วารสารสวัสดีแม่เมาะ เดือนตุลาคม 2557

Page 1

วารสาร

สวัสดี แม่เมาะ วารสารการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แม่เมาะ รายเดือน ฉบับที่ 10 ปีที่ 4

ประจ�ำเดือน ตุลาคม 2557

ก า ล ส ย ตานก๋ว แม่เมาะร่วมธ�ำรงรักษาไว้ าว

ี่ช ท า น น า ้ ล ม ร ร หนึ่งในวัฒนธ

4 คลินิกเฉพาะทางศูนย์เวชศาสตร์ แม่เมาะ

6 มูลนิธิรักษ์แม่เมาะ

5 การจัดการขยะสู่พลังงานทดแทน

11 ผ้าทอกี่เอว ของดี อ.แม่เมาะ


สวัสดี

2

การอยู่ร่วมกันกับชุมชนรอบข้างอย่างมีความสุข เป็นสิ่งที่ กฟผ.แม่เมาะ มุ่งหวังและตั้งใจ ให้เกิดขึน้ ตลอดระยะเวลาการด�ำเนินงานที่ อ.แม่เมาะ แห่งนี้ หนึง่ ในมิตสิ ำ� คัญของการอยูร่ ว่ มกันนัน้ ก็คือการรับฟัง เสนอแนะ และพูดคุย กันอย่างจริงใจ ตรงไปตรงมา ซึ่งจะน�ำไปสู่การแก้ไขปัญหา และพัฒนาร่วมกันระหว่างชุมชนกับ กฟผ.แม่เมาะ ได้อย่างดี สวัสดีแม่เมาะฉบับนี้ มีเรื่องราว ตัวอย่างของการเสนอแนะและรับฟังกันจนน�ำไปสู่การแก้ปัญหา ในกรณีของการแก้ไขเรื่องเสียง จากโรงไฟฟ้าที่ดังรบกวนชุมชนบ้านสบป้าด รวมถึงการร่วมพูดคุยเสนอแนะทางเลือกระหว่าง กฟผ.แม่เมาะ กับชุมชน ในเรื่องของการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทางเลือก เช่น ชีวมวล หรือ พลังงานขยะ เพื่อให้ความรู้กับชุมชนถึงระบบโรงไฟฟ้าขนาดเล็กที่สามารถช่วยลดขยะและ สร้างเงินรายได้ให้กับชุมชนอีกด้วย ในเดือนนี้ วารสารสวัสดีแม่เมาะ ก็เข้าสู่วาระของการรับฟังข้อเสนอแนะ ติชม และการประเมินผลจากผู้อ่านเช่นกัน เพื่อให้วารสารที่เป็นช่องทางการสื่อสาร ระหว่าง กฟผ.แม่เมาะ กับ ส่วนราชการและชุมชนรอบข้างเล่มนี้ เกิดการพัฒนา อย่างเหมาะสม ตรงใจ และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านมากที่สุด

บทบรรณาธิการ Editor’s note

สวัสดีครับ

ผลตรวจวั ด คุณภาพอากาศ อ.แม่เมาะ ประจ�ำเดือน สิงหาคม 2557

ค่าสูงสุดที่ตรวจวัดได้จริง (ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร)

SO2

NO2

3

36

ก๊าซซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ (24 ชั่วโมง)

ก๊าซไนโตรเจน ไดออกไซด์ (1ชั่วโมง)

- เปรียบเทียบกับ -

แผนกสิง่ แวดล้อมโรงไฟฟ้าแม่เมาะ กฟผ. แม่เมาะ เก็บข้อมูลจากสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ ต่อเนือ่ งทุกวัน จากบริเวณพืน้ ทีป่ ฏิบตั งิ าน บ้านพัก ผู้ปฏิบัติงาน และชุมชนโดยรอบ กฟผ.แม่เมาะ จ�ำนวน 11 สถานี พบว่า ในเดือนสิงหาคม ค่าเฉลี่ยความเข้มข้น ของก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในเวลา 24 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ยความเข้มข้นของก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ในเวลา 1 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ยฝุ่นละอองขนาดเล็ก ไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) ในเวลา 24 ชั่วโมง และค่าเฉลี่ยฝุ่นละอองรวม (TSP) ในเวลา 24 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในเกณฑ์ดีกว่ามาตรฐานก�ำหนด ของคณะกรรมการสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ ส่วนผล การตรวจวัดดัชนีคุณภาพอากาศโดยรวมในอ�ำเภอ แม่เมาะ (AQI) จังหวัดล�ำปาง พบว่า มีคุณภาพ อากาศอยู่ในเกณฑ์ดี

SO2

300

ก๊าซซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ (24 ชั่วโมง)

83

ฝุ่นละอองรวม (TSP) (24 ชั่วโมง)

29

ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM10) (24 ชั่วโมง)

ค่ามาตรฐานก�ำหนดของ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร)

NO2

320

ก๊าซไนโตรเจน ไดออกไซด์ (1ชั่วโมง)

330

ฝุ่นละอองรวม (TSP) (24 ชั่วโมง)

แผนภูมิเปรียบเทียบก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (เฉลี่ย 1 ปี) สถานีตรวจวัดของกรมควบคุมมลพิษ (2540-2556)

120

ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM10) (24 ชั่วโมง)


แม่เมาะ

http://maemoh.egat.com

3

ผู้ตรวจการส�ำนักนายกรัฐมนตรี

ติดตามความคืบหน้าการอพยพราษฎร เมือ่ เดือนกันยายนทีผ่ า่ นมา ณ ห้องประชุม M6 อาคารทีท่ ำ� การเหมืองแม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง นายจ�ำเริญ ยุติธรรมสกุล ผู้ตรวจราชการส�ำนักนายกรัฐมนตรี พร้อมด้วย นายณวัฒน์ มหาขันธ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านติดตามผลการปฏิบัติราชการในพื้นที่ ภาคใต้ ได้เดินทางมาตรวจติดตามความก้าวหน้าในการอพยพราษฎรในพื้นที่ อ.แม่เมาะ ตามมติคณะรัฐมนตรีท่ีอนุมัติให้มีการอพยพราษฎรในพื้นที่ 2 ต�ำบล 5 หมู่บ้าน ในคราวเดียวกัน ประกอบด้วย บ้านหัวฝาย บ้านดง บ้าน สวนป่าแม่เมาะ บ้านหัวฝายหล่ายทุ่ง ต.บ้านดง และบ้านห้วยคิง ต.แม่เมาะ โดยมีนายนรินทร์ วรรณมหินทร์ นายอ�ำเภอแม่เมาะ ด.ต.สอาด บุญลอง คณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัดล�ำปาง เข้าร่วมประชุม นายธราธิป เศรษฐกร หัวหน้าโครงการจัดการทีด่ นิ และอพยพเหมือง แม่เมาะ ชีแ้ จงสรุปความก้าวหน้าของงานอพยพ ว่าคณะกรรมการด�ำเนินการ อพยพราษฎร 5 หมูบ่ า้ น ได้แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการฯ 7 คณะ ทีค่ รอบคลุม การด�ำเนินงานด้านต่างๆ ได้แก่ การส�ำรวจ ตรวจสอบ และจ่ายเงิน ค่ า ทดแทนที่ ดิ น และทรั พ ย์ สิ น การก่ อ สร้ า งสาธารณู ป โภคพื้ น ฐาน การส่งเสริมอาชีพ การจัดสรรราษฎรเข้าอยู่อาศัย รวมถึงด้านเร่งรัด และติดตามผลการด�ำเนินงาน ซึ่งปัจจุบันได้รับค�ำร้องขอให้ส�ำรวจที่ดิน และทรัพย์สินในพื้นที่อพยพราษฎรครบแล้วทั้ง 5 หมู่บ้าน โดยขั้นตอน ต่อไปคือการเข้าส�ำรวจทีด่ นิ และทรัพย์สนิ ของราษฎร โดยผูต้ รวจราชการ ได้เน้นย�้ำถึงความส�ำคัญของการอพยพราษฎรและให้ค�ำแนะน�ำแก่ คณะกรรมการในการด�ำเนินงานต่อไป

กฟผ.แม่เมาะ ร่วมกิจกรรม

Big Cleaning Day

กับสมาชิกชุมชน ต.สบป้าด

เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2557 ณ บริเวณสองข้างทางแยกสวนป่าแม่จาง ถนนเข้าสู่ ต�ำบลสบป้าด อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง นายสมชาย ติวะตันสกุล ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการฝ่ายจัดการโรงไฟฟ้าแม่เมาะ-สื่อสาร องค์การและชุมชนสัมพันธ์ พร้อมด้วยผู้ปฏิบัติงานจิตอาสา การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แม่เมาะ นายสุขเกษม สุรยิ า นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลสบป้าด ผูน้ ำ� ชุมชน และสมาชิกในชุมชน ต.สบป้าด ร่วมกันปรับภูมทิ ศั น์ แยกสวนป่าแม่จางบริเวณถนนแม่เมาะ ถึง เขตต�ำบลสบป้าด ก�ำจัดวัชพืช ตัดแต่งกิ่งต้นไม้ใหญ่บริเวณริมทางจากปากทางเข้า เป็นระยะทางกว่า 5 กิโลเมตร ในโครงการ “กิจกรรมพัฒนาถนนและสิง่ แวดล้อม Big Cleaning Day” เพือ่ ท�ำความสะอาดและปรับปรุงทัศนียภาพ พืน้ ทีร่ กร้างข้างทาง และเป็นการช่วยลดอุบตั เิ หตุ สร้างความปลอดภัยให้แก่ผทู้ สี่ ญ ั จรไปมา โดย กฟผ.แม่เมาะ ร่วมสนับสนุนเครือ่ งจักรกลขนาดใหญ่ ไถกลบวัชพืชข้างทาง บริการน�ำ้ ดืม่ และอาหารกลางวันแก่ผเู้ ข้าร่วมงาน โดยมีนายวุฒพิ งศ์ แก้วปาเฟือย ปลัดอ�ำเภอหัวหน้าฝ่ายบริหารงานปกครอง อ.แม่เมาะ เป็นประธานเปิดกิจกรรม


สวัสดี

4

กฟผ.แม่เมาะ จัดโครงการ

เพิ่มกลุ่มอาชีพได้ 15 กลุ่ม

ธนาคารไข่ต่อเนื่องปีที่ 2

จาก 14 หมู่บ้าน ใน อ.แม่เ

มาะ

เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2557 ณ ที่ท�ำการสื่อสารองค์การและชุมชนสัมพันธ์ การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง นายสมชาย ติวะตันสกุล ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการฝ่าย จัดการโรงไฟฟ้าแม่เมาะ-สื่อสารองค์การและชุมชนสัมพันธ์ กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมโครงการเสริมสร้าง ความสามารถชุมชน ธนาคารไข่ ประจ�ำปี 2557 ด�ำเนินการโดยศูนย์จิตอาสา กฟผ.แม่เมาะ โดยในปีนี้มี 15 กลุม่ จาก 14 หมูบ่ า้ นใน อ.แม่เมาะ รวมสมาชิกกว่า 225 คน เข้าร่วมกิจกรรม โดยมีการมอบไก่พนั ธุไ์ ข่ 1,500 ตัว พร้อมอาหาร และคู่มือการเลี้ยงไก่ท่ีถูกต้องเป็นทุนตั้งต้น ซึ่งแต่ละกลุ่มผู้เลี้ยงจะต้องบริหารจัดการรายได้ หมุนเวียนจากการขายไข่ดว้ ยตนเอง โดยจะมีเจ้าหน้าทีจ่ ากปศุสตั ว์ อ.แม่เมาะ และ ผูป้ ฏิบตั งิ าน กฟผ.แม่เมาะ คอยให้ค�ำแนะน�ำตลอดทั้งโครงการ จากนั้นมีเวทีเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การเลี้ยงไก่ จากเจ้าหน้าทีบ่ ริษทั ซีพเี อฟประเทศไทย จ�ำกัด (มหาชน) เจ้าหน้าทีป่ ศุสตั ว์ อ.แม่เมาะ ผูป้ ฏิบตั งิ าน กฟผ.แม่เมาะ ทีม่ คี วามเชีย่ วชาญและประสบการณ์ และสมาชิกในกลุม่ เลีย้ งไก่ อาทิ ปัญหาทีพ่ บจากการเลีย้ งไก่ หรือบัญชี รายรับรายจ่าย โดยมีนายนรินทร์ วรรณมหินทร์ นายอ�ำเภอแม่เมาะ เป็นประธานส่งมอบ จากผลการด�ำเนินงานในปี 2556 พบว่าโครงการดังกล่าว เกิดประโยชน์กับชุมชนใน อ.แม่เมาะ ท�ำให้สมาชิกในกลุ่มเลี้ยงไก่มีไข่ไก่บริโภคในครัวเรือน เป็นการช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย สร้างอาชีพเสริม เพิม่ รายได้ ท�ำให้ชมุ ชนสามารถพึง่ พาตนเองได้อกี ด้วย กฟผ.แม่เมาะ จึงได้ขยายพืน้ ทีจ่ าก 10 กลุม่ 10 หมูบ่ า้ นน�ำร่อง เป็น 15 กลุ่ม 14 หมู่บ้าน ในปีนี้

เปิด คลินิกเฉพาะทางศูนย์เวชศาสตร์ แม่เมาะ แล้ว!

ตั้ ง แต่ วั น นี้ เ ป็ น ต้ น ไป ผู ้ มี ภู มิ ล� ำ เนา ใน อ.แม่เมาะ สามารถเข้ารับการตรวจรักษา กับแพทย์ เฉพาะทางด้านอายุรกรรม และกุมาร เวชกรรม จาก รพ.ล�ำปาง ได้ที่ศูนย์เฝ้าระวัง เวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม อ.แม่เมาะ เมือ่ วันที่ 16 สิงหาคม 2557 ศูนย์เฝ้าระวัง เวชศาสตร์ สิ่ ง แวดล้ อ มแม่ เ มาะ เปิ ด คลิ นิ ก แพทย์ เ ฉพาะทางบริ ก ารแก่ ป ระชาชน โดยได้รบั ความร่วมมือจากทีมแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญของ รพ.ล�ำปาง น�ำโดย นพ.ธราดล พูลทวี นพ.ธนวัฒน์ วงศ์ชัยอุดมโชค แพทย์ด้านอายุรกรรม และ พญ.คนึ ง นิ จ ฉั ต รหลวง แพทย์ ด ้ า นกุ ม าร

เวชกรรม ซึง่ จะเน้นไปทีผ่ ปู้ ว่ ยในกลุม่ เครือข่าย ที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากสิ่ ง แวดล้ อ มในพื้ น ที่ อ.แม่เมาะ เป็นหลัก ขณะนีม้ ผี ลู้ งทะเบียนเข้ารับ บริการแล้วทั้งสิ้น 72 คน คลินิกดังกล่าวให้ บริการด้านอายุรกรรมทุกวันเสาร์ ส่วนด้าน กุม ารเวชกรรมให้ บริ ก ารทุ ก วั น อาทิ ต ย์ ที่ 2 ของเดือน ในเวลา 08.30-12.00 น. เพื่อดูแล และรักษากลุม่ เครือข่ายผูป้ ว่ ยฯ และ กลุม่ ผูป้ ว่ ย เรือ้ รัง อาทิ โรคเบาหวาน โรคความดัน โรคถุงลม โป่งพอง นอกจากนี้ยังเปิดให้บริการส�ำหรับ ผู้ป่วยทั่วไปอีกด้วย หากสนใจรับค�ำปรึกษา จากทีมแพทย์เฉพาะทาง สามารถสอบถาม

รายละเอียดได้ที่ประชาสัมพันธ์ รพ.แม่เมาะ ในวันและเวลาท�ำการ โทร.054-266032 ศูนย์ฯ ดังกล่าว ได้มีนโยบายก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.2548 จนก่อสร้างแล้วเสร็จ พร้อมด�ำเนินการ ในปี พ.ศ.2557 ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณ จากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แม่เมาะ จ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 36,400,000 บาท เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ อ.แม่เมาะ ได้รับ การตรวจรั ก ษา ตลอดจนเฝ้ า ระวั ง โรคโดย ผู้เชี่ยวชาญอย่างเป็นระบบ อีกทั้งยังเป็นต้น แบบของการสร้ า งเครื อ ข่ า ยด้ า นวิ ช าการ สุขภาพด้วย


แม่เมาะ

http://maemoh.egat.com

กฟผ.แม่เมาะ จัดบรรยายความรู้เรื่อง “การจัดการขยะ”

5

สู่โครงการโรงไฟฟ้าชีวมวล

เมื่ อ วั น ที่ 12 กั น ยายน 2557 ณ ห้ อ งรั ก องค์ ก าร อาคาร ประชาสัมพันธ์แม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง นายพลฤทธิ์ เศรษฐก�ำเนิด ผู้ช่วยผู้ว่าการ ผลิตไฟฟ้า 2 นายวุฒพิ งศ์ แก้วปาเฟือย ปลัดอ�ำเภอหัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ปกครอง อ.แม่เมาะ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน กฟผ.แม่เมาะ ผู้น�ำชุมชนในพื้นที่ อ.แม่เมาะ ร่วมรับฟังการบรรยายและแลกเปลี่ยน ความเห็นร่วมกันในหัวข้อ “การจัดการขยะ” โดย ผศ.ดร.ณัฐวุฒิ ดุ ษ ฎี ผู ้ อ� ำ นวยการวิ ท ยาลั ย พลั ง งานทดแทน มหาวิ ท ยาลั ย แม่ โจ้ เป็นวิทยากร เพือ่ เสริมสร้างความรูค้ วามเข้าใจระบบการจัดการขยะ สูก่ าร วางแผนจัดการขยะของชุมชนในพื้นที่ อ.แม่เมาะ ในอนาคต โดยเนื้อหา

การบรรยาย ชี้ให้เห็นถึงประโยชน์ของการจัดการขยะ ซึ่งเป็นอีกหนึ่ง พลังงานทางเลือกในการผลิตกระแสไฟฟ้าที่สามารถทดแทนการใช้ เชื้อเพลิงประเภทอื่น นอกจากนี้สมาชิกในชุมชนยังจะได้มีส่วนร่วมใน การจัดการขยะตามบ้านเรือนหรือน�ำผลผลิตที่เหลือใช้จากการเกษตร มาสูเ่ ทคโนโลยีพลังงานชุมชน ทีส่ ามารถสร้างรายได้ให้ชมุ ชนอย่างยัง่ ยืน อีกด้วย ในอนาคต กฟผ. แม่เมาะ ได้มีแผนงานและโครงการ เกี่ยวกับโรงไฟฟ้าชีวมวล ส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน และเทคโนโลยีผลิตพลังงานจากขยะ และการจัดการขยะ สู่โครงการสร้างโรงไฟฟ้าชีวมวลต่อไป

งานป้องกันเสียงจากท่อส่งก๊าซร้อนออกสู่ปล่อง

แก้ไขปัญหาผลกระทบเรื่องเสียง ต.สบป้าด คืบหน้า เตรียมวัดค่าเสียงอีกครั้งเดือนตุลาคมนี้

งานแก้ไขหุ้มฉนวนพัดลมอัดอากาศและผนังห้องปั๊มนํ้าหมุนเวียน

งานแก้ไขปัญหาผลกระทบด้านเสียงดังรบกวนคืบหน้ากว่า 70% โดยโรงไฟฟ้าแม่เมาะและบริษทั บริลเลี่ยนซีสเต็ม จ�ำกัด จะลงพื้นที่วัดค่าความดังเสียงในจุดต่างๆ อีกครั้งในเดือนตุลาคมนี้ จากทีช่ มุ ชน หมูบ่ า้ นสบป้าด ต.สบป้าด ได้แจ้งกับ กฟผ.แม่เมาะ ว่าได้รบั ผลกระทบเสียงดังรบกวน และ กฟผ.แม่เมาะ ได้วา่ จ้างให้บริษทั บริลเลีย่ นซีสเต็ม จ�ำกัด เข้ามาวิเคราะห์และแก้ไขจุดก�ำเนิดเสียง ของเครื่องก�ำจัดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์โรงไฟฟ้าเครื่องที่ 12-13 ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2556 นั้น บริษัทฯ ได้มีการเก็บค่าความดังของเสียงในจุดก�ำเนิดเสียง และพื้นที่ชุมชนอย่างต่อเนื่อง เพื่อน�ำมา วิเคราะห์และแก้ไขปรับปรุง โดยปัจจุบนั การปรับปรุงคืบหน้าไปแล้วกว่า 70% โดยมีงานทีด่ ำ� เนินการ แก้ไขเสร็จแล้ว ได้แก่ งานป้องกันเสียงห้องเครื่องอัดอากาศ ด้วยการฉีดโฟมภายในห้องและติดตั้งพัดลมดูด และระบายอากาศแทน, งานป้องกันเสียงจากท่อส่งก๊าซร้อนออกสู่ปล่อง ด้วยการฉีดโฟมและปิดทับ แผ่นเมทัลชีทโดยรอบตัวท่อ, งานแก้ไขพัดลมอัดอากาศ ด้วยการฉีดพ่นโฟมและปิดทับด้วยแผ่นเมทัลชีท และการท�ำผนังกัน้ ห้องปัม๊ น�ำ้ หมุนเวียน โดยท�ำผนังพร้อมประตูเลือ่ นเปิดปิดเพือ่ ป้องกันเสียงออกมาภายนอก โดยการแก้ไขดังกล่าว จะมีการวัดค่าความดังจากตัวเครือ่ งจักรและพืน้ ทีช่ มุ ชนเป็นระยะ เพือ่ ให้การแก้ไขตรง จุดและเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว กฟผ.แม่เมาะ ได้สอื่ สารกับชุมชนบ้านสบป้าดพร้อมน�ำคณะชุมชนเข้าตรวจสอบ พื้นที่การแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ชุมชนได้รับทราบ ถึงกระบวนการแก้ไขปัญหาและความตั้งใจจริง ของ กฟผ.แม่เมาะในการลดผลกระทบต่อชุมชน โดย กฟผ.แม่เมาะ พร้อมรับฟังปัญหาข้อร้องเรียนของชุมชน จากการด�ำเนินงานของโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ


6

"รักษ์แม่เมาะ" องค์กรน้องใหม่

สวัสดี

สานต่อภารกิจเพื่อคนแม่เมาะ

นอกจากการขั บ เคลื่ อ นการดู แ ลและพั ฒ นา อ.แม่ เ มาะ ให้ มี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี แ ละเป็ น เมื อ งที่ น ่ า อยู ่ ของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และชุมชน แล้วนั้น อ.แม่เมาะ ยังมีองค์กรพัฒนา เอกชน อาทิ สมาคมพัฒนาแม่เมาะ ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณของ กฟผ.แม่เมาะ ในการร่วมพัฒนาพื้นที่ อีกด้วย ในวันนี้ ของดีตี้บ้านเฮา จะพาท่านไปรู้จักองค์กรน้องใหม่ "มูลนิธิรักษ์แม่เมาะ" ที่เพียงแค่เห็นชื่อ ก็รู้ว่า ตัง้ มาเพือ่ คนแม่เมาะอย่างแน่นอน โดยมีนายทองพูล พาระแพน ประธานมูลนิธริ กั ษ์แม่เมาะ มาให้ขอ้ มูลและบอกต่อ เรื่องราวดีๆ ให้คนแม่เมาะได้ทราบกัน

แนะนำ�มูลนิธิรักษ์แม่เมาะ มู ล นิ ธิ รั ก ษ์ แม่ เ มาะ ตั้งขึ้น มาโดยมีเป้าหมายในการร่ ว มดู แล คุณภาพชีวติ ของพีน่ อ้ ง อ.แม่เมาะ ทัง้ ในมิติ ของคน วัฒนธรรม ประเพณี สิ่งแวดล้อม ซึ่งการก่อตั้งมูลนิธิฯนั้น ส่วนหนึ่งเกิดจากการสานต่อ เจตนารมณ์ ของศูนย์พัฒนาชนบทผสมผสานแม่เมาะ หรือ PDA ที่ได้ ด�ำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยรับเงินงบประมาณจาก กฟผ. มาต่อเนื่อง 9 ปีและสิ้นสุดอายุโครงการลงเมื่อปี 2556 โดยมูลนิธิได้ รับบริจาคอาคาร อุปกรณ์ส�ำนักงาน รถยนต์ และงบประมาณในการ จดทะเบียนมูลนิธิจาก PDA พร้อมทั้งรับไม้ต่อภารกิจการดูแลและ บริหารจัดการเครือข่ายธนาคารรักษ์แม่เมาะทั้ง 45 ธนาคาร จาก 44 หมู่บ้านใน อ.แม่เมาะ อีกด้วย

ภารกิจของมูลนิธิรักษ์แม่เมาะ ในปัจจุบนั ภารกิจส�ำคัญของมูลนิธริ กั ษ์แม่เมาะ คือ การเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของธนาคารรักษ์แม่เมาะ ที่ปัจจุบัน ธนาคารทั้ง 45 แห่ง มีสมาชิกรวมกว่า 20,000 คน และเงินหมุนเวียนถึง 90 ล้านบาท ซึ่งการสร้างความยั่งยืนให้เกิดขึ้นนั้น จ�ำเป็นต้องมีหลักการบริหาร จัดการที่ดีและที่ส�ำคัญคือมีความรู้เรื่องการเงินการธนาคารที่เหมาะสม ในอนาคตมูลนิธฯิ จะขับเคลือ่ นธนาคารรักษ์แม่เมาะ สูก่ ารเป็นสถาบันการ เงินของชุมชนทีม่ กี ฎหมายรองรับ โดยมีธนาคารเพือ่ เกษตรและสหกรณ์ (ธกส.) ร่วมเป็นพี่เลี้ยงให้ค�ำแนะน�ำ นอกจากนี้ มูลนิธิยังมีภารกิจในการ ดูแลคุณภาพชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการดูแลคุณภาพชีวิตของผู้ด้อยโอกาส คนยากจน คนชรา รวมถึงผู้ติดเชื้อ HIV โดยจะเน้นมิติทางด้านสังคม มากกว่าการสนับสนุนงบประมาณ เพื่อให้กลุ่มคนเหล่านี้มีโอกาสทาง ที่มาของคณะกรรมการมูลนิธิ สังคมและสามารถช่วยเหลือและพึ่งพาตนเองได้ ซึ่งที่ผ่านมา มูลนิธิมี อาจกล่าวได้ว่า "มูลนิธิรักษ์แม่เมาะ" นั้น เป็นมูลนิธิของ กิจกรรมทีร่ ว่ มท�ำกับกลุม่ เครือข่าย อาทิ โครงการปันน�ำ้ ใจให้ผดู้ อ้ ยโอกาส คนแม่เมาะอย่างแท้จริง เพราะคณะกรรมการทั้ง 10 คน ของมูลนิธิ ร่วมกับวัดทุ่งกล้วยโพธาราม โครงการบริจาควิกผม หมวกผม ให้แก่ผู้ที่ ล้วนมาจากการคัดเลือกผู้แทนจากทุกหมู่บ้าน ก่อนมาคัดสรรในระดับ อยูร่ ะหว่างการรักษาโรคมะเร็ง ร่วมกับโรงพยาบาลมะเร็งล�ำปาง เป็นต้น ต�ำบล เพื่อส่งผู้แทนต�ำบลละ 2 คน เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการมูลนิธิฯ ซึ่ ง คณะกรรมการเหล่ า นี้ ส่ ว นหนึ่ ง ก็ ม าจากเครื อ ข่ า ยธนาคาร รักษ์แม่เมาะ ทีม่ อี ยูท่ กุ หมูบ่ า้ นนัน่ เอง ซึง่ คณะกรรมการฯ ก็มที งั้ ปราชญ์ ชาวบ้าน เกษตรกร และกลุม่ อาชีพต่างๆ ซึง่ ก็มคี วามสามารถและความรู้ เฉพาะตัวที่แตกต่างกัน และที่ส�ำคัญคือทุกคนมีต้นทุนที่ดี คือการมี จิตอาสาในการเข้ามาท�ำงานในจุดนี้ เพราะการเป็นคณะกรรมการ มู ล นิ ธิ นั้ น ไม่ มี ค ่ า ตอบแทนเป็ น เงิ น เดื อ น มี เ พี ย งความสุ ข ที่ ไ ด้ รั บ ในการท�ำสิ่งดีๆ ให้แก่ อ.แม่เมาะ


แม่เมาะ

http://maemoh.egat.com

7

“ตุงล้านนา”

ศิลปะแห่งการถักทอ

การขับเคลื่อนการดำ�เนินงานของมูลนิธิรักษ์แม่เมาะ แม้ว่างบประมาณจะเป็นส่วนส�ำคัญในการขับเคลื่อนองค์กร แต่สิ่ง ส�ำคัญยิ่งกว่านั้น คือการท�ำงานให้เป็น มีบทบาทครอบคลุม ท�ำกิจกรรม จากความตั้งใจและให้แก้ปัญหาได้จริง ซึ่งเป็นแนวคิดหลักในการท�ำงาน ของมูลนิธิฯ โดยก�ำลังหลักในการขับเคลื่อนนอกจากคณะกรรมการฯ ก็ยงั มีสมาชิกกลุม่ ธนาคารรักษ์แม่เมาะจาก 44 หมูบ่ า้ น ทีส่ ามารถรวมตัวกัน เพื่อท�ำกิจกรรมต่างๆ ได้ ในส่วนของงบประมาณนั้น ปัจจุบันยังไม่มี งบประมาณประจ�ำ แต่มีส่วนของดอกผลจากทุนจดทะเบียนและเงิน ส่ ว นหนึ่ ง ที่ PDA มอบให้ เป็ น ค่ า ด� ำ เนิ น การและจ้ า งพนั ก งานของ มู ล นิ ธิ โดยล่ า สุ ด กฟผ.แม่ เ มาะ ได้ ร ่ ว มสนั บ สนุ น การด� ำ เนิ น งาน โดยมอบเงินงบประมาณทัง้ สิน้ 552,000 บาท เมือ่ วันที่ 4 กันยายนทีผ่ า่ นมา ผลทีจ่ ะเกิดขึน ้ หากการยกระดับธนาคารรักษ์แม่เมาะสำ�เร็จ หากการยกระดับธนาคารรักษ์แม่เมาะสู่การเป็นสถาบันการเงิน ของชุมชนประสบความส�ำเร็จ ก็จะสามารถสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชน นั้นๆ ได้ เพราะสมาชิกและงบประมาณด�ำเนินงานของธนาคาร ก็มาจาก เงินของคนในชุมชนทีม่ าฝากไว้ และทีส่ ำ� คัญการปล่อยสินเชือ่ ของธนาคาร รักษ์แม่เมาะ จะสามารถเข้าถึงได้ง่ายขึ้น สมาชิกชุมชนจะมีโอกาสน�ำเงิน ไปลงทุนสร้างอาชีพ สร้างรายได้ โดยไม่ต้องเหนื่อยกับการขอกู้ธนาคาร ใหญ่ๆ และที่ส�ำคัญคือลดการถูกรีดไถดอกเบี้ยแพงๆ จากแหล่งเงินกู้ นอกระบบ ที่สร้างปัญหาหนี้สินล้นพ้นตัวจนเกิดปัญหาครอบครัวและ ปัญหาอื่นๆ ตามมาในชุมชนอีกด้วย อนาคตของมูลนิธิรักษ์แม่เมาะ ในวันที่ 24 กันยายน 2557 นับเป็นวันครบรอบ 1 ปีของการก่อตัง้ มูลนิธิ รักษ์แม่เมาะ ซึ่งบทบาทหลายๆอย่างยังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้นและการ ขับเคลือ่ นไปสูเ่ ป้าหมาย โดยการด�ำเนินงานของคณะกรรมการชุดปัจจุบนั จะเน้นการสร้างเครือข่ายและการปฏิบัติงานจริง เพื่อสร้างกิจกรรมดีๆ ที่ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่คนแม่เมาะ และสร้างความรู้จักให้มากขึ้น ซึ่ ง มู ล นิ ธิ น ้ อ งใหม่ แ ห่ ง นี้ ยั ง ต้ อ งพึ่ ง พาความร่ ว มมื อ และความเข้ า ใจ จากองค์ ก รทุ ก ภาค ส่ ว นในพื้ น ที่ ในการ ร ่ ว ม มื อ ผ ส า น ก า ร ขับเคลื่อนภารกิจงาน เพื่อพัฒนา อ.แม่เมาะ สู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดี อย่างยั่งยืนต่อไป

ศิ ล ปะของชาวล้ า นนานั้ น มี ห ลากหลายแขนง การทอตุ ง นับเป็นหนึ่งในมรดกทางวัฒนธรรมอันล�้ำค่าส่งผ่านจากรุ่นสู่รุ่น สถานีอาชีพฉบับนี้ ขอพาป้อแม่ปน้ี อ้ งมาเฮียนฮูก้ ารทอตุงจากชมรม ผู้สูงอายุ อ.แม่เมาะ กั๋นเจ้า ตุง คือ ธงแขวนชนิดหนึง่ ของชาวล้านนา มักท�ำด้วยวัสดุแตกต่าง กันออกไป เป็นแถบยาว ใช้ประดับตกแต่ง หรือประกอบพิธีกรรม ตามความเชื่อ นายธนงค์ศักดิ์ น้อยเปียง ประธานโครงการอบรม การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยล้านนา ด้วยการทอตุง เล่าว่ากิจกรรมนี้ เริม่ ต้นเมือ่ เดือนเมษายน 2557 ทีผ่ า่ นมา จากการที่ อ.อุไร ประทีปภัทร วิทยากรประจ�ำโครงการ สังเกตเห็นความสวยงามของตุงแต่ละพืน้ ที่ ในภาคเหนือ เกิดความสนใจ จึงเดินทางไปศึกษาวิธกี ารจากดินแดน สิบสองปันนา และได้น�ำมาต่อยอดอบรมให้ความรู้แก่ชาวแม่เมาะ โดยเฉพาะผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่ในชุมชนทีต่ อ้ งการหากิจกรรมคลายเหงายามว่าง ซึ่ ง ขณะนี้ ไ ด้ ข ยายเครื อ ข่ า ยสมาชิ ก ไปยั ง ชุ ม ชน 5 ต� ำ บล ใน อ.แม่เมาะ ผู้ที่เข้ารับการอบรมในโครงการนี้จะได้เรียนรู้พื้นฐาน การทอตุงจากกี่ (เครือ่ งทอผ้า) เริม่ จากลายพืน้ ฐาน เรียกว่า ลายช้าง ซึง่ หากช�ำนาญก็จะสามารถต่อยอดไปยังลวดลายอืน่ ๆ โดยใช้ไหมพรม หลากสีเป็นวัสดุหลัก เพือ่ ความสวยงามและแข็งแรงทนทาน ส�ำหรับ ความยากของการทอตุง คือ ขั้นตอนการขึ้นลายครั้งแรก แต่เมื่อ ท�ำส�ำเร็จจะเกิดความภาคภูมใิ จ สามารถสร้างมูลค่าเพือ่ จัดจ�ำหน่าย ในราคาผืนละ 150 บาท ขนาด 1.50 ม. X 10 นิ้ว (ขนาดสั่งได้ตาม ความต้องการ) หากสนใจสัง่ ซือ้ หรือเข้ารับการอบรม สามารถติดต่อ ได้ที่ อ.อุไร ประทีปภัทร โทร.081-9516251 หรือทีบ่ า้ นใหม่นาแขม ซ.3 ม.7 (ร้านถ่ายเอกสารติดกับคลินิกหมอโต้งกระดูกและข้อ) ต.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง


8

รักษ์ โลก

สวัสดี

โรงไฟฟ้าพลังงานขยะ

ประเทศไทยเป็นประเทศหนึง่ ทีก่ ำ� ลังประสบปัญหาเรือ่ งสิง่ แวดล้อม ทีเ่ กิดจากมลพิษขยะ มีขยะถูกทิง้ 13.5 ล้านตัน/ปี และการก�ำจัดขยะเหล่านี้ ด้วยวิธีขุดบ่อฝังกลบ จ�ำเป็นต้องใช้พื้นที่ในบริเวณกว้างและอาจก่อให้เกิด มลพิษในสิง่ แวดล้อมตามมา ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งของสุขอนามัยของประชาชน เช่น กลิน่ เหม็น แมลงวันพาหะน�ำโรค รวมถึงค่าใช้จา่ ยทีอ่ งค์กรภาครัฐ ต้องใช้ ในการจัดเก็บและแก้ไขปัญหาขยะที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ เช่น การหาพื้นที่ ทิ้งใหม่ หรือการน�ำไปเผานั้น มีสัดส่วนสูงขึ้นเรื่อยๆ ทุกปี ดังนั้น โรงไฟฟ้า พลังงานขยะชุมชน จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่นอกจากจะช่วยในเรื่องของ ปริมาณขยะทีเ่ พิม่ ขึน้ ทุกวันให้ลดลงและหมดไป และพลังงานไฟฟ้าทีม่ าจาก การเผาขยะยั ง สามารถน� ำ ไปขายให้ กั บ การไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าค เพื่อเป็นการเพิ่มรายได้สู่ชุมชนอีกทางหนึ่งด้วย การผลิตกระแสไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าพลังงานขยะ เป็นการน�ำเอา พลังงานที่มีอยู่ในขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ โดยการเผาด้วย ความร้อนตั้งแต่ 850-1,500 องศาเซลเซียส ซึ่งถ้าใช้ความร้อนในระดับดัง กล่าว จะสามารถท�ำลายเชื้อโรคหรือก๊าซต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

อีกทัง้ ยังไม่มคี วันลอยสูช่ นั้ บรรยากาศ เนือ่ งจากควันทีเ่ กิดจากการเผาไหม้ จะไม่ปล่อยออกจากปล่องแต่จะน�ำมาผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณสมบัติ ทางเคมี แล้วแปลงสภาพเป็นแก๊สเพื่อน�ำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงในเครื่องปั่นไฟ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังไม่สร้างน�้ำเสียเพราะต้องน�ำน�้ำกลับมาใช้ ในระบบผลิตไฟฟ้าตลอดเวลา รวมทั้งสามารถน�ำขี้เถ้าที่เหลือจากการเผา ไหม้มาใช้เป็นปุ๋ย ในปัจจุบันประเทศไทยมีโรงไฟฟ้าพลังงานขยะในชุมชนหลายแห่ง เช่น จังหวัดภูเก็ต สงขลา หาดใหญ่ นครศรีธรรมราช ขอนแก่น พิจิตร และเชียงใหม่ เป็นต้น การน�ำขยะมาเป็นเชื้อเพลิงเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า สามารถลดปริมาณการปล่อยก๊าซมีเทนจากหลุมฝังกลบ และลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก แก้ไขปัญหาขยะและคุณภาพอากาศที่เกิดจากการเผา รวมถึงผลผลิตที่เหลือใช้จากการเกษตร ถือเป็นอีกทางเลือกที่ได้รับ ประโยชน์สูงสุดจากขยะเพราะนอกจากจะช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลน พื้นที่ในการฝังกลบแล้วเรายังได้เชื้อเพลิงที่มีศักยภาพสูงในการผลิตไฟฟ้า อีกด้วย

ทีม่ า : http://www.thailandindustry.com/ http://www.sankyo-asia.com/ http://www.eppo.go.th/engy/Load/ET13.pdf

“คลายสงสัย”?

??

กฟผ.แม่เมาะ คุมเข้มมาตรการรถขนหินปูน จ�ำเป็นต้องน�ำเข้าเพิ่มถึงปลายตุลาคมนี้

จากที่ใบอนุญาตเหมืองหินปูนแปลง FGD1 ได้หมดอายุลงในวันที่ 24 สิงหาคม 2557 และอยู่ระหว่างการขอใบอนุญาตใหม่ ท�ำให้เหมือง แม่เมาะไม่สามารถด�ำเนินการท�ำเหมืองหินปูนได้ ส่งผลให้ปริมาณหินปูน ไม่เพียงพอต่อกระบวนการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้านั้น การแก้ไขปัญหา ดังกล่าวท�ำให้ กฟผ.แม่เมาะ ต้องน�ำเข้าหินปูนจากแหล่งอื่น ซึ่งจะเป็นการ เพิม่ ปริมาณของรถบรรทุกทีว่ งิ่ บนถนนผาลาด-แม่เมาะ โดย กฟผ. ได้สงั่ ซือ้ หินปูนจ�ำนวนแรกเพื่อใช้ในเดือนกันยายน ตั้งแต่วันที่ 26 สิงหาคม - 24 กันยายน อย่างไรก็ดีกระบวนการขออนุญาตเหมืองหินปูนยังไม่แล้วเสร็จ ท�ำให้ต้องสั่งซื้อหินปูนอีกจ�ำนวนหนึ่ง เพื่อใช้ในเดือนตุลาคม โดยจะเริ่ม

ขนส่งตั้งแต่เดือนกันยายน-สิ้นเดือนตุลาคมนี้ ทั้งนี้ กฟผ.แม่เมาะ ก�ำหนด เวลาขนส่งในช่วง 06.00 - 22.00 น. โดยหลีกเลี่ยงการขนส่งในช่วงเร่งด่วน คือ ช่วงเช้า เวลา 07.00 - 08.30 น. และช่วงเย็น เวลา 15.30 -17.00 น. และมีมาตรการเพือ่ ความปลอดภัยของผูใ้ ช้รถใช้ถนน คือ การจ�ำกัดความเร็ว รถบรรทุกในพืน้ ทีช่ มุ ชนไม่เกิน 60 กิโลเมตร/ชัว่ โมง ห้ามจอดรถริมทาง และ ให้เดินรถในเส้นทางทีก่ ำ� หนดเท่านัน้ โดยได้มกี ารอบรมชีแ้ จงกับผูป้ ระกอบ การและพนักงานขับให้ปฏิบัติตามกฎอย่างเคร่งครัด กฟผ.แม่เมาะ ขออภัย หากประชาชนในพืน้ ทีไ่ ด้รบั ความไม่สะดวก ในการจราจรจากการด�ำเนินการในครั้งนี้


แม่เมาะ

http://maemoh.egat.com

มะเร็งเต้านม

อโรคาพาสุข

ภัยเงียบของสุภาพสตรี “มะเร็งเต้านม” ภัยคุกคามสุขภาพของคุณสุภาพสตรี โดยไม่มีการเตือนให้รู้ล่วงหน้า และเป็นสาเหตุ อันดับ 1 ของการป่วยและเสียชีวิตของผู้หญิงไทย อีกทั้งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี ผู้หญิงที่อายุ 30 ปีขึ้นไปทุกคน มีความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งเต้านม และโรคนี้ถือเป็นภัยเงียบใกล้ตัว เนื่องจากในระยะแรกมะเร็งเต้านม จะไม่แสดงอาการ หรือความผิดปกติให้เห็น แต่เมือ่ ก้อนมะเร็งเข้าสูร่ ะยะอักเสบและลุกลามไปทัว่ แล้ว การรักษา มักไม่ได้ผล และอาจอันตรายถึงชีวิตได้ วันที่ 7 ตุลาคม เป็นวันมะเร็งเต้านมสากล และในวันที่ 13 ตุลาคม ยังเป็นวันรณรงค์ต่อต้านและช่วยเหลือ ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมระยะลุกลาม เดือนตุลาคมของทุกปีจึงถือเป็นเดือนแห่งการรณรงค์มะเร็งเต้านมทั่วโลก โดยองค์กรด้านมะเร็งต้องการให้ประชากรสตรีทวั่ โลก หันมาดูแล เอาใจใส่สขุ ภาพเต้านมของตนเองให้มากขึน ้ อโรคาฉบับนี้จึงขอพาคุณผู้อ่านไปรู้จักกับมะเร็งเต้านมกัน ความเสี่ยงต่อมะเร็งเต้านมนั้นเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุดังนี้ • พันธุกรรม • ผู้ที่มีประจ�ำเดือนมาก่อนอายุ 12 ปี และหมดประจ�ำเดือนหลังอายุ 50 ปี • คนโสด หรือคนที่คลอดลูกคนแรกหลังอายุ 30 ปี • ผู้ที่รับการรักษาด้วยฮอร์โมนทดแทนติดต่อกันเป็นเวลานาน • อายุที่เพิ่มมากขึ้นยิ่งมีโอกาสเสี่ยงเพิ่มขึ้น • การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หากดื่มมากกว่า 9 แก้วต่อสัปดาห์ โอกาสของโรค จะเพิ่มเป็น 60% • โรคอ้วน และผู้ที่มีประวัติเป็นเนื้องอกบริเวณเต้านม ควรดูแลสุขภาพให้ดีและหมั่นสังเกตตรวจเช็คเป็นประจำ�โดย • รับการตรวจเต้านมโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ คือสูตินารีแพทย์หรือศัลยแพทย์ทั่วไป เป็นประจ�ำทุกปี • ตรวจเต้านมด้วยตนเองเป็นประจ�ำ อาจท�ำในขณะอาบน�้ำ ฟอกสบู่ ใช้นิ้วคล�ำ รอบๆ เต้านม หากคล�ำเจอสิ่งผิดปกติ อย่าละเลยที่จะปรึกษาแพทย์ • กินอาหารทีม่ ปี ระโยชน์เช่น เส้นใยอาหาร ผักและผลไม้สสี ดและเข้ม ให้ได้อย่างน้อย วันละ 5-9 ส่วน กินผลไม้ที่มีวิตามินเอ ซี และอี ที่มีสารต้านอนุมูลอิสระสูง งดอาหารที่มี เกลือและไขมันสูง งด อาหารรมควัน สารเร่งเนื้อแดง การป้องกันที่ดีที่สุด คือการค้นหาก้อนมะเร็งอย่างสม�่ำเสมอ หากพบเร็วจะมีโอกาสที่รักษาหายและ รอดชีวติ สูง ในปีนกี้ ระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายให้ทกุ จังหวัด ทุกชุมชน ทุกหมูบ่ า้ น รณรงค์ ให้ผู้หญิงตั้งแต่อายุ 20 ปีขึ้นไป ตรวจเต้านมด้วยตนเองทุกเดือน เพื่อลดการสูญเสียชีวิตให้ได้ มากที่สุด ที่มา : http://www.siamhealth.net/ http://www.nutrilite.co.th/

กองการแพทย์และอนามัยโรงไฟฟ้าแม่เมาะ แจ้งก�ำหนดออกหน่วยบริการสุขภาพเคลื่อนที่เดือนตุลาคม 2557 ในพื้นที่ อ.แม่เมาะ จ�ำนวน 5 ครั้งดังนี้ วันที่ 2 บ้านวังน�้ำต้อง ต.นาสัก, วันที่ 9 บ้านหาด/บ้านทาน ต.จางเหนือ, วันที่ 16 บ้านแม่หล่วง ต.นาสัก, วันที่ 21 บ้านนาสัก ต.นาสัก และวันที่ 30 บ้านห้วยคิง ต.แม่เมาะ ทั้งนี้ในเดือนกันยายน 2557 ที่ผ่านมา กองการแพทย์และอนามัยโรงไฟฟ้า แม่เมาะ ได้ออกให้บริการตรวจสุขภาพเคลื่อนที่ มีผู้เข้ารับการตรวจรักษา เช่น ณ หมูบ่ า้ นสบจาง ต.นาสัก จ�ำนวน 400 ราย, ณ หมูบ่ า้ นปางป๋วย ต.นาสัก จ�ำนวน 157 ราย เป็นต้น

9


ประมวลภาพกิ ประมวลภาพกิจจกรรม กรรม

10

1

3-19 ก.ย. 57

บ่ า้ น อ�ำเภอแม่เมาะ จัดโครงการเสริมสร้างความมัน่ คงระดับหมู ต�ำบลของ ใน อ.แมเ่ มาะ ตามแผนการดำ� เนินงานของ คสช. ในพนื้ ที่ 5 นทนาการ อ.แมเ่ มาะ โดย กฟผ.แม่เมาะ ร่วมส่งวิทยากรจัดกิจกรรมสั

3

2

4 ก.ย. 57

กฟผ.แม่เมาะ มอบงบประมาณ 552,000 บาท ให้แก่มลู นิธิ รักษ์แม่เมาะ โดยมีนางฟองจันทร์ วงค์ชัย รองประธานมูลนิธิ รักษ์แม่เมาะเป็นผู้แทนรับมอบ เพื่อน�ำไปด�ำเนินงานภารกิจการ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนแม่เมาะ

4

19 ก.ย. 57

จั ง หวั ด ล� ำ ปาง จั ด กิ จ กรรมห น่ ว ยบ� ำ บั ด ทุ ก ข์ บ� ำ รุ ง สุ ข สร้างรอยยิม้ ให้ประชาชน จ.ล�ำปาง ณ โรงเรียนบ้านใหม่รตั นโกสินทร์ ต.นาสัก มีหน่วยงานภาครัฐออกให้บริการประชาชน พร้อมทัง้ มอบ ถุงยังชีพ กายอุปกรณ์และพันธุ์ปลาแก่ผู้เข้าร่วมงาน โดย กฟผ. แม่เมาะ ร่วมสนับสนุนงบประมาณ 30,000 บาท ในการจัดงาน ดังกล่าว

สวัสดี

21 ก.ย. 57

6

ร กฟผ.แม่เมาะ ร่วมสนับสนุนงบประมาณ 40,000 บาท ในกา ปี 2557 จัดแข่งขันกีฬาเปตองเฉลิมพระเกียรติ อ.แม่เมาะ ประจ�ำ ณ ลานหน้าโรงเรียนแม่เมาะวิทยา

5

23 ก.ย. 57

7

นายพินิจ จันทรสุรินทร์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรว ง เกษตรและสหกรณ์ หัวหน้าส่วนราชการ ผู้บริหาร กฟผ .แม่เมาะ และผู้น�ำชุมชน ร่วมงานทอดผ้าป่าชมรมผู้สูงอายุอ�ำเภอ แม่เมาะ เพื่อน�ำรายได้เก็บไว้เป็นงบประมาณด�ำเนินการของชมรม

24 ก.ย. 57

จิ ต อาสา กฟผ. แม่ เ มาะ ร่ ว มกั บ นั ก ศึ ก ษาจา กวิ ท ยาลั ย อินเตอร์เทคล�ำปางและทหารจากคา่ ยฝึกการรบพิเศษประตูผา รวมกว่า 100 คน ท�ำฝายชะลอนำ�้ เฉลิมพระเกยี รติฯ ณ บริเวณห้วยแต้ว หมูบ่ า้ น วังตม ซึง่ พืน้ ทีด่ งั กล่าวเป็นป่าต้นน�ำ้ ทีส่ ำ� คัญแห่งหนึง่ ของ ต.จางเหนือ

23 ก.ย. 57

กฟผ.แม่เมาะ ร่วมท�ำบุญและน�ำก๋วยเข้าร่วม ในประเพณี ตานก๋วยสลาก วัดทุ่งกล้วยโพธาราม ต.แม่เมาะ ซึ่งจัดขึ้นเพื่ออุทิศ ส่วนกุศลครัง้ ใหญ่ให้แก่ผลู้ ว่ งลับ โดยมีพระภิกษุสงฆ์ 82 รูปจาก 39 วัด ใน อ.แม่เมาะ และพืน้ ทีใ่ กล้เคียงเข้าร่วมงาน

8

24 ก.ย. 57

นายอ� ำ เภอแม ่ เ มาะ พร้ อ มด้ ว ยหั ว หน้ า ส่ ว นราชก าร ผู้บริหาร กฟผ.แม่เมาะ และผู้น�ำชุมชน ร่วมพิธีเปิดป้าย ศูนย์เรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียง อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง (ศูนย์เรียนรู้บ้านลุงอ้วน) ของนายสมโภช ปานถม ปราชญ์ชาวบ้านด้านการเกษตร


แม่เมาะ

11

http://maemoh.egat.com

ผ้าทอกี่เอว ภูมิปัญญาผ้าทอมือปกากะญอ ของหมู่บ้านกลาง ต.บ้านดง

เมือ่ ได้ยนิ ชือ่ ผ้าทอกีเ่ อว หนึง่ ในวัฒนธรรม ทีผ่ า่ นการคัดสรรและ ได้รบั มอบเกียรติบตั รด้านผ้าทอ ในโครงการ "รากวัฒนธรรมของดีบา้ นฉัน 4 วิถีไทย" จากส�ำนักงานวัฒนธรรมอ�ำเภอแม่เมาะ หลายคนอาจจะ ยังไม่รู้จักหรือไม่เคยได้ยินชื่อนี้มาก่อน วันนี้ เช็คอินแม่เมาะ ขอพา ท่านผู้อ่านไปรู้จักกับที่มา ของผ้ากี่เอว หนึ่งในวัฒนธรรมเก่าแก่ที่ สืบทอดกันจากรุ่นสู่รุ่นของกลุ่มชนเผ่าปกากะญอ กันถึงบนดอย ณ บ้านกลาง ต.บ้านดง โดยมีนางจารุณีย์ หละแหลม แม่หลวงบ้านกลาง (ภรรยาผู้ใหญ่บ้าน) และกลุ่มแม่บ้านมาร่วมเล่าเรื่องราวให้เราฟัง ผ้าทอกี่เอว เป็นภูมิปัญญาที่สืบทอดมาแต่อดีตของกลุ่มชาติพันธุ์ ทัง้ ม้ง กะเหรีย่ ง ปกากะญอ ซึง่ ค�ำว่า กีเ่ อว นี้ มาจากเครือ่ งมือการทอผ้า ทีใ่ ช้การนัง่ ทอโดยมีผา้ คาดเอวยึดกับตัวเพือ่ ดึงผืนผ้าให้ตงึ วัสดุทำ� มาจาก ไม้ไผ่หรือวัตถุทรงกระบอกขนาดเล็ก เรียบง่าย แต่ แ ฝงด้ ว ยภู มิ ป ั ญ ญาที่ ส อดคล้ อ งกั บ การ อยูอ่ าศัยของบรรพบุรษุ รุน่ ก่อนๆ ซึง่ จะแตกต่าง จากเครือ่ งทอแบบตีนกระตุก ทีใ่ ช้ทอผ้าขาวม้า หรือตีนจก ซึง่ มีขนาดใหญ่กว่ามาก ในอดีตการ ทอผ้ากีเ่ อว มีไว้เพือ่ สวมใส่ในชีวติ ประจ�ำวัน ถือ เป็นสิง่ ทีผ่ หู้ ญิงชนเผ่าหลายแห่งต้องท�ำให้เป็น ซึ่ ง ถ้ า ใครทอผ้ า กี่ เ อวไม่ ไ ด้ ก็ จ ะถื อ ว่ า ไม่ มี คุ ณ สมบั ติ ใ นการแต่ ง งาน แต่ ใ นปั จ จุ บั น ผ้าทอกี่เอวถูกสวมใส่ในงานส�ำคัญๆ เช่น งานแต่ ง งาน การไปโบสถ์ วั น อาทิ ต ย์ เป็นต้น

สีสนั และลวดลายของผ้าทอกีเ่ อวนัน้ ล้วนมีความหมายและสืบทอด กันมา โดยผู้หญิง จะใส่ผ้าทอกี่เอว 3 ประเภท ได้แก่ เชวา หรือเสื้อขาว จะสวมใส่ในเด็กผูห้ ญิงและสาววัยรุน่ ทีย่ งั ไม่ได้แต่งงาน เชซู หรือ เสือ้ ด�ำ จะสวมใส่โดยหญิงที่แต่งงานมีครอบครัวแล้ว และ เชเบิก เป็นแบบ ประยุกต์ ซึ่งหมายถึงการปัก และตกแต่งลวดลายจากด้ายและวัสดุจาก พืชพรรณ เช่นลูกเดือย แทนการทอเข้าไปในเนื้อผ้า ซึ่งจะสามารถท�ำได้ ง่ายและรวดเร็วกว่า โดยมีลายพื้นฐานคือ หล่ากอ ที่คล้ายใบไม้สีแดง ส�ำหรับผู้ชายผ้าทอกี่เอวจะไม่มีการทอลวดลายเหมือนของผู้หญิงและ นิยมใส่สีแดงที่สุด แม่หลวงเล่าให้เราฟังว่า วัฒนธรรมผ้าทอกี่เอวเคยหายไปจาก ชุมชนบ้านกลาง กว่า 100 ปี เนื่องจากการเข้ามาของศาสนาคริสต์ ที่มีส่วนท�ำให้ชาวบ้านเปลี่ยนแปลงรูปแบบและวิถีการแต่งกายเดิม แต่โชคดีที่ช่วง 20 ปีให้หลังนี้ มีการฟื้นฟูวัฒนธรรมผ้าทอกี่เอวขึ้นมาอีก ครั้งหนึ่ง จนปัจจุบันชาวหมู่บ้านกลาง สามารถกลับมาทอผ้ากี่เอวกันได้ แทบทุกบ้านอีกครั้ง โดยชุมชนจะผลิตผ้าทอกี่เอวขายเป็นรายได้พิเศษ ในช่วงหลังฤดูการเก็บเกีย่ วตัง้ แต่เดือนพฤศจิกายนเป็นต้นไป ราคาของ ผ้าทอกีเ่ อวนัน้ ส�ำหรับเสือ้ ผูห้ ญิง 800-900 บาท เสือ้ ผูช้ าย 400-500 บาท ซึ่งถ้าเทียบกับการทอมือที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว และเวลาการผลิตที่มี ตัง้ แต่ 2 วัน จนถึงหลายอาทิตย์ตอ่ ตัว ตามความยากง่ายของลวดลายนัน้ ถือว่าไม่แพงเลย หากใครอยากหาผ้าพื้นเมืองสวมใส่หรือเป็นของ ที่ระลึกมากด้วยคุณค่าสักชิ้น สามารถโทรสั่งจองกับแม่หลวงได้ที่เบอร์ 054-380180 แนะน�ำว่าควรจองล่วงหน้านานๆ เพราะคิวอาจจะยาว เป็นเดือนเลยทีเดียว

กาแฟบ้านตาล

Bar & Bistro จากตัวเมืองล�ำปาง เลีย้ วซ้ายมาอ�ำเภอแม่เมาะเป็นพืน้ ทีข่ อง ชุมชนผาลาดในเขต อ.เมือง ประตูเข้าสู่ อ.แม่เมาะ จากแยกผาลาด ประมาณ 1 กม. จะมีทั้งร้านอาหาร ซี แอนด์ ซี (Cabbages & Condoms) ล�ำปาง อยู่ทางด้านซ้าย ส่วนด้านขวาจะสะดุดตากับ ร้านอาหารสีขาวทรงกะทัดรัดเก๋ไก่ ออกแบบโดยเจ้าของร้านเอง เพราะเรียนจบด้านออกแบบเครื่องเรือน คณะศิลปกรรมและ สถาปั ต ยกรรม จาก มทร.ล้ า นนา จ.เชี ย งใหม่ มาหมาดๆ น้องน�้ำตาล “อลิษา ผาเมืองปัก” แม่ครัวแนวติสท์ เจ้าของร้าน “กาแฟบ้านตาล Bar & Bistro” เพิง่ จะเปิดร้านเมือ่ ต้นปีนี้ ส�ำหรับเมนูแนะน�ำเริม่ จาก เครือ่ งดืม่ ทีใ่ ช้เมล็ดกาแฟของคณะเกษตรฯ มช. ซึง่ เป็นเมล็ดคัว่ เข้ม แม้จะผ่านความดันและความร้อน

จากเครือ่ งชง ความหอมจะยังคงอยู่ เมนูพเิ ศษของร้านคือ กาแฟบ้านตาล ที่อบอวลด้วยกลิ่นหอมละมุนของไวท์ช๊อค และอีกหลากหลาย เครือ่ งดืม่ ร้อน เย็น หรือซาบซ่า และเหมาะกับผูท้ ชี่ อบจิบชาร้อนๆ ด้วยชาดิลม่ากลิ่นต่างๆ มีเค้กจาก อ.สารภี ของดีเชียงใหม่ให้ชิม กัน มาที่อาหารกันบ้าง บอกเลยแม่ครัวถนัดเมนูเส้น แนะน�ำให้ลอง สปาเกตตีห้ มูกระเพรากรอบ สปาเกตตีผ้ ดั กระเทียมพริกแห้ง มักกะโรนี ผัดแกงเขียวหวาน ฯลฯ ทุกจานจัดผักไฮโดรโปนิกส์ มาให้ทาน เพื่อสุขภาพกันด้วย ราคาก็พิเศษนะจ๊ะ ทุกจาน 49 บาท เท่านั้น คงเป็ น อี ก หนึ่ ง สถานที่ พ บปะ หากเดิ น ทาง เข้ า -ออก อ.แม่เมาะ ก็แวะหาอะไรทาน ดืม่ กาแฟให้ชนื่ ใจก่อน ร้านเปิดทุกวัน ตัง้ แต่ 09.00-19.00 น. ไปเป็นก�ำลังใจให้แม่ครัวมีสไตล์คนนีก้ นั ได้ โทรสั่งได้ที่เบอร์ 088-2616179


เดือนนี้มีอะหยัง

เชิญร่วมประเพณีทำ� บุญตานก๋วยสลาก

1 ต.ค. 57

ณ วัดสบจาง ต.นาสัก และวัดเมาะหลวง ต.แม่เมาะ

4 ต.ค.57

18 ต.ค. 57

ร่วมชม ร่วมเชียร์ การแข่งขันฟุตบอลแม่เมาะคัพ รุน่ ยุวชน อายุไม่เกิน 12 ปี นัดชิงชนะเลิศตัง้ แต่เวลา 14.00 น. ณ สนามกีฬาลาน ฮ. เหมืองแม่เมาะ

ณ วัดบ้านแขม ต.แม่เมาะ

เชิญร่วมท�ำบุญทอดกฐินใน อ.แม่เมาะ 11 ต.ค. 57 เชิญร่วมงานท�ำบุญทอดกฐิน และงานฉลองสัญญาบัตร

10 ต.ค. 57

เวลา 08.00 น. กฟผ.แม่เมาะ ขอเชิญกลุม่ แรงงานท้องถิน่ อ.แม่เมาะ ร่วมจับฉลากงานจ้างเหมา และจัดซือ้ วัสดุอปุ กรณ์ ประจ�ำปี 2558 ณ ทีท่ ำ� การ สือ่ สารองค์การและชุมชนสัมพันธ์ (ทางเข้าบ้านพักพนักงาน กฟผ.) สอบถาม รายละเอียดได้ที่ 054-256073

พัดยศ พระครูปยิ ะวรานุกจิ ณ ส�ำนักสงฆ์ฉลองราชศรัทธาราม ต.สบป้าด เวลา 09.00 – 12.00 น. 14 ต.ค. 57 วัดห้วยคิง ต.แม่เมาะ 19 ต.ค. 57 วัดสบจาง ต.นาสัก 30 ต.ค. 57 วัดกอรวก ต.จางเหนือ

10-13 ต.ค. 57

กฟผ.แม่เมาะ น�ำเยาวชนในพืน้ ที่ อ.แม่เมาะ เข้าร่วมโครงการฝึกสอนทักษะการเล่นฟุตบอล พร้อมคัดเลือกนักเตะฝีเท้าดี จ�ำนวน 60 คน ไปศึกษาดูงานทีส่ โมสรเชียงรายยูไนเต็ด ในวันที่ 14-16 ต.ค.57

28-30 พฤศจิกายน 2557

ฟรี!

ตั้งแต่ 10.00 น. เป็นต้นไป

พบกับดารา ศิลปินชื่อดัง ความสนุกจากการละเล่นงานวัด หลากหลายสินค้า OTOP และกิจกรรมผจญภัยเหมืองแม่เมาะ 28 พ .ย . 57 ณเดช คูกิมิยะ, ญาญ่า อุรัสยา, เกรท วรินทร, เอกชัย ศรีวิชัย, เดอะพาเลซ 29 พ .ย . 57 ชมพู่ อารยา, เจมส์ มาร์, เดี่ยว สุริยนต์, หลิว อาราดา, บุดดาเบลส 30 พ .ย . 57 อาเล็ก ธีรเดช, ขวัญ อุษามณี, เชน ณัฐวัฒน์, ศิริพร อ�ำไพพงษ์, อ๊อฟ ปองศักดิ์

www.egat.co.th ที่ปรึกษา

คณะผู้จัดท�ำ

นายจักรพงศ์ อุทธาสิน นายพลฤทธิ์ เศรษฐก�ำเนิด

บรรณาธิการบริหาร นางสายลดา สิทธิวงศ์

ผู้ช่วยผู้ว่าการเหมืองแม่เมาะ ผู้ช่วยผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า2 ผู้อ�ำนวยการฝ่ายจัดการโรงไฟฟ้าแม่เมาะ

บรรณาธิการ

หัวหน้าแผนกสื่อมวลชนสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ

กองบรรณาธิการ

แผนกสื่อมวลชนสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ แผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ แผนกประชาสัมพันธ์เหมืองแม่เมาะ ศูนย์จิตอาสาโรงไฟฟ้าแม่เมาะ

ออกแบบและจัดท�ำ

แผนกสื่อมวลชนสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ โทรศัพท์ 054-256086 อีเมล์ CSRmaemoh@egat.co.th ร้านกล้าคิดก�ำลังดี โทรศัพท์ 081-8812109 อีเมล์ gumlangdee@gmail.com

ติดต่อเรา : โรงไฟฟ้าแม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 800 หมู่ท่ี 6 ต.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง 52220 เหมืองแม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 801 หมู่ท่ี 6 ต.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง 52220

http:/ / maemoh.egat.com

tel : 054-256070 fax : 054-256988 ศูนย์จิตอาสา กฟผ. แม่เมาะ tel : 054-256091 fax : 054-256098 แผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ tel : 054-252730 fax : 054-252731 แผนกประชาสัมพันธ์เหมืองแม่เมาะ tel : 054-254054 fax : 054-254052 สนามกอล์ฟ กฟผ.แม่เมาะ tel : 054-254970 พิพิธภัณฑ์ศูนย์ถ่านหินลิกไนต์ศึกษาฯ (เหมืองแม่เมาะ) tel : 054-254930

กองชุมชนสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.