สรุปหลักกฎหมายมหาชน

Page 1

สรุปขอบเขตการสอบปลายภาควิชาหลักกฎหมายมหาชน กิตติบดี ใยพูล

ประเด็นที่ ๑ ทฤษฎีว่าด้วยการใช้อานาจ กับ รัฐใน ระบอบประชาธิปไตย อธิบายความหมายและพัฒนาการ - End to Justify Means - Law as mean to End - ความแตกต่างระหว่าง “Legal State” กับ “Rule of Law” - สาระสาคัญของรัฐในระบอบประชาธิปไตย มีหลักการ พื้ น ฐาน ได้ แ ก่ (๑) หลั ก ความเป็ น นิ ติ รั ฐ และ (๒) หลักการคุ้มครองเสรีภาพของปัจเจกชน ประเด็นที่ ๒

๑.จะต้อ งรัก ษาความเป็นเอกราชทั้ง หลาย เช่นเอกราชในทางการเมือ ง ในทางศาล ในทางเศรษฐกิจ ฯลฯ ของประเทศไว้ให้มั่นคง ๒.จะต้องรักษาความปลอดภัยภายในประเทศ ให้การประทุษร้ายต่อกันลด

องค์ประกอบของรัฐ

อธิบายและจาแนกความแตกต่าง องค์ประกอบของรัฐชาติ (Nation State) ได้แก่ ๑.ดินแดน ๒.พลเมือง ๓.

น้อยลงให้มาก

อานาจอธิปไตย และ ๔.รัฐบาล กับ องค์ประกอบของ

๓.ต้องบารุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหม่จะ

ความเป็ น ประเทศในระบอบประชาธิ ป ไตย ได้ แ ก่ ๑.

จัดหางานให้ราษฎรทุกคนทา จะวางโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ

ไม่ปล่อย

ให้ราษฎรอดอยาก

ดิ น แดน ๒.พลเมื อ ง ๓.ประชาธิ ป ไตย และ ๔.สิ ท ธิ มนุษยชน

๔.จะต้องให้ราษฎรมีสิทธิเสมอภาคกัน ๕.จะต้องให้ราษฎรได้มีเสรีภาพ มีความเป็นอิสระ เมื่อเสรีภาพนี้ไม่ขัดต่อ หลัก ๔ ประการดังกล่าวข้างต้น ๖.จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร สิ่งที่ทกุ คนพึงปรารถนาคือ ความสุขความเจริญอย่างประเสริฐซึ่ง เรียกเป็นศัพท์ว่า “ศรีอาริยะ” นั้น ก็จะพึงบังเกิดขึ้นแก่ราษฎรถ้วนหน้า

คณะราษฎร ๒๔ มิถนุ ายน ๒๔๗๕

หลักกฎหมายมหาชน/กิตติบดี ใยพูล

ภาพที่ ๑ : ประเทศระบอบประชาธิปไตย


ภาพที่ ๒ : ประเทศ (ดินแดน)

หลักคิด ๑. ประเทศไทยไม่ใช่การรวมศูนย์ ๒.พลเมือง มิใช่เ ฉพาะเพี ยงคนเมือง ๓.สิ ท ธิ มนุษ ยชนไม่ใช่เ พี ย ง ข้อบังคับทางกฎหมาย ภาพที่ ๖ : หลักนิติรัฐ หลักความเสมอภาค หลักยุติธรรม

ภาพที่ ๓ : ความหมายประชาธิปไตย

หลักคิด หลักนิติรัฐ หลักความเสมอภาค และหลักความ ภาพที่ ๔ : โครงสร้างทางสังคม

ยุติธ รรมถื อเป็ น หัว ใจในการคุ้ มครองสิ ท ธิ เ สรี ภาพของ พลเมือง แต่หลัก การนั้นต้องอยู่ภายในบริ บทของสังคม ประชาธิปไตย ภาพที่ ๗ : หลักการเคารพต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

ภาพที่ ๕ : การปฏิรูปการเมือง

หลักคิด แนวทางการปฏิรูปการเมืองไทย จากอานาจรัฐ ไปสู่อานาจทางสังคม “เมื่อรัฐแข็ง ชุมชนอ่อน และเมื่อ สังคมเข้มแข็ง รัฐอ่อนอานาจลง” จากความคิดที่รวม

หลักกฎหมายมหาชน/กิตติบดี ใยพูล


ศูนย์ (Centralization) มาเป็นความคิดที่กระจาย อานาจมากขึ้น๑ กรณีศึกษาต่างประเทศ นายกรัฐมนตรีประเทศออสเตรเลีย (นายเควิน รัดด์) ได้ประกาศขอโทษอย่างเป็นทางการต่อความ อยุติธรรมที่รัฐบาล ในอดีต กระทาต่อชาวอะบอริจินและชนพื้นเมืองเจ้าของดินแดนดั้งเดิม รวมถึงการพรากลูกหลานของชนอะบอริจินในยุคก่อน ความดังนี้ " ในวันนี้ เราขอเชิดชูชนดั้งเดิมของดินแดนนี้ วัฒนธรรมสืบทอดอันเก่าแก่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ เราตระหนักถึงการกระทาเลวร้ายที่พวกเขาได้ประสบ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เราตระหนักถึงการกระทาเลวร้ายต่อกลุ่มชนที่เป็นคนรุ่นถูกพราก นับเป็นหน้าประวัติศาสตร์อันน่าละอายของชาติเรา ถึ ง เวลาที่ ป ระเทศชาติ แ ห่ ง นี้ ต้ อ งพลิ ก หน้ า ประวั ติ ศ าสตร์ ใ หม่ ข อง ออสเตรเลียด้วยการแก้ไขในสิ่งผิดเมื่อครั้งอดีต และก้าวย่างอย่างมั่นใจ ไปสู่อนาคต เราขอโทษที่กฎหมายและนโยบายต่ างๆ ของสภาผู้ แ ทนราษฎรและ รัฐบาลทุกยุคทุกสมัยได้สร้างความทุกขเวทนาแสนสาหัส ความเศร้าระทม และความสู ญ เสี ย แก่ เ พื่ อ นร่ ว มชาติ ช าวออสเตรเลี ย ของเราเหล่ า นี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เราขอโทษต่อ เด็กๆ ชาวอะบอริจิ นและชาวเกาะทอร์เรสสเตรท ที่ ถูก

เรา สภาผู้แทนราษฎรแห่งออสเตรเลีย ขอวิงวอนด้วยความเคารพว่า ขอ จงรับคาขอโทษนี้ ด้ว ยจิ ต เจตนาของเราที่ จ ะเยี ย วยาบาดแผลของประเทศชาติ เรามุ่ ง หมายถึ ง อนาคต ด้ ว ยความหมายมั่ น ว่ า ต่ อ แต่ นี้ ไ ป เราจะเขี ย น ประวัติศาสตร์ของพื้นทวีปอันยิ่งใหญ่ของเรานี้ขึ้นในหน้าใหม่ ในวันนี้ เราออกเดิ นก้าวแรก ด้วยการยอมรับ อดีต และวาดหวังถึ ง อนาคตที่โอบกอดชาวออสเตรเลียทั้งมวล เป็นอนาคตที่สภาผู้แทนราษฎรแห่งนี้มาดหมายว่า ความอยุติธรรมเยี่ยง ในอดีตจะไม่บังเกิดซ้าอีก เป็ นอนาคตที่ เราตอบรับ ความมุ่ งมั่นของชาวออสเตรเลี ยทั้ ง มวล ชน พื้นเมือง และกลุ่มคนที่ไม่ใช่ชนดั้งเดิม ที่จะอุดช่องว่างในหมู่พวกเรา ในเรื่องอายุขัย ความสาเร็จทางการศึกษา และโอกาสทางเศรษฐกิจ เป็นอนาคตที่เราตอบรับความเป็นไปได้ที่จะใช้แนวทางใหม่ๆ ในการ แก้ไขปัญหาเรื้อรังต่างๆ ซึ่งแนวทางเก่าๆ ใช้ไม่ได้ผล เป็นอนาคตที่ ตั้ง อยู่ บ นความเคารพซึ่ ง กั น และกั น ความมุ่ ง มั่ น ร่ ว มกั น และความ รับผิดชอบร่วมกัน เป็นอนาคตที่ชาวออสเตรเลียทั้งมวล ไม่ว่ามีชาติกาเนิดดะไร จะเป็ น หุ้นส่วนที่เท่าเทียมกันโดยแท้จริง ด้วยโอกาสที่เท่ าเทียมกัน และด้วย ส่วนได้ส่วนเสียที่เท่าเทียมกันในการรังสรรค์บทใหม่ ของประวัติศาสตร์ ของประเทศอันยิ่งใหญ่นี้ ออสเตรเลีย"

พรากจากครอบครัว ชุมชน และบ้านเกิดเมือ งนอน ต่อความเจ็บปวด

ประเด็นที่ ๓

ความทุกข์ทรมาน และความโศกาอาดูรของคนรุ่นถูกพราก ของลูกหลาน

มหาชน / กฎหมายมหาชนในฐานะเป็นกลไก (ระบบ

เลือดเนื้อเชื้อไขของพวกเขา และของพ่อแม่พี่น้องของพวกเขา ที่ถูกทิ้งไว้ เบื้องหลัง เราขอกล่าวคาขอโทษ ต่อเหล่ามารดาและบิดา พี่ชายน้องชาย พี่สาว น้องสาว ที่ต้องพลัดพรากจากครอบครัวและหมู่บ้าน เราขอกล่าวคาขอโทษ และต่อการดูถูกเหยี ยดหยาม การย่ายี ที่กระทา ต่อคนที่ทรงเกียรติภูมิ วัฒนธรรมที่สง่างาม เราขอกล่าวคาขอโทษ

หลักกฎหมายมหาชน/กิตติบดี ใยพูล

อธิ บ ายความหมายของกฎหมาย

ยุ ติ ธ รรม) ในการบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น ของระบอบ ประชาธิปไตย (๑) กฎหมายมหาชน คืออะไร กฎหมายมหาชน คือ ศาสตร์ว่าด้วยการเมือง การปกครอง (Public Law as a Political Science)


(๒) ความหมายของกฎหมายมหาชน อัลเปียน (ULPIAN)

นักปราชญ์โรมันยุค

กาหนดความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนต่อเอกชนด้วยกัน ใน ฐานะที่เท่าเทียมกัน"

คลาสสิ ก ได้ อ ธิ บ ายว่ า "กฎหมายมหาชน ได้ แ ก่

ศาสตราจารย์ ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ อธิบาย

กฎหมายที่เกี่ ยวข้ องกั บสาธารณรั ฐโรมัน ส่วนกฎหมาย

ว่า “กฎหมายมหาชน คือกฎหมายที่กาหนดสถานะ และ

เอกชนนั้น ได้แก่ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับประโยชน์ของ

นิติสัมพันธ์ระหว่างรัฐหรือหน่วยงานของรัฐกับเอกชน หรือ

เอกชนแต่ละคน"

หน่วยงานของรัฐอื่นในฐานะที่รัฐและหน่วยงานของรัฐเป็น

ศาสตราจารย์ อองเดร เดอ โรมาแดร์ ได้อธิบายไว้ว่า

"กฎหมายมหาชนเป็นกฎหมายที่วาง

กฎเกณฑ์ แ ก่ ส าธารณบุ ค คล อั น ได้ แ ก่ รั ฐ องค์ ก รทาง

ผู้ ป กครอง ส่ ว นกฎหมายเอกชนคื อ กฎหมายที่ ก าหนด สถานะและนิติสัมพันธ์ระหว่างเอกชนต่อกันในฐานะ ผู้อยู่ ใต้ปกครอง ที่ต่างฝ่ายต่างก็เท่าเทียมกัน”

ปกครอง และรวมตลอดถึงนิติบุคคลตามกฎหมายมหาชน

รองศาสตราจารย์ ดร.ภูริชญา วัฒนรุ่ง อธิบาย

อื่น ๆ (เช่ น มหาวิ ท ยาลั ย โรงพยาบาล) กฎหมาย

ความหมายของกฎหมายมหาชนว่า "กฎหมายมหาชน

มหาชนจะวางกฎเกณฑ์แก่สาธารณบุคคลในด้านองค์กร

ได้แก่ กฎหมายที่กล่าวกาหนดถึงกฎเกณฑ์ทางกฎหมาย

การด าเนิน งาน ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งสาธารณบุ ค คล

ทั้ ง หลายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ สถานะและอ านาจของรั ฐ และ

ด้วยกัน ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างสาธารณบุคคลและ

ผู้ ป กครอง รวมทั้ ง เป็ น กฎเกณฑ์ ท างกฎหมายที่ ก าหนด

เอกชน"

ความสัมพันธ์ระหว่ างรัฐและผู้ปกครองกับพลเมืองผู้อยู่ใต้ ฯพณฯปรีดี พนมยงค์ อธิบายความหมายของ

กฎหมายมหาชนว่ า "กฎหมายมหาชนนั้น อาจให้บ ท

การปกครองในฐานะที่ รั ฐ และผู้ ป กครองมี เ อกสิ ท ธิ ท าง ปกครองเหนือพลเมือง ซึ่งอยู่ในฐานะเป็นเอกชน"

วิเคราะห์ศัพท์ดังนี้คือ เป็นส่วนหนึ่งของกฎหมายอันเกิดขึ้น

หรือ Public law is a theory of

เนื่องจาก การที่ประเทศแสดงตั วเป็นผู้บังคับปกครองใน

law

governing

the

พระราชอาณาจักร โดยรักษาความสงบเรียบร้อย ระเบียบ

between

การเก็ บ ภาษี อากร และการที่ ป ระเทศแสดงตัว นอกพระ

companies) and the state. (Lexis-

ราชอาณาจักรเป็นผู้ทาการเกี่ยวพันกับประเทศอื่น"

Nexis. 2007. "About Public Laws")

individuals

relationship (citizens,

ศาสตราจารย์ ดร.หยุด แสงอุทัย ได้อธิบายไว้

สรุปว่า กฎหมายมหาชนเป็นกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

ว่ า "กฎหมายมหาชน ได้ แ ก่ กฎหมายที่ ก าหนด

กับความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรที่ใช้อานาจทางปกครองกับ

ความสัมพันธ์ระหว่ างรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐกับราษฎร

เอกชน (ประชาชน) เพื่ อ ท าหน้ า ที่ ใ นการจั ด การ

ในฐานะที่เป็นฝ่ายปกครองราษฎร กล่าวคือ ในฐานะที่รัฐ

ประโยชน์สาธารณะ (Public interest) ดังนั้น

มีฐ านะเหนือราษฎรกฎหมายเอกชน ได้ แ ก่ กฎหมายที่

จึ ง ก าหนดสถานะและอ านาจของรั ฐ ให้ มี เ อกสิ ท ธิ ท าง ปกครองเหนือกว่าพลเมือง

หลักกฎหมายมหาชน/กิตติบดี ใยพูล


(๓) พัฒนาการการใช้อานาจรัฐ - การได้มาซึ่งอานาจทางปกครอง - การกากับการใช้อานาจทางปกครอง - การตรวจสอบการใช้อานาจทางปกครอง - การจากัดการใช้อานาจทางปกครอง

require any but oneself to be its expositor or interpreter, nor is it one law at Rome and another at Athens, one now and another at a time, but one eternal and unchangeable binding all nations through all times”

ศึกษาจากสมัยกรีก-โรมัน ๑. เพลโต้ (Plato)

can we be released from this law, nor does it

กล่า วไว้ในหนังสือ The

Republic ว่าผู้ปกครองนั้นต้องมีความเฉลียวฉลาด (Wisdom) คือรู้ว่าอะไรถูกอะไรผิด และจะต้องได้รับ การอบรมสั่ ง สอนด้ า นคุ ณ ธรรมให้ เ ป็ น ผู้ ป กครองที่ เ ป็ น ปราชญ์ หรือ Philosopher King เพราะผู้ปกครอง เช่นว่านั้นจะปกครองด้วยความเป็นธรรมเสมอ ไม่จาเป็น จะต้องมีกฎเกณฑ์ใดมาควบคุม

กฎหมายที่แท้จริงคือเหตุผลอันถูกต้องสอดคล้องกับ

ธรรมชาติ ขยายออกไปในทุกสิ่งทุกอย่าง สม่าเสมอเป็น นิรันดร เป็นกฎหมายที่ก่อให้เกิดหน่วยที่ที่จะต้องทาตาม คาสั่งหรือห้ามไม่ให้กระทาชั่วโดยข้อห้าม เป็นหน้าที่อัน ศักดิ์สิทธิ ที่เราจะต้องไม่พยายามที่จะบั ญญัติกฎหมายให้ ขัดแย้งกับกฎหมายนี้ กฎหมายนี้ไม่อาจถูกตัดทอนหรือเพิก ถอนเสียได้ อันที่จริงแล้วไม่ว่าวุฒิสภาหรือประชาชนก็ไม่ มีอานาจที่จะปลดเปลื้องเราเอาจากกฎหมายฉบับนี้ และ เราไม่จาเป็นต้องพึ่งบุคคลใดหรือสิ่งอื่นใดนอกจากตัวเรา

๒. อริสโตเติ้ล (Aristotle) กล่าวว่า การดารงชีวิต

เอง กฎหมายนี้ไม่เป็นอย่างหนึ่งที่โรม และเป็นอีกอย่าง

อยู่ในสังคมมนุษย์จะเป็นไปได้ก็ต่อเมื่อเป็นไปภายใต้หลัก

หนึ่งที่เอเธนส์ เป็ นอย่างหนึ่งในขณะนี้และเป็นอีกอย่า ง

ของเหตุ ผ ลและความยุติ ธ รรม โดยอาศั ย กฎหมายเป็ น

หนึ่งในสมัยอื่นๆ แต่ยังคงเป็นกฎหมายอันหนึ่งอันเดียวไม่

เครื่องมือ ซึ่งสังคมที่มีระเบียบและเป็นธรรมย่อมสอดคล้อง

เปลี่ยนแปลงเป็นนิรันดร และผูกพันทุกชาติทุกภาษาทุกยุค

กับธรรมชาติของมนุษย์

ทุกสมัย”

๓. ซิเซโร (Cicero) กล่าวไว้ว่า “True law is

ศึกษาจากกฎบัตรแมกนา คาร์ ต้า : เอกสารการจากั ด

right reason” กฎหมายที่แท้จริงคือเหตุผลที่ถูกต้อง

อานาจรัฐ ที่บรรดาเหล่าขุนนางอังกฤษไม่ยินยอมให้พระ

“True law is right of reason, harmonious with

เจ้าจอห์นเก็บภาษีเพิ่มเพื่อนาไปใช้ทาสงครามกับประเทศ

nature, diffused among all, constant, eternal.

ฝรั่ งเศส จึ งได้ร วมตัว กันเมื่อวั นที่ 15 มิถุ นายน ค.ศ.

A law which calls to duty by its commands

1215 ยื่นคาขาดให้พระเจ้าจอห์นลงนามในเอกสารที่มี

and retrains from evil by its prohibition…It is a sacred obligation not to attempt to legislate in contradiction to this law. Nor

ชื่อว่า Magna Carta โดยจากัดอานาจของกษัตริย์ ต้ อ งผู ก มั ด ตนเองกั บ กฎหมายและสิ ท ธิ ที่ มี ม าแต่ ดั้ ง เดิ ม

may it be derogates from nor abrogated, In

และให้หลักประกันสิทธิแก่พวกบารอนทั้งหลายในการให้

deed by neither the senate nor the people

ความยินยอมต่อการเก็บภาษีเพิ่มขึ้นจากเดิม รวมทั้ง ให้

หลักกฎหมายมหาชน/กิตติบดี ใยพูล


สิทธิแก่ขุนนางในการเลือกตัวแทน ๒๕ คนทาหน้าที่กากับ

ศึ ก ษาจาก :

ดู แ ลให้ มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามกฎบั ต รฯ โดยถื อ หลั ก การว่ า

หลักการแบ่งแยกอานาจของผู้ปกครอง

กษัตริย์ย่อมไม่อยู่ภายใต้มนุษย์ผู้ใด หากแต่อยู่ภายใต้พระ เจ้าและกฎหมายเท่านั้น ดังนั้น กฎบัตรฯ จึงเป็นหลักฐาน สาคัญฉบับแรกในการจากัดอานาจรัฐ

มองเตสกิ เ ออ (Montesquieu)

มองเตสกิเออ (Montesquieu)

นักคิดนักปรัชญา

การเมืองชาวฝรั่งเศส ผู้ให้กาเนิดแนวคิดในการแบ่งแยก อานาจปกครองสู งสุ ด หรื ออานาจอธิ ป ไตยออกเป็ น ๓

ศึกษาจากจอห์น ล๊อค (John Locke) นักปราชญ์

ฝ่าย โดยพิจารณาในแง่ขององค์กรผู้ใช้อานาจออกเป็น

ชาวอังกฤษ:ทฤษฎีสัญญาประชาคม Social Contract

อานาจนิติบัญญัติ อานาจบริหารและอานาจตุลาการ ตาม

Theory

แนวคิดของอริสโตเติล (Aristotle)

ล๊อค เชื่อว่า ผู้ปกครองต้องตระหนักถึงสิทธิบาง ประการที่ผู้ อยู่ใต้ปกครอง (ประชาคม) ได้ ยอมสละไป เท่านั้น พลเมืองทั้งหลายย่อมสงวนสิทธิในชีวิต เสรีภาพ และทรัพย์สิน อันเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานตามธรรมชาติของ มนุ ษ ย์ ไ ว้ พลเมื อ งเพี ย งแต่ โ อนอ านาจบั งคั บ การตาม กฎหมายธรรมชาติให้แก่รัฐที่ได้ตั้งขึ้นตามสัญญานี้เท่านั้น และหาก ว่ า ผู้ ป กครองกระท าการเป็ น ปฏิ ปั ก ษ์ ต่ อ กฎ ธรรมชาติ และล้มเหลวที่จะปกป้องชีวิต เสรีภาพ และ ทรัพย์สิน ผู้คนก็สามารถโค่นล้มรัฐที่ดารงอยู่นั้นได้อย่างมี เหตุผล และสถาปนารัฐใหม่ขึ้นมาแทน๓

นักปราชญ์

การเมืองชาวกรีกโบราณ บนพื้ นฐานหรื อมีเป้า ประสงค์ ประการสาคัญแหล่งหลักการคือการให้อานาจแต่ละฝ่า ย ถ่วงดุ ลและตรวจสอบซึ่งกันและกั นทั้งสามฝ่า ย และเพื่ อ ประกั นสิท ธิ เ สรีภาพของประชาชนให้ปลอดจากการใช้ อ านาจโดยมิ ช อบขององค์ ก รภาครั ฐ ที่ ใ ช้ อ านาจหนึ่ ง อานาจใดที่อาจละเมิดลิดรอนโดยอานาจรัฐไม่ว่าฝ่ายใด ซึ่งตามแนวคิดดั้งเดิมของมองเตสกิเออนั้น ได้แบ่งอานาจ อธิ ป ไ ต ย อ อ ก เ ป็ น อ งค์ กร ที่ ใ ช้อ า น า จ นิ ติ บั ญ ญั ติ (Puissance

Legislative)

ซึ่งใช้อานาจ

ปฏิบัติการต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับกฎหมายมหาชน และองค์กรที่ ใช้อานาจปฏิบัติการต่าง ๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับกฎหมายเอกชน

ล๊อคเห็นว่าควรป้องกันรัฐไม่ให้มีอานาจมากเกิน

ซึ่ ง ก็ คื อ สภาที่ ท าหน้ า ที่ ป ระชุ ม และปรึ ก ษาในเรื่ อ ง

ขอบเขต เขาเสนอว่ าควรมี ก ารถ่ ว งดุ ลอานาจโดยแบ่ ง

การเมือง องค์ กรเจ้า หน้า ที่ข องรั ฐหรือช้าราชการ และ

อานาจรัฐเป็นส่วนๆ และไม่ให้อานาจนี้อยู่ในมือของคน

องค์กรฝ่ายตุลาการ นั่ นเอง เหตุผลที่มองเตสกิเออเสนอ

เพี ย งคนเดี ย วหรื อ อยู่ ใ นมื อ ของกลุ่ ม คนเพี ย งคนเดี ย ว

แนวคิกให้แบ่งแยกอานาจการปกครองสูงสุดนี้เนื่องจาก

โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้มีอานาจในการออกกฎหมายนั้นไม่

เขาเห็ น ว่ า หากอ านาจในการนิ ติ บั ญ ญั ติ ห รื อ การตรา

ควรมีอานาจบังคับการตามกฎหมายในเวลาเดียวกัน ซึ่ง

กฎหมาย อ านาจในการบริ หารหรื อการบั ง คั บ ตามมติ

ต่ อ มาภายหลั งได้ พั ฒ นากลายเป็ น “หลั ก การแบ่ ง แยก

มหาชน และอานาจตุลาการในการพิจารณาคดี ถูกใช้

อานาจ” อันเป็นหลักพื้นฐานสาคัญของกฎหมายมหาชน

โดยบุคคลเดียวหรือองค์กรเดียว ไม่ว่าจะเป็นขุนนางหรือ ประชาชนก็ตามแล้ว ยากที่จะมีเสรีภาพอยู่ได้ ทั้งนี้เป็น

หลักกฎหมายมหาชน/กิตติบดี ใยพูล


เพราะ ผู้ใช้ทั้งอานาจนิติบัญญัติรวมกับอานาจบริหาร จะ

คาประกาศอิสรภาพของประเทศสหรัฐอเมริกา

ออกกฎหมายแบบทรราชและบังคับใช้กฎหมายในทางมิ ชอบ หากอานาจตุลาการรวมกันกับอานาจนิติบัญญัติ ผู้ พิพากษาจะเป็นผู้ออกกฎหมาย อันอาจส่งผลให้ชีวิตและ เสรี ภ าพของผู้ ใ ต้ ก ารปกครอง ถู ก บั ง คั บ ควบคุ ม โดย กฎหมายที่ ลาเอียง และหากให้อานาจตุลาการรวมกั บ อานาจบริ ห ารแล้ ว ผู้ พิ พ ากษาจะประพฤติ ตั ว แบบกดขี่ รุนแรง อันจาเป็นต้องแยกอานาจแต่ละด้านออกจากกัน๔ นอกจากนี้ การที่มองเตสกิเออได้เสนอหลักการ แบ่งแยกอานาจอย่างเป็นรู ปธรรม ถือเป็นสิ่งสาคัญมาก ในทางการเมืองการปกครอง เพราะหลัก การนี้ถื อเป็ น พื้นฐานของหลักนิติรัฐ อันเป็นสาระสาคัญของการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย ศึกษาจาก : การปฏิวัติใหญ่ประเทศฝรั่งเศส, คาประกาศ

บางส่วนของคาประกาศฯ เขียนไว้ว่า : “เพื่อธารงรักษาสิทธิเหล่านั้นจึงจัดตั้งรัฐบาลที่

อิสรภาพของประเทศสหรัฐอเมริกา

ประกอบด้ว ยประชาชนเพื่อใช้อานาจปกครองอย่างเป็ น

การปฏิวัติใหญ่ประเทศฝรั่งเศส

ธรรมโดยความยินยอมของผู้ ใต้ป กครอง และเมื่อใดที่

- หลั ก การพื้ น ฐานของการปฏิ วั ติ ฯ ได้ แ ก่ "เสรี ภ าพ เสมอภาค ภราดรภาพ"

รั ฐ บาลไม่ ว่ า ในรู ป แบบใดกลายเป็ น อุ ป สรรคท าลาย เป้าประสงค์ดังกล่าว นั่นย่อมเป็นสิทธิของประชาชนที่จะ เปลี่ยนแปลงหรือล้มล้างรัฐบาลนั้น เพื่อจัดตั้งรัฐบาลใหม่

- มนุษ ย์ทุ ก คนเกิ ด มามีอิสรภาพและความเสมอภาคกั น

และวางรากฐานหลักการดังกล่าวขึ้นใหม่และจัดระเบียบ

การจาแนกความแตกต่างทางสังคมนั้นสามารถทาได้เพียง

อานาจในรูปแบบตามที่จะเห็นสมควรว่าจะเป็นประโยชน์

เพื่อประโยชน์ส่วนรวม (Men are born and

ได้มากที่สุดต่อความปลอดภัยและความสุขของประชาชน

remain free and equal in rights.

โดยมีหลักความสง่างามเป็นเงื่อนไขกาหนดว่ารัฐบาลที่

Social distinctions can be founded

จัดตั้งขึ้นมาอย่างยาวนานไม่ควรจะต้องถูกเปลี่ยนแปลง

only on the common utility.)

เพราะสาเหตุ เ พี ย งเล็ ก น้ อ ยชั่ ว ครั้ ง ชั่ ว คราว เพราะ ประสบการณ์ที่ผ่านมาได้สอนเราแล้วว่ามนุษยชาติจะต้อง ทนทุกข์ทรมานเพียงใดเพื่อแก้ไขสิ่งเลวร้ายที่เกิดขึ้น หาก

หลักกฎหมายมหาชน/กิตติบดี ใยพูล


ว่า ความเลวร้ ายที่มียังพอทาเนาก็ ย่อมดี กว่ าการล้มล้า ง

มีเป้าประสงค์ที่จะบั่ นทอนการปกครองอันจะนาไปสู่การ

รูปแบบการปกครองที่ถือปฏิบัติกันมายาวนาน แต่เมื่อใดที่

ปกครองแบบเผด็จการอย่างสมบูรณ์ นั่นย่อมเป็นสิทธิและ

มี ก ารประพฤติ มิ ช อบและการล่ ว งละเมิ ด สิ ท ธิ ติ ด ต่ อ กั น

หน้าที่ของประชาชนที่จะกาจัดรัฐบาลเช่นนั้น...”

ยาวนานอันแสดงให้เห็นได้ว่ามีเป้าประสงค์ที่จะบั่นทอน การปกครองอันจะนาไปสู่การปกครองแบบเผด็จการอย่าง

(๔) หลักพื้นฐานของประชาธิปไตย

สมบู ร ณ์ นั่น ย่อมเป็ นสิ ท ธิ แ ละหน้า ที่ ข องประชาชนที่ จ ะ

๑. หลักนิติรัฐ (Rule of Law)

กาจัดรัฐบาลเช่นนั้นและจัดให้มีผู้ปกครองใหม่เพื่อความ

๒. หลักสิทธิมนุษยชน (Human Rights)

มั่นคงของประชาชนในวันข้างหน้า” ประกอบด้วยหลักการต่าง ๆ ดังนี้ ๑. หลัก สัญญาประชาคม และหลักการใช้อานาจ อย่างเป็นธรรม (...จัดตั้งรัฐบาลที่ประกอบด้วยประชาชน เพื่อใช้อานาจปกครองอย่างเป็นธรรมโดยความยินยอม ของผู้ใต้ปกครอง...) ๒. หลักการสถาปนารัฐใหม่ (...เมื่อใดที่รัฐบาลไม่ ว่ า ในรู ป แบบใดกลายเป็ น อุป สรรคท าลายเป้ า ประสงค์ ดังกล่าว นั่นย่อมเป็นสิทธิของประชาชนที่จะเปลี่ยนแปลง หรือล้มล้างรัฐบาลนั้น...) ๓. หลักการคุม้ ครองสิทธิเสรีภาพของปัจเจกชน (... ความปลอดภัยและความสุขของประชาชน...) ๔. หลั ก ประชาธิ ป ไตย (...รั ฐ บาลที่ จั ด ตั้ง ขึ้ นมา อย่างยาวนานไม่ควรจะต้องถูกเปลี่ยนแปลงเพราะสาเหตุ เพียงเล็กน้อยชั่วครั้งชั่วคราว เพราะประสบการณ์ที่ผ่านมา ได้สอนเราแล้วว่ามนุษยชาติจะต้องทนทุกข์ทรมานเพียงใด เพื่อแก้ไขสิ่งเลวร้ายที่เกิดขึ้น หากว่าความเลวร้ายที่มียัง พอทาเนาก็ย่อมดีกว่าการล้มล้างรูปแบบการปกครองที่ถือ ปฏิบัติกันมายาวนาน แต่เมื่อใดที่มีการประพฤติมิชอบและ การล่วงละเมิดสิทธิติดต่อกันยาวนานอันแสดงให้เห็นได้ว่า หลักกฎหมายมหาชน/กิตติบดี ใยพูล

ทั้ ง สองหลั ก การนี้ ต้ อ งมี ค วามสั ม พั น ธ์ แ ละ เชื่อมโยงกัน กล่าวคือ หลัก นิติรัฐ ที่ปราศจากหลัก สิท ธิ มนุษ ยชน ย่ อมท าให้รั ฐ นั้นกลายเป็ นรั ฐ ที่ ป กครองโดย กฎหมายเท่านั้น หรือที่เรียกว่า Legal State ไม่ แตกต่างกับรัฐเผด็จการที่ปกครองโดยอาศัยกฎหมายเป็น เครื่ อ งมื อ เพื่ อ รั ก ษาอ านาจแห่ ง ตน, เช่ น กั น หลั ก สิ ท ธิ มนุษยชนที่ปราศจากหลักนิติรัฐ ย่อมจะทาให้หลักประกัน สิทธิขั้นพื้นฐานไม่ชัดเจน ทาให้เกิดความเหลื่อมล้าของ การบังคับใช้กฎหมาย หลั ก ความเป็ นนิ ติ รั ฐ ต้ อ งประกอบด้ ว ย สาระส าคั ญ หลายเรื่ องเช่น การแบ่ งแยกอานาจ, การ จากัดอานาจรัฐ, ความชอบด้วยกฎหมายของฝ่ายบริหาร / ฝ่ายตุลาการ, ความชอบด้วยกฎหมายในเนื้อหาของ การกระทา, หลักประกัน ความเป็นอิสระของผู้พิพากษา, หลั ก ไม่ มี ก ฎหมายย่ อ มไม่ มี ค วามผิ ด รวมถึ ง หลั ก รัฐธรรมนูญนิยม หลั ก สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน ต้ อ งถื อ เป็ นมาตรฐานขั้ น ต่าสุดที่มนุษย์พึงได้รับการรับรองและคุ้มครอง และต้องถือ เป็นมาตรฐานร่วมกันแห่งความสาเร็จของมวลมนุษยชาติ ดั ง ปรากฏอยู่ ใ นค าปรารภของปฏิ ญ ญากลว่ า ด้ ว ยสิ ท ธิ


มนุษยชน (Universal

Declaration

of

Human Rights, 1948) ดังนี้ “โดยที่ การยอมรั บ นับ ถือเกี ยรติ์ศั ก ดิ์ ประจ าตัว

โดยที่รัฐสมาชิกต่างปฏิญาณจะให้บรรลุถึงซึ่งการ ส่งเสริมการเคารพและปฏิบัติตามทั่วสากลต่อสิทธิมนุษยชน และอิสรภาพขั้นมูลฐาน โดยร่วมมือกับสหประชาชาติ

และสิ ท ธิ เ ท่ า เที ยมกั น และโอนมิไ ด้ ข องบรรดาสมาชิ ก

โดยที่ความเข้าใจร่วมกันในสิทธิ และอิสรภาพ

ทั้งหลายแห่งครอบครัวมนุษย์เป็นหลักมูลเหตุ แห่งอิสรภาพ

เหล่ า นี้ เ ป็ น สิ่ ง ส าคั ญ ยิ่ ง เพื่ อ ให้ป ฏิ ญ ญานี้ ส าเร็ จ ผลเต็ ม

และความยุติธรรม และสันติภาพบนโลก

บริบูรณ์

โดยไม่ น าพาและเหยี ย ดหยามต่ อ มนุ ษ ยชน ยังผลให้มีการกระทาอย่างป่าเถื่อน ซึ่งเป็นการละเมิด มโนธรรมของมนุ ษ ยชาติ อ ย่ า งร้ า ยแรง และได้ มี ก าร ประกาศว่าปฏิญญาสูงสุดของสามัญชนได้แก่ความต้องการ ให้มนุษย์มีชีวิตอยู่ในโลกด้วยอิสรภาพ ในการพู ดและ ความเชื่อถือและอิสรภาพพ้นจากความหวาดกลัวและความ ต้องการ

ฉะนั้น บัดนี้ สมัชชาจึงประกาศว่า ปฏิ ญ ญาสากลว่ า ด้ ว ยสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนนี้ เป็ น มาตรฐานร่วมกันแห่งความสาเร็จสาหรับบรรดาประชาการ และประชาติทั้งหลาย เพื่อจุดหมายปลายทางที่ว่า ปัจเจก ชนทุกคนและองค์การสังคมทุกองค์การ โดยการราลึกถึง ปฏิญญานี้เป็นเนื่องนิจ จะบากบั่นพยายามด้วยการสอน และศึก ษา ในอันที่ ส่งเสริมการเคารพสิทธิ และอิสรภาพ

โดยที่เป็นความจาเป็นอย่างที่สิทธิมนุษยชนควร

เหล่านี้ และด้วยมาตรการอันก้าวหน้าทั้งในและระหว่าง

ได้ รั บ ความคุ้ มครองโดยหลัก กฎหมาย (นิติรัฐ ) ถ้ า ไม่

ประเทศ ในอันที่จะส่งเสริมการเคารพสิทธิและอิสรภาพ

ประสงค์จะให้คนตกอยู่ในบังคับให้หันเข้าหาขบถขัดขืนต่อ

เหล่านี้ และด้วยมาตรการอันก้าวหน้าทั้งในและระหว่าง

ทรราชและการกดขี่เป็นวิถีทางสุดท้าย

ประเทศ ในอันที่จะให้มีการยอมรับนับถือและการปฏิบัติ

โดยที่ เ ป็ น ความจ าเป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะส่ ง เสริ ม วิวัฒนาการแห่ง สัมพันธ์ไมตรีระหว่างนานาชาติ โดยที่ประชาคมแห่งสหประชาชาติได้ยืนยันไว้ ในกฎบัตรถึงความเชื่อมั่นในสิทธิมนุษยชนอันเป็น มูลฐาน ในเกียรติศักดิ์และคุณค่าของมนุษย์และสิทธิในความเท่า เที ยมกั น ของบรรดาชายและหญิ ง และได้ ต กลงใจที่ จ ะ ส่งเสริมความก้าวหน้าทางสังคมและมาตรฐานแห่งชีวิตที่ดี ขึ้นด้วยในอิสรภาพ อันกว้างขวางยิ่งขึ้น

หลักกฎหมายมหาชน/กิตติบดี ใยพูล

ตามโดยสากลและอย่ า งเป็ น ผลจริ ง จั ง ทั้ ง ในบรรดา ประชาชนของรั ฐ สมาชิ ก ด้ ว ยกั น เอง และในบรรดา ประชาชนของดินแดนที่อยู่ใต้อานาจของรัฐนั้น” สรุปได้ว่า หลักสิทธิมนุษยชนมีรายละเอียดดังนี้ ๑. สิทธิมนุษยชนเป็นเกียรติ์ศักดิ์ประจาตัวของ มนุษย์ทุกคน ๒. สิทธิมนุษยชนเป็นสิทธิเด็ดขาดของมนุษย์ ไม่ว่าจะอยู่ ณ ที่แห่งใด


๓. สิท ธิ มนุษยชนเป็น สิ ท ธิ เ ท่า เที ยมกั น และ โอนให้แก่กันมิได้ ๔. สิท ธิ มนุษ ยชนเป็ นมูลฐานที่ ท าให้สั งคมมี ความสงบสุข เสรีภาพ และเป็นธรรม ๕. การล่ว งละเมิด ต่ อสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนเป็ นการ ทาลายมโนธรรมของมนุษย์อย่างร้ายแรง

- หลักการจากัดอานาจของผู้ใช้อานาจรัฐ - หลักการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ - รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยกับการปฏิรปู การเมือง การปกครองและระบบราชการ (๑) รักษาประโยชน์ส่วนรวมตามหลักธรรมาภิบาล มาตรา ๗๔ บุคคลผู้เป็นข้าราชการ พนักงาน

๖. รัฐที่ละเมิด ต่อสิท ธิมนุษ ยชนเป็นรัฐ ทรราช

ลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ

และประชาชนสามารถเป็นขบถต่อรัฐนั้นได้

หรือเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ มีหน้าที่ดาเนินการให้เป็นไปตาม

๗. รั ฐ ต้องมีห ลัก ประกั น ทางกฎหมายในการ

กฎหมายเพื่อรักษาประโยชน์ส่วนรวม อานวยความสะดวก

คุ้มครองสิทธิมนุษยชน (นิติรัฐ)

และให้บริการแก่ประชาชนตามหลักธรรมาภิบาลของการ

๘. รัฐจะต้องคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิมนุษยชน

บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

๙. สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนเป็ น มาตรฐานร่ ว มกั น แห่ ง

(๒) แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ : แนวนโยบายด้าน

ความสาเร็จของบรรดาประเทศภาคีสมาชิก แห่งสหประชาชาติ ประเด็นที่ ๔

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยกับ

การปฏิรูปการเมืองการปกครองและระบบราชการ - รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ๑. ความหมายของรัฐธรรมนูญ คือ กติกาของ ประเทศในการจัดระเบียบความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรผู้ใช้ อานาจรัฐกับพลเมือง ๒. แนวคิดรัฐธรรมนูญนิยม แนวคิดรัฐธรรมนูญนิยม (Constitutionalism) กับความสัมพันธ์ของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ต้องประกอบด้วยเรื่องต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ - ความเป็นกฎหมายสูงสุด - การคุ้มครองสิทธิพลเมือง - หลักการแบ่งแยกการใช้อานาจอธิปไตย หลักกฎหมายมหาชน/กิตติบดี ใยพูล

การบริหารราชการแผ่นดิน มาตรา ๗๘

รั ฐ ต้ อ ง ด า เ นิ น ก า ร ต า ม

แนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ดังต่อไปนี้ (๑) บริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปเพื่อการ พัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และความมั่นคงของประเทศอย่าง ยั่ ง ยื น โดยต้ อ งส่ ง เสริ ม การด าเนิ น การตามปรั ช ญา เศรษฐกิจพอเพียงและคานึงถึงผลประโยชน์ของประเทศชาติ ในภาพรวมเป็นสาคัญ (๒) จัดระบบการบริหารราชการส่วนกลาง ส่วน ภูมิภาค และส่วนท้องถิ่นให้มีขอบเขต อานาจหน้าที่ และ ความรับผิดชอบที่ชัดเจนเหมาะสมแก่การพัฒนาประเทศและ สนับสนุนให้จังหวัดมีแผนและงบประมาณเพื่อพัฒนาจังหวัด เพื่อประโยชน์ของประชาชนในพื้นที่ (๓) กระจายอานาจให้ อ งค์ ก รปกครองส่ ว น ท้องถิ่นพึ่งตนเองและตัดสินใจ


ในกิจการของท้องถิ่นได้เอง ส่งเสริมให้องค์กรปกครอง

(๘) ดาเนินการให้ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของ

ส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการดาเนินการตามแนวนโยบาย

รัฐได้รับสิทธิประโยชน์อย่างเหมาะสม

พื้ น ฐานแห่ ง รั ฐ พั ฒ นาเศรษฐกิ จ ของท้ อ งถิ่ น และระบบ

(๓) การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน

สาธารณู ป โภคและสาธารณูป การ ตลอดทั้ งโครงสร้ า ง

๓.๑ สิทธิมนุษยชนและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

พื้นฐานสารสนเทศในท้องถิ่น ให้ทั่วถึงและเท่าเทียมกันทั่ว

มาตรา ๔ ศั ก ดิ์ ศ รี ค วามเป็ น มนุ ษ ย์ สิ ท ธิ

ประเทศ รวมทั้ ง พั ฒ นาจั ง หวั ด ที่ มี ค วามพร้ อ มให้ เ ป็ น

เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคล ย่อมได้รับความ

องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ขนาดใหญ่ โดยค านึ ง ถึ ง

คุ้มครอง

เจตนารมณ์ของประชาชนในจังหวัดนั้น (๔) พัฒนาระบบงานภาครัฐ โดยมุ่งเน้นการ

๓.๒ การใช้ อ านาจรั ฐ ต้ อ งค านึ ง หลั ก สิ ท ธิ มนุษยชน

พัฒนาคุณภาพ คุณธรรม และจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของ

มาตรา ๒๖ การใช้อานาจโดยองค์กรของรัฐ

รั ฐ ควบคู่ ไ ปกั บ การปรั บ ปรุ งรู ป แบบและวิ ธี ก ารท างาน

ทุกองค์กร ต้องคานึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิและ

เพื่ อ ให้ ก ารบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น เป็ น ไปอย่ า งมี

เสรีภาพ ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้

ประสิทธิภาพ และส่งเสริมให้หน่วยงานของรัฐใช้ หลักการ

มาตรา ๒๗ สิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพที่

บริ ห ารกิ จ การบ้ า นเมื อ งที่ ดี เ ป็ น แนวทางในการปฏิ บั ติ

รัฐธรรมนูญนี้รับรองไว้โดยชัดแจ้ง โดยปริยายหรือโดยคา

ราชการ

วินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ย่อมได้รับความคุ้มครองและ (๕) จัดระบบงานราชการและงานของรัฐอย่าง

ผู ก พั น รั ฐ สภา คณะรั ฐ มนตรี ศาล รวมทั้ ง องค์ ก รตาม

อื่น เพื่อให้การจัดทาและการให้บริการสาธารณะเป็นไป

รั ฐ ธรรมนูญ และหน่ว ยงานของรั ฐ โดยตรงในการตรา

อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้

กฎหมาย การใช้บังคับกฎหมาย และการตีความกฎหมาย

โดยคานึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน

ทั้งปวง

(๖) ดาเนินการให้หน่วยงานทางกฎหมายที่มี

มาตรา ๒๙ การจากัดสิทธิและเสรีภาพของ

หน้า ที่ ใ ห้ค วามเห็น เกี่ ยวกั บ การด าเนินงานของรั ฐ ตาม

บุคคลที่รัฐธรรมนูญรับรองไว้ จะกระทามิได้ เว้นแต่โดย

กฎหมายและตรวจสอบการตรากฎหมายของรัฐ ดาเนินการ

อาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เฉพาะเพื่อการ

อย่างเป็นอิสระ เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไป

ที่ รั ฐ ธรรมนู ญ นี้ ก าหนดไว้ แ ละเท่ า ที่ จ าเป็ น และจะ

ตามหลักนิติธรรม

กระทบกระเทือนสาระสาคัญแห่งสิทธิและเสรีภาพนั้นมิได้

(๗) จัดให้มีแผนพัฒนาการเมือง รวมทั้งจัดให้ มี ส ภาพั ฒ นาการเมื อ งที่ มี ค วามเป็ น อิ ส ระ เพื่ อ ติ ด ตาม สอดส่องให้มีการปฏิบัติตามแผนดังกล่าวอย่างเคร่งครัด

หลักกฎหมายมหาชน/กิตติบดี ใยพูล

๓.๓ การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนโดยศาล มาตรา ๒๘ บุคคลย่อมอ้างศักดิ์ศรีความเป็น มนุษย์หรือใช้สิ ทธิและเสรีภาพของตนได้เ ท่าที่ไม่ละเมิด


สิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพของบุ ค คลอื่ น ไม่ เ ป็ น ปฏิ ปั ก ษ์ ต่ อ รัฐธรรมนูญ หรือไม่ขัดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญ นี้รับรองไว้ สามารถยกบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้เพื่อใช้ สิทธิทางศาลหรือยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้คดีในศาลได้ บุคคลย่อมสามารถใช้สิทธิทางศาลเพื่อบังคับให้ รัฐต้องปฏิบัติตามบทบัญญัติในหมวดนี้ได้โดยตรง หาก

ความหมาย WHAT IS GOOD GOVERNANCE?๕ Recently the terms "governance" and "good governance" are being increasingly

used

in

development

literature. Bad governance is being

การใช้ สิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพในเรื่ อ งใดมี ก ฎหมายบั ญ ญั ติ

increasingly regarded as one of the

รายละเอียดแห่งการใช้สิทธิและเสรีภาพตามที่รัฐธรรมนูญนี้

root causes of all evil within our

รั บ รองไว้ แ ล้ว ให้ ก ารใช้ สิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพในเรื่ อ งนั้ น

societies.

เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ

international financial institutions

บุ ค คลย่อมมี สิ ท ธิ ไ ด้ รั บ การส่ งเสริ ม สนับ สนุ น และช่วยเหลือจากรัฐ ในการใช้สิทธิตามความในหมวดนี้ (๔) อานาจอธิปไตยต้องเป็นไปตามหลักนิติธรรม มาตรา ๓ อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน ชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขทรงใช้อานาจ นั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบั ญญัติแห่ง รัฐธรรมนูญนี้ การปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญ และหน่วยงานของรัฐ ต้อง เป็นไปตามหลักนิติธรรม (๕) หลักประกันสิทธิเสรีภาพของพลเมือง (ชนชาวไทย) ปรากฏตามมาตรา ๓๐-๖๙

Major

donors

and

are increasingly basing their aid and loans on the condition that reforms that ensure "good governance" are undertaken. GOVERNANCE The concept of "governance" is not new. It is as old as human civilization. Simply put "governance" means: the process of decision-making and the process by which decisions are implemented

(or

not

implemented).

Governance can be used in several contexts such as corporate governance, international

governance,

national

governance and local governance. Since governance is the process of decision-making and the process by which decisions are implemented, an analysis of governance focuses on the หลักกฎหมายมหาชน/กิตติบดี ใยพูล


formal and informal actors involved in

to the civil society, organized crime

decision-making and implementing the

syndicates also influence decision-

decisions made and the formal and

making, particularly in urban areas

informal structures that have been set

and at the national level.

in place to arrive at and implement the decision.

Similarly

formal

government

structures are one means by which

Government is one of the actors

decisions

are

arrived

at

and

in governance. Other actors involved

implemented. At the national level,

in governance vary depending on the

informal decision-making structures,

level of government that is under

such as "kitchen cabinets" or informal

discussion. In rural areas, for example,

advisors may exist. In urban areas,

other actors may include influential

organized crime syndicates such as the

land lords, associations of peasant

"land Mafia" may influence decision-

farmers, cooperatives, NGOs, research

making. In some rural areas locally

institutes, religious leaders, finance

powerful

institutions political parties, the

influence

military etc. The situation in urban

informal decision-making is often the

areas is much more complex. Figure 1

result of corrupt practices or leads to

provides the interconnections between

corrupt practices.

actors involved in urban governance. At the national level, in addition to

families

may

make

decision-making.

or Such,

องค์ประกอบของหลักธรรมาภิบาล

the above actors, media, lobbyists, international donors, multi-national corporations, etc. may play a role in decision-making or in influencing the decision-making process. All

actors

other

government and the military

than are

grouped together as part of the "civil society." In some countries in addition หลักกฎหมายมหาชน/กิตติบดี ใยพูล

Good governance has 8 major characteristics. It is participatory, consensus

oriented,

accountable,

transparent, responsive, effective and


efficient, equitable and inclusive and

การจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุและแต่งตั้งบุคคล

follows the rule of law. It assures

เข้าดารงตาแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ ต้องคานึงถึงหลักการ

that corruption is minimized, the views of minorities are taken into account and that the voices of the most vulnerable in society are heard in

decision-making.

It

is

also

responsive to the present and future needs of society.

สรุ ป ว่ า หลั ก ธรรมาภิ บ าลมี อ งค์ ป ระกอบ ๘ ประการ ได้แก่ ๑.การมีส่วนร่วม ๒.ฉันทานุมัติ ๓.ความ รับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ ๔.ความโปร่งใส ๕. หลักการ ตอบสนอง ๖.หลักประสิทธิภาพและประสิทธิผล ๗.หลัก ความเสมอภาคและเที่ยงธรรม และ๘.การปฏิบัติตามหลัก นิติธรรม

ตามวรรคหนึ่ง ในการปฏิบั ติหน้า ที่ข องส่ว นราชการ ต้องใช้ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ คานึงถึงความรับผิดชอบ ของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วม ของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสม ของแต่ละภารกิจ เพื่อประโยชน์ในการดาเนิ นการให้เป็นไปตาม มาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกา กาหนดหลักเกณฑ์ และ วิ ธี ก ารในการปฏิ บั ติ ราชการและการสั่ ง การให้ ส่ ว น ราชการและข้าราชการปฏิบัติก็ได้" - พระราชกฤษฎีกาว่าด้วย การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ ดี พ.ศ. ๒๕๔๖

- พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓/๑

คื อ หลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารบริ ห ารกิ จ การ บ้านเมืองที่ดี โดยมีความประสงค์จะให้ใช้บังคับกับส่วน

“มาตรา ๓/๑ การบริ ห ารราชการตาม

ราชการในทุ ก กระทรวง ทบวง กรม ทั้งที่ เป็ นราชการ

พระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน

ส่วนกลางและราชการส่วนภูมิภาค รวมทั้งหน่วยงานอื่นที่

เกิ ด ผลสั มฤทธิ์ ต่อภารกิ จ ของรั ฐ ความมีป ระสิ ท ธิ ภาพ

อยู่ในกากับของราชการฝ่ายบริหารที่มีการจัดตั้งขึ้นและมี

ความคุ้ ม ค่ า ในเชิ ง ภารกิ จ แห่ ง รั ฐ การลดขั้ น ตอนการ

การปฏิบัติราชการเช่นเดียวกับกระทรวง ทบวง กรม

ปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จาเป็น

สาระสาคัญ

การกระจายภารกิ จ และทรั พ ยากรให้ แ ก่ ท้ อ งถิ่ น การ

มาตรา ๖ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ได้แก่ การ

กระจายอานาจตัดสินใจ การอานวยความสะดวก และ

บริหารราชการเพื่อบรรลุเป้าหมาย ดังต่อไปนี้

การตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมี

(๑) เกิดประโยชน์สุขของประชาชน

ผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน

(๒) เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ (๓) มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ (๔) ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจาเป็น

หลักกฎหมายมหาชน/กิตติบดี ใยพูล


(๕) มี ก ารปรั บ ปรุ ง ภารกิ จ ของส่ ว นราชการให้ทั นต่ อ สถานการณ์ (๖) ประชาชนได้รับการอานวยความสะดวกและได้รับ การตอบสนองความต้องการ (๗) มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่าเสมอ (๑) การบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน หลัก Human Security and National Security มาตรา ๗ การบริ ห ารราชการเพื่ อ ประโยชน์ สุ ข ของ ประชาชน หมายถึ ง การปฏิ บั ติ ร าชการที่ มี เ ป้ า หมาย เพื่อให้เกิดความผาสุกและความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน ความสงบและปลอดภั ย ของสั ง คมส่ ว นรวม ตลอดจน ประโยชน์สูงสุดของประเทศ มาตรา ๘ ในการบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของ ประชาชน ส่ ว นราชการจะต้ อ งด าเนิ น การโดยถื อ ว่ า ประชาชนเป็นศูนย์กลางที่จะได้รับการบริการจากรัฐ และ จะต้องมีแนวทางการบริหารราชการ ดังต่อไปนี้ (๑) การก าหนดภารกิ จ ของรั ฐ และส่ ว นราชการต้ อ ง

ภารกิจใดจะมีผลกระทบต่อประชาชน ส่วนราชการต้อง ดาเนินการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน หรือชี้แจงทา ความเข้าใจเพื่อให้ประชาชนได้ตระหนั กถึงประโยชน์ที่ ส่วนรวมจะได้รับจากภารกิจนั้น (๔) ให้เ ป็ นหน้า ที่ ข องข้ า ราชการที่ จ ะต้อ งคอยรั บ ฟั ง ความคิดเห็น และความพึงพอใจของสังคม โดยรวมและ ประชาชนผู้ รั บ บริ ก าร เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง หรื อ เสนอแนะต่ อ ผู้บังคับบัญชา เพื่อให้มีการปรับปรุงวิธีปฏิบัติราชการให้ เหมาะสม (๕) ในกรณีที่เกิดปัญหาและอุปสรรคจากการดาเนินการ ให้ส่วนราชการดาเนินการ แก้ไขปัญหาและอุปสรรคนั้น โดยเร็ว ในกรณีที่ปัญหาหรืออุปสรรคนั้นเกิดขึ้นจากส่วน ราชการอื่น หรือระเบียบข้อบังคับที่ออกโดยส่วนราชการ อื่น ให้ส่วนราชการแจ้งให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทราบ เพื่อดาเนินการแก้ไขปรับปรุงโดยเร็วต่อไป และให้แจ้ง ก.พ.ร.๖ ทราบด้วย (๒) การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ หลัก การจัด ท าแผนปฏิบั ติร าชการและการติ ด ตามและ

เป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ตาม มาตรา ๗ และสอดคล้องกับ

ประเมินผลการปฏิบัติ

แนวนโยบายแห่งรัฐและนโยบายของ คณะรัฐมนตรีที่แถลง

มาตรา ๙ การบริหารราชการเพื่อให้เ กิดผลสัมฤทธิ์ต่ อ

ต่อรัฐสภา

ภารกิจของรัฐ ให้ส่วนราชการปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(๒) การปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการต้องเป็นไปโดย

(๑) ก่อนจะดาเนินการตามภารกิจใด ส่วนราชการต้อง

ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต สามารถตรวจสอบได้ และมุ่ ง ให้ เ กิ ด

จัดทาแผนปฏิบัติราชการไว้เป็นการล่วงหน้า

ประโยชน์สุขแก่ประชาชนทั้งในระดับประเทศและท้องถิ่น

(๒) การกาหนดแผนปฏิบัติราชการต้องมีรายละเอียดของ

(๓) ก่ อ นเริ่ ม ด าเนิ น การส่ ว นราชการต้ อ งจั ด ให้ มี

ขั้ นตอน ระยะเวลาและงบประมาณที่ จ ะต้องใช้ใ นการ

การศึ ก ษาวิ เ คราะห์ ผ ลดี แ ละผลเสี ย ให้ ค รบถ้ ว นทุ ก ด้ า น

ด าเนิ น การของแต่ ล ะขั้ น ตอนเป้ า หมายของภารกิ จ

ก าหนดขั้ น ตอนการด าเนิ น การที่ โ ปร่ ง ใส มี ก ลไก

ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ และตัวชี้วัดความสาเร็จของภารกิจ

ตรวจสอบการด าเนิ น การในแต่ ล ะขั้ น ตอน ในกรณี ที่ หลักกฎหมายมหาชน/กิตติบดี ใยพูล


(๓) ส่วนราชการต้องจัดให้มีการติดตามและประเมินผล

บูรณาการร่วมกัน โดยมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของ

การปฏิบัติ

รัฐ

(๔)

ในกรณีที่การปฏิบัติภารกิจ หรือการปฏิบัติตาม

ให้ ส่ ว นราชการมี ห น้ า ที่ ส นั บ สนุ น การปฏิ บั ติ

แผนปฏิ บั ติ ร าชการเกิ ด ผลกระทบต่อ ประชาชน ให้ เ ป็ น

ราชการของผู้ว่าราชการจังหวัด หรือหัวหน้าคณะผู้แทนใน

หน้ า ที่ ข องส่ ว นราชการที่ จ ะต้ อ งด าเนิ น การแก้ ไ ขหรื อ

ต่างประเทศ เพื่อให้การบริหารราชการแบบบูรณาการใน

บรรเทาผลกระทบนั้ น หรื อ เปลี่ ยนแผนปฏิ บั ติ ร าชการให้

จังหวัดหรือในต่างประเทศ แล้วแต่กรณีสามารถใช้อานาจ

เหมาะสม

ตามกฎหมายได้ ค รบถ้ ว น ตามความจ าเป็นและบริ หาร

- การบริหารราชการแบบบูรณาการร่วมกัน

ราชการได้อย่างมีประสิทธิภาพ

คือ การจัดการบริหารภาครัฐแนวใหม่ ซึ่งผู้ที่เกี่ยวข้องทุก ส่วนมีการกาหนดเป้าหมาย แผนงานรวมขององค์กร มี การจัดการ และการวัดผลงานร่วมกัน โดยมีการกาหนด ไว้เป็นแผนยุทธศาสตร์ (Strategic Plan) ซึ่งให้ เป็นทิศทางในการดาเนินงาน มุ่งสูวิสัยทัศน์ (Vision) และผลสัมฤทธิ์ (Result) ขององค์กรหรือจังหวัด ตัวอย่างเช่น : การบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ อาศัย”หลักคิด” ว่า การบริหารงานระดับจังหวัดต้องมีการ ทางานเป็นทีมในรูปของคณะผู้บริหารจังหวัด ประกอบด้วย หัวหน้าส่วนราชการทุกส่วนราชการ โดยมี ผู้ว่าราชการ จังหวัด เป็น CEO

(Chief

Executive

officer) เสมือนเป็นนายกรัฐมนตรี และคณะผู้บริหาร จังหวัดเปรียบเสมือนเป็นคณะรัฐมนตรี (พ.ต.ท. ดร.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี , การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อ ปรับบทบาท ภารกิจ โครงสร้างส่วนราชการเมื่อวันที่ 45 สิงหาคม 2544 จังหวัดชลบุรี) มาตรา ๑๐ ในกรณี ที่ ภ ารกิ จ ใดมี ค วาม เกี่ยวข้องกับหลายส่วนราชการหรือเป็นภารกิจที่ใกล้เคียง หรือต่อเนื่องกัน ให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องนั้นกาหนดแนว ทางการปฏิบัติราชการเพื่อให้เกิด การบริหารราชการแบบ หลักกฎหมายมหาชน/กิตติบดี ใยพูล

(๓) การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่า ในเชิงภารกิจของรัฐ เช่น มาตรา ๒๐ เพื่ อให้ก ารปฏิ บัติราชการภายใน ส่วนราชการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพให้ส่วนราชการกาหนด เป้ า หมาย แผนการท างาน ระยะเวลาแล้ว เสร็ จ ของงานหรื อ โครงการและงบประมาณที่จะต้องใช้ในแต่ละงานหรือโครงการ และต้องเผยแพร่ให้ข้าราชการและประชาชนทราบทั่วกันด้วย มาตรา ๒๓ในการจัดซื้อหรือจัดจ้าง ให้ส่วนราชการ ดาเนินการโดยเปิดเผยและเที่ยงธรรม โดยพิจารณาถึงประโยชน์ และผลเสียทางสังคม ภาระต่อประชาชน คุณภาพ วัตถุประสงค์ ที่ จะใช้ ราคา และประโยชน์ระยะยาวของส่วนราชการที่จะได้รับ ประกอบกัน (๔) การบริหาราชการไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจาเป็น เช่น ตามมาตรา ๒๘ เพื่อประโยชน์ในการกระจาย อานาจการตัดสินใจ สามารถกาหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการหรือ แนวทางในการกระจายอานาจการตัดสินใจ ความรับผิดชอบ ระหว่างผู้มอบอานาจและผู้รับมอบอานาจ และการลดขั้นตอนใน การปฏิบัติราชการให้ส่วนราชการถือปฏิบัติก็ได้ โดยมาตรา ๒๙ กาหนดให้การปฏิบัติงานที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การบริ ก ารประชาชนหรื อ การติ ด ต่ อ


ประสานงานระหว่างส่วนราชการด้วยกัน ให้ส่วนราชการ

หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

แต่ ล ะแห่ ง จั ด ท าแผนภู มิ ขั้ น ตอนและระยะเวลา การ

หรือองค์กรตามรัฐธรรมนูญ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วยกัน

ดาเนินการ รวมทั้งรายละเอียดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในแต่

อันเนื่องมาจากการใช้อานาจทางปกครองตามกฎหมาย

ละขั้นตอนเปิดเผยไว้ ณ ที่ทาการของส่วนราชการและใน

หรือเนื่องมาจากการดาเนินกิจการทางปกครองของหน่วย

ระบบเครื อ ข่ า ยสารสนเทศของส่ ว นราชการ เพื่ อ ให้

ราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครอง

ประชาชนหรือผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าตรวจดูได้

ส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรตามรัฐธรรมนูญ หรือเจ้าหน้าที่

(๕) การบริหารราชการต้องมีการปรับปรุงภารกิจของส่วน

ของรัฐ ทั้งนี้ ตามที่ กฎหมายบัญญัติ รวมทั้งมีอานาจ

ราชการให้ทันต่อสถานการณ์ เช่น ในมาตรา ๓๓ ได้

พิจารณาพิพากษาเรื่องที่รัฐธรรมนูญหรือกฎหมายบัญญัติให้

กาหนดให้ส่วนราชการจัดให้มีการทบทวนภารกิจของตน

อยู่ ในอานาจของศาลปกครอง (รั ฐ ธรรมนู ญ ,มาตรา

ว่าภารกิจใดมีความจาเป็น หรือสมควรที่จะได้ดาเนินการ

๒๒๓)

ต่อไปหรือไม่ โดยคานึงถึงแผนการบริหารราชการแผ่นดิน

โดยได้ มี ก ารตราพระราชบั ญ ญั ติ จั ด ตั้ ง ศาล

นโยบายของคณะรั ฐ มนตรี ก าลั ง เงิ น งบประมาณของ

ปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และ

ประเทศ ความคุ้ ม ค่ า ของภารกิ จ และสถานการณ์ อื่ น

กาหนดอานาจของศาลปกครองในการพิจารณาคดีทาง

ประกอบกัน

ปกครอง (มาตรา ๙) ดังนี้

ฯลฯ นี่ คื อ ตั ว อย่ า งที่ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง การ

๑) คดีพิพาทเกี่ยวกับการกระทาฝ่ายเดียวของ

ปรั บ เปลี่ ย นหลั ก คิ ด และวิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ร าชการเพื่ อ ให้

หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ไม่ชอบด้วย

สอดคล้องกับวิถีสังคมประชาธิปไตย

กฎหมาย

ประเด็นที่ ๕ : ศาลปกครอง

๒)คดี พิ พ าทเกี่ ย วกั บ การที่ ห น่ ว ยงานทาง

ระบบศาลของประเทศไทยที่ ก าหนดไว้ ใ น

ปกครองหรื อ เจ้ า หน้ า ที่ ข องรั ฐ ละเลยต่ อ หน้ า ที่ ต ามที่

รั ฐ ธรรมนู ญ ฯ มี แ บ่ ง ออกเป็ น ๔ ศาล ได้ แ ก่ ศาล

กฎหมายกาหนดให้ต้องปฏิบัติ หรือปฏิบัติหน้าที่ ดังกล่าว

รัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง และศาลทหาร

ล่าช้าเกินสมควร

โดยที่แ ต่ละศาลมีอานาจหน้าที่ ๆ แตกต่างกับ ไปตาม ภารกิจ

๓) คดีพิ พาทเกี่ยวกับ การกระทาละเมิดหรื อ ความรั บ ผิ ด อย่ า งอื่ น ของหน่ ว ยงานทางปกครองหรื อ

ส าหรั บ ศาลปกครองนั้ น รั ฐ ธรรมนู ญ ได้

เจ้าหน้าที่ของรัฐ อันเกิดจากการใช้อานาจตามกฎหมาย

กาหนดให้มีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีพิพาทระหว่าง

หรือจากกฎ คาสั่งทางปกครอง หรือคาสั่งอื่น หรือจาก

หน่ว ยราชการ หน่ว ยงานของรั ฐ รั ฐวิ ส าหกิ จ องค์ ก ร

การละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมายกาหนดให้ต้องปฏิ บัติ

ปกครองส่ วนท้องถิ่น หรือองค์ก รตามรั ฐธรรมนูญ หรื อ

หรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวล่าช้าเกินสมควร

เจ้าหน้าที่ ของรัฐกั บเอกชน หรือระหว่างหน่ว ยราชการ หลักกฎหมายมหาชน/กิตติบดี ใยพูล


๔) คดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง ๕) คดี ที่ มี ก ฎหมายก าหนดให้ ห น่ ว ยงานทาง ปกครองหรื อเจ้ า หน้ า ที่ ข องรั ฐ ฟ้ องคดี ต่ อศาลเพื่ อ บั งคั บ บุคคลให้กระทาการหรือละเว้นกระทาการ ๖) คดีที่มีกฎหมายกาหนดให้อยู่ในเขตอานาจ ศาลปกครอง ส่ ว นคดี ที่ ไ ม่ อ ยู่ ใ นอ านาจของศาลปกครอง เช่น การดาเนินการเกี่ยวกับวินัยทหาร, การดาเนินการ ของคณะกรรมการตุลาการ (ก.ต.), คดีที่อยู่ในอานาจ ของศาลช านั ญ พิ เ ศษ, คดี ที่ มี ก ฎหมายตั ด อ านาจศาล ปกครองไว้โดยเฉพาะ เป็นต้น เชิงอรรถ ๑

ธีรยุทธ บุญมี, จุดเปลี่ยนแห่งยุคสมัย กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์วิญญู

ชน, ๒๕๓๖. ๒

สานึกสมานฉันท์ของออสเตรเลีย สร้างประวัติศาสตร์หน้าใหม่

ที่มา ๓

http://www.arayachon.org.

Locke, John (1690). Second Treatise of Government

(10th edition). ๔ http://th.wikipedia.org/wiki. ๕

The United Nations Economic and Social Commission

for Asia and the Pacific ๖

(UNESCAP).

คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) เกิดขึ้นจากนโยบาย

การปฏิรูประบบราชการของรัฐบาล เพื่อให้การดาเนินงานของภาครัฐมี ประสิทธิภาพสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม โดยมี ภาระหน้าที่ในการวางแผน ให้คาปรึกษา ประสานงาน และผลักดัน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการบริหารราชการให้เป็นไปตามหลักธรร มาภิบาล.

หลักกฎหมายมหาชน/กิตติบดี ใยพูล

อ้างอิง -

กฎบัตรแห่งสหประชาชาติ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๓๔ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖ พระราชบั ญ ญั ติ จั ด ตั้ ง ศาลปกครองและวิ ธี พิ จ ารณาคดี ปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.