วารสารสวัสดีแม่เมาะ เดือนกันยายน 2558

Page 1

สวัสดี แม่เมาะ วารสาร

วารสารการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แม่เมาะ รายเดือน ฉบับที่ 9 ปีที่ 5

ประจ�ำเดือน กันยายน 2558

ทุกมือร่วมกัน สร้างพื้นทีส่ ีเขียว 03

พลิกฟื้นผืนป่า คืนสมดุลสู่ระบบนิเวศ

06

กระเป๋าตัดเย็บคุณภาพดี ที่บ้านนาสันติราษฎร์

10

รู้จักถ่านหินมากขึ้น ใน รักษ์โลก

15

ภาพเขียนสีโบราณ ดอยผาก้าน


สวัสดี

2

บทบรรณาธิการ Editor’s note

อ.แม่เมาะ กับการเป็นเมืองต้นแบบด้านการอยู่ร่วมกันของโรงไฟฟ้ากับชุมชน เป็นสิ่งที่ถูกพูดถึง บ่อยครัง้ ขึน้ จากหลายๆฝ่าย ไม่วา่ จะเป็นภาครัฐ นักวิชาการ สังคม รวมถึงชุมชนทีจ่ ะมีโครงการก่อสร้าง โรงไฟฟ้าถ่านหินเกิดขึน้ ในพืน้ ที่ ซึง่ ค�ำกล่าวนีม้ าพร้อมกับความคาดหวังและพันธกิจอันส�ำคัญ คือการสร้าง ความเชื่อมั่นของสังคมที่ส่งผลต่อโอกาสการเกิดขึ้นของโรงไฟฟ้าทดแทน เพื่อรองรับการขยายตัวและ การพัฒนาประเทศ รวมถึงสร้างความมัน่ คงทางพลังงานในพืน้ ที่ ในวันนีแ้ ม้วา่ กระบวนการผลิตไฟฟ้าของ กฟผ.แม่เมาะจะได้รบั การรับรองมาตรฐานต่างๆทีแ่ สดงให้เห็นถึงการผลิตไฟฟ้าทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ก็ตาม แต่สิ่งส�ำคัญที่จะสะท้อนถึงการเป็นเมืองต้นแบบได้ดีที่สุด ก็คือการพัฒนาพื้นที่และคุณภาพ ชีวติ ของคนแม่เมาะทีด่ ขี นึ้ นัน่ เอง วารสารสวัสดีแม่เมาะ ฉบับนี้ น�ำเสนอ แนวคิด มุมมอง ต่อการ พัฒนาการท่องเทีย่ วบ้านท่าสี ต.บ้านดง สูห่ นทางแห่งความยัง่ ยืน ใน ของดีตบี้ า้ นเฮา ตลอดจน เรื่องราวแนวคิดดีๆ ของกลุ่มอาชีพตัดเย็บกระเป๋า ที่ประสบความส�ำเร็จในสถานีอาชีพ เพือ่ เป็นแนวทางและแรงบันดาลใจให้กบั ทุกคนครับ

สวัสดีครับ

ผลตรวจวัด

คุณภาพอากาศ อ.แม่เมาะ ประจ�ำเดือน กรกฎาคม 2558

ค่าสูงสุดที่ตรวจวัดได้จริง (ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร)

SO2

NO2

10

45

ก๊าซซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ (24 ชั่วโมง)

ก๊าซไนโตรเจน ไดออกไซด์ (1ชั่วโมง)

- เปรียบเทียบกับ -

แผนกสิ่งแวดล้อมโรงไฟฟ้าแม่เมาะ กฟผ. แม่เมาะ เก็บข้อมูลจากสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ ต่อเนือ่ งทุกวัน จากบริเวณพืน้ ทีป่ ฏิบตั งิ าน บ้านพัก ผู้ปฏิบัติงาน และชุมชนโดยรอบ กฟผ.แม่เมาะ จ�ำนวน 11 สถานี พบว่า ในเดือนกรกฎาคม ค่าเฉลี่ยความเข้มข้น ของก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในเวลา 24 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ยความเข้มข้นของก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ในเวลา 1 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ยฝุ่นละอองขนาดเล็ก ไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) ในเวลา 24 ชั่วโมง และค่าเฉลี่ยฝุ่นละอองรวม (TSP) ในเวลา 24 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในเกณฑ์ ดี - ปานกลาง ของ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ส่วนผล การตรวจวัดดัชนีคุณภาพอากาศโดยรวมในอ�ำเภอ แม่เมาะ (AQI) จังหวัดล�ำปาง พบว่า มีคุณภาพ อากาศอยู่ในเกณฑ์ดี-ปานกลาง

SO2

300

ก๊าซซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ (24 ชั่วโมง)

88

ฝุ่นละอองรวม (TSP) (24 ชั่วโมง)

66

ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM10) (24 ชั่วโมง)

ค่ามาตรฐานก�ำหนดของ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร)

NO2

320

ก๊าซไนโตรเจน ไดออกไซด์ (1ชั่วโมง)

330

ฝุ่นละอองรวม (TSP) (24 ชั่วโมง)

120

ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM10) (24 ชั่วโมง)

ไมโครกรัม / ลบ.ม.

ค่ามาตรฐานไม่เกิน 100 ไมโครกรัม/ลบ.ม. กทม. เชียงใหม่ ล�ำปาง แม่เมาะ ระยอง

แผนภูมิเปรียบเทียบก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (เฉลี่ย 1 ปี) สถานีตรวจวัดของกรมควบคุมมลพิษ (2540-2557)


แม่เมาะ

3

http://maemoh.egat.com

กฟผ.แม่เมาะ พลิกฟืน้ ผืนป่า คืนสมดุลสูร่ ะบบนิเวศชุมชน

การผลิตไฟฟ้าควบคู่กับการดูแลชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม เป็นภารกิจที่ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แม่เมาะ ให้ความส�ำคัญ และด�ำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง โดยหนึ่งในงานส�ำคัญที่ควบคู่ ไปกับการท�ำเหมืองแร่ ลิกไนต์ คือการฟื้นฟูสภาพเหมือง เพื่อคืนพื้นที่สีเขียวให้กับบริเวณที่ผ่านการท�ำเหมืองมาแล้วให้กลับมามีสภาพอุดม สมบูรณ์ดังเดิม ซึ่ง กฟผ.แม่เมาะ ได้ริเริ่มโครงการฟื้นฟู สภาพเหมืองมาแล้วกว่า 30 ปี

เมื ่อ วันที่ 10 สิงหาคม 2558 ณ บริเวณพื้นที่ทิ้งมูลดินทราย

ด้านตะวันออกเฉียงเหนือ (ทุ่งบัวตอง) กฟผ.แม่เมาะ ต.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง นายธานินทร์ สุภาแสน ผู้ว่าราชการจังหวัด ล�ำปาง เป็นประธานเปิดโครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสเฉลิม พระชนมพรรษา ครบ 83 พรรษา พร้อมด้วยหัวหน้าส่วนราชการ จ.ล�ำปาง อ.แม่เมาะ หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ร่วมโครงการ โดยมี นายถาวร งามกนกวรรณ ผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การเหมืองแม่เมาะ ผูบ้ ริหาร และผู้ปฏิบัติงาน กฟผ.แม่เมาะ ร่วมกันปลูกต้นไม้นานาพรรณ อาทิ เหลืองปรีดียาธร นางพญา เสือโคร่ง ทองกวาว เหลืองเชียงราย เป็นต้น จ�ำนวน 14,200 ต้น บนพื้นที่ 83 ไร่ ซึ่งการร่วมกันปลูกป่าครั้งนี้เป็นหนึ่งในแผนการปลูกป่าฟื้นฟูพื้นที่ท�ำเหมืองแร่ ที่ กฟผ. แม่เมาะ จัดขึ้นในทุกปี

ภารกิจ ฟื้นฟูพื้นที่ท�ำเหมืองแร่ เริ่มตั้งแต่ปี 2525 จนถึงปัจจุบัน แบ่งเป็นพื้นที่เพื่อการปลูก ป่าทดแทน 93% พื้นที่กักเก็บน�้ำ 3% และพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ 4% โดยสามารถด�ำเนินการปลูกป่าทดแทนรวมพื้นที่แล้วทั้งสิ้น 10,993 ไร่ มีพันธ์ุไม้ชนิดต่างๆ ไม่น้อยกว่า 50 ชนิด ประมาณ 1,833,051 ต้น โดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือ - เพือ่ ปรับปรุงสภาพพืน้ ทีใ่ ห้มคี วามมัน่ คง มีเสถียรภาพ และ ปลอดภัยต่อชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม - เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดผลกระทบต่อเนื่องสู่สิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะจากการชะล้างพังทลายโดยกระบวนการทางธรรมชาติ ภายหลังหยุดการท�ำเหมือง - เพื่อบูรณะฟื้นฟูสภาพพื้นที่ให้สามารถใช้ประโยชน์ต่อไป ตามศักยภาพของพื้นที่ และความต้องการร่วมกันของผู้ที่ เกี่ยวข้อง โดยแบ่งออกเป็น 3 แนวทาง คือ 1.ฟืน้ ฟูพนื้ ทีใ่ ห้มสี ภาพและระบบนิเวศวิทยาเหมาะสมต่อการ เป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของพันธุ์พืชและสัตว์ป่า

2.ฟื้นฟูพื้นที่ให้กลับคืนสู่สภาพเดิมก่อนที่จะมีการท�ำเหมือง 3.ฟื้นฟูพื้นที่ให้สามารถใช้ประโยชน์ที่แตกต่างไปจากที่เคย เป็นก่อนที่จะมีการท�ำเหมือง แนวทางในการดูแลต้นไม้หลังจากมีการปลูกทดแทนในพืน้ ที่ คือ การรดน�ำ ้ พรวนดิน ใส่ปยุ๋ และก�ำจัดวัชพืช ในระยะสามปีแรก เพื่อดูแลให้รากของต้นไม้แข็งแรง คืนสู่ธรรมชาติได้เป็นปรกติ ข้อมูลจากแผนกฟื้นฟูเหมือง กฟผ.แม่เมาะ


4

จ ใ จ ใ บ ั บ ั ท ท ะ ะ ร ร ป ป ม ม า า ว คคว

ในงานเดิน-วิ่ง เฉลิมพระเกียรติฯ แม่เมาะ ฮาล์ฟมาราธอน ครั้งที่ 24

สิบเอก บุญถึง ศรีสังข์ สังกัด อีโก้ รั น นิ่ ง ผู ้ ช นะเลิ ศ การแข่ ง ขั น ฮาล์ ฟ มาราธอน ประชาชนชาวไทยทั่ ว ไป (Overall) ชาย กล่าวว่า ตนได้เตรียมตัวมาเป็น อย่างดี จึงสามารถป้องกันแชมป์ได้ 3 สมัยซ้อน ท�ำให้คว้าถ้วย พระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ใบจริงมาครองได้ในที่สุด ส�ำหรับงานเดิน-วิ่งเฉลิมพระเกียรติฯ แม่เมาะฮาล์ฟมาราธอน ถือเป็นงานที่นักวิ่งชาวไทยทุกคนใฝ่ฝัน อยากจะมาร่วม เพราะเป็นงานวิ่งที่ยิ่งใหญ่และเป็นสนามที่ ท้าทาย ใครที่สามารถคว้าแชมป์ได้ 3 สมัยติดต่อกันนั้นถือว่า สุดยอด ตนจึงรู้สึกดีใจและภาคภูมิใจมาก ที่สามารถน�ำถ้วยใบจริงมาครองได้ส�ำเร็จ” น้องๆ มัคคุเทศก์นอ้ ยจากโรงเรียน แม่เมาะวิทยา ผูท้ ำ� หน้าทีน่ ำ� ผูเ้ ข้าแข่งขัน เที่ยวชมในพื้นที่ กฟผ.แม่เมาะ และ อ.แม่เมาะ กล่าวว่า ทีห่ นูมาเป็นมัคคุเทศก์นอ้ ย ก็เพราะอยากจะประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยวใน อ.แม่เมาะ ว่ามีหลายแห่ง ทั้งทุ่งบัวตอง สวนพฤกษชาติ พิพิธภัณฑ์ถ่านหินลิกไนต์ศึกษาฯ เหมืองแม่เมาะ ศาลเจ้าพ่อ ประตูผา ฯลฯ ที่นี่อากาศดีมาก เพราะมีการจัดการระบบฟื้นฟู สภาพเหมือง มีเครื่องก�ำจัดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในโรงไฟฟ้า แม่เมาะ ท�ำให้มตี น้ ไม้นานาพรรณ เหมาะกับนักท่องเทีย่ วทุกเพศ ทุกวัย

สวัสดี

นางเจน วงษ์วรโชติ อดีตนักฟุตบอล หญิงทีมชาติไทย ผู้ชนะการแข่งขันฮาล์ฟ มาราธอนประชาชนชาวไทยทั่วไป (Overall) หญิง กล่าวว่า แม่เมาะฮาล์ฟมาราธอน ถือเป็น สนามที่สนุกมากที่สุดตั้งแต่เคยร่วมแข่งขันมา อากาศที่แม่เมาะ ดีมาก ท�ำให้ระบบการหายใจดี สามารถหายใจระหว่างวิง่ ได้อย่าง ปลอดโปร่ง สนามวิ่งที่นี่มีหลายเนิน ต้องใช้ทั้งใจและสมอง ในการวิ่ง อยากเชิญชวนให้นักวิ่งมาร่วมวิ่งที่นี่ หากผ่านสนามนี้ ไปได้ ย่อมสามารถวิ่งสนามอื่นได้แน่นอน นายสาธิต จันทรังสี นักวิ่งฮาล์ฟ มาราธอนผู้ใช้รถวีลแชร์เข้าร่วมการแข่งขัน กล่าวว่า การแข่งขันในครั้งนี้เป็นสนาม ฮาล์ฟมาราธอนครั้งแรกในชีวิตของตน เมื่อได้มาร่วมการแข่งขันก็รู้สึกประทับใจ เพราะที่นี่มีอากาศดี แต่เส้นทางวิ่งยากมาก เพราะเนินเยอะ ตนอยากชักชวนให้คนที่มีร่างกายแข็งแรง หันมาวิง่ เพราะแม้ตนจะเป็นโรคกล้ามเนือ้ อ่อนแรง ก็ยงั พยายาม จนส�ำเร็จ สิ่งส�ำคัญคือใจต้องมาก่อน ตนไม่ได้มาแข่งขัน เพื่อเอาชนะ เพียงแต่ต้องการมาเป็นแรงบันดาลใจให้นักวิ่ง ทีอ่ ยูข่ า้ งหลังหรือนักวิง่ ทีก่ ำ� ลังท้อแท้และคิดว่าไม่ไหวให้วงิ่ สูต้ อ่ ไป นายสมบู ร ณ์ แสงซื่ อ นั ก วิ่ ง มิ นิ มาราธอน ผู้แต่งกายแฟนซีเข้าร่วมแข่งขัน กล่าวว่า การแต่งกายแฟนซีมาวิ่งช่วย สร้างบรรยากาศให้กับการแข่งขัน เด็กๆ เห็นแล้วมีความสุข ผู้ใหญ่เองก็มีความสุข มีเด็กๆ ตะโกนเรียก แบทแมน อยู่ตลอดทาง อยากให้ทุกคนมาวิ่งออกก�ำลังกาย เพราะเป็นเรื่องง่าย ไม่ต้อง ลงทุนมาก มีรองเท้าคู่เดียวก็วิ่งได้แล้ว


แม่เมาะ

5

http://maemoh.egat.com

กฟผ.แม่เมาะ ร่วมกับหน่วยแพทย์เคลื่อนที่มูลนิธิแสง-ไซ้กี ออกตรวจรักษาโรคแก่สมาชิกในชุมชน อ.แม่เมาะ ที่อยู่ห่างไกล

เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2558 ณ โรงเรียนสบจางวิทยา ต.นาสัก อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง นายมงคล สุกใส รองผู้ว่าราชการจังหวัดล�ำปาง เป็น ประธานเปิ ด กิ จ กรรมหน่ ว ยแพทย์ เ คลื่ อ นที่ ซึ่ ง มู ล นิ ธิ แ สง-ไซ้ กี เหตระกูล หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ร่วมกับคณะนักศึกษาวิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักรรุ่นที่ 27 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.)แม่เมาะ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค กรมการแพทย์ และจังหวัดล�ำปางจัดขึ้น โดยมีทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญจากโรงพยาบาลชั้นน�ำของประเทศ ออกตรวจ รักษาประชาชนโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ บริการตรวจรักษาโรคต่างๆ เช่น โรคอายุรกรรม (โรคทัว่ ไป), โรคหู คอ จมูก, โรคทันตกรรม และโรคนิว้ ล็อค แก่ผปู้ ว่ ยในพืน้ ที่ อ.แม่เมาะ และใกล้เคียง โดย กฟผ.แม่เมาะ จัดรถรับส่งประชาชนในพื้นที่ พร้อมทั้งน�ำผู้ปฏิบัติงานจิตอาสาที่ร่วมดูแล จัดระบบ และช่วยเหลือผู้ป่วยตลอดการตรวจรักษา ตลอดจน สนับสนุนการเตรียมการจัดกิจกรรมในภาพรวม ทั้งนี้กิจกรรมดังกล่าวมีสมาชิกในชุมชนที่อยู่ห่างไกลให้ความสนใจและเดินทางเข้ามารับ การตรวจรักษาเป็นจ�ำนวนมาก โดยมีนางประพีร์ ปุ้ยพันธวงศ์ ประธานมูลนิธิแสง-ไซ้กี กล่าวรายงานวัตถุประสงค์การจัดกิจกรรม ว่าที่ รต.ณรงค์ศักดิ์ คุณูปถัมภ์ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการฝ่ายจัดการโรงไฟฟ้าแม่เมาะ-บริหาร กล่าวรายงานการด�ำเนินการจัดกิจกรรม พร้อมด้วย คณะผู้บริหาร กฟผ.แม่เมาะ หัวหน้าส่วนราชการ ผู้น�ำชุมชน และสมาชิกในชุมชน เข้าร่วมงาน

เสียงจากผู้เข้ารับการตรวจรักษา

นายฉลองชัย ทิพย์ธารากร

ผู้ใหญ่บ้านจางเหนือพัฒนา

กิจกรรมวันนี้เป็นกิจกรรมที่ดีมาก ท�ำให้สมาชิกในชุมชนที่อยู่ห่างไกล ได้มีโอกาสใช้บริการในระบบการตรวจรักษา ที่สะดวกสบายจากทีมหมอผู้เชี่ยวชาญในมูลนิธิแสง-ไซ้กี รู้สึกดีและได้รับการบริการที่ดีจากจิตอาสา กฟผ.แม่เมาะ แพทย์ที่ให้การ ตรวจรักษาก็แนะน�ำได้ดีเป็นกันเอง อยากให้มีกิจกรรมแบบนี้บ่อยๆ ที่แม่เมาะ เพราะในพื้นที่ที่อยู่ห่างไกล สมาชิกในชุมชน ต้องใช้เวลาในการเดินทางไปโรงพยาบาลที่อ�ำเภอ

ก่อสร้างโรงไฟฟ้าทดแทนฯ คืบหน้า แรงงานท้องถิ่นเริ่มเข้าปฏิบัติงานแล้ว 110 คน

หลังจากที่โครงการโรงไฟฟ้าทดแทนโรงไฟฟ้าแม่เมาะ จัดให้มีการประชุมความปลอดภัยทุกสัปดาห์ ตลอดจนด�ำเนิน

เครื่องที่ 4-7 ได้ท�ำพิธีลงเสาเข็มต้นแรก เพื่อเริ่มการก่อสร้าง ไปเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2558 ที่ผ่านมา โดยมีก�ำหนดแล้วเสร็จ ในปี 2561 นั้น ปัจจุบันการด�ำเนินการก่อสร้างเป็นไปตามแผน โดยล่าสุดหน่วยประสานงานก่อสร้างโครงการพัฒนาโรงไฟฟ้า ทดแทนโรงไฟฟ้าแม่เมาะ เครื่องที่ 4-7 เปิดเผยข้อมูล ความก้าวหน้าของโครงการ ประจ�ำเดือน กรกฎาคม ว่า การก่อสร้างเสาเข็ม ด�ำเนินการแล้วเสร็จแล้ว 1,280 ต้น จาก จ�ำนวน 6,446 ต้น หรือคิดเป็น 19.85 % ส่วนงานก่อสร้างอื่นๆ เช่น SITE ออฟฟิศ ใกล้แล้วเสร็จ และระบบระบายน�้ำเสร็จ เรียบร้อยแล้ว โดย กฟผ. และบริษัทผู้รับเหมางาน ก่อสร้าง มีการด�ำเนินงานด้านความปลอดภัยและ อาชีวอนามัย เช่น การ Morning Talk พูดคุย เรือ่ งความปลอดภัยก่อนเริม่ งานทุกวัน และ

การมาตรการลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม เช่น การฉีดพรมน�้ำ ลดฝุ่นละอองในและนอกพื้นที่ก่อสร้าง การท�ำความสะอาด ผิวถนน และการจัดการขยะอย่างเคร่งครัด ทัง้ นีป้ ัจจุบันมีแรงงานท้องถิน่ อ.แม่เมาะ ปฏิบัตงิ านอยู่ ในโครงการดังกล่าวรวมทั้งสิ้น 110 ราย ในชนิดงานต่างๆ ได้แก่ งานฐานรากโรงไฟฟ้าและอาคาร งานเสาเข็มเจาะ งานก่อสร้าง อาคารที่ท�ำการ และงานจัดหาคอนกรีต ซึ่งเป็นไปตามมาตรการ ที่โครงการฯต้องยึดถือปฏิบัติตามรายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมฯ โครงการโรงไฟฟ้าทดแทนโรงไฟฟ้า แม่เมาะเครื่องที่ 4-7 (EHIA) ด้านสังคมเรื่องการจ้างงานคนใน พื้นที่ในระยะก่อสร้าง ซึ่งในอนาคตเมื่อโครงการมีความก้าวหน้า มากขึน้ ก็จะมีการจ้างงานทีเ่ พิม่ ขึน้ ช่วยสร้างงานสร้างรายได้คนื สู่คนในท้องถิ่นอีกช่องทางหนึ่ง


สวัสดี

6

เกษตรริมรั้ว ต ้นอ่อนทานตะว ัน

อาหารส�ำหรับคนรักสุขภาพ ปลูกง่ายๆได้ที่บ้าน ต้นอ่อนทานตะวัน คือ ต้นอ่อนของ ต้นทานตะวันทีม่ อี ายุเพียง 7 – 11 วัน มีสรรพคุณ ช่วยบ� ำรุงสายตาและ เซลล์สมอง ป้องกันโรคสมองเสื่อม มีวิตามินอี ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูล อิ ส ระชั้ น ดี ที่ เรี ย กว่ า ‘วิ ต ามิ น ต้านแก่’ สูง กลุ่มคนรักสุขภาพ นิ ย มน� ำ มารั บ ประทานร่ ว มกั บ ผักสลัด หรือน�ำมาผัดน�้ำมันหอย เป็นอาหารจานหลัก เกษตรริมรั้วจึงได้น�ำวิธีการปลูก ต้ น อ่ อ นทานตะวั น มาให้ ทุ ก ท่ า นได้ ป ลู ก กั น เองที่ บ ้ า นด้ ว ย วิธีง่ายๆ ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายมาฝากจ้า

วัสดุ-อุปกรณ์

1.เมล็ ด ต้ น อ่ อ นทานตะวั น (จ� ำ หน่ า ยที่ ร ้ า นขายอุ ป กรณ์ การเกษตรทั่วไป) 2.ดินส�ำหรับปลูก (ดินสวน / ดินถุงส�ำหรับปลูกต้นไม้ธรรมดา) 3.ถาดเพาะ หรือกระบะภาชนะส�ำหรับปลูก 4.สเปรย์ส�ำหรับฉีดน�้ำ / ฝักบัวฝอย

วิธีท�ำ 1. คัดเมล็ดทานตะวัน โดยเลือกเมล็ดที่มีสีด�ำสนิท ปริมาณ ½ - 1 ถ้วย แล้วน�ำมาแช่ในน�้ำสะอาดประมาณ 1 คืน 2. น�ำดินใส่ลงในภาชนะที่เตรียมไว้ส�ำหรับปลูก สูงประมาณ ½ – 1 นิ้ว ฉีดสเปรย์น�้ำลงบนดินให้พอชุ่ม 3. น�ำเมล็ดพันธุ์ที่แช่น�้ำไว้ 1 คืน มาโปรยลงบนดินที่เตรียมไว้ ให้สม�่ำเสมอ อย่าให้เมล็ดซ้อนกัน วางภาชนะปลูกไว้ในที่ร่ม แล้วรดน�้ำให้ชุ่มทุกวัน เช้า – เย็น ประมาณ 7 วัน ล�ำต้นจะสูง ประมาณ 2-3 นิ้ว ใบอ่อนงอกออกมา 1 คู่ จึงเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ (ถ้ า ปล่ อ ยไว้ น านจะเริ่ ม มี ใ บเลี้ ย งคู ่ ที่ ส องออกมา รสชาติ จะไม่ค่อยอร่อย) เคล็ด (ไม่) ลับ 1.ถ้าต้องการให้ต้นโตสม�่ำเสมอเท่ากัน ให้หาอะไรมาทับหน้า เอาไว้ 2 วั น เพื่ อ บั ง คั บ ไม่ ใ ห้ ต ้ น ที่ ง อกก่ อ นโตเต็ ม ที่ เช่ น ใช้ภาชนะปลูกแบบเดียวกันมาทับไว้ 2.ถ้าต้องการให้ต้นยาวสูง แนะน�ำให้ปลูกในที่แสงร�ำไร ต้นจะ พยายามยืดตัวหาแดดท�ำให้ต้นยาว ก่อนตัดกิน 1 วัน ค่อยเอา ออกมาเจอแดดให้ต้นสังเคราะห์แสงมีวิตามินและแร่ธาตุที่ดี ต่อร่างกาย

นึกถึงกระเป๋า นึกถึงกลุ่มตัดเย็บ บ.นาสันติราษฎร์ สิจ๊ะ ในยุค ทีส่ นิ ค้าเกษตรราคาไม่แน่นอน กลุม่ แม่บา้ น บ.นาสันติราษฎร์ ต.จางเหนือ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง ได้คิด รวมกลุ่มกันหาช่องทางสร้างรายได้ ให้กับสมาชิกในชุมชน จึงเกิดเป็นกลุ่มตัดเย็บกระเป๋า บ.นาสันติราษฎร์ ซึ่งเป็นหนึ่ง ในกลุ่มอาชีพของ อ.แม่เมาะ ที่สามารถสร้างรายได้อย่าง ต่อเนื่องและยั่งยืน “เปลี่ยนความถนัดเป็นรายได้ ขยายให้สมาชิกในชุมชน ได้ มี กิ น มี ใช้ ” เป็ น แนวคิ ด ของประธานกลุ ่ ม ตั ด เย็ บ กระเป๋ า บ.นาสันติราษฎร์ นางรจนา อินเตชะ หรือ แม่หลวงรจนา ภรรยาคนสวยของ นายตี๋ อินเตชะ ผู้ใหญ่บ้าน บ.นาสันติราษฎร์ แรกเริ่มเดิมทีแม่หลวงเป็นชาว อ.แม่ทะ มีญาติพี่น้องท�ำงาน ตัดเย็บกระเป๋า จึงได้คลุกคลีและฝึกฝนจนกลายเป็นความถนัด ต่อมาได้ชักชวนเพื่อนบ้านที่อยู่ใน บ.นาสันติราษฎร์ มาเรียน ด้วยกัน ลงทุนซื้อจักรเย็บผ้า และลองน�ำกระเป๋าที่ตัดเย็บไป เสนอขายแก่ร้านค้าทองค�ำใน จ.สุโขทัย ซึ่งได้ผลตอบรับที่ดี จึง เป็นจุดเริ่มต้นของการก่อตั้งกลุ่มฯ ตั้งแต่ปี 2548 จุดเด่นของ กลุ่มฯ คือ ราคาไม่แพง เริ่มต้นที่ 10 บาท ขึ้นอยู่กับจ�ำนวน ที่สั่ง และความยากง่ายในการออกแบบ โดยกลุ่มฯจะเน้นผลิต ตามที่ลูกค้าสั่งเท่านั้น เพื่อไม่ให้มีสินค้าตกค้าง ลองผิดลอง ถูกกันมากว่า 10 ปี ปัจจุบันมีสมาชิกทั้งแม่บ้านและวัยหนุ่ม สาวกว่ า 37 คน กลุ ่ ม ลู ก ค้ า หลั ก คื อ ร้ า นทองซึ่ ง จะน� ำ ไป สมนาคุ ณ ให้ กั บ ลู ก ค้ า อี ก ที แม้ จ ะเป็ น กระเป๋ า ที่ ดู เรี ย บง่ า ย แต่กลุ่มฯ ก็ให้ความส�ำคัญกับทุกกระบวนการผลิต เริ่มตั้งแต่ การลงไปเลื อ กเนื้ อ ผ้ า และลายผ้ า ด้ ว ยตั ว เอง การออกแบบ กระเป๋าให้ทันสมัยตรงตามความต้องการของตลาด และลงมือ ตรวจสอบกระเป๋าทุกใบก่อนส่งถึงมือลูกค้า ท�ำให้ลูกค้าพากัน แนะน�ำปากต่อปาก แวะเวียนมาอุดหนุน ไม่ว่างเว้นกันเลย ทีเดียว ในอนาคต กลุ่มฯตั้งใจว่าจะพัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้คนรู้จักเพิ่มมากขึ้น พร้อมกับขยายสมาชิกให้ทั่ว หมู ่ บ ้ า น จนสามารถท� ำ เป็ น งานประจ� ำ ได้ เ ลย หากผู้ใดสนใจเรียน หรือสั่งตัดเย็บกระเป๋า ติดต่อ ได้ที่ กลุ่มตัดเย็บกระเป๋า บ.นาสันติราษฎร์ ต.จางเหนือ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง โทร.081-7465576


แม่เมาะ

7

http://maemoh.egat.com

ห้องรั แขก

กองทุนพัฒนาไฟฟ้า โรงไฟฟ้า แม่เมาะ มอบทุนการศึกษาแก่ เยาวชนแม่ เ มาะทุ ก ระดั บ ชั้ น

ในเดื อนกั น ยายนนี้ กองทุนพัฒ นาไฟฟ้า โรงไฟฟ้า แม่เมาะ เริ่มมอบทุนการศึกษาแก่นักเรียนใน ต.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ โดยทุนการศึกษาดังกล่าวมอบให้แก่เยาวชน อ.แม่เมาะ ที่ศึกษาอยู่ในระดับชั้นอนุบาล-ระดับปริญญาตรี ดังนี้ ระดับอนุบาลทุนละ 500 บาท ระดับ ป.1 ถึง ป.6 ทุนละ 1000 บาท ระดับม.1 ถึง ม.3 ทุนละ 1800 บาท ระดับ ม.4-6 และ ปวช.1-3 ทุนละ 2,000 บาท ระดับ ปวส. และ ปริญญาตรี ทุนละ 2,500 บาท

ผู้สูงอายุและเยาวชนใน อ.แม่เมาะ ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านภูมิปัญญา ท้องถิ่นและการปฐมพยาบาล สมาคมพั ฒ นาแม่ เ มาะฯ น� ำ ผู ้ สู ง อายุ เข้ า ร่ ว มกิ จ กรรม แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ กั บ เยาวชนอาสาเรื่ อ งการปฐมพยาบาล และถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นด้ว ยการตัดตุงพญายอ ตุง ไส้ หมูไส้ไก่ โคมตีนจ้าง สานของเล่นใบมะพร้าว ต้นผึ้งต้นเทียน และข้าวถัก ในโครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์ด้านปฐมพยาบาล ด้วยจิตอาสา พร้อมคุณธรรม จริยธรรม ของเหล่ากาชาดจังหวัดล�ำปาง

เปิดแล้ว Peer Center: ศูนย์พัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ระดับประถมศึกษาอ�ำเภอแม่เมาะ

Peer Center เปิดให้บริการความรู้ทางภาษาอังกฤษ ด้านสื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย ทั้งหนังสือเรียนภาษาอังกฤษ และ สื่อมัลติมีเดีย บริการจัดกิจกรรมเสริมสร้างและให้ค�ำปรึกษาแก่ครู นักเรียน เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านภาษาอังกฤษ เปิดทุกวัน จันทร์-ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 09.00-15.30 น. ณ โรงเรียนอนุบาลแม่เมาะ ต.แม่เมาะ โดยมีกิจกรรมต่างๆ ดังนี้ วันจันทร์ : Hitachi Game Contest วันพุธ : Scrabble Game Contest วันศุกร์ : Crossword Game Contest หมายเหตุ มีการปรับเปลี่ยนเป็นกิจรรมอื่นๆ ตามความเหมาะสม ติดต่อสอบถามโทร. 054-266029

ซักค�ำบ๋อ ณ วงสนทนาตามประสาสาวชาวบ้านในภาคเหนือ

สาวหน้าใส : ปี้ๆ ฤดูนี้ บ่ะต้อง เยอะมากเลย น้องส้มปากส้มคอ ไค่อยากกิ๋น ต�๋ำ บะต้อง ป้าดโทะ สาวสูงวัย : น้องฮู้ก่อ บ่ะต้อง เรียกอีกอย่างว่า บ่ะตื๋น หนา กึ๊ดแล้วก็ส้มปากเหมือนกัน สาวหน้าใส : ปี้ท�ำหื้อน้องชิมได้ก่อเจ้า สาวสูงวัย : ได้ก่ะ ปะๆ เฮาพากันไปซื้อที่กาดดีกว่า ภาษาพืน้ เมืองล้านนา ค�ำว่า บ่ะต้อง หรือ บะตืน๋ หมายถึง กระท้อน มีทงั้ พันธุร์ สหวาน และรสเปรีย้ ว ทางภาคเหนือและภาคอีสานนิยมน�ำมาท�ำต�ำกระท้อน วิธีการคล้ายกับต�ำมะละกอ แต่นิยมต�ำใส่พริก ไทย นอกจากนี้ยังท�ำเป็นกระท้อนดอง หรือกระท้อนทรงเครื่องได้อีกด้วย


8

ก้าวเล็กๆ ที่มุ่งมั่น...

สวัสดี

สู่การสร้างชุมชนท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์บ้านท่าสี

บ้านท่าสี ต.บ้านดง อ.แม่เมาะ อาจเป็นเพียงชุมชนเกษตรกรรมชุมชนหนึ่ง ที่ไม่มีโอกาสเป็นที่รู้จักหรือได้รับความสนใจ จากบุคลภายนอก แม้จะตั้งอยู่บนเส้นทางถนนไฮเวย์ ล�ำปาง-งาว หนึ่งในเส้นทางโลจิสติกส์ที่ส�ำคัญของภาคเหนือ ที่เชื่อมต่อสู่ จ.เชียงราย และมีผสู้ ญ ั จรตลอดจนนักท่องเทีย่ วเดินทางผ่านจ�ำนวนมากในแต่ละวัน แต่วนั นีห้ ลายๆสิง่ ก�ำลังจะเปลีย่ นไป โดยการ เริ่มต้นจากก้าวเล็กๆ ของคนในชุมชน อย่าง นายชาญ เปียงสืบ ผู้ใหญ่บ้านท่าสี และป้าน้อย นางปภาพินท์ ทองพัด ที่เห็นความ ส�ำคัญของทรัพยากรด้านการท่องเที่ยว ทรัพย์สินอันมีค่าบนผืนดินบ้านท่าสี และร่วมทุ่มเทก�ำลังกายใจในการพัฒนาจนปัจจุบัน แหล่งท่องเที่ยวบ้านท่าสี ไม่ว่าจะเป็น ภาพเขียนสีโบราณ โครงกระดูกมนุษย์โบราณ ถ�้ำหินงอกหินย้อย ตลอดจน เส้นทางท่องเที่ยวและวิวทิวทัศน์ที่สวยงาม เริ่มเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางมากขึ้น ของดีตี้บ้านเฮา ฉบับนี้ จะน�ำ ผู้อ่านไปรู้จักกับเส้นทางของบุคคลทั้งสองกัน

ผู้ใหญ่ชาญ เปียงสืบ ผู้ค้นพบภาพเขียนสีโบราณ และถ�้ำวิมานเทวา ผู้ใหญ่ชาญ เป็นคนบ้านท่าสีโดยก�ำเนิด ก่อนมาด�ำรงต�ำแหน่งผู้ใหญ่บ้านในปี 2552 ผู้ใหญ่ชาญผ่านการเป็น คณะกรรมการหมู่บ้าน และสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านดงมาหลายสมัย และด้วยหน้าที่การงานนี่เอง ท�ำให้ครั้งหนึ่งในปี 2542 ผู้ใหญ่ชาญ ได้มี โอกาสเป็นคณะกรรมการร่วม ในการดูแลการพัฒนาก่อสร้างอาคารและทางเดินเข้าชมภาพเขียนสีประตูผา ซึง่ พึง่ ค้นพบได้ไม่นานในสมัย นั้น ซึ่งผู้ใหญ่ชาญ ได้พบการท�ำงานของผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่มาคัดลอกภาพและขุดค้นในบริเวณภาพเขียนสีประตูผา เพือ่ บันทึกประวัตศิ าสตร์อนั ส�ำคัญของประเทศไว้ และด้วยความสงสัยใคร่รู้ ในประเด็นทีว่ า่ ภาพเขียนสีประตูผานัน้ อยูไ่ ม่หา่ งจากดอยผ้า ก้าน บ้านท่าสี และมีแนวทางเดินเท้าในอดีตที่เชื่อมโยงหากัน ตลอดจนความทรงจ�ำในวัยเยาว์ที่เคยเป็นเด็กวัด และติดตามพระสงฆ์ไป เส้นทางในอดีตเพื่อขุดค้นไหโบราณ ในวันที่ 1 มีนาคม 2542 จึงได้ ตัดสินใจ ออกเดินส�ำรวจเลาะตีนเขาไปตามแนวดอยผาก้าน จนค้น พบภาพเขียนสีโบราณ ถึงสองกลุ่มใหญ่ๆ และอีกไม่นานหลังจาก นั้นผู้ใหญ่ชาญ ยังค้นพบถ�้ำวิมานเทวา(ปล่องลม) โดยความบังเอิญ เนื่องจากท่อนไม้ในป่าไหลลงมากระแทกหินที่ปิดปากถ�้ำอยู่จนมี ทางเข้าถ�ำ้ ขนาดพอคนลอดผ่าน แต่เมือ่ ผูใ้ หญ่เข้าไปส�ำรวจแล้วก็พบ ถึงความกว้างขวาง สวยงาม อลังการ ของหินงอกหินย้อยภายในถ�้ำ ซึง่ การค้นพบเหล่านีน้ เี่ อง ทีเ่ ป็นจุดเปลีย่ นและแรงผลักดันในปัจจุบนั

เส้นทางการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวบ้านท่าสี แม้การค้นพบครัง้ นีจ้ ะเป็นสิง่ ส�ำคัญทางประวัตศิ าสตร์และโบราณคดี แต่กลับไม่งา่ ยนักทีจ่ ะท�ำให้ทกุ คนเห็นพ้องถึงความส�ำคัญและ ร่วมกันขับเคลือ่ น ผูใ้ หญ่ชาญ ในสมัยทีเ่ ป็นสมาชิกสภา อบต.บ้านดง ได้เริม่ การพัฒนาพืน้ ทีดว้ ยการท�ำถนนดินจากเส้นทางหลังไปยังปาก ทางเข้าภาพเขียนสีและท�ำทางเดินไปยังภาพเขียน โดยได้รับการสนับสนุนจาก กฟผ.แม่เมาะ ตลอดจนเข้าไปบุกเบิกท�ำเส้นทางลงเข้าไป ท่องเที่ยวในถ�้ำวิมานเทวา ต่อมาได้พยายามเสนอเรื่องให้มีการตั้งงบประมาณในการขุดค้น กับ อบต.บ้านดง แต่ในเวลานั้นโครงการยังไม่ ผ่านการอนุมตั ิ และจากเหตุผลส่วนตัวและการขาดการสนับสนุน ท�ำให้ไม่ได้พฒ ั นาแหล่งท่องเทีย่ วต่อ จนในปี 2552 ได้รบั คัดเลือกให้เป็น ผูใ้ หญ่บา้ นท่าสี ประจวบเหมาะกับช่วงเวลาทีน่ กั โบราณคดี จากมหาวิทยาลัยศิลปากร น�ำโดย ดร.ประสิทธิ์ เอือ้ ประกูลวิทย์ อาจารย์คณะ โบราณคดี ที่เข้ามาศึกษาเก็บข้อมูลในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง ได้ค้นพบโครงกระดูกมนุษย์โบราณ อายุกว่า 12,000 ปี บริเวณใต้ภาพเขียนสี จึงเป็นหนึ่งในก�ำลังใจให้ผู้ใหญ่ชาญ ได้กลับมาสู่เส้นทางการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่อีกครั้ง

มุมมองต่อการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในชุมชน ปัจจุบนั คนในพืน้ ทีอ่ าจยังมองไม่เห็นความส�ำคัญของการพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ ว เพราะยังไม่เห็นประโยชน์หรือตัวเงินทีจ่ ะได้จากการ ท่องเที่ยว แต่หากมองอีกมุมหนึ่ง ทุกวันนี้ ต.บ้านดง ยังขาดแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นเอกลักษณ์ และการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวนี้ ยังเป็นการ ดูแลรักษาพื้นที่ อนุรักษ์ของมีค่าในชุมชน ซึ่งสิ่งเหล่านี้หากท�ำส�ำเร็จ จะอยู่คู่กับชุมชนอย่างยั่งยืนไปจนชั่วลูกชั่วหลาน ซึ่งตนเอง ในฐานะ ผู้บุกเบิก จะยังคงท�ำต่อไปด้วยใจจิตอาสา แม้ว่าในอนาคตจะเกษียณอายุและไม่ได้ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ใหญ่บ้านแล้วก็ตาม


แม่เมาะ

http://maemoh.egat.com

9

การขับเคลื่อนในอนาคต

นอกจากแหล่ ง โบราณคดี ส� ำ คั ญ ที่ ถู ก ค้ น พบแล้ ว ผู ้ ใ หญ่ ช าญยั ง เชื่ อ ว่ า ยั ง มี อี ก หลายสิ่ ง ที่ ร อการค้ น พบและค้ น คว้ า ใน แหล่ ง โบราณคดี ด อยผาก้ า น และหมู ่ บ ้ า นท่ า สี แ ห่ ง นี้ ซึ่ ง ในอนาคตหากที่ แ ห่ ง นี้ เริ่ ม เป็ น ที่ รู ้ จั ก และมี ห น่ ว ยงานให้ ค วามส�ำ คั ญ ก็อาจจะมีการพัฒนาและจัดสรรเป็นพื้นที่อุทยานแห่งชาติ โดยที่ภาครัฐจะเข้ามามีบทบาทในการขับเคลื่อนได้มากขึ้น

ป้าน้อย นางปภาพินท์ ทองพัด จากราชการสูม่ คั คุเทศก์และผูข้ บั เคลือ่ นการท่องเทีย่ วชุมชน

จากข้าราชการในต�ำแหน่งหัวหน้าฝ่ายบริหารศูนย์วิจัยของศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคเหนือ ชีวิตป้าน้อยหลังการเกษียณอายุราชการ ได้กลับมาอาศัยยังบ้านท่าสี บ้านเกิดของตนเองอีกครั้ง โดยเริ่มสนใจ การพัฒนาดอยผาก้าน บ้านท่าสี ให้กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยว เมื่อเข้าไปมีส่วนร่วมกับคณะขุดค้นโบราณคดี ได้เห็นการท�ำงาน และทีส่ ำ� คัญคือเห็นคุณค่าของแหล่งประวัตศิ าตร์ชมุ ชนแห่งนี้ ทัง้ ความส�ำคัญในเชิงประวัตศิ าสตร์ และวิว ทิวทัศน์ ที่สวยงาม มีพืชหลากหลายชนิดที่หายากและน่าสนใจ ซึ่งป้าน้อยเห็นว่านี่แหละคือต้นทุน ทางธรรมชาติที่ส�ำคัญ และสามารถพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว และสร้างอาชีพที่ยั่งยืนแก่ชุมชนได้

การสร้างเครือข่ายและความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ

จากความรู้และประสบการณ์ในอาชีพข้าราชการ ท�ำให้ป้าน้อยเห็นความส�ำคัญของการสร้างเครือข่ายและการดึงความร่วมมือ จากทุกภาคส่วนมาร่วมพัฒนาพื้นที่ ซึ่งที่ผ่านมา ในงานสัมมนา การอบรมภายนอก ที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว ไม่ว่าจะเป็นที่ กฟผ.แม่เมาะ หรือหน่วยงานเอกชนจัดขึ้นก็ตาม ป้าน้อยได้พยายามเข้าร่วม เพื่อศึกษาหาความรู้ และน�ำมาประยุกต์จริงในพื้นที่ตลอดมา ปัจจุบัน ป้าน้อยได้รับความร่วมมือจากเครือข่ายองค์กรต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย กฟผ.แม่เมาะ มหาวิทยาลัยต่างๆ รวมถึงบริษัทน�ำเที่ยวภาคเอกชน ให้มารู้จักและเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาการท่องเที่ยวบ้านท่าสีได้

งานมัคคุเทศก์ชุมชน แม้จะอยู่ในวัยเกษียณ แต่ป้าน้อยสามารถ เดินน�ำคนวัยรุ่นหนุ่มสาว ขึ้นเขาลัดเลาะตามชายป่าไปยังแหล่งท่องเที่ยวบริเวณภาพเขียนสี หรือ การปีนลงบันไดถ�ำ้ วิมานเทวา 67 ขัน้ ทีส่ งู ประมาณตึก 3 ชัน้ ได้สบาย สิง่ เหล่านี้ ป้าน้อยท�ำด้วยใจรักและอยากเห็นการพัฒนาของบ้านเกิดทัง้ สิน้ โดยปัจจุบนั เริ่มมีสมาชิกในชุมชนมาร่วมเป็นมัคคุเทศก์น�ำเที่ยว แม้ว่ารายได้จะยังไม่ แน่นอนนัก แต่ก็ถือเป็นจุดเริ่มต้นที่ดี ในการขยายโอกาสด้านอาชีพให้กับ ชุมชนในอนาคต

การขับเคลื่อนบ้านท่าสีสู่การเป็นแหล่งท่องเที่ยวในอนาคต ป้าน้อยพยายามชักชวนนักวิชาการ ตลอดจนภาคเอกชนทีม่ คี วามเชีย่ วชาญในการท่องเทีย่ ว มาให้ความรูก้ บั ผูน้ ำ� ชุมชนและสมาชิก ชุมชน ใน ต.บ้านดง เพือ่ ชีใ้ ห้เห็นความเป็นไปได้ในการเป็นแหล่งท่องเทีย่ วทีส่ ำ� คัญของ จ.ล�ำปาง โดยล่าสุดเมือ่ วันที่ 28-29 กรกฎาคม 2558 ทีผ่ า่ นมาได้จดั สัมมนาเชิงปฏิบตั กิ ารกิจกรรมส่งเสริมการท่องเทีย่ ว ต.บ้านดง ขึน้ ณ ค่ายประตูผา โดยมีกรู ดู า้ นการท่องเทีย่ วจากภาคเอกชน ที่ส�ำคัญเช่น ปางช้างแม่สา จ.เชียงใหม่ ฟาร์มแกะ Hug You จ.ล�ำปาง รวมถึงนักวิชาการด้านการท่องเที่ยวมาให้ความรู้ สิ่งส�ำคัญที่สุด คือการท�ำให้เห็นจริง ซึ่งวันนี้ป้าน้อยได้เริ่มลงมือท�ำด้วยตนเอง ทั้งการจัดทริปท่องเที่ยวสั้นๆ ในชุมชน การท�ำโฮมสเตย์เล็กๆ รองรับ นักท่องเที่ยวรวมถึงการสร้างสถานีท่าสี ส�ำหรับเป็นจุดขายสินค้าชุมชนให้กับนักท่องเที่ยวที่แวะพักระหว่างทาง ปัจจุบันเริ่มมีร้านกาแฟ มาเปิดกิจการข้างๆ มีนกั ท่องเทีย่ วแวะเวียนมาเกือบร้อยคนต่อวัน ซึง่ จุดนีเ้ องป้าน้อยมองว่า หากชุมชนเริม่ มองเห็นโอกาสและความเป็นไปได้ จะท�ำให้การขับเคลื่อนการท่องเที่ยวชุมชนโดยชุมชน เป็นไปอย่างเข้มแข็งและเกิดการเชื่อมโยงได้มากขึ้นจนเกิดความยั่งยืนในอนาคต


10

สวัสดี

รักษ์ โลก

เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับถ่านหิน

ถ่านหินในสายตาใครหลายๆคน อาจมองว่าเป็นสิง่ ทีน่ า่ กลัว สร้างมลพิษและผลกระทบมากมายต่อสิง่ แวดล้อม แต่ในความเป็น จริงแล้วถ่านหิน คืออะไร มีประโยชน์อย่างไรบ้าง รักษ์โลกฉบับนี้ จะพาคุณผู้อ่านไปรู้จักกับถ่านหินกัน ถ่านหิน คือ หินตะกอนชนิดหนึ่ง เกิดจากการทับถมของ ซากพืชซากสัตว์เป็นเวลาหลายล้านปี สามารถแยกประเภทตามล�ำดับ ชั้นได้เป็น 5 ประเภท คือ 1.พีต (Peat) เป็นชัน้ แรกในกระบวนการเกิดถ่านหิน ประกอบ ด้วยซากพืชซึ่งบางส่วนได้สลายตัวไปแล้วสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิง ทั่วไปได้ 2.ลิกไนต์ (Lignite) มีซากพืชหลงเหลืออยู่เล็กน้อย ค่า ความร้อนต�่ำ มีความชื้นมาก เป็นถ่านหินที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงในการ ผลิตไฟฟ้า และอุตสาหกรรมได้ แต่ควรมีระบบป้องกันและควบคุม ดังเช่นระบบก�ำจัดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ของโรงไฟฟ้าแม่เมาะ 3.ซับบิทูมินัส (Sub-bituminous) มีสีด�ำ ค่าความร้อน ปานกลาง – สูง มีคุณภาพกว่าลิกไนต์ เป็นเชื้อเพลิงที่มีคุณภาพ เหมาะสมในการผลิตกระแสไฟฟ้าและอุตสาหกรรม 4.บิทมู นิ สั (Bituminous) เป็นถ่านหินเนือ้ แน่น แข็ง ประกอบ ด้วยชั้นถ่านหินสีด�ำมันวาว ใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อการถลุงโลหะ 5.แอนทราไซต์ (Anthracite) เป็นถ่านหินที่มีลักษณะด�ำเป็น เงา มันวาวมาก มีปริมาณคาร์บอนสูงถึงร้อยละ 90 – 98 จึงเป็น ถ่านหินประเภทที่ดีที่สุดในโลก การใช้ ป ระโยชน์ ข องถ่ า นหิ น หลั ก ๆ คื อ ใช้ เ ป็ น เชื้ อ เพลิ ง ส� ำ หรั บ ผลิ ต กระแสไฟฟ้ า และ ใช้ ใ นอุ ต สาหกรรมต่ า งๆ เช่ น อุ ต สาหกรรมเหล็ ก ปู น ซี เ มนต์ ปู น ขาว และอุ ต สาหกรรมอื่ น ๆ

นอกจากประโยชน์ ด ้ า นเชื้ อ เพลิ ง แล้ ว ยั ง สามารถใช้ ป ระโยชน์ ถ่ า นหิ น ในด้ า นอื่ น ๆ ได้ ด ้ ว ย เช่ น การท� ำ ถ่ า นสั ง เคราะห์ (Activated Carbon) ซึ่ ง เป็ น สารดู ด กลิ่ น และสิ่ ง เจื อ ปนใช้ ใ น เครื่ อ งกรองน�้ ำ และเครื่ อ งใช้ ต ่ า งๆที่ ต ้ อ งการประโยชน์ ด ้ า น ความสะอาดของน�้ำ การท�ำคาร์บอนไฟเบอร์ (Carbon Fiber) ซึ่งเป็นวัสดุที่มีความแข็งแกร่ง แต่มีน�้ำหนักเบา เป็นต้น ปั จ จุ บั น ผู ้ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า ทั่ ว โลกต่ า งสนใจในการพั ฒ นา เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าจากถ่านหินให้สงู ขึน้ เนือ่ งจากถ่านหิน เป็นทรัพยากรหลักในการผลิตไฟฟ้าของโลกถึงร้อยละ 40 การพัฒนา เทคโนโลยีในปัจจุบันที่เรียกว่า โรงไฟฟ้าถ่านหินเทคโนโลยีสะอาด (Clean Coal Technology) จึงมีความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง ครอบคลุ ม ทุ ก กระบวนการผลิ ต ไฟฟ้ า และนอกจากจะช่ ว ย เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการผลิ ต ไฟฟ้ า แล้ ว ยั ง ลดการใช้ เชื้ อ เพลิ ง ลดผลกระทบต่ อ ชุ ม ชนและสิ่ ง แวดล้ อ ม รวมถึ ง ลดการปล่ อ ย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์อันเป็นสาเหตุของภาวะโลกร้อนอีกด้วย ที่มา : http://www.thaicapital.co.th/ http://www.eppo.go.th/

การแก้ไขปัญหาไฟฟ้าครัวเรือนขัดข้องในพื้นที่ อ.แม่เมาะ คลายสงสัย ฉบับนี้ น�ำข่าวคราวความคืบหน้าของการแก้ไขปัญหาไฟฟ้าขัดข้อง หรือไฟดับ ในพื้นที่ อ.แม่เมาะ มาบอกกัน โดยข้อมูลจากการประชุมก�ำนัน ผูใ้ หญ่บา้ น อ�ำเภอแม่เมาะ ครัง้ ที่ 8/2558 เมือ่ วันที่ 10 สิงหาคม 2558 ทีผ่ า่ นมา นายสุทศั น์ สมค�ำ ปลัดอ�ำเภอหัวหน้าฝ่ายบริหารงานปกครองได้แจ้งความคืบหน้าการแก้ไขว่า ตามที่เกิดเหตุการณ์กระแสไฟฟ้าขัดข้องเป็น วงกว้างในพื้นที่ อ.แม่เมาะ ตั้งแต่เดือนมกราคม-มิถุนายน รวม 13 ครั้ง โดยส่วนใหญ่เกิดในเดือนพฤษภาคม ที่มีพายุฝนและลมแรง บ่อยครั้งนั้น จังหวัดล�ำปางได้ประสานงานกับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดล�ำปาง (กฟภ.) เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวแล้ว โดย กฟภ. ในฐานะหน่วยงานรับผิดชอบ ได้ท�ำการส�ำรวจและเร่งรัด เพื่อเปลี่ยนอุปกรณ์ในระบบจ�ำหน่าย รวมถึงท�ำการตัดต้นไม้ใกล้ แนวสายไฟ เพื่อท�ำให้ระบบจ�ำหน่ายมีความมั่นคงยิ่งขึ้น และหากพบเหตุไฟฟ้าดับสามารถโทรแจ้งสายด่วนการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เบอร์ 1129 PEA Call Center ได้ตลอด 24 ชั่วโมง


แม่เมาะ

11

http://maemoh.egat.com

เปิดบ้านต้อนรับ พี่ เพื่อน น้อง “ผู้ ให้สุขใจ ประทับใจผู้มาเยือน” “ผู้ให้สุขใจ ประทับใจผู้มาเยือน” เสียงสะท้อนจากผู้เข้าร่วมโครงการเปิดบ้านต้อนรับ พี่ เพื่อน น้อง และคณะผู้จัดงานจาก การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แม่เมาะ ซึ่งกิจกรรมนี้จัดอย่างต่อเนื่องเป็นปีที่ 6 โดยมีกลุ่ม พี่ เพื่อน น้อง ในพื้นที่ จ.ล�ำปาง จ�ำนวนทั้งสิ้น 14 รุ่น รวมกว่า 1,000 คน เข้ามาเยี่ยมชมภารกิจการท�ำงานของ กฟผ.แม่เมาะ ทั้งในส่วนของโรงไฟฟ้าและ เหมืองแม่เมาะ พร้อมกันนี้ยังมีการจัดกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปฏิบัติงานจิตอาสาจาก กฟผ.แม่เมาะ และชุมชน อีกด้วย เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2558 ณ อาคารประชาสัมพันธ์แม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แม่เมาะ ต.แม่เมาะ อ.แม่ เ มาะ จ.ล� ำ ปาง ว่ า ที่ ร.ต.ณรงค์ ศั ก ดิ์ คุ ณู ป ถั ม ภ์ ผู ้ ช ่ ว ย ผู้อ�ำนวยการฝ่ายจัดการโรงไฟฟ้าแม่เมาะ – บริหาร กฟผ.แม่เมาะ เป็นประธานเปิดโครงการเปิดบ้านต้อนรับ พี่ เพื่อน น้อง รุ่นที่ 11 จากชุมชนล�ำปางคูณ ชุมชนป่าขาม หมู่บ้านธนวรรณ และชุมชน สั น ติ ภ าพ อ.เมื อ ง จ.ล� ำ ปาง จ� ำ นวน 70 คน โดยมี ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง าน จิตอาสา กฟผ.แม่เมาะ ให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น นายศราวุธ ศิรธิ ร พนักงานวิชาชีพระดับ 8 แผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ กฟผ.แม่เมาะ ในฐานะผูด้ ำ� เนินโครงการฯ กล่าวว่า “โครงการเปิดบ้านต้อนรับ พี่ เพือ่ น น้อง เริม่ ต้นครัง้ แรกเมือ่ ปี 2553 จากการที่ กฟผ.แม่เมาะ ตระหนักถึงความส�ำคัญของการสร้างความ เข้าใจภารกิจ และการด�ำเนินงานของ กฟผ.แม่เมาะ จากชุมชนรอบโรงไฟฟ้าทีเ่ ปรียบเสมือนเพือ่ นบ้าน ทีค่ วรรูจ้ กั เข้าใจ และเป็นมิตรทีด่ ตี อ่ กัน ในช่วงแรกมีกลุม่ เป้าหมาย คือเยาวชน ผูส้ งู อายุ ผูน้ ำ� ชุมชน และสมาชิกชุมชนใน อ.แม่เมาะ ทัง้ หมด ต่อมาจึงขยายกลุม่ เป้าหมายไปยังชุมชน ใน จ.ล�ำปาง กิจกรรมในโครงการมีทงั้ การน�ำเยีย่ มชม และสัมผัสการท�ำงานของ กฟผ.แม่เมาะ อย่างใกล้ชดิ เพือ่ ให้กลุม่ ประชาชนได้มคี วามรู้ ความเข้าใจทีถ่ กู ต้องเกีย่ วกับการด�ำเนินงานของ กฟผ.แม่เมาะ และสามารถน�ำไปเผยแพร่แก่ครอบครัว ญาติมติ ร เพือ่ นฝูงได้ จากการประเมิน ผลผูเ้ ข้าร่วมโครงการฯ ทุกรุน่ พบว่ากิจกรรมนีเ้ ป็นทีพ่ งึ พอใจของผูร้ ว่ มงานส่วนใหญ่ นอกจากนีผ้ เู้ ข้าร่วม โครงการ เปิดบ้านฯ รุน่ ที่ 11 ยังให้กำ� ลังใจแก่ กฟผ.แม่เมาะ ด้วยการจัดท�ำป้ายและกล่าวสนับสนุน การก่อสร้างโรงไฟฟ้าทดแทน เนือ่ งจากชุมชนได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของการใช้ไฟฟ้าในอนาคต รวมถึงมัน่ ใจในภารกิจของ กฟผ. ซึง่ สิง่ เหล่านีส้ ะท้อนให้เห็นถึงความเข้าใจและยอมรับการด�ำเนิน งานของ กฟผ. จากมุมมองประชาชนใน จ.ล�ำปาง ได้เป็นอย่างดี”

กฟผ.แม่เมาะ ร่วมกับส่วนราชการ อ.แม่เมาะ ปล่อยพันธุ์ปลา เฉลิมพระเกียรติฯ เมื ่อ วันที่ 6 สิงหาคม 2558 ณ อ่างเก็บน�้ำเขื่อนแม่จาง ผู้ปฏิบัติงาน กฟผ.แม่เมาะ ตลอดจนส่วนราชการและผู้น�ำชุมชน

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง นายวีระเดช สมวรรณ ปลัดจังหวัดล�ำปาง เป็นประธาน เปิดงานปล่อยพันธุ์ปลา เนื่องในโอกาสเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงเจริญพระชนมพรรษา ครบ 83 พรรษา ในปี 2558 ซึง่ กฟผ.แม่เมาะ ร่วมกับ กฟผ.เขือ่ นสิรกิ ติ ิ์ และประมงอ�ำเภอแม่เมาะ จัดขึ้น โดย นายชณิกร เด่นแก้ว ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายการผลิตโรงไฟฟ้าแม่เมาะ นายสมชาย ติวะตันสกุล ผู้อ�ำนวยการฝ่ายจัดการโรงไฟฟ้าแม่เมาะ พร้อมด้วยผู้บริหารและ

อ.แม่เมาะ ร่วมปล่อยพันธุ์ปลาบึก ปลานวลจันทร์เทศ ปลากาด�ำ และปลายี่สกเทศ รวม 771,200 ตัว ลงสู่อ่างเก็บน�ำ้ เขื่อนแม่จาง เพื่อประโยชน์ในการประกอบอาชีพประมง ตลอดจนเพื่อการ ฟื้นฟูและรักษาสภาพแวดล้อมด้านนิเวศวิทยาในพื้นที่ อ.แม่เมาะ และพื้ น ที่ อ� ำ เภอใกล้ เ คี ย ง พร้ อ มกั น นี้ ไ ด้ ม อบพั น ธุ ์ ป ลาแก่ ผู้น�ำชุมชน และเกษตรกรในพื้นที่ อ.แม่เมาะ เพื่อน�ำไปเพาะเลี้ยง เป็นแหล่งอาหารและรายได้ ของชุมชนต่อไปอีกด้วย


12

สวัสดี

ประมวล

ภาพกิจกรรม

1

1

2

4 ส.ค. 58 กฟผ.แม่ เ มาะ ได้ รั บ รางวั ล การจั ด การ ของเสียที่ดีตามหลัก 3Rs (3Rs Awards) จากกรมโรงงาน อุตสาหกรรม เป็นปีแรก ซึง่ รางวัลดังกล่าวมอบให้แก่โรงงาน อุตสาหกรรม ที่มีการบริหารจัดการของเสียที่ดีและถูกต้อง ตามกฎหมาย

3 2

4

3

4

5

7 ส.ค. 58 กฟผ.แม่เมาะ จัดกิจกรรม "สร้างฝาย ถวาย แม่ของแผ่นดิน" ร่วมกับภาครัฐ สถาบันการศึกษา และ ประชาชน ต.แม่เมาะ จ�ำนวน 21 ฝาย เพื่อถวายเป็น พระราชกุศลแก่สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ และสร้างความชุ่มชื้นให้กับพื้นที่ต้นน�้ำและป่าชุมชน

10 ส.ค. 58 กฟผ.แม่ เ มาะ มอบงบสนั บ สนุ น การ ด�ำเนินกิจกรรมของชมรมก�ำนันผู้ใหญ่บ้าน อ.แม่เมาะ จ� ำ นวน 88,000 บาท แก่ น ายถนอม กุ ล พิ นิ จ มาลา ประธานชมรมก�ำนันผูใ้ หญ่บา้ น เนือ่ งในวัน ก�ำนันผูใ้ หญ่บา้ น ประจ�ำปี 2558

5

6

29 ก.ค. 58 จังหวัดล�ำปาง ร่วมกับ กฟผ.แม่เมาะ มอบทุน การศึกษาจากกองทุนสงเคราะห์และพัฒนาจังหวัดล�ำปาง ประจ�ำปี 2558 จ�ำนวน 70 ทุน ทุนละ 5,000 บาท รวม 350,000 บาท แก่เด็กนักเรียน ใน จ.ล�ำปาง ที่มีผล การเรียนดีแต่ขาดทุนทรัพย์ โดยกองทุนดังกล่าวมาจาก รายได้จากการจัดการแข่งขันงานเดิน-วิง่ เฉลิมพระเกียรติฯ แม่เมาะฮาล์ฟมาราธอน ที่ กฟผ.แม่เมาะ จัดขึ้นในทุกๆ ปี

12 ส.ค. 58 นายอ� ำ เภอแม่ เ มาะ น� ำ คณะหั ว หน้ า ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น และพสกนิกร ใน อ.แม่เมาะ กว่า 400 คน ร่วมถวายพระพร ในงานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา 12 สิงหาคม

ส.ค. 58 กฟผ.แม่เมาะ ร่วมปลูกป่า ในโครงการ 14 "ประชาอาสาปลูกป่า รวมใจภักดิร์ กั ษ์พนื้ ทีส่ เี ขียว 83 พรรษา มหาราชินี" ที่ อบต.จางเหนือ จัดขึ้น เพื่อเฉลิมพระเกียรติ และเพิ่มพื้นที่สีเขียวของผืนป่าในชุมชน

6


แม่เมาะ

13

http://maemoh.egat.com

7

16 ส.ค. 58 ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน กฟผ.แม่เมาะ ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในกิจกรรม "Bike for Mom ปั่นเพื่อแม่" เพื่ อ แสดงถึ ง ความจงรั ก ภั ก ดี ต ่ อ สถาบั น กษั ต ริ ย ์ แ ละ ความรักที่มีต่อแม่ของแผ่นดิน โดย จ.ล�ำปาง มีผู้เข้าร่วม กิจกรรม รวม 2,997 คน

8

9

18 ส.ค. 58 นายบุญเทียน กาค�ำ นายกองค์การบริหาร ส่ ว นต� ำ บลนาสั ก พร้ อ มด้ ว ยเจ้ า หน้ า ที่ เข้ า ตรวจสอบ การปฏิ บั ติ ต ามมาตรการป้ อ งกั น และแก้ ไขผลกระทบ สิง่ แวดล้อม โครงการเหมืองแร่หนิ ปูนเพือ่ อุตสาหกรรมเคมีฯ โดย กฟผ.แม่เมาะ ใช้หินปูนดังกล่าว ในระบบก�ำจัดก๊าซ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ของโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ซึง่ เป็นหนึง่ ในการ ควบคุมคุณภาพอากาศและป้องกันผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม

7

19 ส.ค. 58 กฟผ.แม่เมาะ มอบพันธุต์ น้ มะนาว เพือ่ สนับสนุน

โครงการปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์ ที่ชุมชนบ้านห้วยเป็ด ต.แม่เมาะ น�ำโดยนายณัฐพงษ์ อบแก้ว ผู้ใหญ่บ้านห้วยเป็ด จัดท�ำขึน้ หลังจากได้รว่ มอบรมการปลูกมะนาวฯ กับศูนย์ชวี วิถี เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กฟผ.แม่เมาะ ในช่วงต้นปีที่ผ่านมา

10

8

22 ส.ค. 58 กฟผ.แม่ เ มาะ ให้ ก ารสนั บ สนุ น วิ ท ยากร และงบประมาณจัดโครงการ "ต้นกล้าพลเมือง รักษ์สงิ่ แวดล้อม" ที่ นั ก ศึ ก ษาสาขาวิ ช าสั ง คมศึ ก ษา คณะศึ ก ษาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ จั ด ขึ้ น เพื่ อ สร้ า งกระบวนการ สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบมีส่วนร่วม แก่นักเรียน รร.บ้านใหม่ รัตนโกสินทร์ และ รร.สบจางวิทยา ต.นาสัก อ.แม่เมาะ 9

11

22 ส.ค. 58 กฟผ.แม่เมาะ ร่วมสนับสนุนการจัดงานและ

มอบเกียรติบัตร ในพิธีปิดโครงการวัยเรียน วัยใส ห่วงใย สุขภาพเด็กและเยาวชน อ.แม่เมาะ ที่สภาเด็กและเยาวชน อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง จัดขึน้ เพือ่ ให้ความรูเ้ กีย่ วกับการใช้ชวี ติ และการปฏิบัติตนที่ถูกต้องแก่เยาวชนในพื้นที่ อ.แม่เมาะ

12

24 ส.ค. 58 กฟผ.แม่เมาะ จัดพิธีปิดและมอบรางวัล ในโครงการเสริมสร้างความสามารถชุมชน ธนาคารไข่ฯ ซึ่งจัดขึ้นต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2556 โดยชุมชนบ้านทุ่งกล้วย ต.แม่เมาะ ได้รบั รางวัลชนะเลิศธนาคารไข่ตน้ แบบ จากการ บริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและจ�ำนวนเงินหมุนเวียน ในกลุ่มสูงสุด

11

10

12


14

โรคซึมเศร้า สัญญาณอันตรายใกล้ตัว

สวัสดี

เวลามีข่าว เกี่ยวกับเหตุการณ์ฆ่าตัวตาย คุณผู้อ่านคงคุ้นหูกับค�ำว่าโรคซึมเศร้า ซึ่งเป็นสาเหตุส�ำคัญของ

การฆ่าตัวตาย สังคมไทยยังมีความเข้าใจในเรื่องโรคซึมเศร้าไม่มากนัก ทั้งที่โรคนี้ไม่ใช่เรื่องไกลตัว อาจเกิดขึ้นได้กับตัวเราเอง หรือผู้ที่อยู่รอบๆตัวเรา และยังท�ำให้ผู้ป่วยโรคนี้ขาดการดูแลอย่างเข้าใจ จนเลือกที่จะจบปัญหาต่างๆ ด้วยการปลิดชีวิต ตนเอง อโรคาพาสุขฉบับนี้จึงพาคุณผู้อ่านมารู้จักและเข้าใจโรคซึมเศร้ากัน รู้จักโรคซึมเศร้า

เป็นอาการป่วยทั้งร่างกาย จิตใจ และความคิด ซึ่งจะส่งผล กระทบต่อชีวิตประจ�ำวัน ท�ำให้ไม่สามารถประสานความคิด ความรู้สึก ของตัวเองเพื่อแก้ปัญหา เนื่องจากมีความผิดปกติของระดับสารเคมี ที่เซลล์สมองสร้างขึ้น เพื่อรักษาสมดุลของอารมณ์ โดยพบว่าผู้ที่ ฆ่าตัวตายมากถึงร้อยละ 60 ป่วยเป็นโรคซึมเศร้า คนที่เป็นโรคนี้ เมื่ อ ประสบกั บ ความผิ ด หวั ง หรื อ ปั ญ หาในชี วิ ต ไม่ ว ่ า จะเป็ น เรื่ อ ง ครอบครัว ความรัก หรือการศึกษา ผู้ป่วยจะเกิดความคิดฆ่าตัวตาย ได้ง่ายกว่าคนปกติถึง 3 เท่า โรคซึมเศร้าเป็นโรคที่ต้องท�ำการศึกษาและรักษาเป็นรายกรณี จากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ หรือคนรอบข้างที่ต้องช่วยกันดูแลเยียวยาและ เป็นก�ำลังใจให้แก่ผปู้ ว่ ย จึงไม่ควรสรุปสาเหตุการฆ่าตัวตายของผูอ้ นื่ ด้วย ความคิดเห็นของตนเอง เพราะผูต้ ายจะเสียหาย ถูกสังคมมองว่าอ่อนแอ ผู้เกี่ยวข้องจะถูกมองว่าเป็นสาเหตุให้ผู้อื่นฆ่าตัวตายโดยไม่รู้ข้อเท็จจริง สังคมและเยาวชน จะสนใจแต่เรื่องผู้อื่นจนเกิดพฤติกรรมเลียนแบบได้ สถิติการฆ่าตัวตายในไทย

• 3,612 คน/ปี เป็นตัวเลขของผู้ฆ่าตัวตายส�ำเร็จในประเทศไทย • ในแต่ ล ะวั น จะมี ค นฆ่ า ตั ว ตายถึ ง 12 คน/วั น หรื อ 1 คน/ ทุกๆ 2 ชั่วโมง • การฆ่าตัวตายส�ำเร็จของคน 1 คน จะมีผลกระทบต่อคนอื่นอีก อย่างน้อย 5 คน ได้แก่ พ่อ แม่ ครอบครัว เพื่อนรอบข้าง คนรัก • ดั ง นั้ น ถ้ า ในประเทศไทยมี ก ารฆ่ า ตั ว ตายส� ำ เร็ จ ปี ล ะประมาณ 4,000 คน จะมีผไู้ ด้รบั ผลกระทบทีต่ อ้ งทุกข์ทนกับการสูญเสียปีละ ไม่ต�่ำกว่า 20,000 คน ทุกวันที่ 10 กันยายนของทุกปี องค์การอนามัยโลกก�ำหนดให้วันดังกล่าว เป็นป้องกันการฆ่าตัวตายโลก (World Suicide Prevention Day)

เราเป็นโรคซึมเศร้าหรือเปล่า? ลองเช็คดูง่ายๆจากอาการ ดังนี้

1 2 3 4 5 6 7 8 9

มีอารมณ์ซึมเศร้า หงุดหงิด ก้าวร้าว กระวนกระวาย อยู่ไม่สุข หรือเชื่องช้าลง นอนไม่หลับ หรือหลับมากเกินไป ลดความสนในกิจกรรมต่างๆรอบตัวแทบทั้งหมด รับประทานอาหารมากขึ้น หรือ น้อยลง จนผิดปกติ อ่อนเพลีย ไร้เรี่ยวแรง รู้สึกว่าตนเองไร้ค่า ต�ำหนิตัวเอง ไม่มีสมาธิ เหม่อลอย หรือลังเลต่อการตัดสินใจทุกอย่าง คิดเรื่องการตาย หรือพยายามฆ่าตัวตาย

หากมีอาการต่อไปนี้ 5 อาการหรือมากกว่า ให้สงสัยว่าเป็น โรคซึมเศร้า และถ้ามีอาการมากกว่า 2 สัปดาห์ ควรขอค�ำปรึกษา จากแพทย์ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญ หรื อ สายด่ ว นสุ ข ภาพจิ ต โทร.1667 ได้ตลอด 24 ชั่วโมง ทีม่ า : adayfoundation

: HYPERLINK "http://health.kapook.com/" http://health.kapook.com/ : https://www.facebook.com/earnpiyada

กองการแพทย์และอนามัยโรงไฟฟ้าแม่เมาะ

แจ้งก�ำหนดออกหน่วยบริการสุขภาพเคลื่อนที่เดือนกันยายน 2558 ในพื้นที่ อ.แม่เมาะ จ�ำนวน 4 ครั้งดังนี้ วันที่ 3 บ้านสวนป่าแม่จาง ต.สบป้าด, วันที่ 10 บ้านสบเติ๋น ต.สบป้าด, วันที่ 17 บ้านปางป๋วย ต.นาสัก, วันที่ 22 บ้านวังน�ำ้ ต้อง ต.นาสัก ทั้งนี้ในเดือนสิงหาคม 2558 ที่ผ่านมา กองการแพทย์และ อนามัยโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ได้ออกให้บริการตรวจสุขภาพเคลื่อนที่ มีผู้เข้า รับการตรวจรักษาได้แก่ หมู่บ้านใหม่รัตนโกสินทร์ ต.นาสัก จ�ำนวน 195 ราย, หมู่บ้านแม่เกี๋ยง ต.สบป้าด จ�ำนวน 63 ราย เป็นต้น โรคซึ ม เศร้ า เป็ น โรคที่ ต ้ อ งท� ำ การศึ ก ษาและรั ก ษาเป็ น รายกรณี จากแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญ หรือคนรอบข้างทีต่ อ้ งช่วยกันดูแลเยียวยา และเป็นก�ำลังใจให้แก่ผู้ป่วย จึงไม่ควรสรุปสาเหตุการฆ่าตัวตายของ

ผู้อื่นด้วยความคิดเห็นของตนเอง เพราะผู้ตายจะเสียหาย ถูกสังคมมอง ว่าอ่อนแอ ผู้เกี่ยวข้องจะถูกมองว่าเป็นสาเหตุให้ผู้อื่นฆ่าตัวตายโดยไม่รู้ ข้อเท็จจริง สังคมและเยาวชน จะสนใจแต่เรื่องผู้อื่นจนเกิดพฤติกรรม เลียนแบบได้


แม่เมาะ

15

http://maemoh.egat.com

ภาพเขียนสีโบราณ ดอยผาก้าน บ้านท่าสี ต้นสายอารยธรรมโบราณอายุกว่า 12,000 ปี

เมื่อพูดถึงภาพเขียนสีโบราณในภาคเหนือ ภาพเขียนสีประตูผา ต.บ้านดง อ.แม่เมาะ เป็นหนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยว ที่หลายคนคงนึกถึงเป็นอันดับแรก แต่น้อยคนนักที่จะรู้ว่านอกจากแหล่งภาพเขียนสีประตูผาแล้ว ใน อ.แม่เมาะ ยังมีแหล่ง ภาพเขียนสีโบราณอยูอ่ กี หนึง่ ในนัน้ ก็คอื แหล่งโบราณคดีภาพเขียนสีดอยผาก้าน บ้านท่าสี ทีอ่ ยู่ไม่ไกลจากภาพเขียนสีประตูผา และผ่านการพิสูจน์ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์แล้ว พบว่ามีอายุถึง 10,000-12,000 ปี ย้อนหลังไปหลายสิบปี ในเดือนมีนาคม 2542 ภาพเขียนสี ดอยผาก้าน บ้านท่าสี ถูกค้นพบครั้งแรกโดยนายชาญ เปียงสืบ ผู้ใหญ่บ้านท่าสี ต่อมามีการศึกษาทางวิชาการและงานด้าน โบราณคดีอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งในปี 2553 คณะวิจัยจาก มหาวิทยาลัยศิลปากรและผูว้ จิ ยั จากประเทศฝรัง่ เศส ได้ขดุ พบเจอ โครงกระดูกมนุษย์โบราณ อายุประมาณ 10,000-12,000 ปี รวมถึง เครือ่ งมือหินต่างๆ เช่นหินเจาะรู เปลือกหอย เครือ่ งใช้มอื เครือ่ งใช้ โบราณ บริเวณหลุมศพซึ่งอยู่ใต้บริเวณภาพเขียนสี จากค�ำบอกเล่าของผู้ใหญ่ชาญ เชื่อว่าดอยผาก้าน เป็น เส้ น ทางสั ญ จรของคนในอดี ต เนื่ อ งจากตลอดแนวของดอย ผาก้าน มีตาน�้ำ และถ�้ำ ที่คณะเดินทางสามารถใช้ดื่มกินและ พักอาศัยชั่วคราวได้ ส่วนภาพเขียนสีที่เกิดขึ้นนั้น มีลักษณะและ การใช้สใี กล้เคียงกับภาพเขียนสีประตูผา อาจเกิดจากกลุม่ คณะ เดินทางที่ผ่านมาในเส้นทางนี้ ต้องการท�ำจารึกบอก เรื่องราว หรืออาจเป็นพิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับ การตายและการจัดการศพ จึงพบหลุมฝังศพ ใต้ภาพเขียนสีทั้งสองจุดบนดอยผาก้านแห่งนี้

นอกจากต�ำนานภาพเขียนสีแล้ว ยังมีเกร็ดเล็กน้อยเกี่ยว กับชื่อดอยผาก้าน ซึ่งมีชื่อเรียกมาจากสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ทีท่ หารอเมริกา ทิง้ ระเบิดใส่ฐานทัพญีป่ นุ่ บริเวณหนองบอม ต.บ้านดง และทหารญี่ปุ่นที่เหลือรอดได้หลบหนีมาซ่อนอยู่บนผาแห่งนี้ จนเรียกว่า ผาก๊าน (ภาษาเหนือแปลว่า แพ้) และเพี้ยนค�ำเป็น ดอยผาก้านในปัจจุบัน ส�ำหรับนักท่องเที่ยวหรือผู้สนใจ เข้าเยีย่ มชม สามารถติดต่อสอบถามได้ทกี่ ลุม่ มัคคุเทศก์ ชุมชนบ้านท่าสี ป้าน้อย โทร 081—0288301, พี่หมู 081-7969246 และคุณนัท 096-6317982

. . . ่ ี ท ย ลงเอ "ก๋วยเตีย๋ วสองตายาย" ละกัน ตลาดห้วยเป็ดที่ตั้งอยู่หมู่บ้านห้วยเป็ด ต.แม่เมาะ ไม่ไกล จาก กฟผ.แม่เมาะ อดีตแห่งย่านความเจริญเคยคราคร�่ำไปด้วย ร้านค้า บ้านพักพนักงานโรงปุ๋ย ตามที่ผู้คนวัยกว่า 50 ปี พอจะ ย้อนเล่าความหลังให้ฟัง แทบไม่น่าเชื่อว่าที่น่ีเคยมีโรงฉายหนัง เคียงบ่าเคียงไหล่โรงหนังฟ้าลานนาหรือเวียงเหนือในเมืองล�ำปาง สนนราคารอบละ 5 บาท มีโต๊ะสนุกเกอร์และแหล่งบันเทิง ที่คึกคักในยามค�่ำคืน พร้อมๆกับตลาดสดรอบเย็นที่พนักงาน และชุมชนมาจับจ่ายแบบแบกะดินสองข้างทางด้วยผักปลา จากท้องไร่ท้องนา นับว่าเป็นแหล่งเศรษฐกิจชุมชน อ.แม่เมาะ ในตอนนั้ น หลั ง ปิ ด โรงปุ ๋ ย พนั ก งานอพยพโยกย้ า ย อี ก ทั้ ง มีการก่อสร้างเหมืองและโรงไฟฟ้าเกิดการพัฒนา กระจายความ เจริญไปในหลายหมู่บ้าน

แม้ตลาดห้วยเป็ดจะเงียบเหงาลง แต่ความเป็นหมู่บ้าน เรี ย บง่ า ยยั ง คงสภาพอยู ่ ร้ า นรวงยั ง มี เ ค้ า โครงของตลาด ที่ส�ำคัญยังมีของอร่อยให้เข้ามาชิม “ร้านก๋วยเตี๋ยวสองตายาย” ของ นางโสภิณ สุขเกษม ร้านเล็กๆแต่อบอุ่น ด้วยความใจดีต่อลูกค้าและเผื่อแผ่ไปยังลูกๆ ทั้ง 11 ตัว ส่วนความอร่อยการันตีจาก 40 ปี ที่ขายก๋วยเตี๋ยวมาตั้งแต่อยู่กับตาตอนเป็น ทหารค่ายประตูผา เรื่อยมาจนมาซื้อห้องแถว ตรงตลาดนี้ เมื่อปี 2542 แม้ลูกสาวจะเป็นถึง รองหัวหน้าฝ่ายต่างประเทศของบริษทั การบินไทย แต่ ต ายายก็ รั ก ความเป็ น อยู ่ ที่ แ ม่ เ มาะนี้ ม ากจนไม่ คิ ด จะเลิ ก จนบางคนเรียกก๋วยเตี๋ยวการบินไทย บ้างก็เรียกก๋วยเตี๋ยวชาม ยักษ์ ราคา 30-40 บาท แต่อิ่มมาก ยิ่งน�้ำซุปขั้นเทพที่มีความหอม ของกระดูกหมูและชิ้นหมูเปื่อยหวานๆให้ซดฟรี ไม่เพิ่มเงิน ยังมี น่องไก่ หมูหมักนุ่มๆอีกนะ ปรุงรสด้วยน�้ำพริกน�้ำส้มแบบเขียว กับแดง และเครื่องปรุงปั่นเองกับมือ มาชิมเองเลยละกัน จากแยก หางฮุง ตรงเข้ามาตลาดห้วยเป็ด เลยร้านไข่หงส์สชู้ วี ติ สุดซอยถึงเลย โทร. 093-530-5987 ปิดวันอาทิตย์ ร้านเปิด 7 โมงเช้า มาเร็ว หน่อยไม่ต้องโทรก็ได้ ยายไม่ค่อยถนัดรับโทรศัพท์จ้า


เดือนนี้มีอะหยัง

28 ส.ค.

กฟผ.แม่เมาะ ร่วมเวทีทบทวนกิจกรรมการมีสว่ นร่วมชุมชนของโครงการ หมูบ่ า้ นผลิตและแปรรูปเห็ดสูผ่ ลิตภัณฑ์อาหารเพือ่ สุขภาพ โดยมีกลุม่ สมาชิก วิสาหกิจชุมชนฯ เพาะเห็ดในเรือนโรง บ.เวียงหงส์ลา้ นนา เทศบาลต�ำบล แม่เมาะ ร่วมแลกเปลีย่ นความคิดเห็น ณ กลุม่ วิสาหกิจชุมชนในเรือนโรงบ้าน เวียงหงส์ลา้ นนา

กฟผ.แม่เมาะ จัดโครงการเติมน�้ำใจให้ไออุ่นผู้สูงอายุ ณ ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ จ.ล�ำปาง ร่วมบริจาคสิ่งของ ได้ที่อาคารบริหารโรงไฟฟ้าแม่เมาะ (ตึกแดง) กฟผ.แม่เมาะ ต.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง โทร.054 – 252745 และศูนย์จิตอาสา กฟผ.แม่เมาะ โทร.054 – 256091

2 ก.ย. กฟผ.แม่ เ มาะ และสมาคมพั ฒ นาแม่ เ มาะฯ จั ด อบรมบู ร ณาการ ภาษาอังกฤษในการเรียนการสอนให้แก่ครูผู้สอนจากสถานศึกษาในกลุ่ม เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาลิกไนต์ 2 โดยเชิญ อ.คริสโตเฟอร์ ไรท์ เจ้าของ ร.ร. Chris English มาบรรยายในหัวข้อ Inspiration for English และ English is fun indeed! ณ ห้องเมาะหลวง ศูนย์ฝกึ อบรมแม่เมาะ กฟผ.แม่เมาะ

4 ก.ย.

7 ก.ย กฟผ.แม่เมาะ จัดกิจกรรมถ่ายทอดความรูก้ ารจัดตัง้ สหกรณ์ แก่สมาชิกในชุมชน บ.สบป้าด ต.สบป้าด อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง ณ ห้องประชุมมูลนิธริ กั ษ์แม่เมาะ ต.แม่เมาะ

ชวนฟังรายการวิทยุ

กฟผ. ชุมชน คนบ้านเดียวกัน R-Radio Network FM 99.50 MHz สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา และพัฒนาอาชีพ วิทยาลัยเทคโนโลยี และการจัดการ กฟผ.แม่เมาะ ทุกวันจันทร์ และ วันพฤหัสบดี เวลา 10.00-12.00 น. ช่วงจิตอาสา เวลา 15.00-17.00 น. “สบายใจ ไปกับการไฟฟ้า” วิทยุคนแม่เมาะ FM 90.50 MHz สถานีวิทยุเพื่อคนแม่เมาะ FM 91.50 MHz สถานีวิทยุต�ำรวจภูธรภาค 5 ล�ำปาง ทุกวันศุกร์ เวลา 13.00-15.00 น. วันเสาร์ เวลา 10.00-11.00 น. โดย อ.วิเชียร บุญทา

“MCOT RADIO” FM 99.00 MHz สถานีวิทยุ อสมท.ล�ำปาง ทุกวัน จันทร์-ศุกร์ เวลา 10.00-11.00 น. ด�ำเนินรายการ โดย อ.วิเชียร บุญทา และดีเจใหม่ มติมนต์ ค�ำมณี

คณะผู้จัดท�ำ ที่ปรึกษา

นายถาวร งามกนกวรรณ นายนิกูล ศิลาสุวรรณ

ผู้ช่วยผู้ว่าการเหมืองแม่เมาะ ผู้ช่วยผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า2

นายสมชาย ติวะตันสกุล

ผู้อ�ำนวยการฝ่ายจัดการโรงไฟฟ้าแม่เมาะ

บรรณาธิการบริหาร บรรณาธิการ

หัวหน้าแผนกสื่อมวลชนสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ

กองบรรณาธิการ

แผนกสื่อมวลชนสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ แผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ แผนกประชาสัมพันธ์เหมืองแม่เมาะ ศูนย์จิตอาสาโรงไฟฟ้าแม่เมาะ

ออกแบบและจัดท�ำ

แผนกสื่อมวลชนสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ โทรศัพท์ 054-256086 อีเมล์ CSRmaemoh@egat.co.th ร้านกล้าคิดก�ำลังดี โทรศัพท์ 081-8812109 อีเมล์ gumlangdee@gmail.com

ติดต่อเรา : โรงไฟฟ้าแม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 800 หมู่ที่ 6 ต.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง 52220 เหมืองแม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 801 หมู่ที่ 6 ต.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง 52220

http:/ / maemoh.egat.com tel : 054-256070 fax : 054-256988 ศูนย์จิตอาสา กฟผ. แม่เมาะ tel : 054-256091 fax : 054-256098 แผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ tel : 054-252730 fax : 054-252731 แผนกประชาสัมพันธ์เหมืองแม่เมาะ tel : 054-254054 fax : 054-254052 สนามกอล์ฟ กฟผ.แม่เมาะ tel : 054254970 พิพิธภัณฑ์ศูนย์ถ่านหินลิกไนต์ศึกษาฯ (เหมืองแม่เมาะ) tel : 054-254930 กองชุมชนสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.