นานาสาระกฎหมายละเมิด
๑
กิตติบดี ใยพูล
กิตติบดี ใยพูล
สารบาญ นานาสาระกฎหมายละเมิด (1) หลักการทาคาฟ้องคดีแพ่ง : ความรับผิดเพื่อ ละเมิด (มาตรา 420)
หน้า 3
นานาสาระกฎหมายละเมิด (2) การใช้สิทธิเกินขอบเขต
หน้า 4
นานาสาระกฎหมายละเมิด (3) มาตรฐานความระมัดระวังของบุคคล หน้า 10 นานาสาระกฎหมายละเมิด (4) สิทธิเด็ดขาด (Absolute Rights) หน้า 15 นานาสาระกฎหมายละเมิด (5) การกระทาต่อผู้อื่น
หน้า 18
นานาสาระกฎหมายละเมิด (6) ค่าสินไหมทดแทนเพื่อละเมิด
2
หน้า 21
นานาสาระกฎหมายละเมิด (7) กฎหมายละเมิดไทย
หน้า 24
นานาสาระกฎหมายละเมิด (8) ความรับผิดทางแพ่งกับความรับผิดทางอาญา ประเด็นความรับผิดทางแพ่ง(ละเมิด) กับความรับผิดทางอาญา
หน้า 28
ตัวอย่างคาถามกฎหมายละเมิด
หน้า 31
กิตติบดี ใยพูล
นานาสาระกฎหมายละเมิด (1) หลักการทาคาฟ้องคดีแพ่ง : ความรับผิดเพือ่ ละเมิด (มาตรา 420)
3.1 บรรยายเพื่ อ พิ สู จ น์ ค วามผิ ด ของ จาเลย Fault 3.2 บรรยายเพื่ อ พิ สู จ น์ค วามสั ม พั น ธ์ ระหว่างเหตุและผล Causation
เกริ่นนา โจทก์ต้ องบรรยายให้ครบองค์ป ระกอบ ละเมิด มาตรา 420 ได้แก่ 1. ส่วนความผิด
ข้อ 4. องค์ประกอบละเมิดเรื่อง ความเสียหาย Damage
(Fault) กล่าวคือ ผู้ใดกระทาต่อผู้อื่นโดยผิด
ข้ อ 5. บรรยายให้ เ ห็น ถึ ง ความร้า ยแรงของ
กฎหมาย โดยจงใจหรื อ ประมาทเลิ น เล่ อ 2.
พฤติกรรมของจาเลย รวมถึงสภาพความลาเค็ญ
ส่วนความเสียหาย (Damage) และ 3. ส่วน
ของโจทก์ (ข้อเท็จจริงประกอบการพิจารณาใน
ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า ง เ ห ตุ แ ล ะ ผ ล
เชิงอัตตวิสัย)
(Causation) ข้ อ 1. บรรยายให้ เ ห็ น ถึ ง ฐานะของ โจทก์ ประกอบด้วย โจทก์คือใคร มีการมอบ
3
Fault ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ กระทาต่อผู้อื่นโดยผิดกฎหมาย
อานาจให้มาฟ้องคดีแทนโจทก์หรือไม่ ข้อ 2. บรรยายฐานะของจาเลย ฐานะและหน้ า ที่ ข องจ าเลย / หน้ า ที่
Damage
ความเสียหายต่อสิทธิ
ดังกล่าวมีกฎหมายหรือสัญญาหรือไม่ ข้อ 3. บรรยายให้เ ห็ นถึ ง นิติ สั มพั น ธ์ ระหว่างโจทก์และจาเลย (องค์ประกอบความผิด ตามมาตรา 420)
Causation ความเสียหายเป็นผลโดยตรงจาก การกระทาของจาเลย
กิตติบดี ใยพูล
นานาสาระกฎหมายละเมิด (2) การใช้สิทธิเกินขอบเขต โปรดพิจารณาคาพิพากษาดังต่อไปนี้ คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1581/2538 ตามสภาพของหลุม ฝังศพย่อมก่อให้เกิด ความหวาดกลั วในเรื่องภูตผีวิญญาณ และเป็นที่ รังเกียจแก่ผู้ที่มิใช่ญาติผู้ตายซึ่งมีบ้านเรือนอยู่ใกล้ หลุมฝังศพการที่จาเลยที่ 1 สร้างหลุมฝังศพหรือ ฮวงซุ้ยเพื่อเก็บศพของ ส.สามีจาเลยที่ 1ในที่ดิน ของตนเองห่างจากบ้านของโจทก์ทั้งสองประมาณ 10 เมตร โดยที่ดินของโจทก์ทั้งสองและจาเลยที่ 1 เป็นที่อยู่อาศัย ไม่เคยมีหลุมฝังศพมาก่อนและ ไม่ปรากฏว่าบริเวณใกล้เคียงมีหลุมฝังศพแต่อย่าง ใด ทั้งตามประเพณีแห่งท้องถิ่นก็ไม่นิยมให้มีการ ฝังศพในเขตหมู่บ้าน ดังนี้ การกระทาของจาเลย ที่ 1 จึง เป็ นการท าละเมิด ต่ อโจทก์ทั้ ง สองตาม ป.พ.พ. มาตรา 1337พ.ร.บ. สุสานและฌาปน สถาน พ.ศ.2528 มาตรา 10 เป็ น บทบั ญญั ติ ห้ า มมิ ใ ห้ ผู้ ใ ดฝั ง ศพไว้ ใ นสถานที่ อื่ น นอกจาก สุสานสาธารณะหรือสุสานเอกชนเว้นแต่จะได้รับ อนุ ญ าตจากเจ้ า พนั ก งานท้ อ งถิ่ น หากฝ่ า ฝื น จะต้องมีความผิด การที่จาเลยที่ 1 ได้รับอนุญาต จากเจ้าพนักงานท้องถิ่นให้ฝังศพตามบทกฎหมาย ดังกล่าวจึงมีผลเพีย งว่าจาเลยที่ 1 มิไ ด้ตกเป็ น
ผู้กระทาผิดต่อพระราชบัญญัติสุสานและฌาปนสถาน ฯเท่ า นั้ น หามี ผ ลท าให้ จ าเลยที่ 1 มี อ านาจ กระท าการใด ๆ ให้โ จทก์ ทั้ ง สองได้รั บ ความ เสียหายไม่มาตรา 10 และ 25 แห่ง พ.ร.บ. สุสานและฌาปนสถานดังกล่าวมิได้กาหนดให้เจ้า พนักงานท้องถิ่นต้องออกคาสั่งให้ผู้ฝ่าฝืนมาตรา 10รื้อถอนสิ่งปลูกสร้างหรือเคลื่อนย้ายศพที่ฝังไว้ ออกไป คงให้อานาจแก่เจ้าพนักงาน-ท้องถิ่นที่ จะใช้ดุลพินิจสั่งให้ดาเนินการดังกล่าวหรือไม่ก็ได้ แม้ป รากฎว่าจาเลยที่ 1 ถูกลงโทษฐานกระท า ความผิดตามมาตรา 10 แล้ว และได้รับอนุญาต จากเจ้าพนักงานท้องถิ่นให้ฝังศพไว้ที่เดิมต่อไปก็ ตาม แต่ป รากฎว่านายอาเภอจาเลยที่ 2 และ ผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด จ าเลยที่ 3 ซึ่ ง เป็ น เจ้ า พนั ก งานท้ อ งถิ่ น ได้ ใ ช้ ดุ ล พิ นิ จ อนุ ญ าตโดยได้ ดาเนินการตามขั้นตอนและอาศัยข้อมูลความเห็นที่ สอดคล้องต้องกันของผู้ที่เกี่ยวข้องตามสมควรแล้ว ดังนี้การกระทาของจาเลยที่ 2 และที่ 3จึงไม่เป็น การฝ่าฝืนต่อกฎหมาย ไม่เป็นการละเมิดต่อโจทก์ ทั้งสอง คาพิพากษาฎีกาที่ 3833/2528 เป็นกรณีของการใช้สิทธิทางศาลโดยไม่ สุจริต (abuse of legal procedure) ข้ อ เท็ จ จริ ง มี ดั ง นี้ การใช้ สิ ท ธิ ท างศาล หาก กิตติบดี ใยพูล
4
กระท าโดยไม่สุ จ ริต จงใจแต่ จะให้ผู้ อื่ นได้ รั บ
ม. 24 ไม่เ ป็ นค าสั่ ง ระหว่ างพิ จ ารณาตาม ม.
ความเสียหาย โดยใช้ศาลเป็นเครื่องกาบังก็เป็น
227 แม้โจทก์จะไม่ได้โต้แย้งไว้ ก็มีสิทธิอุทธรณ์
การกระทาละเมิดได้ โจทก์ฟ้องอ้างว่าจาเลยได้
และฎีกาต่อมาได้
โอนกรรมสิทธิ์ในที่ ดินอันเป็ นสามยทรัพย์ให้แก่ บุคคลอื่นไป ไม่มีสิทธิในทางภาระจายอมอีกแล้ว กลับมายื่นคาร้องและนาสืบพยานหลักฐานในการ ไต่สวนคาร้องโดยจงใจกลั่นแกล้งโจทก์ เพื่อให้ โจทก์ไ ด้รับ ความเสี ย หายหากได้ ค วามเป็ นจริ ง ตามฟ้อ ง ก็ จ ะถื อ ว่า จ าเลยใช้ สิท ธิ ในทางศาล โดยสุ จริ ต มิ ไ ด้ การกระท าของจาเลยอาจเป็ น ละเมิดต่อโจทก์ คาสั่งของศาลชั้นต้นที่ห้ามโจทก์ โอน ขาย จาหน่ายที่ดิน หากมีคาสั่งไปเพราะ หลงเชื่อตามพยานหลั กฐานเท็ จหรือปกปิด ความ จริงที่จาเลยนาสืบ ย่อมเป็นการกระทาละเมิดต่อ โจทก์ ไ ด้ เ ช่ น เดี ย วกั น ศาลชั้ น ต้ น จึ ง ชอบที่ จ ะ สืบ พยานโจทก์ จาเลยให้เ สร็จสิ้นกระแสความ เสียก่อน การสั่งงดสืบพยานโจทก์จาเลยเสียจึงถือ ว่าไม่ปฏิบัติตาม
ป.วิ.พ.ว่าด้วยการพิจารณา
เป็ น การไม่ ช อบ ศาลชั้ น ต้ น พิ เ คราะห์ ค าฟ้ อ ง คาให้การแล้วมีคาสั่งงดสืบพยานโจทก์จาเลยและ วิ นิ จ ฉั ย ในข้ อ กฎหมายว่ า ค าสั่ ง ศาลมิ ใ ช่ ผ ล โดยตรงจากการที่จาเลยยื่ นคาร้อง การกระท า ของจาเลยไม่เป็นการละเมิดต่อโจทก์ พิพากษา ยกฟ้อง เป็นการที่ศาลวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องต้นในข้อ กฎหมายอันทาให้คดีเสร็จไปทั้ งเรื่องตามป.วิ.พ.
คาอธิบาย (1) มาตรา 421 เป็นบทขยายความ องค์ป ระกอบ "โดยผิด กฎหมาย" ตามมาตรา 420 เพื่อให้ครอบคลุมถึงกรณีการใช้สิทธิของตน แต่ ไ ม่ สุ จ ริ ต หรื อ เรี ย กว่ า การใช้ สิ ท ธิ โ ดยไม่ สุจริต Abuse of rights (การใช้สิทธิ โดยสุ จ ริ ต คื อ การใช้ สิ ท ธิ ที่ ไ ม่ ส ร้ า งความ เดือดร้อน/เสียหายต่อบุคคลอื่น) (2) ค าว่ า "ไม่ สุ จ ริ ต " นั้ น ต้ อ ง พิ จ ารณาโดยค านึ ง ถึ ง สภาพแห่ ง ตั ว จ าเลย กล่าวคือ ความไม่สุจริตของเอกชนทั่ วไป ต้อง พิ สูจน์ว่า มีเจตนาหรือจงใจกลั่ นแกล้ง ให้โจทก์ ได้ รั บ ความเสี ย หายฝ่ า ยเดี ย ว (มิ ไ ด้ ห วั ง ผล ธรรมดาแห่งการใช้สิทธิของตน) ทว่าจาเลยอยู่ ในฐานะมี เ ปรี ย บเช่ น ผู้ ป ระกอบธุ ร กิ จ หรื อ ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ แ ล้ ว นั้ น ค ว า ม ไ ม่ สุ จ ริ ต ย่ อ ม หมายความถึงศักยภาพในการคาดหมายถึงความ เสียหายด้วย (3) ในการใช้สิทธิของปั จ เจกชนต้อง อยู่ บ นพื้ น ฐานเคารพต่ อ ศั กดิ์ ศ รีค วามเป็ นมนุ ษ ย์ ซึ่งได้บัญญัติรับรองและคุ้มครองไว้ในรัฐธรรมนูญ กิตติบดี ใยพูล
5
3.1 มาตรา 4 ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
(4) ข้ อ สั ง เกตถึ ง ความเป็ น บทขยาย
สิ ท ธิ เสรี ภ าพ และความเสมอภาคของบุ ค คล
ความองค์ ป ระกอบ "โดยผิ ด กฎหมาย" หรื อ
ย่อมได้รับความคุ้มครอง
มาตรา 421 เป็นบทเอกเทศ (ละเมิดในตัวเอง)
3.2 สิทธิเสรีภาพที่ ปรากฏไว้ในหมวด
ขอให้พิจารณาจากคาพิพากษาที่แสดงดังต่อไปนี้
3 อาทิ มาตรา 32 บุ ค คลย่ อ มมี สิ ท ธิ แ ละ
ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ 1992/2538
เสรีภาพในชีวิตและร่างกาย /มาตรา 35 สิทธิ
ผู้ ก ระท าหรื อ ผู้ ใ ช้ สิ ท ธิ ซึ่ ง มี แ ต่ จ ะให้ เ กิ ด ความ
ของบุ ค คลในครอบครั ว เกี ย รติ ย ศ ชื่ อ เสี ย ง
เสียหายแก่บุคคลอื่นอันเป็นการละเมิดตาม ป.พ.พ.
ตลอดจนความเป็ นอยู่ ส่ วนตั ว ย่ อมได้รับ ความ
มาตรา 421 นั้น ต้องมีเจตนาหรือจงใจกลั่น
คุ้ ม ครอง (วรรคสอง) การกล่ า วหรื อ ไขข่ า ว
แกล้งโดยมุ่งประสงค์ให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น
แพร่หลายซึ่งข้อความหรือภาพไม่ว่าด้วยวิธีใดไป
ฝ่ายเดียว เมื่อโจทก์ติดตั้งป้ายโฆษณาสินค้าของ
ยังสาธารณชน อันเป็นการละเมิดหรือกระทบถึง
โจทก์ บ นดาดฟ้ า ตึ ก แถวที่ โ จทก์ เ ช่ า เพื่ อ
สิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง
ประโยชน์ในทางการค้าของโจทก์ได้ จาเลยก็
หรือความเป็นอยู่ส่วนตัว จะกระทามิได้ เว้นแต่
ย่อ มมี สิ ท ธิ ติ ด ตั้ ง ป้ า ยโฆษณางานในธุ รกิ จ ของ
กรณีที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ ฯลฯ
จ าเลยบนดาดฟ้ า ตึ ก แถว ที่ จ าเลยเช่ า เพื่ อ
3.3 จาก 3.2 จะพบว่ า มาตรา 5 แห่ ง ประมวลแพ่ ง ฯ ได้ ก าหนดความสั ม พั น ธ์ ระหว่างปั จเจกชนกับ ปัจเจกชนว่า "ในการใช้ สิท ธิแ ละชาระหนี้ บุค คลทุกคนต้อ งกระท าโดย สุจริต" หลักพื้นฐานดังกล่าวถือเป็นศีลธรรมทาง สังคม ซึ่งได้แตกแขนงครอบคลุมไปยังทุกบริบ ท
ประโยชน์ในกิจการของจาเลยได้เช่นกันโดยไม่ ต้องคานึงถึงว่าฝ่ายใดติดตั้งก่ อน เมื่อไม่ปรากฏ ว่าจาเลยกระทาเพื่อจงใจกลั่นแกล้งโจทก์แม้ป้าย โฆษณาของจ าเลยจะอยู่ ใ กล้ แ ละปิ ด บั ง ป้ า ย โฆษณาของโจทก์บ้างก็หาเป็นการละเมิดต่อโจทก์ ไม่
ในกฎหมายเช่น หนี้ ละเมิด ครอบครัว ทรัพย์สิน และมรดก
กิตติบดี ใยพูล
6
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 220/2538 แม้
> ทั้งสามฎีกาที่ยกขึ้นมาเป็นตัวอย่างนั้น
โจทก์ก่อสร้างตึกผิดพระราชบัญญัติควบคุมอาคารฯ
ศาลท่านได้เขียนว่า "การใช้สิทธิซึ่งทาให้ผู้อื่น
และเทศบั ญ ญั ติ ก็เ ป็ น เรื่ อ งที่ เ จ้ าพนั ก งานท้ อ งถิ่ น
ได้รับ ความเสี ย หายเป็ น ละเมิด " ย่อ มแสดงว่ า
จะต้องดาเนินการกับโจทก์จาเลยไม่มีสิทธิอ้างเหตุ
การพิ สู จ น์ ค วามผิ ด ของจ าเลยนั้ น เพี ย งเสนอ
ดังกล่าวก่อสร้างแผ่นเหล็กกั้นจนเป็นเหตุให้ปิดกั้น
ข้อเท็จจริงว่า (1) ผู้กระทามีสิทธิโดยชอบด้วย
แสงแดดและทางลมที่จะเข้าตึกของโจทก์และแม้
กฎหมาย (2) ได้ ใ ช้ สิ ท ธิ ข องตนในทางกลั่ น
จาเลยจะก่อสร้างในเขตที่ดินของจาเลยก็เป็นการ
แกล้งให้ผู้อื่นได้รับความเสียหาย
ใช้สิทธิซึ่งมีแต่จะให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่น เป็ น การละเมิ ด ตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และ พาณิชย์มาตรา 421
>>> ประเด็นข้างต้น ยังคงถกเถียงกัน ว่า เรื่ อ งการใช้สิ ท ธิเ กิ น ขอบเขต (เกิ น ส่ว นที่ กฎหมายรั บ รอง) ถื อ เป็ น ละเมิ ด ฐานหนึ่ ง แยก
ค า พิ พ า ก ษ า ฎี ก า ที่ 3 7 / 2 5 2 9
ต่ า งหากจากความรั บ ผิ ด เพื่ อ ละเมิ ด (มาตรา
โจทก์จาเลยอยู่ในตึกแถวเดียวกัน ให้ท่อระบาย
420) หรื อ เป็ น บทขยายองค์ ป ระกอบมาตรา
น้าด้านหลังตึกแถวท่อเดียวกัน เพื่อไหลลงไปสู่ท่อ
420 อย่ า งที่ ก ล่ า วถึ ง ตอนต้ น ในค าอธิ บ าย
ระบายน้าสาธารณะ โดยน้าโสโครกหรือน้าทิ้งจะ
ละเมิด ส่วนมากเห็นว่าเป็นบทขยายองค์ป ระกอบ
ไหลจากห้องโจทก์เลขที่ 30 ผ่านไปห้องเลขที่
โดยผิ ด กฎหมายของมาตรา 420 แต่ ห าก
28 และห้องจาเลยเลขที่ 26 ตามลาดับ ต่อมา
พิ เ คราะห์ ต ามค าพิ พ ากษาที่ อ้ า งอิ ง ไว้ จ ะพบว่ า
จาเลยเอาแผ่ น เหล็ ก เจาะรูเ ล็ ก ๆ มาปิ ด กั้น ต่ อ
มาตรา 421 เป็ นละเมิด ต่างหากจาก มาตรา
ระบายน้านี้ไว้ที่แนวเขตติดต่อระหว่างห้องจาเลย
420 และไม่ ต้ อ งพิ สู จ น์ ถึ ง "จงใจ" หรื อ
กับ กับ ห้องเลขที่ 28 เป็นเหตุให้น้าไม่สามารถ
"ประมาทเลิ น เล่ อ " แต่ อ ย่ า งใด และมาตรา
ระบายได้แ ละท่ ว มขั ง ท าให้ท รั พ ย์ สิ นของโจทก์
421 ต้องยึดหลักการว่าจาเลยมีสิทธิอยู่ก่อนแต่
เสียหายแม้จะเป็นการกระทาในที่ดินของจาเลยเอง
ใช้สิทธินั้นไปในทางที่ไม่ชอบ แต่หากไม่มีสิทธิ
ก็เป็นการทาละเมิดตาม ป.พ.พ. ม.421 จาเลย
อยู่แต่เดิมจะเข้าข่ายโดยผิดกฎหมายตามมาตรา
จึงต้องรับผิดใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์
420
กิตติบดี ใยพูล
7
(5) การใช้ สิ ท ธิ ที่ มี เ จตนาหลี ก เลี่ ย ง
3 เมตร และตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง
กฎหมายที่มุ่งคุ้มครองสาธารณประโยชน์ ย่อมเป็น
ควบคุมการก่อสร้างอาคาร พ.ศ. 2522 ข้อ 72
การใช้สิทธิโดยไม่สุจริต เช่น คาพิพากษาฎีกาที่
วรรคสองได้ ก าหนดไว้ ว่ า ตึ ก แถว ห้ อ งแถว
656/2539 โจทก์ เ จ้ า ของอาคารขออนุ ญ าต
อาคารพาณิชย์ โรงงานอุตสาหกรรม และอาคาร
กทม.ก่อสร้างอาคาร สูง 23ซอย แต่ที่ ดินของ
สาธารณะที่ ป ลูกสร้างริมทางสาธารณะที่มีค วาม
โจทก์อยู่ ติ ด กับ ที่ ดินของบริษัท เอ. แต่ท างการ
กว้างน้อยกว่า 10 เมตร ให้ร่นแนวอาคารห่าง
พิจารณาได้ความว่า เดิมที่ดินของโจทก์และของ
จากศูนย์กลางทางสาธารณะอย่างน้อย 6 เมตร
บริษัท เอ. เป็นที่ดินแปลงเดียวกัน ต่อมาโจทก์
แต่โจทก์ที่ 1 ได้ดาเนินการแบ่งแยกที่ดินดังกล่าว
จึง แบ่ งแยกที่ ดินโดยให้กับ บริษัท เอ. กว้าง 2
ด้ า นทิ ศ เหนื อ และทิ ศ ใต้ เ ป็ น แนวตะเข็ บ กว้ า ง
เมตร ยาว 80 เมตร โดยจดทะเบี ยนภาระจา
ประมาณ 0.80 เมตร ไปตลอดแนวเขตกั้นไว้
ยอมให้โจทก์ใช้ที่ดินเป็นทางผ่านออกสู่ถนนซอย
ระหว่ างที่ ดิ นแปลงที่ จะปลูก สร้ างอาคารกั บ ทาง
ได้ โดยโจทก์เ ป็ นผู้ด าเนินการเอง เพื่ อท าให้
สาธารณะก่อนยื่นคาขออนุญาตปลูกสร้างประมาณ
ที่ ดินโจทก์ไ ม่ติ ด ถนนซอย ศาลฎี กาวินิจฉัยว่ า
20 วัน เห็นได้ชัดว่าโจทก์ที่ 1 ทาเพื่อหลีกเลี่ยง
แม้ว่ากฎหมายจะห้ามการสร้างอาคารสูงบนที่ดินที่
ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร จึงเป็นการใช้สิทธิโดย
ติดถนนซอยเท่านั้น และที่ดินของโจทก์จะไม่ติด
ไม่สุจริตแม้ โจทก์จะอ้า งว่าแนวตะเข็บ ดัง กล่า ว
ถนนซอยก็ตาม แต่ที่ดินเดิมเป็นของโจทก์ และ
ทางจาเลยที่ 1 ขยายทางสาธารณะก็ตาม โจทก์
การที่โจทก์แบ่งแยกที่ดินเป็นอย่างนี้เห็นได้ชัดว่า
ก็ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย แม้เขตพระนครจะเคย
เป็ น กา รจ งใ จที่ จ ะ ห ลี ก เลี่ ยงก ฎห มา ยที่ มี
อนุญาตให้โจทก์ที่ 1 ปลูกสร้างอาคาร 4 ชั้น
วั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ จ ะคุ้ ม ครองประโยชน์ ส าธารณะ
แล้ว ในการพิจารณาคาขออนุญาตปลูกสร้างต่อ
หรือ
เติ ม อาคารเป็ น 11 ชั้ น จ าเลยที่ 1 ก็ มี สิ ท ธิ คาพิพากษาฎีกาที่ 2856/2537 ก่อน
โจทก์ ที่ 1 ปลู กสร้า งอาคาร ที่ ดิ นที่ ป ลู ก สร้ า ง อาคารดังกล่าวด้านทิศเหนือและทิศใต้ติดกับทาง สาธารณะซึ่งด้านทิศเหนือมีขนาดกว้างประมาณ
พิจารณาถึงการกระทาที่ขัดต่อกฎหมายของโจทก์ ทั้งสองดังกล่าวได้ การที่จาเลยที่ 1 ไม่อนุญาต ให้ โ จทก์ ป ลู ก สร้ า งอาคารพิ พ าท จึ ง ชอบด้ ว ย กฎหมายแล้ว
2 เมตร ทิศใต้ กว้างประมาณ 2.20 เมตร ถึง กิตติบดี ใยพูล
8
(6) นอกจากนี้ เที ย บเคีย งกั บ มาตรา
ออกได้แม้เป็นการชั่วคราวแต่ก็เป็นการใช้สิทธิซึ่ง
1337 ซึ่ง เป็ นการใช้สิท ธิเ ป็ นเหตุ ให้เดือดร้อน
มีแต่ให้เกิดเสียหายแก่โจทก์อันเป็นการอันมิชอบ
ราคาญแก่เจ้าของอสังหาริมทรัพย์ข้างเคียง และ
ด้วยกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา 1337 เป็นกรณีเฉพาะเจาะจง ซึ่งแคบ
มาตรา 421 และยังเป็นการใช้สิทธิของตนเป็น
กว่ามาตรา 421 กล่าวคือ บุคคลใดใช้สิทธิของ
เหตุให้โจทก์ได้รับความเสียหายหรือเดือดร้อนเกิน
ตนเป็นเหตุให้เจ้าของอสังหาริมทรัพย์ได้รับความ
ที่ค วรคิด หรือคาดหมายได้ว่าจะเป็ นไปตามปกติ
เสียหาย หรือเดือดร้อนเกินที่ควรคิดหรือคาดหมาย
และเหตุอันควรตามมาตรา 1337 อีกด้วย โจทก์
ได้ว่าจะเป็นไปตามปกติและเหตุอันควร ในเมื่อ
ย่อมมีสิทธิฟ้องเพื่อยังความเสียหายหรือเดือดร้อน
เอาสภาพหรือ ต าแหน่ ง ที่ อยู่ แห่ ง ทรั พ ย์ สิน นั้น มา
นั้นให้สิ้นไปได้
ค า นึ ง ป ร ะ ก อ บ ไ ซ ร้ ท่ า น ว่ า เ จ้ า ข อ ง อสังหาริมทรัพย์มีสิทธิที่จะปฏิบัติการเพื่ อยังความ เสียหายหรือเดือดร้อนนั้นให้สิ้นไป ทั้งนี้ไม่ลบล้าง สิทธิที่จะเรียกเอาค่าทดแทน แต่กระนั้น เจ้าของ
9
อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ยั ง ได้ ป ระโยชน์ เ รื่ อ ง - การ ปฏิบั ติ การใดเพื่อยั ง ความเสีย หาย และสิท ธิใน การเรียกเงินอีกทางหนึ่งด้วย ค าพิ พ ากษาศาลฎี ก าที่ 624/2544 บริษัท ม. จัดสรรพื้นคอนกรีตบนที่ว่างด้านหน้า อาคารของโจทก์ แ ละจ าเลย รวมตลอดถึ ง ด้านหน้าที่ดินที่จัดสรรทุกแปลงเป็นทางสาหรับให้ บุคคลที่ซื้อบ้านที่บริษัท ม. ได้จัดสรรขายใช้เข้า ออกสู่ถนนพหลโยธินได้ การที่จาเลยให้พนักงาน ของจาเลยและลูกค้าที่มาติดต่อกับจาเลยใช้และนา กระถางต้นไม้วางบนพื้นที่ไปจนถึงทางเท้าริมถนน พหลโยธินเป็ นเหตุ ให้โจทก์ไ ม่อาจใช้พื้ นที่ เข้า กิตติบดี ใยพูล
นานาสาระกฎหมายละเมิด (3) (สืบเนื่องนานาสาระกฎหมายละเมิด 2)
ประมาทเลินเล่อทาละเมิด จาเลยจึงไม่ต้องรับผิด ในความเสียหายที่รถชนกันนั้น
ต า ม ค า พิ พ า ก ษ า เ รื่ อ ง สุ ส า น ฝั ง ศ พ
มาตรฐานความระมั ด ระวั ง เยี่ ย งวิ ญ ญู ช นพึ ง ให้
(1581/2538) นั้ น แม้ ว่ า จ าเลยจะได้ รั บ
ความใส่ ใจระมั ด ระวัง โดยให้สมมติ บุ ค คลที่ มี
อนุ ญ าตจากเจ้ า พนั ก งานท้ อ งถิ่ น ตามกฎหมาย
"ภาวะวิสัย" และ "พฤติการณ์" เช่นจาเลย
สุสานและฌาปนสถานฯ แล้ ว ย่ อมไม่สามารถ อ้างได้ เพราะ การได้รับ ใบอนุญาตเป็ นคนละ เรื่ อ งคนละตอนกั บ การท าให้ ผู้ อื่ น ได้ รั บ ความ เดือดร้อนราคาญ (มีสิทธิแล้ว ก็ต้องใช้สิทธิอย่าง สุจริต) เทียบเคียงกับ การที่โจทก์บรรยายฐานะ ของตนว่า เป็ น องค์กรสาธารณกุศล ช่วยเหลื อ สัง คม ย่ อมเป็นคนละกรณีกับ พฤติการณ์แห่งการ
> ภาวะวิสัย ประกอบด้วยคาสองคา คือ ภาวะ และ วิสัย ได้แก่ สภาพแห่งข้อเท็จจริง (ภาวะ) ที่ไม่ ขึ้นกับความคิดเห็นของจาเลย (วิสัย) โดยอาศัย สภาวะของบุ ค คลทั่ ว ไป เช่ น ข้อ เท็ จ จริ ง ที่ เป็ น สภาวะทางอายุ เพศ ร่างกาย สถานภาพทาง
กระทา
สังคมและเศรษฐกิจ ฯลฯ
> มาตรฐานความระมัดระวังของบุคคล
> พฤติการณ์
จาเลยเป็นหญิงอายุ 28 ปี ขับรถมาคน เดี ย วขณะหยุ ด รถรอสั ญ ญาณไปเมื่ อ เวลา 21
ได้แก่ ข้อเท็จจริงภายนอกประกอบการ กระทาของจาเลย
นาฬิกาได้มีคนร้ายเปิดประตูรถเข้าไปนั่งคู่และใช้ ระเบิดมือขู่ให้ขับรถไป จาเลยตกใจขับรถฝ่าฝืน สัญญาไปออกไปชนรถที่แล่นสวนมา โดยไม่ได้ เจตนาตามพฤติการณ์เช่นนี้จะว่าการชนเกิดเพราะ ความประมาทของจาเลยไม่ได้ เพราะบุคคลที่อยู่ ในภาวะตกตลึงกลัวจะให้มีความระมัดระวังเช่น บุ ค คลปกติ ห าได้ ไ ม่ เ มื่ อ จ าเลยไม่ ไ ด้ จ งในหรื อ
10
จากข้อเท็จจริงข้างต้น : ภาวะวิสัย คือ จาเลยเป็นผู้หญิงอายุ 28 ปี ขับรถยนต์ในเวลา กลางคืน พฤติการณ์ คือ มีคนร้ายเปิดประตูรถเข้า ไปนั่งคู่และใช้ระเบิดมือขู่ให้ขับรถไป พิ เ คราะห์ โ ดยบุ ค คลสมมุ ติ กล่ า วคื อ ภาวะวิสัยของผู้หญิง อายุ 28 ปี ขับ รถยนต์ใน กิตติบดี ใยพูล
เวลากลางคื น (ทั่ ว ไป) และมี พ ฤติ ก ารณ์
ทะลักออกมาทางช่องคลอด เนื่องจากเครื่องมือ
เช่นเดียวกับข้างต้น จะตกอยู่ในอาการตกตะลึง
แพทย์ที่ใส่เข้าไปในช่องคลอดได้เกี่ยวเอาลาไส้
กลัว เช่นนี้ จาเลยก็หาต้องรับผิดไม่
ดึ ง ออกมานั่ น เอง จ าเลยจึ ง ไม่ ไ ด้ ใ ช้ ค วาม
> มาตรฐานความระมัดระวังนั้น ต้องพิเคราะห์ว่า "จ าเลย" อยู่ ใ นฐานะเช่ น ใด ดั ง นั้ น การ บรรยายฟ้องคดีละเมิดจาเป็นอย่างยิ่งต้องบรรยาย ให้ เ ห็ น ว่ า จ าเลยมี ฐ านะหน้ า ที่ อ ย่ า งไร และ ฐานะหน้ า ที่ อ ย่ า งจ าเลยนั้ น มี ก ารก าหนด มาตรฐานไว้ในกฎหมาย สัญญา องค์กรวิชาชีพ ฯลฯ และในชั้นพิจารณาคดี ฝ่ายโจทก์ต้องนาสืบ ให้ทราบถึงมาตรฐานเช่นว่านั้นตัวอย่าง ผู้บริหาร สถาบันการเงินมีกฎหมายกาหนดให้กรรมการต้อง ปฏิบั ติ ดุจเดียวกับ "บุ ค คลค้าขายผู้ประกอบด้วย ความระมั ด ระวั ง " (มาตรา 27 พรบ.ธุ ร กิ จ สถาบันการเงิน),
วิชาชีพแพทย์มีมาตรฐาน
จรรยาบรรณวิชาชีพแพทย์กาหนดอยู่ เป็นต้น ตัวอย่างเช่น (1) คาพิพากษาฎีกาที่ 7452/2541 จาเลยเป็นแพทย์ได้รับแจ้งจากโจทก์ว่ามีเด็กตาย ในท้องโจทก์ โจทก์จึงยินยอมให้จาเลยทาการ ขู ด มดลู ก และท าแท้ ง ให้ แต่ ก ารที่ จ าเลยใช้ เครื่องมือแพทย์ เ ข้าไปขูด มดลู กของโจทก์ท าให้ มดลู กทะลุ ทั้ ง ที่ มดลู กของโจทก์มีลั กษณะปรกติ มิได้มีลักษณะบางแต่ประการใด ทาให้ลาไส้เล็ก
ระ มั ด ร ะ วั ง ต า ม ป ร ก ติ วิ สั ย ข อ ง ผู้ มี ค ว า ม รู้ ความสามารถในการประกอบวิ ช าชี พ แพทย์ นับเป็นความประมาทเลินเล่อของจาเลย ซึ่งต่อมา แพทย์คนอื่นที่ตรวจโจทก์ในภายหลังเห็นว่าหาก นาลาไส้ของโจทก์ใส่เข้าไปในร่างกายอีกอาจมี การติด เชื้อในช่องท้ อง จึง ได้ทาการตัด ลาไส้ที่ ทะลักออกมาทิ้งไป จาเลยต้องรับผิดใช้ค่าเสียหาย แก่โจทก์ คดีนี้สูตินรีแพทย์แจ้งว่าคนไข้แท้งเด็ก ตายในท้ อ ง ต้ อ งท าการขู ด มดลู ก และท าแท้ ง โจทก์ก็ยอมให้จาเลยทาการขูดมดลูก จาเลยขูด มดลู กจนมดลู กทะลุ และล าไส้ไ หลออกมาที่ ช่อ ง คลอดยาว 5 เมตร เพราะเครื่องมือ ที่ทาการขูด ถือว่าจาเลยขาดความระมัดระวังในระดับต่ากว่า มาตรฐาน จาเลยจึงผิดสัญญา ผิดละเมิด มาตรา 420 ทั้งตัวเงิน ร่างกาย จิตใจ เจ็บปวดทนทุกข์ ทรมานตามมาตรา 446 นอกจากนี้ถ้าเกิดความ เสียหายต่อชื่อเสียงของโรงพยาบาลต้องรับผิดตาม มาตรา 447 อีกด้วย นอกจากนี้กรณีละเมิดความเสียหายอย่าง อื่นที่ อาจเกิด ขึ้นและเรียกร้องได้อีก เช่น ความ เจ็ บ ปวดทรมาน ขาดทางท ามาหากิน ต้ องไป เยี ย วยารั ก ษากั บ แพทย์ อื่ น ค่ า เสี ย หายเหล่ า นี้ กิตติบดี ใยพูล
11
สามารถเรีย กได้ต ามมาตรา 446 ฐานละเมิ ด
ละเมิดต่อโจทก์ พฤติการณ์ที่โจทก์ทาการติดต่อ
สามารถเรียกค่าเสียหายอย่างอื่นอันมิใช่ตัวเงินได้
รักษากับจาเลยที่ 2 ที่คลินิก และตกลงให้ทาการ
(พิจารณาเรื่อง concurrent ประกอบ)
(2) ฎี ก าที่ 292/2542 จาเลยที่ 2 ทาการผ่าตัดหน้าอกของโจทก์ที่มีขนาดใหญ่ให้มี ขนาดเล็กลงที่โรงพยาบาลของจาเลยที่ 1 หลัง การผ่าตัด จาเลยที่ 2 ได้นัดให้โจทก์มาทาการ ผ่าตัดแก้ไขเนื่องจากไม่เท่ากันที่คลินิกของจาเลยที่ 2 ปรากฏแก้ ไ ขถึ ง 3 ครั้ ง ก็ ไ ม่ ส าเร็ จ ยั ง ไม่ เท่ากันและอาการไม่ ดีขึ้น โจทก์จึงให้แพทย์อื่น ทาการรักษาต่อ แม้ตัวโจทก์และนายแพทย์ ด. ผู้ ท าการรั ก ษาโจทก์ ต่ อ จากจ าเลยที่ 2 จะไม่ สามารถนาสืบได้ว่าจาเลยที่ 2 ประมาทเลินเล่อ ในการผ่าตัดและรักษาพยาบาลโจทก์แต่อย่างไร แต่ เ มื่ อ จ าเลยที่ 2 เป็ น แพทย์ ผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า น ศัลยกรรม จาเลยที่ 2 จึง มีหน้าที่ต้องใช้ค วาม ระมัดระวังตามวิสัยและพฤติการณ์เป็นพิเศษ การที่ นายแพทย์ ด. ทาการผ่าตัดแก้ไข 3 ครั้ง แสดง ว่าจาเลยที่ 2 ผ่าตัด มามีข้อบกพร่องและไม่ใช้ ความระมั ด ระวั ง ในการผ่ า ตั ด และไม่ แ จ้ ง ให้ ผู้ป่ วยทราบถึง ขั้นตอนการรักษา ระยะเวลาและ กรรมวิธีในการรักษา จนเป็ นเหตุให้โจทก์ได้รับ ความเสียหาย นับว่าเป็นความประมาทเลินเล่อ ของจ าเลยที่ 2 ถื อ ได้ ว่ า จ าเลยที่ 2 กระท า
ผ่ า ตั ด ในโรงพยาบาลของจ าเลยที่ 1 โจทก์ จ่ายเงินให้จาเลยที่ 270,000 บาท ให้จาเลยที่ 1 จานวน 30,000 บาท ยังฟังไม่ได้ว่าจาเลย ที่ 1 เป็นนายจ้างหรือตัวการที่ต้องรับผิดร่วมกับ จาเลยที่ 2 ในส่วนของค่าเสียหายนอกเหนือจาก ใบเสร็จ (ตัวเงิน) แม้โจทก์จะมีอาการเครียดอยู่ ก่อนได้รับการผ่าตัดจากจาเลยที่ 2 แต่เมื่อหลัง ผ่า ตั ด อาการมากขึ้ น กว่ าเดิ ม ความเครี ย ดของ โจทก์จึงเป็นผลโดยตรงมาจากการผ่าตัด เรียกได้ ฐานละเมิด ม.446 ( 3 ) ค า พิ พ า ก ษ า ศ า ล ฎี ก า ที่ 6388/2544 การที่ ร. กับ พวกร่วมกันปลอม ข้อความในช่องผู้รับเงินโดยเพียงขีดฆ่าชื่อโจทก์ ในช่องผู้ รับเงินแล้วปลอมลายมือชื่อผู้มีอานาจสั่ง จ่ายของบริษัท ด. กากับบริเวณที่ มีการขีดฆ่าชื่อ โจทก์โดยไม่มีตราประทับของบริษัท ด. ทั้ง ๆ ที่เงื่อนไขการลงลายมือชื่อสั่งจ่ายเงินในเช็คในคา ขอเปิดบัญชีกระแสรายวัน ของบริษัท ด. จะต้อง กระท าโดยผู้ มี อ านาจลงลายมื อ ชื่ อ สั่ ง จ่ า ยของ บริษัท ด. ตามที่ระบุไว้พร้อมทั้งประทับตราสาคัญ ของบริษัท เมื่อมีการนาเช็คพิพาททั้งสองฉบับมา เรียกเก็บ เงิ น จากจาเลยที่ 1 จาเลยที่ 1 โดย จาเลยที่ 2 ถึงที่ 5 ซึ่งมีหน้าที่ร่วมกันตรวจสอบ กิตติบดี ใยพูล
12
ความถู ก ต้ อ งของเช็ ค ที่ น าไปเรี ย กเก็ บ เงิ น จาก
ดังกล่าว จึงเป็นการกระทาโดยประมาทเลินเล่อ
จาเลยที่ 1 จึงควรใช้ความระมัดระวังตรวจสอบ
ทาให้โจทก์ได้รับความเสียหายอันเป็นการกระทา
ให้ดีว่า เหตุใดการลงลายมือชื่อของผู้มีอานาจลง
ละเมิดต่อโจทก์ จาเลยทั้งห้าจึงต้องร่วมรับผิดต่อ
ลายมือชื่อสั่ง จ่ ายเช็คของบริษัท ด. ตรงที่มีการ
โจทก์
แก้ ไ ขข้ อ ความในช่ อ งผู้ รั บ เงิ น จึ ง ไม่ มี ก าร ประทับตราสาคัญของ บริษัทกากับการแก้ไข และ ทาการสอบถามผู้มีอานาจลงลายมือชื่อสั่งจ่ายถึง เหตุที่ไม่มีการประทับตรา สาคัญของบริษัทกากับ การแก้ไขก่อน เนื่องจากจาเลยที่ 1ประกอบธุรกิจ ธนาคาร การจ่ายเงินตามเช็คที่มีผู้มาขอเบิกเงิน เป็นธุรกิจอย่างหนึ่งของจาเลยที่ 1 ซึ่งต้องปฏิบัติ อยู่เป็นประจา จาเลยที่ 1โดยจาเลยที่ 2 ถึงที่ 5 ย่ อมต้ องมีค วามระมัด ระวัง ในการตรวจสอบ ลายมือชื่อของผู้มีอานาจลงลายมือชื่อ สั่งจ่ายเช็ค ตลอดจนการแก้ไ ขเปลี่ ย นแปลงข้อความในเช็ค มากกว่าวิญญูชนทั่ว ๆ ไป แม้เช็คดังกล่าวจะเป็น เช็คผู้ถือดังที่จาเลยให้การก็ตาม เมื่อจาเลยทั้งห้า ไม่ ไ ด้ ใ ช้ ค วามระมั ด ระวั ง ตรวจสอบการแก้ ไ ข ข้อความในช่องผู้ รับเงินซึ่งไม่มีตราประทับของ บริษัท ด. ดังกล่าว เป็นเหตุให้ ร. กับพวกนา เช็คพิพาทที่ปลอมนั้นเข้าฝากในบัญชีของพวก ร. ซึ่งไม่ใช่บัญชีของผู้มีสิทธิรับเงินตามกฎหมายเพื่อ เรียกเก็บเงินและจาเลย ที่ 1 โดยจาเลยที่ 2 ถึง ที่ 5 ได้จ่ายเงินเข้าบัญชีของพวกร. ไป เป็นเหตุ ให้ ร. กับพวกได้รับเงินไปในการกระทาทุจริต
( 4 ) ค า พิ พ า ก ษ า ศ า ล ฎี ก า ที่ 1795/2541 จาเลยเป็นธนาคารผู้รับฝากเงินเป็น อาชีพ โดยหวัง ผลประโยชน์ใ นการเอาเงิ นฝาก ของผู้ฝากไปแสวงหาผลประโยชน์จะต้องใช้ความ ระมั ด ระวั ง และความรู้ ค วามช านาญเป็ น พิ เ ศษ ตรวจสอบลายมือชื่อผู้จ่ายว่าเหมือนลายมือชื่อที่ ให้ตัวอย่างไว้แก่จาเลยหรือ ไม่ ฉะนั้น เมื่อไม่ ปรากฏว่าจาเลยได้ใช้ความระมัดระวังและความรู้ ความชานาญดังกล่าวแต่ อย่างใด การที่จาเลย ได้จ่ายหรือหักบัญชีเงินฝากของโจทก์ให้บุคคลอื่น ไปจึ ง ถื อ ได้ว่ า เป็ น ความประมาทเลิ น เล่อ ของ จาเลย ขณะที่บัญชีของโจทก์ยังเดินสะพัดอยู่นั้น โจทก์ยังไม่ทราบว่ามีผู้ปลอมลายมือ ชื่อโจทก์สั่ง จ่ายเช็คพิพาทนาไปเบิกเงินหรือเรียกเก็บเงินจาก จาเลย โจทก์มาทราบหลังจากที่ได้ชาระหนี้ให้แก่ จาเลยครบถ้วนแล้ว โจทก์ไปตรวจสอบเช็คต่าง ๆ ที่มีผู้นาไปเรียกเก็บเงินจากจาเลยจึงทราบว่ามี ผู้ ล งลายมื อ ชื่ อ โจทก์ ป ลอมใน เช็ ค พิ พ าทดั ง นี้ การที่โจทก์ยอมรับรองเรื่องหนี้เงินที่เบิกเกินบัญชี จะถือว่าโจทก์ยอมรับหนี้ตามเช็คพิพาทปลอมด้วย หาได้ ไ ม่ โจทก์ จึ ง มิ ใ ช่ผู้ ต้ อ งตั ด บทมิ ใ ห้ ย กข้ อ กิตติบดี ใยพูล
13
ลายมื อ ชื่ อ ปลอมขึ้ น เป็ น ข้ อ ต่ อ สู้ ต าม ประมวล
engineer of the Wagon Mound,
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1008 วรรค
would have known that there
แรก เมื่อเช็คพิพาทเป็นเช็คที่มีผู้ปลอมลายมือชื่อ
was a real risk of the oil on
โจทก์ผู้สั่งจ่ายจาเลยย่อม ต้องรับผิดใช้เงินตาม
the water catching fire in
เช็คพิพาทแก่โจทก์ตามมาตรา 1008 วรรคแรก
some way."
จ าเลยได้ จ่ า ยเงิ น ตามเช็ ค ที่ มี ล ายมื อ ชื่ อ โจทก์ ปลอมรวม 54 ฉบั บ และหั กเงิ นจากบั ญชีข อง โจทก์พร้อมคิดดอกเบี้ยทบต้นเอาแก่โจทก์ตลอดมา ดัง นี้ นอกจากต้ องคืนเงิ น ตามเช็ ค ทั้ ง 54 ฉบั บ แก่โจทก์แล้ว จาเลยยัง ต้องคืนดอกเบี้ยดังกล่าว ให้แก่โจทก์ด้วย หรือ คดี Overseas Tank ship (UK) Ltd v The Miller Steamship Co. หรือ The Wagon Mound 2 ซึ่งศาล ตัดสินให้จาเลยต้องชดใช้ค่าเสียหาย เนื่องจาก หั ว หน้ า วิ ศ วกรผู้ ค วบคุ ม การซ่ อ มแซมเรื อ ของ จาเลย ต้องตะหนักถึงความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น ได้
จ าเลย ต้ อ งอยู่ ใ นภาวะวิ สั ย ที่ ต้ อ งตระหนั ก ถึ ง ความเสี่ยง และพึ ง คาดหมายได้เยี่ยงผู้ป ระกอบ วิชาชีพเช่นว่านั้น ข้ อ สั ง เกต : การบรรยายฟ้ อ งคดี ล ะเมิ ด ต้ อ ง บรรยายฐานะและหน้าที่ ของจาเลยให้เห็นอย่าง ชั ด เจน โดยอย่ า งยิ่ ง มาตรฐานทางวิ ช าชี พ ความรู้ความสามารถ และความชานาญการ ทั้งนี้ เพื่ อ ให้ จ าเลยต้ อ งพิ สู จ น์ ว่ า ตนได้ ใ ช้ ค วาม ระมั ด ระวั ง ตามมาตรฐานที่ ก าหนดไว้ แ ล้ ว (ตั ว อย่ า งเที ย บเคี ย ง วิ ศ วกร : มาตรา 50 พระราชบั ญ ญั ติ วิ ศ วกร พ.ศ. 2543 ผู้ ไ ด้ รั บ ใบอนุ ญ าตต้ อ งปฏิ บั ติ ต นตามจรรยาบรรณแห่ ง
"It follows that in their Lordships
view
question
is
the whether
only a
reasonable man, having the knowledge and experience to be
ดัง นั้น หัวหน้าวิศวกรซึ่ง ท างานให้กับ
expected
of
the
วิ ช าชี พ วิ ศ วกร ตามที่ ก าหนดในข้ อ บั ง คั บ สภา วิ ศ วกร--ซึ่ ง ต้ อ งน าสื บ ให้ เ ห็ น ถึ ง มาตรฐาน ดังกล่าวประกอบข้อเท็จจริง) สุดท้ายฝากให้พิจารณาศึกษาคดีที่ 3793/2543
chief กิตติบดี ใยพูล
14
นานาสาระกฎหมายละเมิด (4) ว่ า ด้ ว ย : สิ ท ธิ เ ด็ ด ข า ด ( Absolute Rights) ข้อพิจารณาเบื้องต้น เมื่ อ พิ จ ารณาตามมาตรา 420 ได้ กาหนดสาระสาคัญการกระทาของบุคคลเป็นละเมิด คื อ ต้ อ งมี ข้ อ เท็ จ จริ ง ว่ า "ท าให้ บุ ค คลอื่ น เสีย หาย" ซึ่ ง ตามกฎหมายได้อธิ บ ายความไว้ ดังนี้ ชีวิต ร่างกาย อนามัย เสรีภาพ ทรัพย์สิน หรื อ สิ ท ธิ อ ย่ า งหนึ่ ง อย่ า งใด ซึ่ ง ประโยชน์ ที่ กฎหมายรับรองดัง กล่าวถือเป็ นสิทธิเด็ดขาดของ ปัจเจกชน
สิทธิและหน้าที่ ? เมื่ อ ปั จ เจกชนได้ รั บ การรั บ รองและ คุ้มครองในสิทธิ, ปัจเจกชนนั้นย่อมต้องมีหน้าที่ ไม่ไปก้าวล้าในสิทธิของผู้อื่น โดยที่ ล ะเมิ ด ตามมาตรา 420-437 เป็นบทบัญญัติที่ใช้เยียวยาความเสียหายที่เกิดขึ้น เนื่ อ งจาก "การก้ า วล่ ว งในสิ ท ธิ เ ด็ ด ขาดของ ปัจเจกชน" เพราะตามปกติปัจเจกชนย่อมมีหน้าที่ โดยสุจริตและระมัดระวัง ไม่ไ ปกระทบกระเทื อน สิทธิของผู้อื่น หรือใช้สิทธิของตนไปก้าวล่วงต่อ สิทธิของผู้อื่น ประเภทของสิทธิเด็ดขาด ?
15
คาว่า “สิทธิเด็ดขาด” คืออะไร ?
(ก) ตามมาตรา 420 ได้เขียนไว้ดังนี้
สิทธิ = ประโยชน์ที่ถูกต้องและชอบธรรมที่มนุษย์
(1) ชีวิต
พึงได้รับ, เด็ดขาด = สิทธิที่ยืนยันและคุ้มครองคุณค่าความ เป็นมนุษย์ สิทธิเด็ดขาด = ประโยชน์ที่ถูกต้องและชอบธรรม
(2) ร่างกาย (3) อนามัย (4) เสรีภาพ
ที่ ม นุ ษ ย์ พึ ง ได้ รั บ การคุ้ ม ครองและรั บ รอง เพื่ อ
(5) ทรัพย์สิน และ
ยืนยันคุณค่าความเป็นมนุษย์
(6) สิทธิอย่างหนึ่งอย่างใด ซึ่ ง หากจะให้ สั ม พั น ธ์ ใ นเชิ ง คุ ณ ค่ า กั บ ความมุ่งหมายแล้ว สิทธิเด็ดขาดย่อมต้องยึดโยง กิตติบดี ใยพูล
กั บ หลั ก การแห่ ง ศั ก ดิ์ ศ รี ค วามเป็ น มนุ ษ ย์ โดย
36),
พิ จ ารณาจากสิ ท ธิ ต ามธรรมชาติ ที่ เ ป็ น รู ป ธรรม
37), สิทธิในทรัพย์สิน (มาตรา 41) เป็นต้น
(ศีลธรรมสากล) ได้แก่ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิ มนุษยชน (Universal of
Human
Rights
Declaration :
UDHR)
ประกอบด้ ว ย สิ ท ธิ ใ นศั ก ดิ์ ศ รี ค วามเป็ น มนุ ษ ย์ (ข้ อ 1,2,6,7) สิ ท ธิ ใ นความมั่ น คงแห่ ง ชี วิ ต (ข้อ 3,4,5,8,9,10,11) สิทธิในความเป็นอยู่ ส่ ว นตั ว สิ ท ธิ ใ นชื่ อ เสี ย งเกี ย รติ ย ศ (ข้ อ 12) เสรี ภ าพ (ข้ อ 13,18,19,20) หรื อ สิ ท ธิ ใ น ทรัพย์สิน (ข้อ17) เป็นต้น (ข) ทั้ ง นี้ พิ จ ารณาประเทศไทยได้ รับ รองประโยชน์ข องพลเมือ งไว้ในรั ฐธรรมนู ญ แห่งราชอาณาจักรไทย ได้แก่ (1) มาตรา 4 เรื่อ ง สิ ท ธิ เสรี ภ าพ ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
เสรีภาพในการนับถือศาสนา (มาตรา (ค) ดังนั้น การทาให้เสียหายแก่สิทธิที่
กาหนดไว้ในมาตรา 420 ต้องคานึง ถึงสิทธิที่ ปัจเจกชนพึงได้รับการรับรองและยอมรับด้วย ซึ่ง กฎหมายได้เขียนครอบคลุมไว้กว้าง ๆ ว่า "... หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี..." "สิทธิ" และ "เสรีภาพ" ? คาว่า "สิทธิ" และ "เสรีภาพ" มักจะ มีการใช้ค วบคู่ กัน แต่นั ยของทั้ ง สองค ามี ค วาม แตกต่างกัน กล่าวคือ สิทธิเป็นเรื่องที่ปัจเจกชน สามารถใช้ยัน หวงกัน และอ้างอิงกับบุคคลอื่น ได้ ในขณะที่เสรีภาพคืออิสรภาพในการใช้สิทธิ ของปัจเจกชน, โดยสิทธิและเสรีภาพมีนัยที่หนุน เกื้อกัน เมื่อบุคคลมีสิทธิ อิสรภาพในการใช้สิทธิ ต้องไม่ตกอยู่ในภาวะถูกบังคับหรือจายอม และ
(2) หมวด 3 ว่ า ด้ ว ย สิ ท ธิ เ สรี ภ าพ
ขอบเขตการใช้สิทธิต้องไม่ไปกระทบกระเทือนต่อ
ของชนชาวไทย เช่ น สิท ธิในความเสมอภาค
สิ ท ธิ เ ด็ ด ขาดของผู้ อื่ น ฉะนั้ น เสรี ภ าพจึ ง เป็ น
(มาตรา 30), สิทธิในชีวิตและร่างกาย (มาตรา
เสมือนเขตแดนแห่งสิทธิของปัจเจกชน ซึ่งเมื่อมอง
32),
เสรีภาพในเคหสถาน (มาตรา 33),
ในมุมแห่งการใช้สิทธิของปัจเจกชน บุคคลย่อมมี
เสรีภาพในการเดินทาง (มาตรา 34), สิทธิใน
และใช้สิทธิในขอบเขตแห่งสิทธิตน ในทางตรง
ครอบครับ เกียรติยศ ชื่อเสียง ความเป็นส่วนตัว
ข้ามเพื่ อปกป้ อ งและคุ้มครองสิท ธิ ข องปั จ เจกชน
(มาตรา 35), เสรีภาพในการสื่อสาร (มาตรา
บุ ค คลอื่ น ย่ อ มไม่ ส ามารถขั ด ขวางต่ อ อิ ส รภาพ ดังกล่าวได้ กิตติบดี ใยพูล
16
ตั วอย่ า งเช่น นาย ก มีกรรมสิท ธิ์ใ น
แห่ ง ชาติ ได้ พู ด ถึ ง ค าว่ า "ภาวะของมนุ ษ ย์ ที่
ที่ดิน / นาย ก จึงมีอิสรภาพในการใช้สิทธิหรือ
สมบูรณ์" เทียบเคียงให้เป็นรูปธรรมของคุณค่าของ
ประโยชน์ในที่ดินของตนได้ (อิสรภาพของนาย
มนุ ษ ย์ ดั ง นั้ น การกระท าโดยไม่ ช อบด้ ว ย
ก เช่ น ขาย ให้ เปลี่ ย นแปลงรู ป ทรง ฯลฯ)
กฎหมายเป็นสาเหตุให้ได้รับความเสียหายต่อภาวะ
นาย ข จะเข้ามาใช้ประโยชน์ (สิทธิ) ในที่ดิน
ของมนุษย์ที่สมบูรณ์ ย่อมถือเป็นการกระทาละเมิด
ดังกล่าวไม่ได้ เมื่อนาย ข เข้ามาใช้ประโยชน์ ในที่ ดิ น ดั ง กล่ า วโดยมิ ช อบ ถื อ ว่ า นาย ข ละเมิดสิท ธินาย ก ในขณะเดีย วกัน รัฐฯ อาจ เข้ามาขอซื้อที่ดินแปลงดังกล่าว จากนาย ก / นาย ก ก็ย่อมมีอิสรภาพที่จะเลือกขายหรือไม่ขาย ก็ได้ โดยรัฐฯ มีอานาจตามกฎหมายที่จะเวนคืน เพื่อประโยชน์สาธารณะ แต่ต้องชดใช้ค่าเวนคืน ให้แก่น าย ก จะเห็ นได้ว่ า การที่ นาย ก ใช้ อิสรภาพตอบปฏิเสธไม่ขายให้รัฐ บางครั้งก็ใช้คา ว่า เสรีภาพ สรุปว่า : สิทธิเป็นหลักประกันคุณค่าของคน ส่วน เสรีภาพเป็นความปรารถนาในการใช้สิทธิแห่งตน ข้อสังเกต
อาจารย์พ จน์ ปุษปาคม ได้อธิบายไว้ ว่า (หน้า 167) "...ตามวิสัยของมนุษย์อาจจะ ถื อ ว่ า เป็ น ความเสี ย หายอย่ า งรุ น แรงยิ่ ง กว่ า เสียหายทรัพย์สินเงินทอง แต่ยังไม่มีเหตุผลเพียง พอที่ จ ะชั ก น าให้ บั ญ ญั ติ ก ฎหมายเพื่ อ คุ้ ม ครอง อารมณ์ของคน..." ซึ่งมีข้อสังเกตว่า เมื่อปัจจุบัน เรามีการตราพรบ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 โดยมาตรา 5 บั ญ ญั ติ ว่ า "บุ ค คลมี สิ ท ธิ ที่ จ ะ ดารงชีวิตในสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมที่เอื้อ ต่อ สุข ภาพ" ดัง นี้ เห็นว่า ย่อมถือเป็ น "สิท ธิ อย่างหนึ่งอย่างใด" ที่กฎหมายบัญญัติรับรอง ฉะนั้ น การกระท าละเมิ ด และมี ผ ลต่ อ สุขภาพจิต อันมีอารมณ์ และความรู้สึกเป็นส่วน
สิ ท ธิ เ ด็ ด ขาดของปั จ เจกชน รวมถึ ง อารมณ์ ความรู้สึก ของมนุษ ย์ ด้วยหรื อไม่ หาก พิจารณาโดยคานึงถึง "ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์"
หนึ่งที่ เชื่อมโยงอย่างเป็นองค์รวม ซึ่งจักทาให้ มนุ ษ ย์ มี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ย่ อ มต้ อ งได้ รั บ ความ คุ้มครองและเยียวยา
เป็ น พื้ น ฐาน น่ า พิ จ ารณาว่ า คุ ณ ค่า ของมนุ ษ ย์ ประกอบด้วย สุขภาพทางกาย ทางปัญญา และ ทางจิตใจ โดยขอให้พิจารณาจากพรบ.สุขภาพ กิตติบดี ใยพูล
17
นานาสาระกฎหมายละเมิด (5) เหตุสืบเนื่องจากคาพิพากษาฎีกาที่ 780/2483 องค์ประกอบละเมิด : การกระทาต่อผู้อื่น ข้อเท็ จจริง คดีนี้โ จทก์ฟ้องว่า จาเลยที่ 1 เป็ นคนวิกลจริต ได้ใช้มีด ฟันภริย าโจทก์ตาย และบุ ต รได้ รั บ ความเสี ย หาย จ าเลยที่ 2 เป็ น ภริยาและผู้ปกครองจาเลยที่ 1 ผู้วิกลจริต ขอให้
ทาละเมิดตามมาตรา 429 ชอบแล้วจึงพิพากษา ยืนตาม ประเด็นพิจารณาว่า : คนวิกลจริตมีความรับผิด เพื่อละเมิดได้หรือไม่ (1) การกระท าที่ ป รากฏตามมาตรา 420 โดยหลั ก แล้ ว ผู้ ท าละเมิ ด ต้ อ งมี ก าร เคลื่อนไหวของร่างกายที่อยู่ในบังคับของจิตใจ
จาเลยที่ 2 ร่วมกันใช้ค่าสินไหมทดแทนและค่า ทาศพต่อมา โจทก์ถอนฟ้องจาเลยที่ 2 ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ฟังข้อเท็จจริง ต้องกันมาว่าจาเลยที่ 1 ได้ฟันภริยาโจทก์ตาย จริง และแม้จ าเลยที่ 1 จะได้ กระท าลงในขณะ วิกลจริตก็ดี ก็ต้องรับผิดตามประมวลกฎหมายแพ่ง ฯ มาตรา 429 จาเลยฎีกาว่า การกระทาของผู้วิกลจริต ถือไม่ได้ว่ากระทาโดยจงใจหรือประมาท จึงไม่ เป็ นการละเมิ ด ตามมาตรา 420 แห่ ง ประมวล กฎหมายแพ่ง ฯ ศาลฎี ก าเห็ น ว่ า ไม่ มี บ ทกฎหมายใด บัญญัติให้ถือดังที่จาเลยฎีกามา ที่ศาลล่างทั้งสอง ฟังข้อเท็จจริงต้องกันมาว่า จาเลยวิกลจริตใช้มีด ฟันภริยาโจทก์ตายและให้จาเลยรับผิดในผลที่ตน
(2) มา ตรา 4 29 บั ญ ญั ติ ไ ว้ ว่ า "บุคคลใดแม้ไร้ความสามารถเพราะเหตุเป็นผูเ้ ยาว์ หรือ วิก ลจริต ..." เที ยบเคียงกฎหมายแพ่ ง ญี่ปุ่ น เรื่ อ ง ค วามรั บ ผิ ด ของผู้ ไ ร้ ค วามสามารถ (Capacity for Liability) ตาม มาตรา 713 ซึ่ง บัญญัติให้ผู้บ กพร่องทางจิตไม่ จาต้องชดใช้ค่าเสียหายเพื่อการนั้น เว้นแต่เป็ น เหตุ ชั่ ว ขณะที่ ต นจงใจหรื อ ประมาทเลิ น เล่ อ (Article 713?A person who has inflicted damages on others while
he/she
lacks
the
capacity to appreciate his/her liability for his/her own act due to mental disability shall not be liable to compensate for
the
same;
provided,
however, that this shall not กิตติบดี ใยพูล
18
apply if he/she has temporarily
if he came into this state
invited
without fault.)
that
condition,
intentionally or negligently.)
(3) เทียบเคียงกับกรณีผู้เยาว์ทาละเมิด
ท านองเดี ย วกั บ กฎหมายแพ่ ง เยอรมั น
ซึ่ ง ตามมาตรา 429 หากปรากฏว่ า ผู้ เ ยาว์ ไ ร้
(German Civil Code BGB) มาตรา
เดี ย งสาไม่ รู้ ผิ ด ชอบ หาอาจมี ค วามจงใจหรื อ
827 ว่ า บุ ค คลขาดสติ สั ม ปชั ญญะ หรื อ อยู่ ใ น
ประมาทเลินเล่อได้ไม่ ท่านอาจารย์พจน์ฯ ได้ให้
สภาวะทางจิตใจที่ถูกรบกวนอย่างรุนแรงไม่อาจรู้
ข้อสังเกตไว้ว่า (หน้า 123) "...ถ้าผู้เยาว์ไ ร้
สานึกได้ ก่อความเสียหายแก่ผู้อื่น ไม่ต้องรับผิด
เดียงสาอายุหนึ่งขวบสองขวบไม่รู้ผิดชอบก็ไม่ต้อง
ในความเสียหายนั้น ... (A person who,
รับผิดเพราะมิได้จงใจหรือประมาทเลินเล่อ แล้ว
in a state of unconsciousness
เหตุใดคนวิกลจริตถึง ขนาดไม่สามารถรู้ผิด ชอบ
or in a state of pathological
กระท า จึ ง ไม่ เ อาความรู้ ผิ ด ชอบมาพิ จ ารณา
mental disturbance precluding
เช่ น เดี ย วกั บ ผู้ เ ยาว์ ที่ ไ ม่ รู้ สึ ก ผิ ด ชอบเพราะ
free exercise of will, inflicts
กฎหมายเขี ยนว่ า "ที่ ตนท าละเมิด " ก็ต้อ งเอา
damage on another person is
หลักตามมาตรา 420 มาใช้ มีการกระทาโดย
not
จงใจหรือประมาทเลินเล่อ..."
responsible
for
such
damage. If he has temporarily induced such a state in himself with alcoholic beverages or similar means, he is then responsible for damage that he unlawfully causes in this state as if he were responsible because
of
negligence;
responsibility does not ensue
(4) อาจารย์ พ จน์ ฯ อธิ บ ายต่ อ ว่ า (หน้า 344) "...คาว่าผู้ไร้ความสามารถจึงเป็น ผู้ที่ขาดสติที่เป็นปกติ ...แต่คนบ้าหรือคนวิกลจริต นั้นมีการกระทาที่อยู่ในบังคับของจิตใจ เช่น คน บ้ากินข้าวได้ เดินได้ พูดได้ การกระทาเหล่านี้ อยู่ในบังคับของจิตใจ การที่คนบ้ายกมือถือมีดขึ้น แทงคนเป็ น การกระท าที่ อ ยู่ ใ นบั ง คั บ ของจิ ต ใจ เป็นแต่ไม่มีสติที่จะควบคุมการกระทานั้น..."
กิตติบดี ใยพูล
19
(5) ข้อสังเกตจากคาพิพ ากษาข้างต้น
หรือผู้อนุบาลหรือผู้มีหน้าที่ดูแลบุคคลเหล่านี้ เป็น
ที่ว่า เมื่อไม่มีบทกฎหมายใด บัญญัติให้ถือดัง ที่
ผู้ทาละเมิด (to be as fault) และผลัก
จาเลยฎีกาว่าการกระทาของผู้วิกลจริตถือไม่ได้ว่า
ภาระการพิสูจน์ตกจาเลย ...?
กระท าโดยจงใจหรื อ ประมาท จึ ง ไม่ เ ป็ น การ ละเมิด ตามมาตรา 420 แห่งประมวลกฎหมาย แพ่ ง ฯ นั้น ย่ อ มแสดงให้ เ ห็นถึ ง การพิ เคราะห์ ข้อเท็ จ จริง ที่ ไ ม่จาต้ องพิ จารณาเจตนาของผู้ท า ละเมิด เพื่อต้องการเยียวยาผู้ที่ได้รับผลร้าย
ท้ า ยนี้ : การพิ จ ารณาคดี ล ะเมิ ด ควร คานึงถึงหลักประโยชน์สูงสุดของผู้เสียหายที่จะต้อง ได้รับการเยียวยาและเป็นการเยียวยาที่ผู้เสียหาย ต้องได้รับค่าสินไหมทดแทนเต็มจานวน
(6) จากฎีกา 780/2483 เทียบเคียง กับกรณีผู้เยาว์ท าละเมิด ซึ่ง มีแนวทางให้ผู้เยาว์ ต้องรับผิดในละเมิดต่อเมื่อ "มีรู้ถึงภัยและการหลีก ภั ย เด็ ก ที่ ไ ม่ เ ดี ย งสาหาอาจมี ค วามจงใจหรื อ ประมาทเลิ น เล่ อ ได้ ไ ม่ " แต่ ปั จ จุ บั น เรามี
20
พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 มาตรา 23 บั ญ ญั ติ ว่ า "ผู้ ป กครองต้ อ งให้ ก ารอุ ป การะ เลี้ยงดู อบรมสั่งสอน และพัฒนาเด็กที่อยู่ในความ ปกครองดูแลของตน..." (คาว่าคุ้มครองมีนัยของ การป้ อ งกั น แฝงอยู่ และการปกป้ อ งมี ทั้ ง การ ป้องกันไม่ให้ไ ด้รับ ภัย รวมถึง ป้ องกันไม่ให้ก่อ ภั ย /ความเดื อ ดร้ อ นด้ ว ย) ซึ่ ง เมื่ อ พิ เ คราะห์ กั บ วัตถุประสงค์แห่งละเมิดในการคุ้มครองสิทธิของผู้ ต้องเสียหาย (ได้รับผลร้าย) และเยียวยาความ เสียหายแล้ว บทบัญญัติมาตรา 429 นั้น ควรให้ หมายความรวม "คนวิกลจริต" และ "ผู้เยาว์" ในทุกกรณีหรือไม่ โดยให้สันนิษฐานว่าผู้ปกครอง กิตติบดี ใยพูล
นานาสาระกฎหมายละเมิด (6) ค่าสินไหมทดแทนเพื่อละเมิด (1) ข้อสังเกตว่า "การเรียกค่าสินไหม ทดแทน" อันเป็นมูลแห่งหนี้ละเมิด นั้น มิใช่เพื่อ เยี ย วยาให้ ผู้ ต้ อ งเสี ย หายกลั บ คื น สู่ ส ถานะเดิ ม
- นอกจากนี้ ในกรณีที่ ค วามเสียหาย ได้เกิด ขึ้นเพราะความผิด ของผู้เสียหายมีส่ วนอยู่ ด้วย จาเลยสามารถยื่นคาให้การต่อสู้ในประเด็น ดังกล่าว เพื่อให้ศาลมีดุลพินิจในการปรับส่วนค่า สินไหมทดแทนตามขนาดลง (มาตรา 442) (3) ประเภทค่าสินไหมทดแทน
เนื่องจาก มูลเหตุการประทุษร้ายต่อสิทธิเด็ดขาดมี นั ย ถึ ง การท าลายคุ ณ ค่ า ของคน และไม่ อ าจ
3.1 การคืนทรัพย์ ตามมาตรา 439
เยียวยาความเสียหายให้เป็นเหมือนดั่งเดิมได้ แต่ การเรี ย กร้ อ งดั ง กล่ า วเพื่ อ เยี ย วยาในการยั ง ประโยชน์ต่อความเสียหายที่เกิดขึ้น โดยเป็นการ ยั ง ประโยชน์ ต่ อ ความสู ญ เสี ย ทรั พ ย์ สิ น อั น เนื่ อ งมาจากการถู ก กระท าละเมิ ด ดั ง นั้ น ผู้เสียหายต้องพิสูจน์ให้เห็นถึงความเสียหายที่ตน ได้รับ โดยเชื่อมโยงกับคุณค่าของความเป็นคน อั น ได้ แ ก่ สุ ข ภาพทางกาย จิ ต ใจ และปั ญ ญา
3.2 การใช้ราคาทรัพย์ ในกรณีไม่อาจ คื น ทรั พ ย์ ไ ด้ เ พราะได้ เ สื่ อ มค่ า บุ บ สลาย ตาม มาตรา 440 และ 441 3.3 การชดใช้ ค่ า เสี ย หาย (เงิ น ) มาตรา 438 วรรคสอง "ค่าเสียหายอันจะพึ ง บังคับให้ใช้เพื่อความเสียหายอย่างใด ๆ อันได้ ก่อขึ้นด้วย"
ประกอบกันอย่างเป็นองค์รวม (2) หลักเกณฑ์ทั่วไป - ศาลเป็ น ผู้ วิ นิ จ ฉั ย เรื่ อ งค่ า สิ น ไหม ทดแทนเพื่ อ ละเมิ ด โดยศาลกาหนดค่ า สิน ไหม ทดแทนมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับการที่โจทก์นาสืบ ถึ ง พฤติ ก ารณ์ แ ละความร้ า ยแรงแห่ ง ละเมิ ด (มาตรา 438)
(4) ค่าเสียหายที่จาเลยได้ก่อขึ้น มีการ จาแนกเป็นกรณีต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 4.1 ความเสียหายแก่ชีวิต ประกอบด้วย มาตรา 443 และ 445 ได้ แ ก่ ค่ า ปลงศพ (ค่าใช้จ่ายอันจาเป็นอย่างอื่น), ในกรณีมิได้ตาย ในทั น ที ยัง มีค่า รักษาพยาบาล,
ค่ าขาด
ประโยชน์ทามาหาได้,ค่าขาดไร้อุปการะ, ค่าขาด แรงงาน
กิตติบดี ใยพูล
21
4.2 ความเสี ย หายแก่ ร่ า งกายและ อนามั ย ประกอบด้ ว ย มาตรา 444-446
(5) การพิ สู จ น์ ถึ ง ค่ า ความเสี ย หาย ในทางละเมิด
ได้แก่ ค่าใช้จ่ายที่โ จทก์ ต้องเสีย ไปจากการถูก กระท าละเมิด เช่น ค่ารักษาพยาบาล เป็ นต้น , ค่าเสียความสามารถในการประกอบการงาน, ค่า ขาดแรงงาน, ค่าเสียหายอย่างอื่นอันมิใช่ตัวเงิน
5.1 ค่าเสียหายต่อสิทธิในกองทรัพย์สิน กล่าวคือ กรณีนี้โจทก์ต้องพิสูจน์ให้เห็นว่ า เมื่อ ตนถูกกระทาละเมิดแล้ว ตัวโจทก์มีความเสียหาย ที่กระทบต่อทรัพย์สินที่มีอยู่ของตนอย่างไร และทา
4 . 3 ค ว า ม เ สี ย ห า ย แ ก่ เ ส รี ภ า พ
ให้ทรัพย์สินที่มีอยู่ลดน้อยลง เช่น ค่าใช้จ่ายใน
ประกอบด้วยมาตรา 445 และ 446 ได้แก่ ค่า
การปลงศพ ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ฯลฯ
ขาดแรงงาน, ค่าเสียหายอย่างอื่นอันมิใช่ตัวเงิน
5.2 ค่ า เสี ย หายต่ อ สิ ท ธิ น อกกอง
4 . 4 ค ว า ม เ สี ย ห า ย แ ก่ ชื่ อ เ สี ย ง
ทรัพย์สิน กล่าวคือ ความเสียหายที่ไม่อาจนามา
ประกอบด้วย มาตรา 447 ได้แก่ ค่าเสียหายต่อ
คานวณเป็นตัวเงินให้เห็นเป็นรูปธรรมได้ เพราะ
ชื่อเสียง,
ความเสี ย หายที่ ไ ด้ รั บ มี ลั ก ษณะเป็ น นามธรรม
การกระทาการอย่างอื่นเพื่อทาให้
ชื่อเสียงกลับคืนดี 4 . 5 ค ว า ม เ สี ย ห า ย ต่ อ ท รั พ ย์ ประกอบด้ ว ยมาตรา 438 ได้ แ ก่ การใช้ คื น ทรัพย์สิน, การใช้ราคาทรัพย์สิน 4.6 ความเสียหายต่อสิทธิอื่น ๆ ได้แก่ กรณี ล ะเมิ ด ต่ อ หญิ ง ในความผิ ด อาญาที่ เ ป็ น ทุ ร ศี ล ธรรม (การกระท าที่ ผิ ด ต่ อ ศี ล ธรรม) เช่ น อนาจาร ข่มขืนกระทาชาเรา ฉุดคร่า เป็นต้น
เสียหายต่อจิตใจ เป็นความรู้สึกในทางศีลธรรม (Moral Damages) เช่น การเจ็บปวดทุกข์ ทรมาน การสูญเสียความสุขในชีวิต การเสียโฉม เป็นต้น กรณีตาม 5.2 นี้ ประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์เปิดช่องให้เรียกร้องได้ในกรณีความ เสี ย หายต่ อ ร่ า งกาย เสรี ภ าพ อนามั ย แต่ ไ ม่ รวมถึ ง กรณี ท าให้ เ ขาถึ ง ตาย ทายาทไม่ มี สิ ท ธิ เรียกร้องค่าเสียหายต่อความรักความอาลัย เศร้า โศกเสียใจ ได้ เพราะถือว่าเป็นความเสียหาย เฉพาะตัว ดังคาพิพากษาศาลฎีกาที่ 789/2502 "ไม่มีกฎหมายบัญญัติให้เรียกร้องค่าเสียหายทาง กิตติบดี ใยพูล
22
ศีลธรรมหรือค่าเสียหายที่ไม่ใช่ตัวเงินในกรณีทา ให้ผู้อื่นถึงแก่ความตายได้" แต่เมื่อมีการตราพระราชบัญญัติความรับ ผิ ด ต่ อ ความเสี ย หายที่ เ กิ ด ขึ้ น จากสิ น ค้ า ที่ ไ ม่ ปลอดภั ย พ.ศ. 2551 (บทกฎหมายเฉพาะ ส าหรั บ ความเสี ย หายที่ ผู้ บ ริ โ ภคได้ รั บ จากการ บริ โ ภคสิ น ค้ า ที่ ไ ม่ ป ลอดภั ย ) มาตรา 11 ได้ กาหนดให้ ท ายาทผู้ ต าย (สามี ภริย า บุ พ การี
(6) อื่น ๆ ตามพรบ.ความรับผิดต่อ ความเสียหายที่ เกิด ขึ้นจากสินค้าที่ ไม่ป ลอดภัยฯ มาตรา 4 ได้ ใ ห้ ค านิ ย ามศั พ ท์ ข อง "ความ เสียหายต่อจิตใจ" หมายความว่า ความเจ็บปวด ความทุ กข์ ท รมาน ความหวาดกลัว ความวิต ก กังวล ความเศร้าโศกเสียใจ ความอับอาย หรือ ความเสียหายต่อจิตใจอย่างอื่นที่มีลักษณะทานอง เดียวกัน
หรื อ ผู้ สื บ สั น ดานของผู้ ต าย) สามารถเรี ย กร้ อ ง
ในขณะที่ กฎหมายสุ ข ภาพแห่ ง ชาติ ฯ
ค่ า เสี ย หายต่ อ จิ ต ใจได้ ทั้ ง นี้ หมายเหตุ ท้ า ย
ได้กาหนดสิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ ในมาตรา
กฎหมายได้ อ ธิ บ ายให้ ท ราบว่ า เพื่ อ ให้ ผู้ ต้ อ ง
5 ว่ า "บุ ค คลมี สิ ท ธิ ใ นการด ารงชี วิ ต ใน
เสียหายได้รับการชดใช้ค่าเสียหายที่เป็นธรรม
สิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุข ภาพ"
อนึ่ง กรณีตามมาตรา 446 การเรียก ค่ า เสี ย หายอั น มิ ใ ช่ ตั ว เงิ น มี ห ลั ก เกณฑ์ ใ นการ พิ จ ารณาดั ง นี้ (1) ต้ อ งเป็ น การเรี ย กร้ อ ง ค่าเสียหายนอกกองทรัพย์สิน และ (2) ไม่อาจ ค านวณเป็ น ตั ว เงิ น ในการชดใช้ ไ ด้ และ ค่าเสียหายในทางศีลธรรมที่สามารถเรียกร้องได้ ไม่เป็นข้อถกเถียงได้แก่ ค่าความเจ็บปวด ทุกข์ ทรมาน ค่ า เสี ย ขวั ญ ค่ า สู ญ เสี ย ความสุ ข ความ รื่นรมย์ในชีวิต ค่าเสียโฉมทาให้อับอาย ค่าเสีย เสรีภาพ ค่าเสียเชื่อเสียง ค่าเสีย หายอันเป็นทุ ร ศีลธรรม เป็นต้น
โดยที่คาว่า สุขภาพ ได้มีการให้ความหมายว่า "ภาวะของมนุษย์ที่ส มบูรณ์ทั้ง ทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสังคม เชื่อมโยงกันเป็นองค์ รวมอย่างสมดุล" โดยที่รัฐธรรมนูญได้กาหนดให้ "ศักดิ์ศรีค วามเป็ นมนุษย์ของพลเมืองทุกคนย่อม ได้ รับ ความคุ้ม ครอง" และพลเมื องจะมี ศั กดิ์ ศ รี ความเป็ น มนุ ษ ย์ ไ ด้ ก็ ต่ อ เมื่ อ พลเมื อ งพึ ง ได้ มี หลั ก ประกั น ในภาวะของมนุ ษ ย์ ที่ ส มบู ร ณ์ ดั ง นี้ การกระทาละเมิดอันมีผลต่อสภาพจิตใจ ปัญญา ของมนุษย์ย่อมเป็นการทาลายต่อคุณค่าความเป็น คน ซึ่งในการบรรยายฟ้องควรคานึงเรื่องดังกล่าว เพื่อทาให้เห็นถึงความเลวร้ายและพฤติการณ์แห่ง ความร้ายแรง กิตติบดี ใยพูล
23
นานาสาระกฎหมายละเมิด (7)
(2) ช่วงที่ 2
กฎหมายละเมิดไทย จาแนกเป็น 2 ช่วงด้วยกัน ได้แก่ ช่ ว งที่ 1 ก่ อ นใช้ ป ระมวลกฎหมายแพ่ ง และ พาณิชย์
ภายหลังรับอิทธิพลของกฎหมายตะวันตก และจัดทาร่างประมวลกฎหมาย (Code) ซึ่งถือ ว่าให้ความสาคัญแก่สิท ธิของบุคคล (สิทธิที่เท่ า เที ย มกั น สิ ท ธิ ใ นการถื อ ครองกรรมสิ ท ธิ์ เ หนื อ ทรัพย์สิน)
ช่วงที่ 2 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (1) ช่วงที่ 1 สมัย สุโ ขทั ย และอยุธยา กฎหมายไทย ได้รับอิทธิพลจากคัมภีร์พระธรรมศาสตร์ (มอญ) ซึ่ง มี การกาหนดให้รัฐ ผู้ป กครองแผ่ นดิน มีห น้า ที่ ลงโทษอาญาแก่ผู้กระทาผิด และเช่นเดียวกันที่รัฐมี
การจั ด ท าประมวลกฎหมายแพ่ ง และ พาณิชย์ พ.ศ.2464 ร่างบรรพ 1-2 พ.ศ.2466 บรรพ 1-2 ประกาศใช้ พ.ศ.2467 บรรพ 3 ประกาศใช้
หน้าที่ต้องจ่ายค่าทาขวัญให้แก่ผู้เสียหาย และใน
ต่ อ ม า ภ า ย ห ลั ง จ า ก ที่ ไ ด้ ตั้ ง
สมัย กรุง ศรี อยุ ธยานี้ มี กฎหมายลั ก ษณะโจร มี
คณะกรรมการปรับปรุงกฎหมายบรรพ 1-2 และได้
หลักห้ามเจ้าทุกข์นาโจรมาลงโทษเอง แสดงว่า
มีการประกาศใช้อย่างเป็นทางการอีกครั้งเมื่อ 11
แนวคิดทางนิติศาสตร์ในยุคดังกล่าว ห้ามแก้แค้น
พ.ย. 2468 โดยส่วนกฎหมายละเมิดนั้น ได้เริ่ม
กั น เอง ต้ อ งให้ รั ฐ เข้ า มาจั ด การเรื่ อ งดั ง กล่ า ว
ที่มาตรา 420 (ปัจจุบัน)
โดยกาหนดให้รัฐมีอานาจเรียกค่าพินัย (ค่าปรับ) จากผู้กระทาละเมิด โดยต้องส่งให้รัฐครึ่งหนึ่งและ ผู้เสียหายส่วนหนึ่ง ที่ ต้องจ่ายให้ รัฐเพราะถือว่า เป็นค่าอานวยความยุติธรรม
ส่วนบรรพ 3 ได้มีการปรับปรุง และได้ มี ก ารประกาศใช้ อ ย่ า งเป็ น ทางการอี ก ครั้ ง เมื่ อ พ.ศ. 2471 พ.ศ.2475 ประกาศใช้บรรพ 5
กิตติบดี ใยพูล
24
พ.ศ.2476 ประกาศใช้บรรพ 6 พ.ศ.2535 บรรพ 1 และ 5 ได้รับการ
(6) ความสั ม พั น ธ์ ระหว่า งเหตุ และผล (causation)
ปรับปรุงแก้ไข พ.ศ.2551 บรรพ 5 ได้รับการปรับปรุง
(7) การสร้ า งความเดื อ ดร้ อ นร าคาญ (nuisance)
แก้ไข
อาจเป็ น ด้ ว ยเหตุ นี้ กลิ่ น อายของค า จะเห็นได้ว่า หลักกฎหมายละเมิดได้เข้า
มาสู่แนวคิดเรื่องหนี้ตั้งแต่เริ่มต้น แต่ในส่วนการ สอนกฎหมายละเมิดในช่วงแรกได้นาเอาอิทธิพล ของระบบจารีต ประเพณีมาสอน โดยกรมหลวง ราชบุ รี ฯ โดยท่ า นเรี ย กละ เมิ ด ว่ า "กา ร ประทุ ษ ร้ า ยส่ ว นแพ่ ง " (ดู จ ากคู่ มื อ กฎหมาย
พิพากษา/การปรับใช้กฎหมายละเมิดรับ อิทธิพ ล จากศาลต่างประเทศในส่วนจารีตประเพณีนามา อธิบายขยายความตัวบทกฎหมาย ไม่ว่าจะเป็น หลั ก ความประมาทเลิ น เล่ อ หลั ก ความสั ม พั น ธ์ ระหว่ า งเหตุ แ ละผล ทฤษฎี ผ ลโดยตรง ทฤษฎี มูลเหตุเหมาะสม
lecture ของกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์) โดย บรรยายแยกเป็นเรื่อง ดังนี้ (1) มูลแห่งคดีประทุษร้ายส่วนแพ่ง (2) การบุกรุก (3) ประมาทเลินเล่อ (negligence) (4) อุบัติเหตุโดยแท้ (accident) (5) หน้าที่ความระมัดระวัง (duty of care)
(3) ต้ น ร่ า งความรั บ ผิ ด เพื่ อ ละเมิ ด (มาตรา 420-437) มาตรา 420 มีที่ มาจาก BGB
(ประมวล
กฎหมายแพ่งเยอรมัน) มาตรา 823 มาตรา 421 มีที่มาจาก BGB มาตรา 226 มาตรา 422 มีที่มาจาก BGB มาตรา 823 วรรคสอง มาตรา 423 มีที่มาจาก BGB มาตรา 824 เป็นเรือ่ งหมิ่นประมาทในทางแพ่ง มาตรา 424 มีที่มาจากกฎหมายสวิสเซอร์แลนด์
กิตติบดี ใยพูล
25
มาตรา 425 มีที่มาจาก BGB มาตรา 831
มาตรา 435 มี ที่ ม ากฎหมายสวิ ส เซอร์ แ ลนด์
และกฎหมายญี่ปุ่น มาตรา 715
มาตรา 59
มาตรา 426 มีที่มาจากกฎหมายสวิสเซอร์แลนด์
มาตรา 436 มีที่มากฎหมายบราซิล
มาตรา 55 วรรคสอง และกฎหมายญี่ปุ่น มาตรา 715 วรรคสาม
มาตรา 437 มีที่มาจากกฎหมายฝรั่งเศส มาตรา 1384 และกฎหมายบราซิล มาตรา 1527
มาตรา 427 ร่างจากเราเอง
(4) พื้นฐานความรับผิดเพื่อละเมิด
มาตรา 428 มีที่มาจากกฎหมายญี่ปุ่น มาตรา 429 มีที่มาจาก BGB มาตรา 827-
ความรับผิดเพื่อละเมิด สามารถแบ่งได้ เป็น 3 กลุ่มได้แก่
829 กฎหมายฝรั่ ง เศส มาตรา 1310 และ กฎหมายญี่ปุ่น มาตรา 712-713 มาตรา 430 มีที่มาจาก BGB มาตรา 832
กลุ่ม ที่ 1 ละเมิด ที่เ กิด จากการกระท า ข อ ง ต น เ อ ง ( ล ะ เ มิ ด โ ด ย แ ท้ -Fault Liability) ประกอบด้วย
และกฎหมายญี่ปุ่น มาตรา 714
มาตรา 420 ละเมิดโดยแท้
มาตรา 432 มีที่มาจาก BGB มาตรา 830 กฎหมายญี่ ปุ่ น มาตรา 719 และกฎหมาย สวิสเซอร์แลนด์ มาตรา 50
มาตรา 421 การใช้สิทธิโดยไม่สุจริต เป็ น บทขยายความของมาตรา 420 (โดยผิ ด กฎหมาย)
มาตรา 433 มีที่มาจาก BGB มาตรา 833 และกฎหมายสวิสเซอร์แลนด์ มาตรา 56
มาตรา 422 บทสัน นิ ษ ฐานความผิ ด เป็นบทขยายความมาตรา 420
มาตรา 434 มีที่มาจาก BGB มาตรา 823826 และมาตรา 840 วรรคสาม กฎหมายญี่ปุ่น มาตรา 717และกฎหมายฝรั่งเศส มาตรา 1386
26
มาตรา 423 ละเมิดโดยการกล่าว/ไข ข่าวเท็จ มาตรา 428 ผู้รับจ้างกระทาละเมิด
กิตติบดี ใยพูล
มาตรา 432 ความรั บ ผิ ด กรณี ผู้ ท า ละเมิดหลายคน
มาตรา 436 ความเสียหายอันเกิดจาก
กลุ่ม ที่ 2 ละเมิด ที่เ กิด จากการกระท า ของผู้อื่น (Vicarious
มาตรา 435 มาตรการป้องกันภัย
Liability)
ประกอบด้วย มาตรา 425 ละเมิ ด ที่ เ กิ ด จากการ กระทาของลูกจ้าง มาตรา 426 สิทธิไล่เบี้ย
สิ่งของตกหล่น มาตรา 437 วรรคหนึ่ง ความเสียหาย อั น เกิ ด จากยานพาหนะอั น เดิ น ด้ ว ยก าลั ง เครื่องจักรกล มาตรา 437 วรรคสอง ความเสียหาย ที่เกิดขึ้นจากทรัพย์อันตราย
มาตรา 427 ละเมิดที่เกิดจากตัวแทน มาตรา 429 ละเมิด ที่ เ กิ ด จากผู้ เ ยาว์ หรือคนวิกลจริต
27
มาตรา 430 ละเมิดที่เกิดจากผู้อยู่ใน ความดูแล มาตรา 431 สิทธิไล่เบี้ย กลุ่ ม ที่ 3 ความเสี ย หายที่ เ กิ ด จาก ทรัพย์สิน (Presumption of fault /strict liability) ประกอบด้วย มาตรา 433 ความเสี ย หายเกิ ด ขึ้ น เพราะสัตว์ มาตรา 434 ความเสี ย หายเกิ ด ขึ้ น เพราะโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างชารุด บกพร่อง กิตติบดี ใยพูล
นานาสาระกฎหมายละเมิด (8) ความรั บ ผิ ด ทางแพ่ ง กั บ ความรั บ ผิ ด ทางอาญา ประเด็นความรับผิดทางแพ่ง (ละเมิด) กับความ รับผิดทางอาญา จากที่ได้กล่าวไว้เบื้องต้นว่า กฎหมาย ละเมิ ด มี ที่ ม าจากหลั ก ศี ล ธรรม พั ฒ นาจากการ ลงโทษมาสู่การเรีย กค่าสินไหมทดแทน ซึ่ ง การ กระท าให้ ผู้ อื่ น เสี ย หายนั้ น มี ค วามทั บ ซ้ อ นกั น ระหว่างความรับผิด ทางอาญา (รั ฐ ลงโทษโดยค านึ ง ถึ ง ส่วนรวม) กับความรับผิดทางแพ่ง (การเยียวยา ความเสียหายโดยคานึงถึงปัจเจกบุคคล) หรืออาจ เรียกในส่วนอาญาว่า ประทุษร้ายทางอาญา และ เรียกในส่วนทางแพ่งว่า ประทุษร้ายทางแพ่ งโดย ที่มาตรา 424 ได้กล่าวถึงความทับซ้อนดังกล่าว จึง ได้ก าหนดเป็ น หลั กว่ า "ในการพิ จารณาคดี ข้อความรับผิดเพื่อละเมิดและการกาหนดค่าสินไหม ทดแทนนั้ น ท่ า นว่ า ศาลไม่ จ าต้ อ งด าเนิ น ตาม บทบัญญัติแห่งกฎหมายอาญา ว่าด้วยการต้องรับ โทษ หรือการได้รับการยกเว้นโทษแต่อย่างใด" ทั้ ง นี้ เนื่ อ งด้ ว ยเจตนารมณ์ แ ตกต่ า งกั น ดั ง นั้ น การปรับใช้กฎหมาย
ละเมิด ให้ พิ จารณาที่ ค วามเสี ยหายเป็ น หลัก เพื่อจักหาผู้ที่ต้องรับผิดชอบมาเยียวยาหรือ รับ ผิด ชอบต่อความเสียหายนั้น แต่ท ว่าในส่ว น อาญา การปรั บ ใช้ ก ฎหมายต้ อ งพิ จ ารณา องค์ ป ระกอบความผิ ด เป็ น หลั ก (องค์ ป ระกอบ ภายนอก/องค์ ป ระกอบภายใน) ซึ่ ง เท่ า กั บ ว่ า ขอบเขตของการปรั บ ใช้ ก ฎหมายละเมิ ด นั ก กฎหมายต้องกล้าตีความขยายขอบเขตเพื่อคุ้มครอง ผู้เสียหาย ในขณะการปรับใช้กฎหมายอาญาต้อง คานึงถึงสิทธิเสรีภาพของผู้ถูกกล่าวหาเป็นสาคัญ เมื่ อ เป็ น เช่ น นี้ การรั บ ฟั ง ข้ อ เท็ จ จริ ง ในส่ ว น คดีอาญาเพื่อนามาเป็นยุติในส่วนคดีแพ่ง จึงเป็น คนละเรื่องคนละประเด็นกับการกาหนดค่าสินไหม ทดแทน รวมถึงการดึงบุคคลอื่นที่มีส่วนในความ รับผิดชอบมารับผิดนอกเหนือจากผู้กระทาความผิด โดยตรง เช่ น ลู ก จ้ า งไปกระท าความผิ ด ทาง อาญา (ในทางการที่จ้าง) นายจ้างต้องเข้ามา รับผิดชอบในส่วนทางแพ่งด้ว ย เป็นต้นดังนี้ จึง ขอเปรี ย บเที ย บระหว่ า งประทุ ษ ร้ า ยทางแพ่ ง กั บ ประทุษร้ายทางอาญา ไว้ดังต่อไปนี้ (1) เจตนารมณ์ของกฎหมาย ทางแพ่ง เพื่อเยียวยาความเสียหายที่แท้จริง และยกระดับ มาตรฐานความรั บ ผิ ด ชอบต่อ สัง คม ทางอาญา เพื่ อ ป้ อ งปรามมิ ใ ห้ ป ระชาชนประพฤติ ต นไม่ กิตติบดี ใยพูล
28
เหมาะสมและเป็ นอันตรายต่อความสงบเรียบร้อย ศีลธรรมของประชาชน (2) การตีความ/ปรับใช้กฎหมาย ทาง แพ่ ง ตี ค วาม/ปรั บ ใช้ ต ามเจตนารมณ์ กฎหมาย ทางอาญา ตี ค วาม/ปรั บ ใช้ อ ย่ า งเคร่ ง ครั ด เนื่องจาก บทลงโทษนั้นกระทบกระเทือนต่อสิทธิ ขั้นพื้นฐานของมนุษย์ (3) ความรั บ ผิ ด ทางแพ่ ง การล่ ว ง ละเมิดและทาให้เกิดความเสียหายต่อสิทธิ ได้แก่
(4) โทษ ทางแพ่ง ค่าสินไหมทดแทน (เงิน) ทางอาญา โทษทางอาญา (ประหารชีวิต จาคุก กักขัง ปรับ และริบทรัพย์สิน) การปรับเงิน เงิ นเข้ าคลัง หลวงมิ ใ ช่เ ยีย วยาเอกชนที่ เ สี ยหาย เป็นการลงโทษต่อรัฐ (5) การสิ้นสุดคดี ทางแพ่ง ความตาย ของผู้กระทาละเมิดไม่เป็นเหตุสิ้นสุดคดี มูลหนี้ตก แก่กองมรดก ทางอาญา ความตายของผู้กระทา ความผิดเป็นเหตุให้คดีระงับสิ้นลง
สิทธิในชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ อนามัย ชื่อเสียง
(6) การร่วมกันกระท าความผิด ทาง
เกียรติยศ ทรัพย์สิน และสิทธิอื่น ทางอาญา การ
แพ่ง รับผิดอย่างลูกหนี้ร่วม ทางอาญา จาแนก
ล่วงละเมิดต่อสิทธิเช่นเดียวกับทางแพ่ง แต่ต่างกัน
ระดับความชั่วตัวการ ผู้ใช้ ผู้สนับสนุน
ตรงบางมูลฐานความผิดทางอาญาไม่จาต้องเกิด ความเสี ย หาย เช่ น ความผิ ด ฐานพยายาม ความผิดฐานทาให้เสียทรัพย์โดยประมาทในทาง อาญาไม่ มี จะมี เ ฉพาะเจตนาท าลายทรั พ ย์ สิ น เท่านั้น ซึ่งในทางแพ่งกาหนดให้รับผิดทั้งเจตนา (จงใจ) หรือประมาทเลินเล่อ หรือ การฝ่าฝืนข้อ ห้ามที่มีโ ทษทางอาญาเช่น การสร้างอาคารสูง แม้ว่าไม่เกิดความเสียหาย บุคคลที่ฝ่าฝืนข้อห้าม ต้องรับผิดทางอาญา การขับรถยนต์ฝ่าสัญญาณไฟ จราจร เป็นต้น
29
(7) อายุความ ทางแพ่ง 1 ปีนับแต่วัน กระท าละเมิด ทางอาญา อายุค วามตามความ อุกฉกรรจ์ (8) เหตุ ย กเว้ น ความรั บ ผิ ด ทางแพ่ ง หลักทั่วไปให้ถือความยินยอมไม่เป็นละเมิด (แต่ ปัจจุบันการใช้หลักนี้มีเพิ่มเติมให้พิจารณาจากผู้ ทรงสิทธิ-์ -ซึ่งจะกล่าวต่อไปในคราวบรรยายเรื่อง ข้อต่อสู้ในคดีละเมิด) ทางอาญา ความยินยอม ไม่เป็นข้อแก้ตัว หากความยินยอมนั้นขัดต่อความ สงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน
กิตติบดี ใยพูล
(9) ระดับความผิด/ชั่ว ทางแพ่ง ระดับ ความผิดมีการจาแนกหลายระดับจงใจ ประมาท เลิ น เล่ อ อย่ า งร้ า ยแรง ประมาทเลิ น เล่ อ และ ประมาท เพื่อประโยชน์ในการกาหนดค่าสินไหม ทดแทน ทางอาญา ระดับความชั่วมีเจตนา และ ประมาท ความสัมพันธ์ระหว่างละเมิดกับความรับ ผิดทางอาญา หลักมีดังนี้ (1) ข้อเท็จจริงต้องฟังเป็นยุติตรงกัน (2) จะมี ผ ลผู ก พั น ข้ อ เท็ จ จริ ง ที่ เ ป็ น ประเด็นโดยตรงเท่านั้น หากมีประเด็นอื่นสามารถ น าสื บ เพิ่ ม เติ ม ได้ ตย. ศาลในคดี อ าญาฟั ง
30
ข้อเท็จจริงเป็นยุติว่า จาเลยขับรถชนโจทก์โดย ประมาท // ศาลในคดี ส่ ว นแพ่ ง ต้ อ งรั บ ฟั ง ตามนั้น จาเลยจะให้การต่อสู้ว่าตนมิได้ประมาท ไม่ได้ แต่ในส่วนการให้การต่อสู้ว่า โจทก์มีส่วน ผิดด้วยนั้น ถือเป็นข้อเท็จจริงอื่นเพิ่มเติม สามารถ นาพยานหลักฐานเข้าสืบข้อเท็จจริงส่วนนี้ได้
กิตติบดี ใยพูล
ตัวอย่างคาถามกฎหมายละเมิด ข้อ 1. ความหมายของละเมิด ข้อ 2. แนวคิดพื้นฐานของละเมิดมีพัฒนาการอย่างไร ข้อ 3. ความแตกต่างเรื่องกฎหมายละเมิดในระบบประมวลกฎหมายกับระบบจารีตประเพณีแตกต่างกันอย่างไร ข้อ 4. ภารกิจหลักของละเมิดได้แก่เรื่องใดบ้าง ข้อ 5. ในการปรับใช้กฎหมายละเมิดและการวินิจฉัยคดีละเมิด ต้องคานึงถึงเรื่องใดดังต่อไปนี้ (โปรดลาดับ ความสาคัญมากไปน้อย เพราะเหตุใด ((1) ความรับผิด (2) ความเสียหาย (3) ผลที่ตามมา) ข้อ 6. ทฤษฎีที่ใช้เป็นพื้นฐานความรับผิดเพื่อละเมิด ประกอบด้วยทฤษฎีใดบ้าง ข้อ 7. ให้อธิบายความหมายของแต่ละทฤษฎี รวมถึงคุณธรรมที่แฝงอยู่เบื้องหลังทฤษฎีเช่นว่านั้น ข้อ 8. ในกฎหมายละเมิดต้องอาศัยหลัก Legitimacy และ หลัก Justification เพราะเหตุผลใด ข้อ 9. พื้นฐานความรับผิดเพื่อละเมิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ จาแนกออกเป็นกี่กลุ่ม ได้แก่ ข้อ 10. กลุ่มต่าง ๆ ตามข้อ 9. อาศัยทฤษฎีทางละเมิดใดบ้าง ข้อ 11. ละเมิดโดยแท้ตามมาตรา 420 ฝ่ายโจทก์มีภาระการพิสูจน์ความผิดของจาเลยในเรื่องใดบ้าง ข้อ 12. ผู้ใดบ้างที่มีความสามารถในการกระทาละเมิด ข้อ 13. นิติบุคคลสามารถกระทาละเมิดได้หรือไม่ ฟ้องอย่างไร ข้อ 14. ประเด็นสาคัญในการพิจารณาว่าเป็นการกระทาอยู่ตรงจุดใด ข้อ 15. ข้อแตกต่างกันของสองกรณีนี้เป็นอย่างไร (ก) วันเกิดเหตุจาเลยเห็นคนตาบอดกาลังจะเดินข้ามถนน จาเลยจึงจูงมือคนตาบอดข้ามถนน หลังจากจูงมาได้ครึ่งทาง จาเลยปล่อยคนตาบอดนั้นไว้แล้ว จาเลยข้าม ไปคนเดียว ปรากฏว่า คนตาบอดถูกรถยนต์ชนบาดเจ็บ (ข) จาเลยไปเที่ยวทะเล ขณะเดินเล่นชายหาดเห็น กิตติบดี ใยพูล
31
คนกาลัง ว่ายน้าในทะเลและเป็ นตะคริว ร้องขอให้ช่วยเหลือ จาเลยไม่ยอมช่วยทั้ง ๆ ที่ตนว่ายน้าเป็ น ปรากฏว่า ผู้นั้นจมน้าตาย ข้อ 16. โปรดศึกษาคาพิพากษาฎีกาต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ และโปรดจับประเด็นปัญหาข้อกฎหมาย คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1201/2502 จาเลยเป็นเทศบาลละเว้นหน้าที่อันจะต้องกระทา กล่าวคือจัดให้ถมบ่อทาให้เป็นพื้นเดียวกับพื้นถนน เสียก่อนที่จะเปิดถนนให้รถผ่านไปมาได้ ทั้งยังปรากฏว่า จาเลยมิได้จัดให้มีสิ่งกีดกั้นบ่อนี้เป็นเครื่ องหมายให้ สะดุดตาแก่ผู้คนที่ผ่านไปมา และในเวลากลางคืนก็มิได้จัดให้มีโคมไฟจุดให้ความสว่างตามสมควร จาเลย ย่อมเห็นได้อยู่แล้วว่าเป็นสิ่งอันตรายแก่รถและผู้คนสัญจรไปมาอย่างมากที่จะปล่อยให้มีบ่ออยู่เช่นนั้น จนเป็น เหตุให้รถโจทก์ขับไปชนขอบบ่อนี้เข้าและเกิดการเสียหายขึ้น ดังนี้ต้องถือว่าเป็นความประมาทเลินเล่อของ จาเลยทาให้โจทก์ได้รับ ความเสียหายจาเลยต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้โจทก์ คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 769/2513 32
จาเลยซึ่งเป็นเทศบาลมีหน้าที่ดูแลสะพานให้มีความมั่นคงแข็งแรง การที่จาเลยปล่อยปละละเลยให้ สะพานผุพั ง ราวสะพานเป็ นช่องโหว่อยู่ก่อนผู้เสียหายตกลงไปไม่รีบ ซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพเรียบร้อย ปลอดภัย นับว่าเป็นการประมาทเลินเล่อของจาเลยอันเป็นการกระทาละเมิดต่อผู้เสียหายเมื่อพิเคราะห์ถึงการที่ โจทก์ตกสะพานไป โดยไม่เดินอย่างคนธรรมดามัวแต่จับตาอยู่ดูการชกต่อยระหว่างเด็ก 2 คน เสียและเอา หลังพิงราวสะพานเอามือรูดไปจนถึงช่องโหว่จนตกไป เช่นนี้ เหตุที่เกิดขึ้นเป็นเพราะความผิดของโจทก์อยู่ ด้วย ถือได้ว่าความเสียหายที่เกิดขึ้นเพราะความผิดของโจทก์มีส่วนประกอบด้วย ค่าสินไหมทดแทนอันโจทก์ ควรจะได้รับมากน้อยเพีย งใด จึง ต้องอาศัยพฤติการณ์แห่งกรณีดังกล่าวข้างต้นเป็นประมาณตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 223 คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 761/2518 เทศบาลจาเลยมีหน้าที่ ซ่อมแซมถนน จาเลยไม่ทราบว่ามีทางเท้ าเป็นหลุมขนาดใหญ่มา 2 ปี จาเลยไม่ซ่อมเป็นเหตุให้โจทก์เดินตกลงไปซึ่งโจทก์คาดหมายได้ว่าทางสาธารณะจะไม่มีห ลุมเช่นนั้น จาเลย กิตติบดี ใยพูล
ประมาทเลินเล่อฝ่ายเดียว จาเลยไม่สืบพยานแก้ในข้อค่าเสียหายไม่ถือว่ายอมรับตามที่โจทก์นาสืบ ศาล กาหนดให้ได้ตามควร คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1975/2528 กรมทางหลวงจาเลยที่ 2 มีอานาจหน้าที่รับผิดชอบในการซ่อมแซมก่อสร้าง บารุงรักษา ถนนที่เกิด เหตุ ย่อมมีหน้าที่ควบคุมจัดให้ มีเครื่องหมายและสัญญาณจราจรในบริเวณก่อสร้างซ่อมแซมถนน แม้จะจัดให้ บริษัทรับเหมาก่อสร้างดาเนินการก่อสร้างซ่อมแซม ก็ต้อง ควบคุมให้บริษัทรับเหมาติดตั้งเครื่องหมายและ สัญญาณจราจรขึ้น ให้ถูกต้องถ้ามิได้ติดตั้งให้ถูกต้องแล้วเกิดความเสียหาย จาเลยที่ 2 ย่อม จะต้องรับผิดต่อ ผู้เสียหายด้วย คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 4129/2530 การที่จาเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้รับเหมาทาการก่อสร้างทางได้ใช้ถังน้ามันขนาด 200 ลิตร ปิดกั้นขวาง ถนนที่กาลังก่อสร้าง โดยไม่ติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างเพื่อให้ผู้ที่ขับขี่ยานพาหนะในเวลากลางคื นมีโอกาสเห็น ได้ในระยะอันสมควรเป็นเหตุให้โจทก์ไม่สามารถจะหยุดรถได้ทัน ทาให้ต้องหักรถหลบพุ่งขึ้นไปบนเกาะกลาง ถนน ถือได้ว่าจาเลยที่ 2 ประมาทเลินเล่อทาให้ทรัพย์สินของบุคคลอื่นเสียหาย จึงต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหาย ให้ แ ก่ โ จทก์ ฐ านละเมิ ด ส่ ว นกรมทางหลวงจ าเลยที่ 1 มี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบในการซ่ อ มแซมก่ อ สร้ า ง บารุงรักษาถนนที่เกิดเหตุย่อมมีหน้าที่ควบคุมและจัดให้มีเครื่องหมายหรือป้าย และสัญญาณจราจรในบริเวณ ก่อสร้าง และปรับปรุงถนนที่เกิดเหตุ แม้จะได้กาหนดให้จาเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้รับเหมาก่อสร้างดาเนินการ ก่อสร้างปรับปรุงถนนให้ทาและปิ ดป้ ายจราจร เครื่องหมายกั้นเพื่อความปลอดภัยแก่การจราจรแล้วก็ตาม จาเลยที่ 1 ก็ต้องคอยควบคุมดูแลให้ผู้รับเหมาก่อสร้างติดตั้งเครื่องหมายและสัญญาณจราจรขึ้นให้ถูกต้อง เมื่อ ปรากฏว่าจาเลยที่ 2 มิได้ติดตั้งให้ถูกต้อง เป็นเหตุให้เกิดความเสียหาย จาเลยที่ 1 ย่อมต้องรับผิดต่อโจทก์ ร่วมกับจาเลยที่ 2 ด้วย ข้อเท็จจริงฟังได้ว่าโจทก์ขับรถด้วยความเร็วมิได้ใช้ความระมัดระวัง โจทก์จึงได้ชื่อว่ามีส่วนใน ความประมาทที่ก่อให้เกิดความเสียหายด้วยแต่จาเลยทั้งสองมีส่วนในความประมาทมากกว่า จึงให้จาเลยทั้ง สองรับผิดชดใช้ค่าเสียหายสองในสามส่วนของค่าเสียหายทั้งหมด กิตติบดี ใยพูล
33
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 5763/2541 รถยนต์ โดยสารของโจทก์ได้เกิดอุบั ติเหตุมีผู้โดยสารตกจากรถของโจทก์ จาเลยที่ 1 เป็นเจ้า พนักงานตารวจมีฐานะ เป็นผู้ช่วยพนักงานสอบสวนได้กระทาการโดยนารถคันที่เกิดเหตุ มาจอดไว้ที่ริมถนน หน้าสถานีตารวจเพื่อมิให้กีดขวาง ทางจราจรตามคาสั่งของพนักงานสอบสวน ต่อมาอุปกรณ์ในรถของโจทก์ สูญหายในขณะอยู่ในความครอบครองดูแลของ พนักงานสอบสวน เหตุละเมิดซึ่งทาให้โจทก์ได้รับความ เสียหายได้เกิดขึ้นแล้ว หากแต่มิได้เกิดขึ้นในขณะอยู่ในความรับผิดชอบของจาเลยที่ 1 แต่เกิดขึ้นในขณะอยู่ ในความรับผิดชอบของพนักงานสอบสวน การที่พนักงานสอบสวนมีคาสั่งยึดรถเนื่องจากรถที่สั่งยึดเกิดอุบัติเหตุ จึงเป็นการปฏิบัติราชการตามหน้าที่ในฐานะผู้แทนของจาเลยที่ 2 เมื่อพนักงานสอบสวนนารถไปจอดอยู่ที่ฝั่ง ตรงข้ามสถานีตารวจโดยมิได้จัดให้มีผู้ดูแลรักษาตามสมควร เป็นเหตุให้ อุปกรณ์ในรถสูญหายไปบางส่วน จาเลยที่ 2 ซึ่งเป็นนิติบุคคลจึงต้องรับผิด ต่อโจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 76 ไม่ว่า ผู้แทนของโจทก์ที่ก่อให้เกิดความเสียหายนั้นจะเป็น จาเลยที่ 1 หรือพนักงานสอบสวน จาเลยที่ 2 ก็ปฏิเสธ ความรับผิดไม่ได้ ข้อ 17. จากตัวอย่างนี้ หน้าที่ของจาเลยเกิดจากอะไร บริษัทจาเลยที่ 3 ทาการก่อสร้างถนนโดยได้ทา สัญญารับจ้างกับกรมทางหลวงตามรายการต่อท้ายสัญญาจ้าง ปรากฏว่าถนนที่ซ่อมและทาใหม่ตามแบบกว้าง 12 เมตร เป็นผิวจราจร 7เมตร เป็นไหล่ถนนข้างละ 2 เมตรครึ่ง บริษัทจาเลยที่ 3 ต้องซ่อมแซมทั้งผิว จราจรและต้องเอาดินลูกรังถมไหล่ถนนให้สูงขึ้นด้วย และเป็นผู้รับผิดชอบต่อความเสียหายใดๆ อันเกิดแก่ อาคารที่อยู่ใกล้เคียง หรือบุคคลภายนอกเนื่องจากการกระทาใดๆ ในงานนี้ ต้องให้การจราจรผ่านไปมาได้ โดยสะดวก และจะต้องทาและติดตั้งป้ายจราจรเครื่องหมาย ไม้กั้น และสิ่งประกอบอื่นๆ เพื่อความปลอดภัย แก่การจราจรตั้งแต่เริ่มงานก่อสร้างจนกระทั่งงานเสร็จ แต่บริษัทจาเลยที่ 3 ไม่ติดตั้งป้ายหรือเครื่องหมาย เตื อนผู้ขับ ขี่รถให้ทราบว่ามีการก่อสร้างซ่อมถนนอยู่ข้างหน้า ไม่รดน้าไหล่ถนนที่ถมด้วยดินลูกรัง ซึ่ง ตน ซ่อมแซมอยู่ เป็นเหตุให้เกิดฝุ่นตลบ อันเป็นเหตุส่วนหนึ่งที่ทาให้จาเลยที่ 1 ซึ่งขับรถของจาเลยที่ 2ผู้เป็น นายจ้าง สวนทางกับรถโจทก์ในถนนตรงนั้น ขับแซงรถคันอื่นเข้าชนรถโจทก์ด้วยความประมาท ทาให้รถ โจทก์เสียหาย บริษัทจาเลยที่ 3 ก็ต้องร่วมรับผิดในผลแห่งละเมิดที่จาเลยที่ 1 และที่ 2 ได้กระทาต่อโจทก์
กิตติบดี ใยพูล
34
ด้วย จะอ้างว่าไม่จาเป็นต้องรดน้าไหล่ถนนให้ชุ่มอยู่เสมอ เพราะการรดน้าก็เพื่อจะทาให้ดินแน่นเท่านั้น ไม่ใช่ถึงขนาดไม่ให้มีฝุ่น ดังนี้ หาได้ไม่ ข้อ 18. คาพิพากษาดังต่อไปนี้ ไม่เป็นละเมิดเพราะเหตุใด คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 388/2506 ระเบียบของกระทรวงมหาดไทยที่ให้ นายกเทศมนตรี ปลัดเทศบาลสมุหบัญชีต้องร่วมรับผิดชดใช้เงิน คืนให้แก่เทศบาลในกรณีมีการทุจริตอันเกี่ยวกับการรักษาเงินขึ้นนั้นไม่ใช่กฎหมายจะยกเอาระเบียบดังกล่าวนี้ ขึ้นวินิจฉัยว่าบุคคลดังกล่าวจะต้องเป็นผู้รับผิดชดใช้เงินแทนในทันทีขณะทราบว่ามีการทุจริตขึ้นโดยมิต้อง สอบสวนว่าบุคคลดังกล่าวจะต้องรับผิดจริงหรือไม่เสียก่อนหาได้ไม่ คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 4879/2537 ความรับผิดในทางแพ่งของจาเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาอันเนื่องมาจากการทุจริตของจาเลยที่ 1 ซึ่งเป็นผู้ใต้บังคับบัญชานั้นหาใช่เพราะเหตุของการเป็นผู้บังคับบัญชาไม่ หากแต่จะต้องเป็นไปตามหลักเรื่อง ละเมิดตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 420 เมื่อจาเลยที่ 2 มิได้กระทาโดยจง ใจหรือประมาทเลินเล่อจาเลยที่ 2 จึงไม่ต้องร่วมรับผิดกับจาเลยที่ 1 ข้อ 19. นาย ก จับมือนาย ข ผลักนาย ค ตกบันไดบาดเจ็บ ใครเป็นผู้กระทา และเรียกกรณีนี้ว่าอย่างไร ข้อ 20. เหตุละเมิดที่เกิดจากการกระทาโดยไม่รู้สานึกถือว่าไม่เป็นละเมิดในทุกกรณีใช่หรือไม่ อย่างไร ข้อ 21. หลัก Rep Ipsa Liqutor คืออะไร และมีการใช้งานอย่างไรในทางคดีละเมิด ข้อ 22. โปรดศึกษาข้อเท็จจริงดังต่อไปนี้ และประเด็นข้อกฎหมายในการวินิจฉัยคดี จาเลยปล่อยกระแสไฟฟ้าไว้ที่ลวดหนามซึ่งขึงอยู่ด้านในของเสารั้วภายในเขตบ้าน จาเลย โดยมี รั้วไม้ไผ่ที่ด้านนอกของเสา แต่รั้วไม้ไผ่ชารุดโจทก์อยู่บ้านติดต่อกับจาเลยเอื้อมมือไปเก็บผ้าซึ่งปลิว ไปติดรั้ว บ้านจาเลยมือไปถูกลวดหนาม ถูกกระแสไฟฟ้าดูดได้รับบาดเจ็บ กรณีข้างต้น หากผู้เสียหายคือคนร้ายเข้ามาลักทรัพย์ในยามวิกาล ? กิตติบดี ใยพูล
35
จาเลยให้การต่อสู้ว่า เป็นการทาภายในบริเวณบ้านของตน ? ข้อ 23. โปรดอธิบายทฤษฎีทางกฎหมายที่ปรากฏตามข้อเท็จจริงต่อไปนี้ โจทก์รับจ้างขนส่งยางรถยนต์ของบริษัท ย. โดยมอบหมายให้ห้างหุ้นส่วนจากัด ล.รับขนส่งให้อีก ทอดหนึ่ง ฉ.ลูกจ้างของจาเลยขับรถในทางการที่จ้างของจาเลยโดยประมาท เป็นเหตุให้ชนกับรถยนต์ของ ห้างหุ้นส่วนจากัด ล.ที่บรรทุกยางรถยนต์ดังกล่าวแล่นสวนทางมา ทาให้ยางรถยนต์ที่บรรทุกมาตกลงไปจาก รถ แล้วถูกคนร้ายลักไป โจทก์ได้ชาระราคายางรถยนต์ที่สูญหายให้แก่บริษัท ย.ไปแล้ว ดังนี้เห็นได้ว่า การ ที่ยางรถยนต์ถูกคนร้ายลักไป เกิดขึ้นเพราะความผิดของ ฉ.คนขับรถของจาเลยที่ขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้ ชนรถบรรทุ กยาง ซึ่งถ้าไม่ชน ก็คงไม่ถูกคนร้ายลักในที่เกิด เหตุการณ์สูญหายของยางรถยนต์ จึงเป็นผล โดยตรงจากการละเมิด จาเลยต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายให้โจทก์ในผลแห่งละเมิดของ ฉ.คนขับรถของ จาเลยที่ชนรถบรรทุกยางรถยนต์ โจทก์ฟ้องในฐานะเป็นผู้รับช่วงสิทธิของบริษัท ย. ชอบที่จะคิดดอกเบี้ยในจานวนค่าสินไหมทดแทน นับแต่วันที่โจทก์ได้จ่ายเงินให้แก่บริษัท ย.ไป จะคิดดอกเบี้ยจากจานวนเงินที่จ่ายไปตั้งแต่วันละเมิดหาได้ไม่ รถชนแล้วถูกคนขโมยของในรถไป ผู้ชนก็ต้องรับผิดในผลความเสียหายนั้นด้วย ข้อ 24. ตามทฤษฎีเงื่อนไข หากปรากฏว่าความเสียหายที่เกิดขึ้นมีมากกว่าจาเลยคาดหมายได้ จาเลยไม่ ต้องรับผิดในส่วนที่เกินนั้น ใช่หรือไม่ ข้อ 25. คดีศึกษา Wagon Mound หมายเลข 1 และ 2 มีความเหมือนและความแตกต่างกันอย่างไร ข้อ 26. ในการพิจารณาความประมาทเลินเล่อของจาเลย ศาลมีหลักเกณฑ์พิจารณาอย่างไร ข้อ 27. ข้อเท็จจริงแห่งคดีปรากฏว่า นายรอบคอบ ประกอบธุรกิจให้บริการเดินเรือท่องเที่ยว ได้ว่าจ้างนาย บุญน้อยทาหน้าที่เป็นกัปตันเรือ โดยข้อตกลงการจ้างได้ระบุถึงคุณสมบัติข้อหนึ่งของกัปตันเรือว่า ต้องมีทักษะ การว่ายน้าเป็นอย่างดี เพราะกัปตันเรือต้องมีหน้าที่ดูแลความปลอดภัยของผู้โดยสารด้วย วันหนึ่งในระหว่าง พานักท่องเที่ยวทัศนาจรทางทะเล นายบุญน้อยได้ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะกัปตันเรือ กล่าวคือ ได้เดินสารวจ ความเรียบร้อยบริเวณรอบ ๆ เรือ ปรากฏว่า นายบุญน้อยได้พลั้งเผลอลื่นเซถลาผลัดตกลงจากกราบเรือลงไป กิตติบดี ใยพูล
36
ในน้า และได้ร้องเรียกให้คนช่วย โดยนางสมหญิงภรรยาของนายบุญน้อยซึ่งทาหน้าที่เป็นผู้ช่วยเหลืองาน ได้ยินเสียงเรียกขอความช่วยเหลือจึงรีบวิ่งไปที่เกิดเหตุ พบนายบุญน้อยกาลังจะจมน้าอยู่ห่างจากเรือประมาณ 3 เมตร จึงรีบหาอุปกรณ์นิรภัยช่วยชีวิต ได้แก่ ห่วงชูชีพ แพยาง หรือ เชือก ฯลฯ แต่ไม่ปรากฏว่ามีอุปกรณ์ นิรภัยดังกล่าวอยู่ในเรือลาดังกล่าว เมื่อกลับมาที่เกิดเหตุอีกครั้ง นายบุญน้อยสามีของตนได้จมน้าและเสียชีวิต ทั้งนี้ เนื่องจากนายบุญน้อยว่ายน้าไม่เป็นและในวันนั้นมีลูกคลื่นเป็นจานวนมาก ต่อมา นางสมหญิงจึงเป็นโจทก์ยื่นฟ้องนายรอบคอบเป็นจาเลยเรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อละเมิด เพราะเห็นว่า นายรอบคอบต้องรับผิดชอบต่อความตายของสามีตน จาเลยให้การต่อสู้ว่า ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้ น เป็นอุบัติเหตุโดยแท้ และเป็นความสับเพล่าหรือขาดความรับผิดชอบของผู้ตายเอง ข้อ 28. ในทางพิ จารณาคดีศาลสหรัฐอเมริกาได้วางหลักเกณฑ์ในเรื่องมาตรฐานความระมัดระวัง เพื่ อ พิจารณาว่าจาเลยได้ใช้ความระมัดระวังที่เพียงพอหรือไม่ ดังนี้ B PL หมายความว่าอย่างไร ข้อ 29. โจทก์ติดตั้งป้ายโฆษณาก่อน จาเลยซึ่งอยู่ริมตึก เลียนแบบตั้งป้ายโฆษณาบ้าง แต่ไปบังป้ายของ โจทก์ โจทก์ก็เลยว่าฟ้องว่าเป็นการใช้สิทธิเกินส่วน
37
ข้อ 30. ตารวจยึดรถไว้โดยอ้างเพื่อนาไปตรวจสอบไม่เป็นการกระทาละเมิดใช่หรือไม่ อย่างไร ข้อ 31. โปรดศึกษาตัวอย่างดังต่อไปนี้ และสรุปหลักเกณฑ์เรื่องการใช้สิทธิเกินส่วนตามมาตรา 421 กรณีที่ 1 โจทก์ฟ้องตั้งรูปคดีกล่าวหาว่าจาเลยกระทาละเมิดเอาดินถมปิดลาเหมืองของโจทก์ ซึ่ง ตั้งอยู่ในป่าไม่มีเจ้าของ มิได้ฟ้องว่าลาเหมืองอยู่ในที่ดินของจาเลย และจาเลยซึ่งเป็นเจ้าของภารยทรัพย์ กระทาการกลบลาเหมืองอันเป็นภารจายอม เป็นเหตุให้ประโยชน์แห่งภารจายอมลดไปหรือเสื่อมความสะดวก ศาลจะวินิจฉัยว่าโจทก์ได้ทรัพย์สิทธิ เมื่อฟ้องของโจทก์มิได้อ้างสิทธิ ว่าโจทก์ได้ทรัพย์สิทธิภารจายอมใน ลาเหมืองพิพาท ก็ต้องถือว่าโจทก์มิได้เป็นผู้ทรงทรัพย์สิทธิภารจายอมในลาเหมืองพิพ าท จาเลยซึ่งเป็ น เจ้าของที่ดินที่ลาเหมืองพิพาทตั้งอยู่ย่อมมีสิทธิตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1336 กลบลา เหมื อ งพิ พ าทเพื่ อ ใช้ ป ระโยชน์ อ ย่ า งอื่ น ได้ บทบั ญ ญั ติ มาตรา 1337 หาลบล้ า งสิ ท ธิ ข องเจ้ า ของ อสังหาริมทรัพย์ในอันที่จะใช้สิทธิของตนตามมาตรา 1336 ไม่
กิตติบดี ใยพูล
กรณีที่จะเป็นละเมิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 421 นั้น จะต้องเป็นการแกล้ง โดยผู้กระทามุ่งต่อผลคือความเสียหายแก่ผู้อื่นถ่ายเดียว แต่ถ้าเป็นการกระทาโดยประสงค์ต่อผลอันเป็นธรรมดา แห่งสิทธินั้น แม้ผู้กระทาจะเห็นว่าผู้อื่นจะได้รับความเสียหายบ้างก็ไม่เป็นละเมิด กรณีที่ 2 บริษัท ม. จัดสรรพื้นคอนกรีตบนที่ว่างด้านหน้าอาคารของโจทก์และจาเลย รวมตลอดถึง ด้านหน้าที่ดินที่จัดสรรทุกแปลงเป็นทางสาหรับให้บุคคลที่ซื้อบ้านที่บริษัท ม. ได้จัดสรรขายใช้เข้าออกสู่ถนน พหลโยธินได้ การที่จาเลยให้พนักงานของจาเลยและลูกค้าที่มาติดต่ อกับจาเลยใช้และนากระถางต้นไม้วาง บนพื้นที่ไปจนถึงทางเท้าริมถนนพหลโยธินเป็นเหตุให้โจทก์ไม่อาจใช้พื้นที่เข้าออกได้แม้เป็นการชั่วคราวแต่ก็ เป็นการใช้สิทธิซึ่งมีแต่ให้เกิดเสียหายแก่โจทก์อันเป็นการอันมิชอบด้วยกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์มาตรา 421 และยังเป็นการใช้สิทธิของตนเป็นเหตุให้โจทก์ได้รับความเสียหายหรือเดือดร้อนเกินที่ ควรคิดหรือคาดหมายได้ว่าจะเป็นไปตามปกติและเหตุอันควรตามมาตรา 1337 อีกด้วย โจทก์ย่อมมีสิทธิ ฟ้องเพื่อยังความเสียหายหรือเดือดร้อนนั้นให้สิ้นไปได้ กรณี ที่ 3 การใช้สิท ธิซึ่ ง มีแ ต่จ ะให้ เกิด เสี ย หายแก่ บุ ค คลอื่ นนั้ นเป็ นการอั นมิช อบด้ วยกฎหมาย โจทก์จาเลยมีตึกแถวอยู่ติดกันและมีท่อระบายน้าโสโครกฝังอยู่ด้านหลังของตึกแถวเป็นแนวเดียวกัน 1ท่อเพื่อ ระบายน้าร่วมกันไปสู่ท่อระบายน้าสาธารณะโจทก์จาเลยมีเรื่องพิพาทกันมาก่อนแล้วจาเลยนาแผ่นเหล็กเจาะรู เล็กๆปิดกั้นทางระบายน้าที่จะระบายมาจากบ้านโจทก์จนเป็นเหตุให้เกิดน้าท่วมขังบ้านโจทก์เป็นการกระทาที่ จงใจจะให้เกิดความเสียหายแก่โจทก์ถึงแม้จะกระทาในที่ดินของตนเองก็เป็นการใช้สิทธิซึ่งมีแต่จะให้เกิด เสียหายแก่บุคคลอื่นอันเป็นการกระทาโดยละเมิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา421 โจทก์ร้อง ขอให้ใช้วิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษาในกรณีฉุกเฉินให้จาเลยรื้อถอนแผ่นเหล็กดังกล่าวออกเมื่อศาลอนุญาต แล้วโจทก์ก็เอาแผ่นเหล็กที่จาเลยนาไปปิดกั้นออกการกระทาของโจทก์ดังกล่าวได้รับความคุ้มครองตามคาสั่ง ศาลอันชอบด้วยกฎหมายถือไม่ได้ว่าเป็นการกระทาโดยละเมิด ข้อ 32. ความเสียหายแก่สิทธิเด็ดขาด คืออะไร ข้อ 33. คาว่า สิทธิเด็ดขาด กับ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ แตกต่างกันหรือไม่อย่างไร ข้อ 34. การเรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อละเมิดนั้น มีหลักเกณฑ์อย่างไร กิตติบดี ใยพูล
38
ข้อ 35. ประเภทของค่าสินไหมทดแทนมีประการใดบ้าง ข้อ 36. ความเสียหายในและนอกกองทรัพย์สินคืออะไร ข้อ 37. กรณีทาให้ผู้อื่นเสีย หายต่ อสิท ธิเด็ดขาดสามารถเรียกค่าเสียหายเรื่องใดได้บ้าง กรณีตาย กรณี บาดเจ็บ กรณีเสียชื่อเสียง ข้อ 38. ค่าเสียหายอย่างอื่น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เป็นอย่างไร ข้อ 39. เอกสิทธิ์ที่ใช้เป็นข้อต่อสู้คดีละเมิดมีกรณีใดบ้าง จาเลยอ้างว่าตนทางานเพื่อสาธารณะ รวมถึงขณะ กระทาละเมิดตนอยู่ในระหว่างช่วยเหลือคน เป็นข้ออ้างได้หรือไม่ อย่างไร ข้อ 40. นายแดงเป็นนายจ้าง นาย ก. เป็นลูกจ้าง นายแดงใช้ให้นาย ก. ขับรถจากกรุงเทพฯ ไปส่งของ ที่จังหวัดนครราชสีมา นาย ก. ปฏิบัติตามคาสั่งโดยขับรถไปส่งของที่จังหวัดนครราชสีมา เสร็จเรียบร้อยก็ เดินทางกลับกรุงเทพฯ ขณะที่ขับมาถึงจังหวัดสระบุรี นายหนึ่งว่าจ้างให้นาย ก. ขับรถไปขนมันสาปะหลัง โดยจะให้ค่าตอบแทน 5,000 บาท ระหว่างที่นาย ก. ขับรถไปขนมันสาปะหลัง นาย ก. ขับ รถความ ประมาทเลินเล่อไปชนนายขาวได้รับบาดเจ็บ ดังนี้ นายขาวจะฟ้องใครให้รับผิดในทางละเมิดได้หรือไม่ เพราะเหตุใด ข้อ 41. นายเอกกับนายโทเป็นศัตรูกัน วันเกิดเหตุขณะที่นายเอกขับรถยนต์ไปตามถนนเห็นนายโทเดินมา นายเอกขับรถเพื่อที่จะชนนายโท นายโทเห็นจวนตัวจะหลบก็หลบไม่ ทัน นายโทจึง ใช้อาวุธปืนยิงยาง รถยนต์ข องนายเอกแตก 2 เส้น คิดเป็นเงิน 5,000 บาท ดัง นี้ นายโทจะต้องรับผิด ชดใช้ค่าสินไหม ทดแทนให้แก่นายเอกหรือไม่เพราะเหตุใด ข้อ 42. จ าเลยเป็ นครูสอนวิชาพลศึกษานักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ของโรงเรียนเอกชนแห่ง หนึ่ ง นักเรีย นของนายจาเลย มีอายุระหว่าง 11 - 13 ปี ในวันเกิดเหตุระหว่างเวลา 13 - 14 นาฬิกา จาเลยได้ สั่งให้นักเรียนในชั้นทั้งหมด 30 คน วิ่งรอบสนามซึ่งมีความยาวประมาณ 200 เมตร จานวน 12 รอบ เพื่อลงโทษที่นักเรียนกลุ่มนั้นทาผิดระเบียบ ในระหว่างวิ่งรอบที่ 11 เด็กชายอ่อน ซึ่งป่วยเป็น
กิตติบดี ใยพูล
39
โรคหัวใจอยู่ก่อนแล้วเป็นลมล้มลง และเสียชีวิตเมื่อไปถึงโรงพยาบาล ทั้งนี้โดยจาเลย มิได้รู้มาก่อนว่า เด็กชายอ่อน ป่วยเป็นโรคหัวใจ ให้วินิจฉัยว่า มารดาของเด็กชายอ่อนผู้ตายจะฟ้องจาเลย และเจ้าของโรงเรียนผู้เป็นนายจ้าง เพื่อให้รับผิดในความตายของเด็กชายอ่อน ได้ หรือไม่ เพียงใด โดยเฉพาะจะเรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อ ความเสียหายอันมิใช่ตัวเงินได้หรือไม่หากโรงเรียนที่เกิดเหตุมิใช่โรงเรียนเอกชน แต่เป็นโรงเรียนรัฐ บุคคลที่ อาจถูกฟ้องเป็นจาเลยจะแตกต่างออกไปหรือไม่ อย่างไร ข้อ 43. นายดาลูกจ้างได้ขับรถยนต์โดยสารในทางการที่จ้างของนายแดงนายจ้างเพื่อรับส่งคนโดยสาร แต่ นายดา ได้ขับรถชนเสาไฟฟ้าโดยประมาท เป็นเหตุให้นายเขียวผู้โดยสารศีรษะแตกเป็นอันตรายสาหัส นาย ดา ถูกพนักงานอัยการฟ้องคดีอาญาต่อศาล จากการไกล่เกลี่ยของผู้ประนอมข้อพิพาท นายดากับนายเขียว ตกลงกันได้ โดยนายดายอมชดใช้ค่าเสียหายให้แก่นายเขียวเป็นเงิน 50,000 บาท ด้วยการผ่อนชาระ และให้การรับสารภาพว่าได้กระทา ความผิดตามฟ้อง นายเขียวพอใจจึงแถลงศาลขอให้ลงโทษ จาเลย สถานเบา ศาลพิพากษาจาคุก 6 เดือน และปรับ 3,000 บาท โทษจาคุกให้รอไว้มีกาหนด 2 ปี แต่ นายด าไม่ผ่ อนชาระตามที่ ต กลงไว้เ ลย นายเขี ยวจึ ง ฟ้องนายแดงกับ นายด าเป็ นคดีแพ่ ง เรีย กค่าสินไหม ทดแทนฐานละเมิดเป็นเงิน 50,000 บาท นายดาให้การว่าได้กระทาละเมิดต่อนายเขียวจริง แต่ยากจน ไม่ สามารถชาระ โดยในรายงานกระบวนพิจารณาคดีอาญาของศาลได้บันทึก ข้อตกลงไว้ว่า จาเลย ขอให้ สัญญาต่อผู้เสียหายว่า ตามที่จาเลยลูกจ้างนายแดงได้ขับรถยนต์รับส่งผู้โดยสารด้วยความประมาท ชนถูกเสา ไฟฟ้าทาให้ผู้เสียหายศีรษะแตก จาเลยรับว่าจะชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ผู้เสียหายเป็นเงิน 50,000 บาท ตามที่ผู้เสียหายเรียกร้อง โดยผ่อนชาระเดือนละ 10,000 บาท เริ่มชาระวันที่ 1 ของเดือน ถัดไป แล้ว จาเลยกั บ ผู้เ สีย หายได้ลงชื่อไว้ในรายงานกระบวนพิ จารณา ให้วินิจฉัยว่า นายแดงจะต้องรับ ผิด ใช้ค่า สินไหมทดแทนให้แก่นายเขียวหรือไม่ เพราะเหตุใด ข้อ 44. แดงต้องการสวยกว่าเดิมจึงไปที่โรงพยาบาล นายแพทย์ซึ่งเป็นลูกจ้างของเจ้าของโรงพยาบาลแห่ง นี้ ได้ทาการผ่าตัดทาตาสองชั้นให้แ ก่แดง โดยมีข้อตกลงว่าแดงจะไม่เรียกร้องความเสียหายในกรณีที่มีการ ฝ่าตัดผิดพลาด เมื่อได้มีการผ่าตัดไปแล้วได้มีการผ่าตัดแก้ไขอีกถึง 3 ครั้ง แดงก็ยังไม่สามารถหลับตาได้ สนิทเป็นปกติ และยังคงทาให้ตาทั้งสองข้างไม่เท่ากันจนเห็นได้ชัด ซึ่งเป็นการกระทาที่เกิดขึ้นจากคว าม กิตติบดี ใยพูล
40
ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงของนายแพทย์ขาว และทาให้แดงได้รับความเสียหายต้องเสียโฉม จึงฟ้อง นายแพทย์ขาว และ เจ้าของโรงพยาบาล ให้ชดใช้ค่าเสียหาย ที่ทาให้ตนต้องเสียโฉม ให้วินิจฉัยว่า จะ เรียกค่าเสียหายที่ต้องเสียโฉมได้หรือไม่ จะเรียกจากใครได้บ้าง และจะใช้สิทธิไ ล่เบี้ยได้หรือไม่ภายใน อายุความเท่าใด ข้อ 45. โจทก์/ผู้เสียหายเป็นเจ้าของบ้านซึ่งใช้ไฟฟ้าจากการไฟฟ้านครหลวง และการไฟฟ้าฯ ได้จาหน่าย กระแสไฟฟ้าแรงสูงจากต้นทางเพื่อไหลเข้าสู่ระบบไฟฟ้าภายในบ้านของผู้ใช้ไฟฟ้าตามบ้าน จึงทาให้กระแส ไฟฟ้าแรงสูงเข้าสู่เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านของผู้เสียหายและเกิดลัดวงจร ทาให้เกิดไฟไหม้บ้านผู้เสียหาย การ ไฟฟ้าฯต้องรับผิดหรือไม่ และการไฟฟ้าฯ อ้างว่ากรณีเช่นนี้เป็นเหตุสุดวิสัย ข้อ 46. แดงขับรถด้วยความมึนเมา ไปชนต้นไม้ข้างทางหลวงแบบเฉียดๆที่ผุพังมานานแล้วแต่กรมทางหลวง ไม่ได้ตัด ต้นไม้หักไปทับรถของดาที่ขณะนั้นจอดพักอยู่ริมทางหลวง ดาฟ้องแดงให้รับผิดได้หรือไม่ 2.ถ้าดา ฟ้องกรมทางหลวงให้รับผิดเนื่องจากไม่ค้าจุนต้นไม้จะได้หรือไม่ ข้อ 47. ตามที่ได้ศึกษาถึง “ความรับผิดเพื่อละเมิดอันเกิดจากการกระทาละเมิดของผู้อื่น ” (Vicarious Liability) แล้ว นั้น ขอให้อธิบายให้ทราบดังต่อไปนี้ - คุณธรรมที่แฝงอยู่เบื้องหลังกลุ่มความรับผิดในการกระทาของบุคคลอื่น - บุคคลผู้ต้องรับผิดและบุคคลผู้กระทาละเมิด - เหตุแห่งละเมิดเกิดขึ้นเมื่อใดที่กฎหมายกาหนดให้บุคคลอื่นต้องรับผิด - ข้อยกเว้นหรือเงื่อนไขแห่งความรับผิด - เพราะเหตุใดมาตรา 428 จึงไม่จัดอยู่ในกลุ่มนี้ ข้อ 48. การค้าขายแข่งขันกัน เป็นเหตุให้ร้านค้าต้องขาดทุนหรือปิดกิจการ เป็นการกระทาละเมิดหรือไม่ / หากได้ความว่า ร้านค้าแห่งหนึ่งมีพฤติกรรมกาหนดราคาต่ากว่าความจริงเพื่อทุ่มตลาด และทาให้ร้านค้าแห่ง อื่นไม่สามารถแข่งขันได้อย่างเป็นธรรม คาตอบจะเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร กิตติบดี ใยพูล
41
ข้อ 49. ข้อต่อสู้ของจาเลยในคดีละเมิดมีประการใดบ้าง ข้อ 50. ข้อเท็จจริงที่ปรากฏดังนี้ จาเลยมีหน้าที่ต้องรับผิดชอบต่อความเสียหายหรือไม่ - บิดามารดาฟ้องโรงเรียนเนื่องจากบุตรชายของตนถูกรถมอเตอร์ไซด์ชนหน้าโรงเรียน - เจ้าภาพงานเลี้ยงสังสรรค์ต้องรับผิดชอบแขกที่มางานเลี้ยงแล้วเมาขับรถยนต์เกิดอุบัติเหตุหรือไม่ - ให้เพื่อนยืมรถยนต์ที่เบรกชารุด เพื่อนขับรถยนต์ไปเกิดอุบัติเหตุ (1) ไม่บอกเพื่อน (2) บอก เพื่อนแล้ว
42
กิตติบดี ใยพูล
43
กิตติบดี ใยพูล