ เู ข้ าร่วมโครงการฝ่ ายไทยสูงกว่าฝ่ ายลาว ได้ แก่ ปี 2546, 255 0, 2551 และ 2553 ตามลาดับ และปี งบประมาณที่มีผ้ เู ข้ าร่วมโครงการฝ่ ายลาวสูง กว่าฝ่ ายไทย ได้ แก่ ปี 2544, 254 7, 2548 และ 2552 ตามลาดับ ส่วนใน ปี งบประมาณ 2543 มีผ้ เู ข้ าร่วมโครงการเท่ากันทังสองฝ่ ้ าย ปี 2549 ไม่มี ผู้เข้ าร่วมโครงการจากฝ่ ายลาว และปี 2545 ไม่มีการดาเนินโครงการ GMS โดยสถาบันอุดมศึกษาไทยที่เข้ าร่วมโครงการมีทงสิ ั ้ ้น 35 แห่ง โดยสถาบันอุดมศึกษาที่มีผ้ เู ข้ าร่วมโครงการมากที่สดุ คือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภาคอีสาน และอีกทังยั ้ งพบว่านักศึกษาชาวลาวที่เข้ ามา ศึกษาอยูใ่ นประเทศไทยมีจานวนเพิ่มสูงขึ ้นเรื่ อยๆ เทียบกับจานวนปริ มาณของนักศึกษาชาวต่างชาติอื่นๆ ก็จะพบว่าร้ อยละ 90 เป็ น จานวนนักศึกษามาจากประเทศลาวมากที่สดุ อีกทังยั ้ งมีจานวนเพิ่มสูงขึ ้นเป็ นเท่าตัวอีกด้ วย ทังนี ้ ้เป็ นผลมากจากประการแรก คือ ความ มัน่ คงทางการเมืองที่มีเอกภาพด้ วยกันทัง้ 2 ฝ่ าย ประการที่สอง คือ จากความเกื ้อหนุนจากสายสัมพันธ์ ระหว่างประเทศที่มีร่วมกันมาตังแต่ ้ อดีตจนถึงปั จจุบนั และประการสุดท้ าย คือ มีผลประโยชน์ แห่งชาติร่วมกัน อาทิ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เป็ นต้ น ด้ านปั จจัยที่ทาให้ เกิดความร่ วมมือระหว่ างไทย – ลาว ในด้ านวิชาการ จนส่ งผลทาให้ มีนักศึกษาชาวลาวเดินทางเข้ ามาศึกษาในมหาวิทยาลัยของไทยที่เพิ่มมากขึน้ ซึง่ จะประกอบด้ วย 2 ปั จจัยหลัก ๆ คือ 1. ปั จจัยโดยตรง ซึง่ สามารถจาแนกปั จจัยโดยตรงได้ ดงั ต่อไปนี ้ ปั จจัยแรก คือ แหล่ง ทุนการศึกษาที่มีจานวนเพิ่มมากขึ ้น อาทิ แหล่งทุนจาก WHO, PAFA, มูลนิธิ Rockefeller Foundation, Ford Foundation, CIDSE Laos เป็ นต้ น ส่งผลให้ นกั ศึกษาชาวลาวได้ รับทุนจากแหล่งทุนต่าง ๆ ให้ เดินทางเข้ ามาศึกษาในประเทศไทยมากขึ ้น ปั จจัยที่สอง คือ มี ภูมิประเทศหรื อพรมแดนที่อยูใ่ กล้ ชิดติดกัน จึงทาให้ นกั ศึกษาชาวลาว สามารถที่จะเดินทางเข้ ามาศึกษาต่อในประเทศไทยได้ อย่าง สะดวก ปั จจัยที่สาม คือ ด้ านของวัฒนธรรมทางภาษาการพูดของทังสองชาติ ้ ที่มีลกั ษณะคล้ ายคลึงกัน โดยที่ประชาชนทังสองประเทศ ้ สามารถที่จะสือ่ สารเข้ าใจกันรู้เรื่ องได้ โดยง่ายและไม่ต้องใช้ ลา่ มแปล ดังนันจึ ้ งทาให้ นกั ศึกษาชาวลาวสามารถที่จะเดินทางเข้ ามาศึกษา ในประเทศไทยอยูอ่ ย่างง่ายขึ ้น และประการสุดท้ าย คือ เป็ นผลมาจากการได้ รับการส่งเสริ มและสนับสนุนจากภาครัฐบาลของทังสอง ้ ประเทศ ที่ร่วมมือกันอย่างจริ งจัง ใส่ใจและสร้ างสรรค์ ส่งผลให้ ความร่วมมือทางวิชาการขยายตัวไปสูส่ าขาต่าง ๆ เพิ่มมากขึ ้น 2. ปั จจัยโดยอ้ อม ได้ แก่ ด้ านการประสานความร่วมมือระหว่างกันของสถาบันอุดมศึกษาไทย -ลาวที่มีตอ่ เนื่องและเพิ่มมากขึ ้น ด้ าน ความคล้ ายคลึงและความเกื ้อหนุนทางด้ านของภาษา สังคม วัฒนธรรม ศาสนาและประเพณี ด้ านความพร้ อมทางมาตรฐานระบบ หลักสูตรที่มีคณ ุ ภาพและความหลากหลาย ประกอบกับจานวนสถาบันทางการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของประเทศไทยก็ยงั มีจานวน มากและมีอยูท่ วั่ ไปในทุกภูมิภาค จึงทาให้ นกั ศึกษาชาวลาวสามารถที่จะเดินทางเข้ ามาศึกษาในประเทศไทยได้ ง่ายขึ ้น สะดวกขึ ้น และ ตรงตามความต้ องการของผู้เรี ยนได้ อีกทังปั ้ จจัยด้ านค่าครองชีพในประเทศไทยไม่แพงเหมือนกับประเทศอื่น ๆ อีกด้ วย ที่มา : ความร่วมมือระหว่างไทย-ลาว ในด้ านวิชาการ (2544-2549) กรณีศกึ ษาความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยในภาคอีสานของไทยกับ ลาว : วาริ ธ ราศี – ปริ ญญาโท หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปี 2550 สามารถดาวน์ โหลดข้ อมูลเพิ่มเติมได้ ท่ ี : http://tdc.thailis.or.th/tdc/ 35 30 25 20 15 10 5 0
174
ข้ อมูลลึก (206) บทวิเคราะห์ ทางธุรกิจ การสอน
“ ธุรกิจโรงเรียนสอนภาษาอนาคตสดใส ”นักเรียนเต็มใจจ่ ายเพิ่มเพราะเชื่อมั่นมาตรฐาน
ศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน กุมภาพันธ์ 2555
“ ธุรกิจโรงเรียนสอนภาษาอนาคตสดใส ” นักเรียนเต็มใจจ่ายเพิม่ เพราะเชือ่ มัน่ มาตรฐานการสอน มหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็ นมหาวิทยาลัยของรัฐที่มีจานวนนักศึกษาที่กาลังศึกษาและ สาเร็ จการศึกษาเป็ นจานวนมากและเพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง ซึง่ นักศึกษากลุม่ ดังกล่าวได้ มีการ เตรี ยมตัวเพื่อสมัครงาน สัมภาษณ์งาน และนักศึกษาบางส่วนกาลังศึกษาหาข้ อมูลเพื่อเรี ยนต่อ ในระดับปริ ญญาโทในมหาวิทยาลัย ทังในและต่ ้ างประเทศ มีนกั ศึกษาจานวนอีก จานวนไม่น้อย ที่ต้องการสอบชิงทุน เพื่อศึกษาต่อปริ ญญาโทในมหาวิทยาลัยทังใน ้ และ ต่างประเทศเช่นกัน ซึง่ มหาวิทยาลัยมากกว่า 7,000 แห่งในกว่า 130 ประเทศทัว่ โลกต้ องการคะแนนสอบ ภาษาอังกฤษ ทัง้ TOEFL และ IELTS เพื่อใช้ เป็ นเกณฑ์กาหนดในการรับเข้ าเรี ยนในมหาวิทยาลัยแต่ละแห่ง ดังนันนั ้ กศึกษาจึงต้ อง มองหาที่เรี ยนภาษาในศูนย์ภาษาที่นกั ศึกษามีความเชื่อถือว่าจะช่วยให้ นกั ศึกษาสามารถเพิ่มขีดความสามารถในการสัมภาษณ์งาน และศึกษาต่อได้ ตามต้ องการ ซึง่ ปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้ บริ การศูนย์ภาษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้ แก่ 1).มีการรับประกันหลังการสอน 2).อาจารย์สอนเป็ นคนไทยมีความเชี่ยวชาญด้ านภาษา 3).อาจารย์เป็ นเจ้ าของภาษาเป็ นผู้สอน 4).อาจารย์มีความเชี่ยวชาญใน การสอน 5).การแนะนาเพื่อนสามารถนามาใช้ เป็ น ปัจจัย
ค่ าสัมประสิทธิ์
ส่วนลดในครัง้ ต่อไป 6).ราคาไม่แพง ส่วนด้ าน
อาจารย์ มคี วามเชี่ยวชาญในการสอน อาจารย์ สอนเป็ นคนไทยมีความเชี่ยวชาญด้ านภาษา อาจารย์ เป็ นเจ้ าของภาษา การแนะนาเพือ่ นสามารถนามาใช้ เป็ นส่ วนลดในครั้งต่ อไป มีการรับประกันหลังการสอน
1,378 1,254 1,188 1,001 764
ความเต็มใจที่จะจ่ายค่าเรี ยนให้ ศนู ย์ภาษาของ นักศึกษาระดับปริ ญญาตรี ของ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จากตารางสามารถอธิบายได้ ดังนี ้
1. ศูนย์ภาษามีอาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญ ในการสอน นักศึกษาจะยอมจ่ายเพิ่มขึ ้น 1,378 บาทต่อคนต่อคอร์ ส เนื่องจากนักศึกษามีความเชื่อถือและมัน่ ใจในการเรี ยนกับ อาจารย์ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในการสอน 2. ศูนย์ภาษามีอาจารย์สอนเป็ นคนไทยมีความเชี่ยวชาญด้ านภาษา นักศึกษาจะยอมจ่ายค่าบริ การเพิ่มขึ ้น 1,254 บาท ต่อคนต่อคอร์ ส เนื่องจากอาจารย์สอนที่เป็ นคนไทย ทาให้ นกั ศึกษากล้ าเรี ยน กล้ าโต้ ตอบทางภาษา มากกว่าอาจารย์ตา่ งชาติ 3. ศูนย์ภาษามีอาจารย์เป็ นเจ้ าของภาษาเป็ นผู้สอนด้ วย นักศึกษาจะยอมจ่ายค่าบริ การเพิ่มขึ ้น 1,188 บาทต่อคนต่อ คอร์ ส เนื่องจากอาจารย์ที่เป็ นเจ้ าของภาษานัน้ ๆ จะมีความรู้ ความเชี่ยวชาญด้ านภาษามากกว่าอาจารย์ที่ไม่ใช่เจ้ าของภาษา 4. ศูนย์ภาษายอมให้ การแนะนาเพื่อน สามารถนามาใช้ เป็ นส่วนลดในครัง้ ต่อไป นักศึกษาจะยอมจ่ายค่าบริ การเพิ่มขึ ้น 1,001 บาทต่อคนต่อคอร์ ส เนื่องจากจะทาให้ นกั ศึกษาจะสามารถจ่ายค่าบริ การได้ ถกู ลง 5. ศูนย์ภาษามีบริ การรับประกันหลังการสอน นักศึกษาจะยอมจ่ายค่าบริ การเพิ่มขึ ้น 764 บาทต่อคนต่อคอร์ ส เนื่องจาก จะทาให้ นกั ศึกษามีความมัน่ ใจในการเรี ยนกับศูนย์ภาษามากยิ่งขึ ้น
175
ข้ อมูลลึก (206) บทวิเคราะห์ ทางธุรกิจ การสอน
“ ธุรกิจโรงเรียนสอนภาษาอนาคตสดใส ”นักเรียนเต็มใจจ่ ายเพิ่มเพราะเชื่อมั่นมาตรฐาน
ศูนย์ ขุมทองเพื่อการลงทุน กุมภาพันธ์ 2555
ดังนันศู ้ นย์ภาษาจะต้ องจัดคอร์ สให้ สอดคล้ องกับความต้ องการของนักศึกษา ซึง่ จะสามารถตอบสนองความต้ องการของ นักศึกษาได้ อย่างมีประสิทธิภาพ พร้ อมทังช่ ้ วยให้ ศนู ย์ภาษาสามารถดาเนินกิจการได้ อย่างประสบความสาเร็ จ ที่มา : นิติทรรศ สุวรรณรงค์ ปริ ญญาตรี หลักสูตรเศรษฐศาสตร์ บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปี 2554 สามารถติดต่ อขอข้ อมูลเพิ่มเติมได้ ท่ ี : ศูนย์ขมุ ทองเพื่อการลงทุน
176