วารสารสวัสดีแม่เมาะ เดือนกรกฎาคม 2558

Page 1

สวัสดี แม่เมาะ วารสาร

วารสารการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แม่เมาะ รายเดือน ฉบับที่ 7 ปีที่ 5

ประจ�ำเดือน กรกฎาคม 2558

04

กฟผ. มอบงบสมาคมพัฒนาแม่เมาะ 30 ล้านบาท

05

โครงการดักแด้ความรู้

06

เมล่อนญี่ปุ่น ที่ ต.สบป้าด

11

ฝายชะลอน�้ำ คืนความสมบูรณ์ สู่ อ.แม่เมาะ


สวัสดี

2

บทบรรณาธิการ Editor’s note

การศึกษา เป็นหนึ่งในพื้นฐานส�ำคัญของความส�ำเร็จ ซึ่งมิได้จ�ำกัดอยู่แค่ในห้องเรียน หรือ วัยเรียนเท่านัน้ แต่ทกุ คนสามารถศึกษาเรียนรูเ้ พิม่ เติมได้ตลอดชีวติ และ อ.แม่เมาะ แห่งนี้ ถึงแม้วา่ จะ ไม่ได้อยูใ่ นเมืองใหญ่ แต่กม็ โี อกาสและแหล่งศึกษาเรียนรูม้ ากมายให้กบั ทุกๆ คนทัง้ จากการสนับสนุน ของหน่วยงานภาครัฐ กฟผ.แม่เมาะ กองทุนพัฒนาไฟฟ้า โรงไฟฟ้าแม่เมาะ ตลอดจนสมาคมพัฒนา แม่เมาะ ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณจาก กฟผ. สวัสดีแม่เมาะ มีขา่ วสารด้านการศึกษาและ เรือ่ งราวดีๆ มาน�ำเสนอมากมาย ทัง้ การมอบงบประจ�ำปี กว่า 30 ล้านบาท สนับสนุนการด�ำเนิน งานของสมาคมพัฒนาแม่เมาะ โครงการดักแด้ ซึง่ เป็นความตัง้ ใจฟูมฟักให้ความรูล้ งมือปฏิบตั จิ ริง แก่นกั ศึกษาฝึกงานจากพีๆ่ ผูป้ ฏิบตั งิ าน กฟผ.แม่เมาะ รวมถึงตัวอย่างทีด่ จี ากการเรียนรูเ้ พิม่ เติม จนประสบความส�ำเร็จ ของธานฟาร์ม ฟาร์มเมล่อนญีป่ นุ่ ขนาดใหญ่แห่งแรก ใน อ.แม่เมาะ และการแบ่งปันความรูแ้ ก่เกษตรกรของ อ.สุนนั ท์ เลสัก ถัดจากเรือ่ งการศึกษามาแล้ว ก็อย่าลืมรักษาสุขภาพ ฟิตร่างกายให้ดี แล้วเตรียมมาพบกันในงานเดิน-วิ่ง เฉลิมพระเกียรติฯ แม่เมาะฮาล์ฟมาราธอน ครัง้ ที่ 24 นะครับ สวัสดีครับ

ผลตรวจวัด

คุณภาพอากาศ อ.แม่เมาะ ประจ�ำเดือน พฤษภาคม 2558

ค่าสูงสุดที่ตรวจวัดได้จริง (ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร)

SO2

NO2

13

75

ก๊าซซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ (24 ชั่วโมง)

ก๊าซไนโตรเจน ไดออกไซด์ (1ชั่วโมง)

- เปรียบเทียบกับ -

แผนกสิ่งแวดล้อมโรงไฟฟ้าแม่เมาะ กฟผ. แม่เมาะ เก็บข้อมูลจากสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ ต่อเนือ่ งทุกวัน จากบริเวณพืน้ ทีป่ ฏิบตั งิ าน บ้านพัก ผู้ปฏิบัติงาน และชุมชนโดยรอบ กฟผ.แม่เมาะ จ�ำนวน 11 สถานี พบว่า ในเดือนพฤษภาคม ค่าเฉลี่ยความเข้มข้น ของก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในเวลา 24 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ยความเข้มข้นของก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ในเวลา 1 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ยฝุ่นละอองขนาดเล็ก ไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) ในเวลา 24 ชั่วโมง และค่าเฉลี่ยฝุ่นละอองรวม (TSP) ในเวลา 24 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในเกณฑ์ ดี - ปานกลาง ของ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ส่วนผล การตรวจวัดดัชนีคุณภาพอากาศโดยรวมในอ�ำเภอ แม่เมาะ (AQI) จังหวัดล�ำปาง พบว่า มีคุณภาพ อากาศอยู่ในเกณฑ์ดี-ปานกลาง

SO2

300

ก๊าซซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ (24 ชั่วโมง)

174

ฝุ่นละอองรวม (TSP) (24 ชั่วโมง)

105

ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM10) (24 ชั่วโมง)

ค่ามาตรฐานก�ำหนดของ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร)

NO2

320

ก๊าซไนโตรเจน ไดออกไซด์ (1ชั่วโมง)

330

ฝุ่นละอองรวม (TSP) (24 ชั่วโมง)

120

ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM10) (24 ชั่วโมง)

ไมโครกรัม / ลบ.ม.

ค่ามาตรฐานไม่เกิน 100 ไมโครกรัม/ลบ.ม. กทม. เชียงใหม่ ล�ำปาง แม่เมาะ ระยอง

แผนภูมิเปรียบเทียบก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (เฉลี่ย 1 ปี) สถานีตรวจวัดของกรมควบคุมมลพิษ (2540-2557)


แม่เมาะ

http://maemoh.egat.com

3

นายกรัฐมนตรี สนับสนุนเชือ้ เพลิงถ่านหิน มีเทคโนโลยีทนั สมัย ช่วยสร้างสมดุลพลังงานให้ชาติ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี กล่าวสนับสนุนโรงไฟฟ้าที่ใช้เชื้อเพลิงถ่านหินในการ ผลิตไฟฟ้า ในรายการ “คืนความสุขให้คนในชาติ” ชีเ้ ป็นแนวทางสร้างสมดุลพลังงาน และเพิม่ ความมัน่ คง ในระบบไฟฟ้าไทยในระยะยาว

เมื วั ่อ นที่ 29 พฤษภาคม 2558 พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี กล่าวถึงเรื่องพลังงานไฟฟ้าในรายการ“คืนความสุข

ให้คนในชาติ” ออกอากาศทางโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย เวลา 17.00 น. ว่า เรื่องของพลังงานไฟฟ้าที่เป็นประเด็น ส�ำคัญอยู่ในขณะนี้ ส�ำหรับโรงไฟฟ้าถ่านหินในประเทศไทยตอนนี้ก็ยังสร้างไม่ได้ ยังมีความขัดแย้งมาก ขอเรียนว่าโรงไฟฟ้าที่ใช้ พลังงานถ่านหินนั้น เป็นโรงไฟฟ้าที่ถูกที่สุดในการลงทุนในเรื่องของเชื้อเพลิงที่จะใช้ คือถ่านหิน เพียงแต่ว่าจะต้องหาเทคโนโลยี โรงงานที่ทันสมัยที่ขจัดสิ่งที่เป็นผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม แล้วดูแลเยียวยาประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ใกล้เคียง ไม่ท�ำให้ดิน และน�้ำเสียหาย รวมทั้งการปลูกพืช และการอุปโภคบริโภคด้วย “วันนี้เทคโนโลยีสมัยปัจจุบันท�ำได้แล้ว อยากให้ดูตัวอย่าง ในรายการทีวีช่องหนึ่งน�ำโรงไฟฟ้าถ่านหินในประเทศลาวที่เพิ่ง สร้างเสร็จ คนไทยด้วยซ�้ำที่เป็นคนไปสร้าง และเริ่มมีการผลิตไฟฟ้าแล้ว ซึ่งโรงไฟฟ้าแห่งนี้จะต้องขายพลังงานไฟฟ้าส่วนหนึ่งกลับมา ประเทศไทย เราก็จ�ำเป็นต้องซื้อเพราะว่าแหล่งผลิตในประเทศไทยลดลงเรื่อยๆ พลังงานหมุนเวียน พลังงานทดแทนก็ยังไม่ทันการ ต้ อ งมี ก ารสร้ า งสายส่ ง เพิ่ ม เติ ม อี ก ซึ่ ง การลงทุ น สายส่ ง นั้ น สู ง เป็ น หมื่ น ล้ า น เป็ น แสนล้ า น ในการที่ จ ะเดิ น สายส่ ง แต่ ล ะเส้ น แต่ละช่วง ไม่ใช่เรื่องง่าย วันนี้สายส่งที่มีก็ยังไปไม่ทั่วถึง ถ้าทุกคนหวังว่าจะขายเข้าระบบ สายส่งยังไม่รองรับทั้งหมด รวมถึง การผลิ ต แบตเตอรี่ เ พื่ อ เก็ บ พลั ง งานไฟฟ้ า ที่ ไ ด้ จ ากพลั ง งานทดแทน เราก็ ยั ง ไม่ มี ศักยภาพเพียงพอ ต้นทุนการผลิตสูง รวมถึงการก�ำจัดวัสดุที่ใช้แล้วจาก แผงโซล่าเซลล์ที่หมดอายุแล้ว สิ่งเหล่านี้เป็นขยะทางอิเล็กทรอนิกส์ มีอันตราย” นายกฯ กล่าว นอกจากนี้ นายกฯ ได้กล่าวต่อไปว่า วันนี้รัฐบาลได้ออก กฎหมาย ออกพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ว่า ใครที่จะมาลงทุนก็ ต้องมีแผน ในเรื่องของการก�ำจัดขยะเหล่านี้ให้ด้วย ก็จะให้มีสิทธิ ประโยชน์อะไรต่างๆ ในการลงทุน BOI วันนี้ถ้าเรายังคิดไม่ตรง กันอยู่ คิดแต่เพียงว่าจะต้องรักษาทุกอย่างให้เหมือนเดิม แต่อย่า ลืมว่าต้องดูแลประเทศชาติกันด้วย ถ้าทุกที่ปฏิเสธกันหมด สร้าง โรงไฟฟ้าเพิม่ ไม่ได้ ผลิตไฟฟ้าไม่ได้กไ็ ม่มไี ฟฟ้าใช้ รวมถึงยังมีอปุ สรรคเรือ่ ง การซื้อไฟฟ้าจากต่างประเทศที่อาจจะซื้อไม่ได้ตามที่ต้องการ วันข้างหน้าถ้ามีปัญหาด้านความมั่นคงของระบบไฟฟ้า ต่างประเทศไม่ส่งก๊าซธรรมชาติ ไม่ส่งไฟฟ้า จะมีปัญหามาก การคัดค้าน อะไรต้องฟังเหตุผล ถ้าเราเข้มแข็งเพียงพอแล้ว ผลิตทุกอย่างได้เองแล้ว ตนคิดว่าเราจะเป็นเสียงที่ดังพอให้คนอื่นเขาฟังเรา วันนี้เขา ไม่ฟังเรา เพราะเรายังไม่เข้มแข็งพอ แล้วเราก็ยังมีความขัดแย้งสูงในสังคมไทยในปัจจุบันลดลงมาบ้างแต่ก็ยังไม่ทั้งหมด “เพราะฉะนั้น ปัจจัยส�ำคัญของประเทศก็คือพลังงานไฟฟ้า จะมาจากไหนก็ต้องไปคุยกันต่อ เราต้องใช้ไฟฟ้าในการอุปโภคบริโภค การอุตสาหกรรมต่างๆ วันนี้เราใช้น�้ำมันกับก๊าซฯ ผลิตไฟฟ้าถึงร้อยละ 70 ถ้าเรายังไม่ลดตรงนี้ไป โดยไม่ใช้เชื้อเพลิงอื่น ๆ มาเป็นต้นทุน ในการผลิตพลังงานไฟฟ้า เช่น ถ่านหิน ต่อไปก็จะล�ำบาก ตอนนี้ถ่านหินก็ราคาถูกที่สุด เพราะฉะนั้นถ้าวันหน้ายังต้องซื้อจากคนอื่น หรือ วันหน้ายังต้องใช้กา๊ ซฯ ใช้นำ�้ มัน แล้วราคาเชือ้ เพลิงแพงขึน้ ค่าไฟฟ้าต้องแพงขึน้ แน่นอน อยากให้ประชาชนช่วยกันหาจุดสมดุล แล้วก็เชือ่ มัน่ ในเทคโนโลยี และรัฐบาลก็จะท�ำให้เกิดผลกระทบน้อยทีส่ ดุ หลายประเทศในโลกเกือบทุกประเทศก็มกี ารใช้ถา่ นหิน เพียงแต่วา่ ของเก่า ก็เปลี่ยนเป็นเทคโนโลยีใหม่ เครื่องจักรใหม่ก็มีประสิทธิภาพที่ดีขึ้นแล้ว” นายกฯ กล่าวทิ้งท้าย


สวัสดี

4

กฟผ.แม่เมาะ มอบงบประมาณแก่สมาคมพัฒนาแม่เมาะ 30 ล้านบาท ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของคนแม่เมาะ เมือ่ วันที่ 11 มิถุนายน 2558 ณ อาคารประชาสัมพันธ์

แม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง นายถาวร งามกนกวรรณ ผู้ช่วยผู้ว่าการ เหมืองแม่เมาะ เป็นประธานพิธมี อบงบประมาณประจ�ำปี 2558 แก่สมาคมพัฒนาแม่เมาะ จ�ำนวน 30 ล้านบาท เพื่อสนับสนุน การพัฒนาคุณภาพชีวติ ,ส่งเสริมการศึกษา,เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและรักษาศิลปวัฒนธรรม ในพื้นที่ อ.แม่เมาะ ให้ประชาชนและคนในชุมชนมีศักยภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี ยิ่งขึ้น โดยที่ผ่านมามีโครงการส�ำคัญเช่น โครงการ “โรงเรียน ดีของ กฟผ.” เปิดโอกาสการเรียนรู้สู่โลกกว้างของเด็กๆ ด้วย การจ้างครูชาวต่างประเทศ มาสอนภาษาอังกฤษ ซึ่งสามารถ ช่วยให้เด็กๆได้รู้จักและคุ้นเคยกับชาวต่างชาติ พร้อมทั้งกล้า สนทนาพูดคุยกันด้วยภาษาอังกฤษ โครงการ "ทุน กฟผ. ห่วงใย พ่อแม่อุ่นใจ" โดยมีผู้รับทุนในโครงการนี้กว่า 200 คน

ใช้งบประมาณกว่า 2 ล้านบาท ค่ายอบรมทักษะทางคอมพิวเตอร์ IT Camp ของโรงเรียนแม่เมาะวิทยา น�ำผู้บริหารศึกษาดูงาน ในเขตการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ โครงการบรรพชา อุปสมบทและปฏิบัติธรรม และกิจกรรมส�ำหรับผู้สูงอายุ การจัดเวทีแลกเปลีย่ นเรียนรู้ การมอบเครือ่ งนุง่ ห่มและเสือ้ กัน หนาวแก่ราษฎรที่ขาดแคลน เป็นต้น โดยมีนางสาวพนิดา ทักษิณาพิมขุ นายกสมาคมพัฒนาแม่เมาะ และคณะกรรมการ สมาคมฯ เป็นผูร้ บั มอบ พร้อมด้วยคณะผูบ้ ริหาร กฟผ.แม่เมาะ ผู้น�ำชุมชน ผู้บริหาร สถานศึกษา ในพื้นที่ อ.แม่เมาะ และสือ่ มวลชน เข้าร่วมเป็นสักขีพยาน

ผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การเหมืองแม่เมาะ กล่าวว่า สมาคมพัฒนาแม่เมาะ มีแผนงานและโครงการ ที่ดูแลชุมชนในพื้นที่อ�ำเภอแม่เมาะอย่างชัดเจน โดยน�ำเงินจ�ำนวน 30 ล้านบาท ซึ่งเป็น งบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนมาจาก กฟผ.แม่เมาะ ใช้เป็นทุนในการสนับสนุนกิจการ ของสมาคมฯ โดยเน้นให้การสนับสนุนในโครงการที่ไม่ซ�้ำซ้อนกับโครงการที่มีอยู่แล้วของ ภาครัฐ แต่เป็นการสนับสนุนโครงการทีม่ อี ยูแ่ ละด�ำเนินการเพือ่ ปรับปรุงโครงการให้มคี วาม เหมาะสมและเป็นไปตามความต้องการของประชาชน เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของ กฟผ.แม่เมาะ ทีม่ คี วามตระหนักและเห็นความส�ำคัญของชุมชนโดยรอบ และมีความตัง้ ใจ จริงในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในอ�ำเภอแม่เมาะให้ดียิ่งขึ้น โดยทุก โครงการมุ่งน�ำไปสู่การสร้างสรรค์ให้แม่เมาะเป็นเมืองคนดีที่น่าอยู่ และ เสริมสร้างความเข้าใจอันดีระหว่าง กฟผ.แม่เมาะและชุมชน ส�ำหรับสมาคมพัฒนาแม่เมาะ เป็นองค์กรที่เริ่มจัดตั้งขึ้นตามมติของคณะกรรมการ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ทีม่ มี ติให้จดั ตัง้ กองทุนพัฒนาคุณภาพชีวติ ราษฎร อ�ำเภอแม่เมาะ จังหวัดล�ำปาง เมือ่ ปี 2543 เพือ่ ด�ำเนินงานสนับสนุนด้านการพัฒนา และส่งเสริมการศึกษาในพื้นที่อ�ำเภอแม่เมาะ ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ศาสนา รวมถึงการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ ที่ผ่านมา กฟผ.แม่เมาะ ได้จดั สรรงบประมาณสนับสนุนแก่สมาคมฯ นับตัง้ แต่ปี 2543-2558 รวมเป็นเงินทัง้ สิน้ 470 ล้านบาท (ปัจจุบนั สมาคม พัฒนาแม่เมาะมีเงินฝากสะสมคงเหลือประมาณ 55 ล้านบาท ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธ.ค. 57) ส�ำหรับการด�ำเนินงานของสมาคมพัฒนา แม่เมาะ มีการบริหารงานโดยคณะกรรมการบริหารไม่น้อยกว่า 12 คน และไม่เกิน 19 คน ประกอบด้วย ตัวแทนจาก 5 ต�ำบลๆ ละไม่เกิน 3 คน แต่ไม่น้อยกว่า 10 คน และมีผู้แทนของส่วนราชการซึ่งปฏิบัติงานอยู่ในพื้นที่อ�ำเภอแม่เมาะ (ไม่น้อยกว่า 6 เดือน) จ�ำนวน 4 คน ซึ่งคณะกรรมการทั้งหมดจะ ถูกสรรหาโดยสมาชิกสมาคมฯ ซึ่งจะด�ำรงต�ำแหน่งได้วาระ ละ 4 ปี ปัจจุบันมีคณะกรรมการทั้งหมดจ�ำนวน 17 คน มีนางสาวพนิดา ทักษิณาพิมุข ผู้แทนจากต�ำบลนาสัก เป็นนายกสมาคมฯ และมี ผู้อ�ำนวยการฝ่ายจัดการโรงไฟฟ้าแม่เมาะ เป็นผู้แทน กฟผ. แม่เมาะ ร่วมเป็นหนึ่งในคณะกรรมการของสมาคมฯ


แม่เมาะ

http://maemoh.egat.com

เปิดโครงการดักแด้ความรู้

5

เตรียมนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีฯ กฟผ.แม่เมาะ รุน่ 4 โบยบินในโลกกว้าง จากตัวอ่อน กลายเป็นหนอน วิวัฒนาการเป็นดักแด้ที่รอวันเติบโต ผ่านการเรียนรู้ และฝึกปฏิบัติมากมาย เตรียม พร้อมเป็นผีเสื้อโบยบินอย่างแข็งแกร่งในโลกกว้าง การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แม่เมาะ ตระหนักถึง ความส�ำคัญของการให้ และการให้ที่ดีที่สุด คือ ให้วิชาความรู้ จึงเกิดเป็น “โครงการดักแด้ความรู้” ด�ำเนินการโดยทีม วิทยากรผู้มากประสบการณ์ จากฝ่ายการผลิตและฝ่ายบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้าแม่เมาะ กฟผ.แม่เมาะ เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2558 ณ ห้องแม่ขาม ศูนย์ฝึกอบรม แม่เมาะ กฟผ.แม่เมาะ ต.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง นายชัยพร ไพฑูรย์ วิศวกรระดับ 11 ฝ่ายการผลิตโรงไฟฟ้า แม่เมาะ พร้อมด้วยคณะวิทยากร กฟผ.แม่เมาะ ร่วมกับนายเจริญ ศิริวงศ์ ผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการ กฟผ. แม่เมาะ และคณาจารย์ เปิดโครงการดักแด้ความรู้ เพื่ออบรมให้ ความรู้จากผู้ปฏิบัติงานโรงไฟฟ้าแม่เมาะ แก่นักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ นสูง (ปวส.) สาขางานเดินเครือ่ งไฟฟ้า และสาขาบ�ำรุงรักษาเครื่องกลฯ จ�ำนวนทั้งสิ้น 38 คน ตั้งแต่วัน ที่ 2 มิถุนายน – 2 ตุลาคม 2558

ส�ำหรับปีนี้ทางผู้จัดโครงการได้จัดอบรมด้านทฤษฎี เป็นระยะเวลา 12 วัน เรื่องความรู้ทั่วไปในโรงไฟฟ้า การจัดการ ด้านสิง่ แวดล้อม ระบบล�ำเลียงถ่านหิน ระบบจัดหาน�ำ้ ระบบหม้อ ไอน�ำ้ ระบบกังหันไอน�ำ้ เครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้า เครือ่ งดักจับฝุน่ ไฟฟ้า สถิตย์ ระบบปฏิบตั กิ ารก�ำจัดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ การท�ำงาน สายพานล�ำเลียงถ่านและขี้เถ้า รวมถึ ง ความปลอดภั ย อาชี ว อนามัยในโรงไฟฟ้า หลังจากนั้น จะเป็นการฝึกปฏิบัติงานจริงใน หน่วยงานด้านการผลิตและบ�ำรุง รักษาของโรงไฟฟ้าแม่เมาะ นายชัยพร ไพฑูรย์ วิศวกรระดับ 11 ฝ่ายการผลิตโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ประธานโครงการฯ “โครงการดัง กล่าวเป็นแนวคิดของ นายสุทัศน์ ปัทมสิริวัฒน์ อดีตผู้ว่าการ กฟผ. ตั้งแต่ปี 2554 ที่ประสงค์ให้องค์กรมี ส่วนร่วมกับชุมชน โดยเฉพาะเรื่องการศึกษา จากที่ กฟผ.แม่เมาะ ได้มอบงบประมาณจ�ำนวน 373 ล้านบาท ก่อสร้างวิทยาลัยฯ โดยบรรจุหลักสูตรเพิ่มเติมเฉพาะทาง 3 สาขา ได้แก่ เทคโนโลยีการผลิตกระแสไฟฟ้า เดินเครื่องโรงไฟฟ้า และบ�ำรุงรักษาเครื่องกล ซึ่งมีที่วิทยาลัยฯ แห่งนี้แห่งเดียวในประเทศไทย โดยได้รับความ ร่วมมือในการร่างหลักสูตรร่วมกับผู้ปฏิบัติงานด้านวิศวกรรมของ กฟผ.แม่เมาะ ตลอดจนน�ำครูผู้สอนมาศึกษาการปฏิบัติ งานจริงในโรงไฟฟ้าไม่น้อยกว่า 60 ชั่วโมง หลักสูตรนี้จึงได้มองไปถึงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้เป็นที่ต้องการของ โรงไฟฟ้าในภาคเอกชน ทั้งในประเทศและต่างประเทศอีกด้วย” นายบันเทิง จิตรหมั่น วิศวกรระดับ 10 ฝ่ายการผลิตโรงไฟฟ้าแม่เมาะ เลขานุการคณะท�ำงาน โครงการฯ “ทีม่ าของชือ่ โครงการดักแด้ความรู้ พวกเรานิยามให้นอ้ งนักศึกษาทีเ่ รียนในวิทยาลัยเทคโนโลยี การจัดการ กฟผ. แม่เมาะ เป็นเสมือนตัวหนอนดักแด้ ที่ต้องฟูมฟักสะสมความรู้ รอวันที่จบการศึกษาเป็น ผีเสือ้ บินไปสูโ่ ลกกว้างของการท�ำงานจริง และวันนีโ้ ครงการฯของเรา ก็เป็นส่วนหนึง่ ทีช่ ว่ ยให้ผเี สือ้ เหล่านัน้ สามารถโบยบินได้อย่างแข็งแกร่ง เราได้รับข่าวดีจากทางวิทยาลัยฯว่ามีนักศึกษาที่เคยมาฝึกวิชาชีพ รุ่นที่ 2 กับเรา ได้เข้าท�ำงานในบริษัทวิศวกรรมแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ เป็นเรื่องที่น่ายินดี ทีมผู้ฝึกสอนทุกคนภาคภูมิใจมาก ผมเชื่อว่าถ้าเราให้ความรู้ เรามีการจัดการที่ดี น้องออกไป ท�ำงานได้ดี บริษัทเห็นว่าผ่านการฝึกงานจาก กฟผ. ซึ่งเป็น เครื่องการันตีได้ว่าเด็กเหล่านี้มีประสิทธิภาพ ก็จะท�ำให้โรงงานดี จังหวัดดี ประเทศดี” นายณัฐวีณ์ ไชยศิริวรการ นักศึกษาชั้น ปวส. สาขางานเดินเครื่องผลิตไฟฟ้า ผู้เข้าอบรมในโครงการ ดักแด้ประจ�ำปี 2558 “โครงการนี้ช่วยให้พวกเราได้เรียนรู้ระบบต่างๆ ในโรงไฟฟ้าอย่างละเอียด มากกว่าที่ เรียนพืน้ ฐานในห้องเรียน ได้ประสบการณ์และทักษะการท�ำงาน ในอนาคตหากไปสมัครเข้าท�ำงานเราก็จะได้ เปรียบกว่าคนอืน่ ๆ เพราะเราได้รบั การฝึกปฏิบตั จิ ากผูช้ ำ� นาญงานในระบบโรงไฟฟ้า ท�ำให้พร้อมแก่การท�ำงาน จริงได้ทันที”

การให้ เป็นสิ่งส�ำคัญในสังคมไทย ไม่ว่าจะให้สิ่งของ ให้เงิน ให้โอกาส หรือให้ความรู้ ถ้าให้ด้วยความตั้งใจ เชื่อว่าจะสุขใจทั้ง

ผู้ให้และผู้รับ เช่นเดียวกัน ส�ำหรับโครงการดักแด้ความรู้ อีกหนึ่งโอกาสที่ กฟผ.แม่เมาะ ตั้งใจมอบให้กับเยาวชนในพื้นที่ เพื่อน�ำความรู้ไปใช้ประกอบอาชีพได้จริง ด้วยหวังใจว่าผีเสื้อตัวน้อยๆเหล่านี้จะอยู่ในโลกกว้างได้อย่างมีความสุข


6

เกษตรริมรั้ว

ใครๆก็ปลูกผักไร้ดินกินเองได้

หลัง จากที่สวัสดีแม่เมาะพาไปเยี่ยมชมสวนผักไร้ดิน หรือ ผักไฮโดรโพนิกส์มาแล้ว หลายคนคงอยากลองปลูกเองบ้าง จึงขอน�ำเสนอวิธีง่ายๆ ในการปลูกผักบุ้งที่รับรองว่าทุกท่าน สามารถท�ำตามและน�ำไปประยุกต์ใช้กับผักชนิดอื่นๆ ได้ ตามแบบฉบับของเกษตรริมรั้วเลยจ้า วัสดุ-อุปกรณ์ 1. กะละมังขนาด 1 ฟุตขึ้นไป 2. แผ่นโฟม 3. ด้ามไม้ม็อบเก่าขนาด 4 หุน หรือวัสดุอื่นๆที่มีขนาดใกล้เคียง ส�ำหรับเจาะรูที่โฟม 4. ฟองน�้ำ 5. เมล็ดพันธุ์ 6. ธาตุอาหารพืช เอ, บี (จ�ำหน่ายที่ร้านขายอุปกรณ์ การเกษตรทั่วไป) 7. กล่องหรือถาดขนาดเล็ก ส�ำหรับเพาะต้นกล้า 8. กระดาษช�ำระ ขั้นตอนการเพาะต้นกล้า 1. น�ำกระดาษช�ำระวางลงบนถาดขนาดเล็กหรือจาน โดยวาง กระดาษช�ำระซ้อนกันประมาณ 2 - 3 ชั้น 2. น�ำเมล็ดที่ต้องการปลูกโรยลงบนกระดาษช�ำระ (หากวันไหน มีอากาศร้อนให้ปิดทับเมล็ดด้วยกระดาษช�ำระอีกชั้นด้านบน เมล็ด เพื่อช่วยรักษาความชื้นให้เมล็ด) 3. พรมน�้ำให้ชุ่มทั่วถาดเพาะเมล็ด แล้วน�ำกระดาษแข็งหรือแผ่น พลาสติกทึบแสงปิดถาดเอาไว้เพือ่ รักษาความชืน้ ให้กบั เมล็ด 4. หมั่นพรมน�้ำให้ชุ่ม ระยะเวลาประมาณ 2 วัน หลังจากนั้นให้ สังเกตดูที่เมล็ดเริ่มมีรากสีขาวของต้นกล้างอกออกมา ประมาณ 2 มม. ก็สามารถย้ายลงปลูกในก้อนฟองน�้ำได้เลย ขั้นตอนการลงปลูกในโฟม 1. ตัดแผ่นโฟมให้พอดีกับกะละมังที่เตรียมไว้แล้วจึงเจาะรูแผ่น โฟมด้วยไม้มอ็ บทีเ่ ตรียมไว้ให้มรี ะยะห่างระหว่างรูอยูท่ ี่ 10 ซม. 2. เติมน�ำ้ ใส่ในกะละมังให้ตำ�่ กว่าขอบกะละมัง 1 นิว้ แล้วน�ำแผ่น โฟมที่เจาะรูไปลอยในกะละมัง 3. ผสมธาตุอาหารพืชเอ 2 ซีซี, ธาตุอาหารพืชบี 2 ซีซี ต่อ น�้ำ 1 ลิตร (ขึ้นอยู่กับกะละมัง) 4. ตัดฟองน�ำ้ ขนาด 1 x 1 นิว้ ตัดเฉียงเข้าไปกึง่ กลางก้อน แล้ว เอาฟองน�ำ้ ไปจุม่ น�ำ้ ให้ชมุ่ ไล่อากาศออกให้หมด จึงน�ำต้นกล้า ทีเ่ พาะไว้ใส่เข้าไปในฟองน�ำ ้ 3 ต้น จากนัน้ ให้ใส่เข้าไปในรูโฟม 5. เติมธาตุอาหารพืช เอ, บี ทุกๆ 4 – 5 วัน โดยผักบุ้งใช้เวลา 15 วัน จึงเก็บเกี่ยวได้ การดูแลแปลงปลูก ควรน�ำแปลงปลูกไว้กลางแจ้ง แต่ต้องระวังไม่ให้โดนฝน

เรียบเรียงจาก : การปลูกผักไร้ดิน โดย อ.สุนันท์ เลสัก และ บทความจาก http://zen-hydroponics.blogspot.com/2012/11/blog-post.html

สวัสดี

เมล่อนสบป้าด หอมหวาน

ไม่แพ้ถิ่นก�ำเนิด ญี่ปุ่น สะวัตโตะดี เมโมะ คือภาษาญี่ปุ่น แปลว่า สวัสดีแม่เมาะ คอลัมน์สถานีอาชีพฉบับนี้จะพาไป “ธานฟาร์ม” ฟาร์ม เพาะเมล่ อ นญี่ ปุ ่ น แห่ ง แรกและแห่ ง เดี ย วใน อ.แม่ เ มาะ ตั้งอยู่ที่ บ้านสบป้าด ต.สบป้าด นี่เอง “คิมูจิ ราชินี1 กาเลีย และ ซูโม่” เป็นชื่อ 4 สายพันธุ์ เมล่อนญี่ปุ่นที่ปลูกในฟาร์มของ นายไพศาล วงศ์แปง หรือ ธาน อดีตช่างเชื่อม การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แม่ เ มาะ ผู ้ ผั น ตั ว เองมาเป็ น เจ้ า ของสวนเมล่ อ น ด้ ว ยความ หลงใหลในรสชาติ เ มล่ อ น โดยเริ่ ม ศึ ก ษาเมื่ อ ปี 2556 จาก อินเทอร์เน็ต และจากผู้มีประสบการณ์ในสมาคมเมล่อนแห่ง ประเทศไทย ใช้เวลาเรียนรู้กว่า 2 ปี จึงตัดสินใจสั่งเมล็ดพันธุ์ เมล่อนจากญี่ปุ่น และลงมือท�ำโรงเรือนด้วยตัวเอง หัวใจส�ำคัญ ที่จะท�ำให้ลูกเมล่อนโตได้ขนาดมาตรฐานคือ ปุ๋ย ซึ่งปัจจุบันต้อง น�ำเข้าจากญี่ปุ่นเท่านั้น และ ระบบน�้ำหยดที่ต้องให้ถึงวันละ 5 ครั้งๆละ 60 ซีซี เมล่อนสามารถเติบโตในภูมิอากาศแบบบ้าน เราได้ โดยให้ผลผลิตได้ถึง 4 ครั้ง/ปี ตั้งแต่เริ่มเพาะต้นกล้า จนถึงช่วงให้ผลผลิตใช้เวลาประมาณ 3 เดือน ลูกเมล่อนที่ได้ มาตรฐานควรมีน�้ำหนักเฉลี่ย 1.8 – 2.2 กก. ในปีนี้พี่ธานนับ ผลผลิ ต ที่ ก� ำ ลั ง จะเริ่ ม เก็ บ ในเดื อ นกรกฎาคมได้ ป ระมาณ 800 ลูก ราคาหน้าสวนอยู่ที่ กก.ละ 100 บาท พี่ธานแอบ กระซิ บ ว่ า เมล่ อ นล็ อ ทแรกถู ก จองเกื อ บหมดแล้ ว แถมปี นี้ มี ออเดอร์จากญี่ปุ่นตั้ง 300 ลูก อนาคตพี่ ธ านจะเดิ น หน้ า เป็ น นั ก ธุ ร กิ จ เต็ ม ตั ว โดยจะ พัฒนาให้สามารถพิมพ์ลายตัวอักษรบนลูกเมล่อนได้ รวมถึง สนับสนุนให้สมาชิกในชุมชนท�ำบรรจุภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่นเพื่อ ส่ ง ขายตลาดระดั บ พรี เ มี่ ย ม ผู ้ ที่ ส นใจสามารถติ ด ต่ อ พี่ ธ าน โทร.061-0616382 หรือที่เฟสบุค ธาน ฟาร์ม ล�ำปางหนา ได้เลยค่ะ


แม่เมาะ

7

http://maemoh.egat.com

ห้องรั แขก

สารปรับปรุงดิน ต.แม่เมาะ มีจ�ำหน่ายแล้ว !

จดทะเบียนอย่างเป็นทางการแล้ว ส�ำหรับ “วิสาหกิจชุมชนกลุ่ม ผลิตสารปรับปรุงดินฮิวมัสล้านปีอินทรีย์แม่เมาะ” จากกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชน ต.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง ที่เห็นถึงคุณสมบัติของชั้นดิน ลีโอนาไดท์จากเหมืองแม่เมาะ ส�ำหรับใช้ปรับปรุงสภาพดินให้ร่วนซุย แก้ปัญหาดินเสีย ดินเป็นกรด และยังให้ผลผลิตทางการเกษตรเป็นที่ น่าพอใจ แข็งแรง ต้านทานกับศัตรูพืชได้ดี กลุ่มฯ ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงาน อาทิ กฟผ.แม่เมาะ เทศบาล ต�ำบลแม่เมาะ ผู้สนใจสอบถามรายละเอียดการสมัครเป็นสมาชิก กลุ่ม หรือสั่งซื้อฮิวมัสฯ ได้ที่ คุณสนั่น ใจงาม ประธานกลุ่มฯ โทร.081-7466857

โครงการ มุมหนังสือ มุมความรู้ สมาคมพัฒนาแม่เมาะ จัดมุมหนังสือ มุมความรู้ แก่โรงเรียนใน อ�ำเภอแม่เมาะ จ�ำนวน 16 แห่ง และที่ว่าการอ�ำเภอแม่เมาะ หมุนเวียนหนังสือใหม่ทุกภาคเรียน เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนใน สถานศึกษา ประชาชน มีนสิ ยั รักการอ่าน ค้นคว้าหาความรูเ้ พือ่ น�ำไปใช้ในการเรียนและกิจกรรมอืน่ ๆ ในชีวติ ประจ�ำวัน เป็นการ วางรากฐานการศึกษาให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ ต้อนรับปีการศึกษา 2558 เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ อาคารศูนย์ประชุมนานาชาติ โรงเเรมดิเอ็มเพรส อ.เมือง จ.เชียงใหม่ นายชูชพี บุนนาค นายก เทศมนตรีเทศบาลต�ำบลแม่เมาะ น�ำคณะครูศูนย์พัฒนาเด็ก เล็กเทศบาลต�ำบลแม่เมาะเข้ารับมอบเกียรติบัตรหน่วยงานที่ ด�ำเนินงานผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย ให้เป็นศูนย์ เด็กเล็กคุณภาพยอดเยี่ยมระดับจังหวัดในเขตพื้นที่ภาคเหนือ จาก ดร.นพ.พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย

ซักค�ำบ๋อ ผักที่เห็นกันในท้องตลาด บ้านเรามีค�ำเรียกเป็นภาษาท้องถิ่นเหมือนกันนะจ๊ะ มาลองเล่นเกมโยงเส้นจับคู่ ชื่อผักแต่ละชนิดกับ ซักค�ำบ๋อกันเจ้า 1. หอมป้อม 2. หอมด่วน 3. ผักแคบ 4. ผักหละ 5. บะค่อนก้อม

ชะอม มะรุม ผักชี ต�ำลึง สะระแหน่

(เฉลย 1.ผักชี 2.สะระแหน่ 3.ต�ำลึง 4.ชะอม 5.มะรุม)


สวัสดี

8

สุนันท์ เลสัก ต้นต�ำรับการปลูกผักไร้ดินใน อ.แม่เมาะ และอาจารย์ผู้สอนการเกษตรให้เป็นเรื่องง่าย

ท�ำเกษตรให้ส�ำเร็จ ปัจจัยคืออะไร หลายคนอาจมองว่าเพียงแค่ ดินดี น�้ำดี อากาศดี นั้นก็เพียงพอ แต่ความจริงแล้ว การท�ำเกษตร ให้ส�ำเร็จนั้น ยังต้องอาศัยปัจจัยอีกหลายๆอย่าง โดยเฉพาะประสบการณ์ การตลาด ความรู้รอบตัว รวมถึงเรื่องวิทยาศาสตร์ ที่สามารถ น�ำมาใช้ดูแลและพัฒนาผลิตผลการเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ของดีตี้บ้านเฮาฉบับนี้ ขอแนะน�ำผู้อ่านให้รู้จักกับ อาจารย์สุนันท์ เลสัก หรือพีด่ าว อาสาสมัครวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(อสวท.) ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยากรของสถาบันเทคโนโลยี การเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาล�ำปาง ประธานศูนย์จดั การศัตรูพืชชุมชน ต.แม่เมาะ ปราชญ์ชาวบ้าน และอีกหลาย บทบาท ทีเ่ ริม่ ต้นมาจากการเป็นเกษตรกร ทีม่ คี วามตัง้ ใจจริงและใฝ่เรียนรูอ้ ยูเ่ สมอ จนในวันนีพ้ ดี่ าว เป็นผูเ้ ชีย่ วชาญ เรือ่ งการปลูกผักไร้ดนิ (ไฮโดรโพรนิกส์) ที่ได้รับการยอมรับและเป็นวิทยากรสอนให้ความรู้แก่เกษตรกรทั่วประเทศมาแล้ว

ท�ำความรู้จัก พี่ดาว ดั้งเดิมเป็นคน อ.เมือง จ.ล�ำปาง ในอดีตเคยท�ำงานที่โรงไฟฟ้าแม่เมาะ ตั้งแต่สมัย

โรงไฟฟ้าโรงที่ 1-3 และช่วงก่อสร้างโรงไฟฟ้าที่ 4-7 ก่อนลาออกมาเพื่อดูแลลูกและได้ย้ายตาม สามีไปอยู่หลายที่ ทั้ง กาญจนบุรี สุราษฎ์ธานี ระยอง ท�ำให้มีโอกาสเห็นพื้นเพ อาหารการกิน ตลอดจนพืชผักของแต่ละภูมิภาคที่แตกต่างกัน ซึ่งเราเป็นคนชอบสังเกตและเปรียบเทียบ รสชาติของผักต่างๆอยูแ่ ล้ว แต่กย็ งั ไม่ได้ปลูกเอง จนกระทัง่ ต่อมาได้ยา้ ยกลับมาที่ จ.ล�ำปาง และซือ้ ทีด่ นิ ท�ำการเกษตรกว่า 20 ไร่ บริเวณบ้านปงชัย ต.แม่เมาะ ตามค�ำแนะน�ำของพีส่ าว จึงได้เริม่ ท�ำการเกษตร จากจุดเล็กๆ ทีค่ ดิ ว่าอยากปลูกพืชผักเองบ้าง โดยเริม่ จากการปลูกผัก และผลไม้ในดินตามที่เราชอบ ไม่ว่าจะเป็น มะม่วง กระท้อน จนได้รู้จักกับการปลูกผักไร้ดิน จากโครงการหลวง ที่ผักมีความสวยงาม ปลูกได้ทั้งปี ต่างจากการปลูกผักในดิน จึงสนใจและ ประจวบเหมาะกับที่สถาบันวิจัยเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ล�ำปางได้เปิดอบรมเรื่องนี้พอดีจึงเป็นจุดเปลี่ยนในการหันมาปลูกผักไร้ดินของพี่ดาว

จากผู้เรียนสู่การเป็นผู้สอน

หลายๆคนอาจไปอบรมมาแล้วแต่ก็ไม่ได้ท�ำ หรือท�ำแล้วเลิก แต่ส�ำหรับพี่ดาวหลังจากกลับมาปลูกผักไร้ดินเองที่บ้านแล้ว ก็ได้คอย สังเกต ปรับปรุง เรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง เช่นการปรับโครงวางแปลงผัก ที่เดิมเป็นโครงสร้างไม้ไผ่ และมักประสบปัญหาคือมอดกินและ มีเศษไม้ตกลงบนผักท�ำให้ไม่น่ารับประทาน มาเป็นโครงสร้างไม้ไผ่ผสมกับท่อพีวีซีดัดโค้งแทน ซึ่งหลังจากการปรับปรุงพี่ดาวก็ได้น�ำ โครงสร้างนี้ไปให้สถาบันวิจัยดู จนได้น�ำไปออกงานร่วมกับกระทรวงวิทยาศาสตร์ นอกจากนี้พี่ดาวยังได้ร่วมมือกับคณาจารย์ในสถาบัน การศึกษาเรียนรู้ร่วมกันอย่างต่อเนื่อง ในลักษณะที่อาจารย์เป็นผู้ช่วยด้านวิชาการและทฤษฎี ทั้งเรื่อง ธาตุอาหารที่จ�ำเป็นของผัก แต่ละชนิด อุณหภูมิ วัสดุการปลูก และพี่ดาวเป็นผู้ปฏิบัติ บนแปลงสาธิตของสถาบันฯ จนกระทั่งเกิดการผสานกันระหว่างความรู้ วิชาการสู่แนวทางการปฏิบัติที่สามารถท�ำได้จริง ต่อมาสถาบันฯ จึงได้เริ่มให้เข้าไปช่วยสอนชาวบ้านที่ อ.แม่เมาะ ตั้งแต่ช่วง 8-9 ปีที่แล้ว จนปัจจุบนั พีด่ าวเป็นอาสาสมัครวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีผสู้ อนเกีย่ วกับการปลูกผักไร้ดนิ ร่วมกับกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้แก่เกษตรกรทั่วประเทศ

วิธีการสอนที่แตกต่าง ปัญหาการสอนที่มักพบอยู่บ่อยครั้ง ก็คือ ผู้สอนใช้ภาษาที่เป็นวิชาการเกินไป น�ำเอามา ประยุกต์ใช้จริงได้ยาก ซึ่งพี่ดาวในฐานะที่เคยเป็นทั้งชาวบ้านและผู้เรียนเข้าใจดี ดังนั้นการสอน ของพี่ดาว จึงเน้นหลักเข้าใจง่าย แต่เจาะลึกตรงประเด็น และปฏิบัติได้จริง เช่น การสอนปลูก คะน้าไร้ดิน แทนที่จะบอกถึงสูตรธาตุอาหารอย่างเดียว ก็จะอธิบายให้เข้าใจว่า ผักคะน้าเป็นผัก ใบหนา ท�ำให้ต้องการธาตุอาหารสูงกว่าผักสลัด หรือการสาธิตวิธีปลูก ก็ใช้วัสดุใกล้ตัว ไม่ว่าจะ เป็นกะละมัง กล่องโฟม อะไหล่รถ หรือแม้แต่ก้นขวดพลาสติก มาสาธิตให้เห็นว่าการปลูกผัก ไร้ดินไม่จ�ำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ยุ่งยากอะไร ใครๆ ก็สามารถท�ำได้ นอกจากนี้เวลาสอนพี่ดาวจะ สอดแทรกความรู้ ด้านการตลาด การวางแผนการปลูก และหากไม่ได้อยู่ห่างไกลกันเกินไปก็ยินดี ที่จะไปช่วยแก้ไขปัญหากันถึงที่


แม่เมาะ

http://maemoh.egat.com

9

สิ่งที่พบจากการสอน

หลังจากได้สอนและแลกเปลีย่ นเรียนรูก้ บั เกษตรกรทัง้ ใน อ.แม่เมาะ และจากทัว่ ประเทศ พีด่ าวพบว่าสาเหตุหนึง่ ทีท่ ำ� ให้เกษตรกรยัง ไม่ประสบความส�ำเร็จ คือการขาดความรู้ความเข้าใจและการไม่ใช้วิทยาศาสตร์ในการท�ำการเกษตร เช่น เรื่องการใส่ปูนขาวในดินบ่อยๆ เพราะเข้าใจว่าสามารถฆ่าเชื้อโรคได้ แต่ไม่เข้าใจถึงความเป็นด่างของดินขาวที่ใช้ไปนานๆพืชที่ปลูกใบจะเหลือง รวมถึงการใช้สารเคมี จ�ำนวนมากในการก�ำจัดศัตรูพืชเพราะเชื่อว่าได้ผลเร็ว แต่กลับมีผลกระทบทั้งเรื่องสารตกค้างในดิน น�้ำ การท�ำลายความอุดมสมบูรณ์ ของดินและสัตว์ในดินที่ส�ำคัญอย่างไส้เดือน สิ่งเหล่านี้พี่ดาวก็ได้ให้ค�ำแนะน�ำ ตลอดจนส่งเสริมการใช้แนวทางชีววิถีในการก�ำจัดศัตรูพืช ดังเช่นเคยเป็นวิทยากรร่วมกับศูนย์ชีววิถี เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กฟผ.แม่เมาะ ในการแก้ไขโรคใบไหม้ในข้าว ด้วยการใช้เชื้อรา อีกเรื่องส�ำคัญที่อยากฝากถึงเกษตรกรคือ การวางแผนการปลูกและการรักษาคุณภาพของสินค้า ยกตัวอย่างเช่น เกษตรกรเห็นว่าผักบุ้ง ให้ผลผลิตไวภายใน 15 วันและเป็นพืชที่นิยม ก็เลยปลูกผักบุ้งเพียงอย่างเดียว โดยลืมมองไปว่า ผักบุ้งเป็นสินค้าที่มีมากอยู่แล้วในตลาด รวมถึงไม่ได้ค�ำนึงถึงความหลากหลายของสินค้าตัวเองที่จะท�ำให้เกิดการต่อยอดและเป็นที่จดจ�ำของตลาดได้

กลุ่มลูกค้าของผักไร้ดิน

กระแสเรือ่ งสุขภาพและการบริโภคผักปลอดสารพิษเป็นทีน่ ยิ มในปัจจุบนั ผักจากสวนของพีด่ าว และกลุม่ เครือข่ายผักไร้ดนิ แม่เมาะ ได้น�ำไปเสนอขายและได้รับการตอบรับจากห้างสรรพสินค้าใน จ.ล�ำปาง และ จ.เชียงใหม่ ทั้งเสรีสรรพสินค้า Tops Supermarket ใน เซ็นทรัล จ.ล�ำปาง และเซ็นทรัลกาดสวนแก้ว จ.เชียงใหม่ นอกจากนี้อีกกลุ่มลูกค้าหลักที่อยู่ไม่ใกล้ไม่ไกล ก็คือกลุ่มพนักงานของ กฟผ. ทั้งในโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ ที่พี่ดาวและกลุ่มน�ำผักไปขายทีละเป็นล�ำรถและหมดทุกครั้ง

รางวัลที่เคยได้รับและบทบาทการท�ำงานในปัจจุบัน พี่ดาวเคยได้รับรางวัลปราชญ์เกษตรกรดีเด่น ของ อ.แม่เมาะ ปี 2556 และเร็วๆ นี้ได้ถูกเสนอชื่อเข้ารับ รางวัลอาสาสมัครวิทยาศาสตร์ดเี ด่น นอกจากบทบาทการเป็นวิทยากร และอาสาสมัครสอนให้ความรูแ้ ก่เกษตรกร ทั่วประเทศแล้ว ปัจจุบันพี่ดาวยังใช้ความรู้ความสามารถที่มีดูแลท้องถิ่น อ.แม่เมาะ โดยเป็นประธานศูนย์จัดการ ศัตรูพืชชุมชน ต.แม่เมาะ ให้ความรู้ในการใช้แนวทางชีววิถี เช่น เชื้อราประเภทต่างๆ การให้ปุ๋ย และการดูแลพืช แก่เกษตรกรในพื้นที่ ต.แม่เมาะ และ ต�ำบลอื่นๆ ในพื้นที่อีกด้วย

สิ่งที่อยากฝากถึงผู้อ่านและเกษตรกร ส�ำหรับเกษตรกร อยากบอกว่าอย่าท�ำเกษตรตามกระแส เช่น เห็นเขาปลูกยางพารา ปลูกข้าวโพด ปลูกมันส�ำปะหลังก็แห่กันปลูก โดยไม่มองตลาด ไม่รวู้ า่ ตลาดถึงจุดอิม่ ตัวหรือยัง ในมุมมองพีด่ าว มองว่าจะปลูกจะท�ำอะไรท�ำให้มนั แตกต่างจะดีกว่า เช่นฤดูหนาวแทนที่ จะปลูกผักกาดเหมือนคนอื่น ลองเปลี่ยนมาปลูก เบบี้แครอท ปลูกมะเขือเทศสีเหลือง ชื่ออาจฟังดูแปลกๆ แต่ก็มีตลาดรองรับและราคาดี นอกจากนีก้ ารพัฒนาผลิตภัณฑ์กส็ ำ� คัญ ถ้าเรามองลูกค้าอยูแ่ ค่ตลาดในหมูบ่ า้ นเราจะมัดตอกขายหรือจัดวางผัก อย่างไรก็ได้ แต่ถ้าจะขายในตลาดระดับบน เราต้องไปศึกษาตัวผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ หามูลค่าเพิ่มของ สินค้าเราให้ได้ และอย่าหวงความรู้ ไม่ต้องกลัวว่าใครจะมาแย่งอาชีพ เพราะการแบ่งปันนั้นจะก่อให้เกิด การต่อยอด เกิดการกระจายการพัฒนา และเกิดการรวมกลุม่ ทีเ่ ข้มแข็งมากกว่าการท�ำเพียงคนเดียวได้ นอกจากนี้พี่ดาวฝากถึงผู้อ่านทุกท่านว่า ปัจจุบันผู้คนนิยมไปท�ำงานรับจ้างมากกว่าการเกษตร จริงๆ แล้วอยากให้มองว่าการเกษตรเป็นพื้นฐานที่ส�ำคัญที่ทุกคนก็สามารถท�ำได้ เริ่มจากปลูกผักผลไม้ใน บ้าน หากไม่มเี วลาดูแล ผักไร้ดนิ ก็เป็นทางเลือกทีด่ ี เพราะไม่ตอ้ งขุดดินหรือรดน�ำ้ เป็นประจ�ำ และ ยังน�ำ้ หนักเบาเหมาะกับผูส้ งู อายุหรือผูเ้ กษียณทีต่ อ้ งการปลูกผักไว้กนิ เองในครัวเรือนอีกด้วย


สวัสดี

รักษ์ โลก

10

ปั่นเพื่อเรา ปั่นเพื่อโลก

จังหวัดล�ำปาง จับมือกับ หน่วยงานองค์กรภาครัฐ-เอกชน ในพื้นที่จังหวัดล�ำปางและจังหวัดใกล้เคียง สานความร่วมมือส่งเสริม

กิจกรรมด้านการท่องเที่ยว “เมืองที่ไม่หมุนตามกาลเวลา” น�ำสมาชิกชมรมผู้ ใช้รถจักรยานในจังหวัดล�ำปาง ร่วมปั่นจักรยานเที่ยวรอบเมือง ในกิจกรรม “ล�ำปาง นครแห่งจักรยาน” เพื่อให้ประชาชนชาวล�ำปางได้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง หันมาใช้รถจักรยานเป็น พาหนะในการเดินทางมากยิ่งขึ้น อีกทั้งการปั่นจักรยานยังสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างครอบครัว และชุมชน และถือเป็นการรวมพลังของ ประชาชนเพื่อช่วยกันลดการใช้พลังงานร่วมกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอีกด้วย รักษ์โลกฉบับนี้ไปดูกันว่าปั่นการจักรยาน มีข้อดีอะไรบ้าง

ดีต่อโลก

ดีต่อเรา ลดอัตราการเสียชีวิตลงเมื่อเทียบกับยานพาหนะอื่นๆ 40% โอกาสเสียชีวิตเพียง 1 ใน 68,673

6.5 กม./วัน

กก./ปี

ปั่นจักรยานประมาณ 6.5 กม./วัน ลดการปล่อย CO ลง 900 กก. /ปี

บริการจักรยาน-ให้ยืม เทศบาลนครล�ำปางบริการจักรยาน-ให้ยืม แบบวันเดียว โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายใดๆ เพียงน�ำ “บัตรประชาชน ” หรือ “Passport”ไปแลกยืมกับเจ้าหน้าที่ ณ ศูนย์บริการข้อมูลนักท่องเที่ยว เทศบาลนครล�ำปาง เวลาให้บริการ : จันทร์-ศุกร์ 09.00-16.30 น. จักรยานที่น�ำมาส่งคืนต้องอยู่ในสภาพที่ไม่ช�ำรุดเสียหาย

ปั่นจักรยาน 45 นาที เผาผลาญ 500 กิโลแคลอรี่ ท�ำให้กล้ามเนื้อแข็งแรง ป้องกันเข่าเสื่อม ลดความเสี่ยงโรคหัวใจลง 50% เพิ่มประสิทธิภาพของสมอง 15% ปั่นจักรยาน 1 วัน/สัปดาห์ ประหยัดค่าน�้ำมัน 5,200 บาท/คัน/ปี หากร่วมกัน เดิน หรือ ปั่นจักรยาน จะลดมูลค่า ความเสียหายด้านสุขภาพของประเทศ 62,000 ล้านบาท/ปี http://www.gonorththailand.com/review_detail_398 http://www.creativemove.com/ http://www.seub.or.th/

ความคืบหน้าการจัดท�ำรายงานและมาตรการป้องกันและแก้ไข ผลกระทบสิ่งแวดล้อม(EIA) โครงการเหมืองแร่หินปูนฯ ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้ก�ำหนดให้การท�ำเหมืองหินปูนเพื่ออุตสาหกรรมเคมี ของ กฟผ.แม่เมาะ ค�ำขอประทานบัตรที่ 11/2556 ร่วมแผนผังโครงการท�ำเหมืองเดียวกันกับประทานบัตรที่ 30481/16050 ซึ่งตั้งอยู่ บนพื้นที่ บ้านห้วยคิง ต.แม่เมาะ และบ้านข่วงม่วง ต.นาสัก อยู่ในขอบเขตที่ต้องจัดท�ำรายงานและมาตรการป้องกันและแก้ไขผล กระทบสิ่งแวดล้อม(EIA) ซึ่ง กฟผ. ได้ให้บริษัท ทอพ-คลาส คอนซัลแทนท์ จ�ำกัด เป็นผู้จัดท�ำรายงานและมาตรการป้องกันและแก้ไข ผลกระทบสิ่งแวดล้อม(EIA) โดยบริษัทฯ ได้จัดเวทีรับฟังความคิดเห็น ครั้งแรกไปแล้วเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2557 และมีการลงพื้นที่ สัมภาษณ์ประชาชนเป็นรายบุคคล ก่อนน�ำมาจัดท�ำร่างรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบฯ และได้น�ำเสนอในเวทีรับฟังความคิดเห็น ครัง้ ที่ 2 ซึง่ จัดขึน้ เมือ่ วันที่ 21 มิถนุ ายน 2558 ทีผ่ า่ นมา ณ โรงเรียนบ้านแม่จาง ต.นาสัก ซึง่ การแสดงความคิดเห็นจากประชาชน ผูน้ ำ� ชุมชน ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องผ่านไปด้วยดี ซึ่งบริษัทฯ จะน�ำข้อมูลดังกล่าวไปจัดท�ำรายงานฉบับเต็ม น�ำเสนอต่อหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาในขั้นตอนต่อไป


แม่เมาะ

http://maemoh.egat.com

ฝายชะลอน�้ำ กฟผ.แม่เมาะ

11

เสริมระบบนิเวศน์ คืนความสมบูรณ์สู่ อ.แม่เมาะ

เป็ น เวลากว่ า 6 ปี นั บ ตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ. 2553

ที่ ก ารไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย (กฟผ.)แม่ เ มาะ ได้ริเริ่มโครงการสร้างฝายชะลอน�้ำแก่ชุมชนในพื้นที่ อ.แม่เมาะ ตามแนวพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ฝาย ชะลอน�้ำจะช่วยชะลอการไหลของกระแสน�้ำ และป้องกันการ ชะล้างพังทลายของตลิ่ง เมื่อน�้ำไหลช้าลง ก็จะอยู่ในล�ำห้วยได้ นานขึ้น สร้างความชุ่มชื้นให้ผืนป่าในหน้าแล้ง ฝายยังช่วยลด ตะกอนที่ไหลมากับน�้ำ ลดการตื้นเขินที่ปลายน�้ำ ท�ำให้น�้ำใสมี คุณภาพดีขึ้น เพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ กลายเป็นแนว กันไฟป่า บรรเทาความรุนแรงของไฟได้ ฝายที่ กฟผ.แม่เมาะ ร่วมกับสมาชิกในชุมชนสร้างขึ้นเป็นฝายแบบกึ่งถาวร(ฝายหิน ทิ้ง) ใช้วัสดุจากธรรมชาติ ที่หาได้ง่ายในท้องถิ่นราคาประหยัด ไม้หมอนนอนไพร กิ่งไม้ ก้อนหิน จากบริเวณล�ำธารที่สร้างฝาย เพื่อลดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ในระยะยาว การท�ำฝายหิน ทิ้ง สมาชิกจะช่วยกันคนละไม้ละมือ ล�ำเลียงก้อนหินเล็กใหญ่ จากล�ำธาร มาใส่ลงในคอกฝาย ซึ่งท�ำจากไม้ไผ่หรือเศษไม้ในป่า ซึ่ ง ที่ ผ ่ า นมา กฟผ.แม่ เ มาะ ได้ ร ่ ว มกั บ ภาคี เ ครื อ ข่ า ยต่ า งๆ ทั้ ง ต� ำ รวจ ทหาร หน่ ว ยราชการ สถานศึกษา เยาวชนและประชาชน ในพื้ น ที่ สร้ า งฝายชะลอน�้ ำ แล้ ว กว่ า 1,348 ฝาย คื น ความสมบู ร ณ์ ใ ห้ แ ก่

พื้นที่ป่าจนในวันนี้หลายพื้นที่ใน อ.แม่เมาะ สามารถใช้ประโยชน์ จากน�้ำ เพื่ออุปโภคและบริโภคได้ตลอดทั้งปี ในเดื อ นมิ ถุ น ายน พ.ศ.2558 ที่ ผ ่ า นมา กฟผ. แม่ เ มาะ ได้ ร ่ ว มมื อ กั บ เครื อ ข่ า ยจิ ต อาสาในพื้ น ที่ ส ร้ า งฝาย ณ ห้วยขุนหลอด ต.จางเหนือ และ ห้วยป๋วย ต.นาสัก อ.แม่เมาะ จ.ล� ำ ปาง ซึ่ ง เป็ น การท� ำ ฝายชะลอน�้ ำ ในพื้ น ที่ ดั ง กล่ า วเป็ น ครั้งแรก เพื่อเพิ่มพื้นที่รักษาป่าต้นน�้ำแห่งใหม่ โดยล�ำธารสอง แห่งนี้ เป็นพื้นที่ต้นน�้ำที่ส�ำคัญส�ำหรับการเกษตรของชุมชน ซึ่งใน ปี พ.ศ. 2558 นี้ กฟผ.แม่เมาะ ได้สร้างฝายไปแล้วทั้งสิ้น 93 ฝาย ครอบคลุมพื้นที่แหล่งต้นน�้ำของ อ.แม่เมาะ และ อ.เมือง จ.ล�ำปาง ท�ำให้ในฤดูฝนที่จะถึงนี้ พื้นที่ อ.แม่เมาะ จะมีน�้ำที่กักเก็บได้จาก ปริมาณฝนที่ตกลงมา เพื่อใช้ท�ำการเกษตรในหน้าแล้งเพิ่มขึ้น แม้ เ ส้ น ทางจะยากล� ำ บากเพี ย งไร แต่ จิ ต อาสา กฟผ.แม่ เ มาะ พร้อมเต็มใจรักษาสิ่งแวดล้อมและธรรมชาติที่บ้านของเรา

สิงห์สยาม คว้าชัยเหนือเจ้าบ้าน ชนะเลิศ กฟผ. เมื่อ วันที่ 21 มิถุนายน 2558 ณ สนามกีฬา ลาน ฮ เหมือง แม่เมาะ คัพ ประจ�ำปี 2558 แม่ เ มาะ การไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย(กฟผ.)แม่ เ มาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง นายสมชาย ติวะตันสกุล ผู้อ�ำนวยการฝ่าย จัดการโรงไฟฟ้าแม่เมาะ เป็นประธานการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ ฟุตบอล กฟผ.แม่เมาะ คัพ ประจ�ำปี 2558 ซึ่งจัดแข่งขันทุกวัน เสาร์-อาทิตย์ ตั้งแต่วันที่ 4 เมษายน เป็นต้นมา แบ่งการแข่งขัน ออกเป็ น ประเภทเยาวชนอายุ ไ ม่ เ กิ น 18 ปี ประเภทอาวุ โ ส อายุ 40 ปีขึ้นไป และ ประเภทประชาชนทั่วไป โดยการแข่งขัน นัดชิงชนะเลิศ ประเภทอาวุโสอายุ 40 ปีขึ้นไป ทีม Lampang Police เฉือนเอาชนะ ทีมพรานเหนือ ไปอย่างสนุกด้วยคะแนน 6:5 ส่วนในประเภทประชาชนทั่วไป ทีม สิงห์สยาม เอาชนะ ทีมลมเหนือ เจ้าบ้านจาก กฟผ.แม่เมาะ แบบสุดลุน้ จากการดวล ลูกโทษไปด้วยคะแนน 4:3 และประเภทเยาวชนอายุไม่เกิน 18 ปี

ทีม เทคนิค Love Sport ชนะบาย ได้รางวัลชนะเลิศ เนือ่ งจากทีมคูแ่ ข่งไม่สามารถเข้าร่วมการแข่งขันได้ นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารแข่ ง ขั น ฟุ ต บอลคู ่ พิ เ ศษ ระหว่ า งที ม VIP กฟผ.แม่เมาะ พบกับ ทีมสื่อมวลชนจังหวัดล�ำปาง ซึ่งปีนี้ทีม กฟผ.แม่เมาะ เตรียมตัวมาอย่างดีหลังจากเคยแพ้ทีมสื่อฯ เมื่อปี ที่แล้ว และสามารถเอาชนะไปขาดลอยด้วยคะแนน 5:1 โดยหลัง การแข่งขันเสร็จสิ้น ผู้อ�ำนวยการฝ่ายจัดการโรงไฟฟ้าแม่เมาะ เป็ น ผู ้ แ ทน กฟผ.มอบถ้ ว ยรางวั ล พร้ อ มเงิ น รางวั ล แก่ ที ม ผู ้ ช นะเลิ ศ ในประเภทเยาวชน และ ประเภทอาวุ โ ส ที ม ละ 10,000 บาท และประเภทประชาชนทั่ ว ไป 15,000 บาท โดย กฟผ.แม่เมาะ เดินหน้าจัดการแข่งขัน กฟผ.แม่เมาะ คัพ มาอย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมสุขภาพ สร้าง สัมพันธ์อันดี และใช้กีฬาต้านยาเสพติด โดยใน ปี 2558 นีไ้ ด้รบั ความสนใจจากทีมต่างๆ เข้าร่วม สมัครแข่งขัน รวม 29 ทีมจากทัว่ จังหวัดล�ำปาง


12

สวัสดี

ประมวล

ภาพกิจกรรม

1

2

1

1 มิ.ย 58 กฟผ.แม่ เ มาะ ร่ ว มประเพณี ส รง น�้ ำ พระพุ ท ธบาทกอรวก(นา-งอย) ณ ส� ำ นั ก สงฆ์ พระพุทธบาทกอรวก บ้านกอรวก ต.จางเหนือ ซึ่งจัด ขึ้นในช่วงวันวิสาขบูชาของทุกปี

3 2

4

5

4

5

3 มิ.ย. 58 กฟผ.แม่ เ มาะ จั ด โครงการเปิ ด บ้ า น ต้อนรับเพื่อน พี่ น้อง รุ่นที่ 3 ต้อนรับผู้บริหารและ เจ้ า หน้ า ที่ เ ทศบาลเมื อ งต� ำ บลพิ ชั ย และประชาชน จาก ต.พิชัย อ.เมือง เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ ในการด�ำเนินภารกิจของ กฟผ.แม่เมาะ แก่ชุมชน ในเขต อ.เมืองล�ำปาง โดยโครงการจะจัดทุกวันพุธ ของสัปดาห์ รวม 16 รุ่น

5 มิ.ย. 58 กฟผ.แม่ เ มาะ ร่ ว มกั บ ส� ำ นั ก จั ด การ ทรัพยากรป่าไม้ที่ 3 (ล�ำปาง) และเครือข่ายป่าชุมชน จ.ล�ำปาง จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การส่งเสริม เครือข่ายป่าชุมชนระดับจังหวัด ณ อาคารอเนกประสงค์ กฟผ.แม่เมาะ เพือ่ แลกเปลีย่ นเรียนรูแ้ ละหารือแนวทาง การด�ำเนินการของเครือข่ายฯในอนาคต

3

6

30 พ.ค. 58 กฟผ.แม่เมาะ จัดพิธีวางพวงมาลา ถวายบังคมพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 เพื่อน้อมร�ำลึกใน พระมหากรุณาธิคุณและแสดงออกถึงความจงรักภักดี โดยมีทุกภาคส่วนใน จ.ล�ำปาง ร่วมงาน

5 มิ.ย. 58 เด็ ก ชายทศพร บุ ญ มาเทพ นั ก เรี ย น โรงเรียนสบป้าดวิทยา ต.สบป้าด ผู้ได้รับการสนับสนุน จาก กฟผ.แม่เมาะ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 จากการประกวดสุนทรพจน์ ระดับชั้นมัธยมศึกษา ในงานวั น สิ่ ง แวดล้ อ ม กฟผ. ประจ� ำ ปี 2558 ณ ส�ำนักงานกลาง กฟผ.

15 มิ.ย. 58 กฟผ.แม่ เ มาะ ร่ ว มประเพณี ส รงน�้ ำ พระธาตุวังพระ และห่มผ้ารอบองค์พระธาตุเจดีย์ ณ วัดผาลาด ชุมชนผาลาด ต.พระบาท อ.เมือง

6


แม่เมาะ

13

http://maemoh.egat.com

17 มิ.ย. 58 กรมโรงงานอุ ต สาหกรรมพร้ อ มด้ ว ย บริษัทที่ปรึกษา เข้าตรวจประเมินการจัดการของเสีย โรงไฟฟ้าแม่เมาะ ตามโครงการส่งเสริมการใช้ประโยชน์ จากกากของเสีย ตามหลัก 3 Rs คือ Reduce Reuse Recycle ที่โรงไฟฟ้าแม่เมาะเข้าร่วม เพื่อให้เกิดการ หมุนเวียนและการใช้ทรัพยากรภายในองค์กรให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด

7

18 มิ.ย. 58 กฟผ.แม่ เ มาะ มอบงบประมาณ 43,000 บาท สนับสนุนโครงการส่งเสริมการเลี้ยงปลา ในดิน ต.นาสัก ของกรมประมง จ.ล�ำปาง โดยมอบ พันธุ์ปลาจ�ำนวน 87,000 ตัว แก่สมาชิกชุมชน 174 ครัวเรือน พร้อมร่วมกันปล่อยปลาอีก 20,000 ตัว ลงในสระน�้ำ รร.สบจางวิทยา ต.นาสัก 19 มิ.ย. 58 นายอ�ำเภอแม่เมาะ ร่วมเปิดโครงการ ให้ความรู้คุณค่าไฟฟ้าไทย รุ่นที่ 3 ซึ่ง กฟผ.แม่เมาะ จัดขึ้นเพื่อให้ความรู้เรื่องภารกิจ กฟผ. และการผลิต ไฟฟ้าแก่เยาวชนใน อ.แม่เมาะ โดยมีนักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาตอนปลายและมัธยมศึกษา จาก ต.สบป้าด เข้าร่วมโครงการ

7

9 8

21 มิ.ย. 58 บริ ษั ท ทอพ-คลาส คอนซั ล แทนท์ จ�ำกัด จัดการประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นครั้งที่ 2 โครงการเหมืองแร่หนิ ปูนเพือ่ อุตสาหกรรมเคมีของ กฟผ. แม่เมาะ เพื่อรับฟังความคิดเห็นต่อร่างรายงานและ มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิง่ แวดล้อม โดยมี คณะผูบ้ ริหาร กฟผ. ผูน้ ำ� ชุมชน สมาชิกชุมชนเข้าร่วม 21 มิ.ย. 58 กฟผ.แม่เมาะ ร่วมท�ำบุญฉลองตราตั้ง เจ้าอาวาส ของ พระภูมิภัทร ฐานสมปนโน เจ้าอาวาส วัดบ้านดง พร้อมร่วมพิธีวางศิลาฤกษ์อุโบสถและเบิก เนตรพระพุทธสมปรารถนา(พระเจ้าทันใจ)

8

10

9

11

22 มิ.ย. 58 พลเอก วิทวัส รชตะนันทน์ ผูต้ รวจการแผ่นดิน พร้อมด้วยคณะจากส�ำนักงานสอบสวน 1 ส�ำนักงานผูต้ รวจ การแผ่นดิน ลงพื้นที่ตรวจสอบข้อมูล เรื่องร้องเรียนปัญหา การอพยพราษฎรทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจาก กฟผ.แม่เมาะ โดยมี ผูบ้ ริหาร กฟผ.แม่เมาะ หัวหน้าส่วนราชการทีเ่ กีย่ วข้อง ผูน้ ำ� ชุมชนและผูร้ อ้ งเรียนร่วมให้ขอ้ มูลและน�ำเข้าส�ำรวจพืน้ ทีจ่ ริง

11

12 10

12


สวัสดี

14

ไวรัสเมอร์ส หรือ เมอร์สคอฟ ในสถานการณ์ปัจจุบันเรามีโรคภัยไข้เจ็บรุกรานมากมาย และมักทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งมีโรคใหม่ๆที่เราต้องระวัง เช่น ไวรัสเมอร์ส วันนีอ้ โรคาพาสุขมีขอ้ มูลโรคไวรัสเมอร์สทีก่ ำ� ลังระบาดขึน้ ในช่วงนี้ พร้อมวิธกี ารสังเกตอาการและป้องกันมาฝากกันค่ะ สาเหตุ มีต้นก�ำเนิดจากประเทศซาอุดิอาระเบียและยังไม่สามารถ ระบุได้แน่ชัดว่าเกิดจากคนหรือสัตว์หรือเชื้อโรคใด แต่มีผลวิจัย ระบุว่าอาจมีอูฐเป็นพาหะน�ำเชื้อ ทั้งนี้ไวรัสเมอร์สเป็นเชื้อไวรัส เดียวกับโรคซาร์ส ที่แพร่ระบาดอย่างหนักในเอเชียเมื่อปี พ.ศ. 2546 ติดต่อกันจากการไอจาม

วิธีป้องกัน

กินร้อน- ช้อนกลาง- ล้างมือ ใช้ผ้าหรือกระดาษปิดปากเมื่อจาม หลีกเลี่ยงไปสถานที่มีผู้คนแออัด

อาการ คล้ายเป็นโรคระบบทางเดินหายใจมีไข้สูง ไอ หายใจขัด ถ่ายเหลว หากอาการรุนแรงอาจท�ำให้การท�ำงานของไตล้มเหลว (ไตวาย) หรือปอดบวมจนเสียชีวิตทันที โดยเชื้อจะอยู่ในละออง น�้ำมูกน�้ำลายผู้ป่วย ติดต่อได้ง่ายจากการไอจาม โดยผู้ป่วย เกือบทั้งหมดร้อยละ 96 มีโรคประจ�ำตัว 1 โรคหรือมากกว่า ได้แก่ เบาหวาน รองลงมาคือความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคไต สถานการณ์ในปัจจุบัน ไวรั ส ดั ง กล่ า วยั ง ไม่ มี วั ค ซี น ป้ อ งกั น หรื อ วิ ธี รั ก ษา และ มีโอกาสเสียชีวิตร้อยละ 35 เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2558 ประเทศไทยพบผูป้ ว่ ยเมอร์สรายแรกเป็นชายชาวตะวันออกกลาง อายุ 75 ปี ติดเชื้อจากต่างประเทศแล้วเดินทางเข้าไทย รักษาใน ห้องแยกโรคสถาบันบ�ำราศฯ โดยทางการได้ติดตามคนสัมผัส ใกล้ชิดเบื้องต้น 59 ราย กับบุคคลในครอบครัว 3 คนอยู่ห้องแยก โรคด้วย ซึ่งผู้เชี่ยวชาญมั่นใจไทยจะไม่แพร่ระบาดเป็นวงกว้าง เหมือนเกาหลีใต้ ขอให้ประชาชนอย่าตืน่ ตระหนก เนือ่ งจากผูป้ ว่ ย รายนี้ไม่ได้ติดเชื้อในประเทศไทย

หมั่นออกก�ำลังกายและรักษาสุขภาพให้แข็งแรง สวมหน้ากากอนามัยหากต้องไปสถานที่มี ผู้คนจ�ำนวนมาก มาพบแพทย์พร้อมแจ้งเจ้าหน้าที่หากมีประวัติ เดินทางไปประเทศที่มีการระบาดของเชื้อ ได้แก่ ซาอุดิอาระเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ กาตาร์ จอร์แดน โอมาน คูเวต อียิปต์ เยเมน เลบานอน อิหร่าน ตุรกี อังกฤษ เยอรมนี ฝรั่งเศส อิตาลี กรีซ เนเธอร์แลนด์ ออสเตเลีย ตูนิเซีย แอลจีเรีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สหรัฐอเมริกา และเกาหลีใต้ หากสงสัยว่าตนเองมีอาการดังกล่าวให้รีบพบ แพทย์ทนั ที ไม่ตอ้ งรอถึง 2 วัน มีขอ้ สงสัยสามารถ 1422 สอบถามเพิ่มเติม โทรสายด่วนกรมควบคุมโรค 24 ชม. 1422 ตลอด 24 ชั่วโมง

HOT LINE สายด่วนกรมควบคุมโรค

ที่มา www.kapook.com , http://www.nationtv.tv

กองการแพทย์และอนามัยโรงไฟฟ้าแม่เมาะ

แจ้งก�ำหนดออกหน่วยบริการสุขภาพเคลื่อนที่เดือนกรกฎาคม 2558 ในพื้นที่ อ.แม่เมาะ จ�ำนวน 4 ครั้งดังนี้ วันที่ 2 บ้านสบป้าด/บ้านปงต้นปิน ต.บ้านดง, วันที่ 7

บ้านนาแช่/นาสันติราษฏร์ ต.จางเหนือ, วันที่ 14 บ้านสวนป่า แม่เมาะ ต.สบป้าด, วันที่ 21 บ้านเมาะสถานี ต.แม่เมาะ ทั้งนี้ในเดือนมิถุนายน 2558 ที่ผ่านมา กองการแพทย์และ อนามัยโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ได้ออกให้บริการตรวจสุขภาพเคลื่อนที่ มี ผู้เข้ารับการตรวจรักษาได้แก่ หมู่บ้านห้วยรากไม้ ต.สบป้าด จ�ำนวน 63 ราย, หมู่บ้านทุ่งกล้วย ต.แม่เมาะ จ�ำนวน 112 ราย หมู่บ้าน แม่จาง/ข่วงม่วง อ.แม่เมาะ จ�ำนวน 104 ราย เป็นต้น


แม่เมาะ

15

http://maemoh.egat.com

แม่เมาะ ฮาล์ฟมาราธอน วิ่งรับความสุขและสุขภาพดีๆ ที่ แม่เมาะ เป็ น ที่ รู ้ กั น โดยทั่ ว ไปว่ า การออกก� ำ ลั ง กายนั้ น สามารถลดความเครี ย ด จากการหลั่ ง สารเอ็ น โดรฟี น หรื อ สารแห่งความสุขจากร่างกาย และระบบหมุนเวียนภายในที่ดีขึ้น และความสุขจะเพิ่มขึ้นอีกมาก หากเราได้ ออกก�ำลังกายในที่มีความสวยงาม อากาศดี และที่ส�ำคัญมีเพื่อนออกก�ำลังกายไปพร้อมๆ กัน ความสุขนี้ อยู่ ไม่ ไกล มาพบกันได้ที่ งานเดิน-วิ่ง เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ แม่เมาะ ฮาล์ฟมาราธอน ครั้งที่ 24 วันอาทิตย์ที่ 2 สิงหาคม 2558 นี้

งานเดิน-วิ่ง แม่เมาะฮาล์ฟมาราธอน การแข่งขันที่จัดขึ้น ต่อเนือ่ งยาวนานที่สุดในประเทศไทย บนเส้นทางวิ่งที่ได้รับการ ยอมรับว่ามีความสวยงามที่สุดแห่งหนึ่ง บนเส้นทางจากบริเวณ อ.แม่เมาะ ไปยังหน้าโรงไฟฟ้า รวมระยะทางกว่า 21.1 กิโลเมตร พร้ อ มกั บ จ� ำ นวนนั ก วิ่ ง ทั้ ง จากทั่ ว ประเทศ และชาวต่ า งชาติ กว่าหมื่นคนเข้าร่วมงาน ได้พบเพื่อนร่วมทางทุกเพศทุกวัย ตั้งแต่ เด็กนักเรียน นักศึกษา นักกีฬาอาชีพ ตลอดจนผู้สูงอายุที่มาร่วม ออกก�ำลังเพื่อสุขภาพดีๆ โดยมีถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นรางวัลสูงสุดส�ำหรับผู้เข้า แข่งขันในรุ่นฮาล์ฟมาราธอน นอกจากนี้ยังมีรางวัลส�ำหรับนักวิ่ง แต่งกายแฟนซีที่มาสร้างสีสันให้กับงานได้อย่างดีอีกด้วย

ส�ำหรับปีนี้นอกจากสีสันและความสุขที่จะได้รับจากการ ออกก�ำลังกายแล้ว ภายในงานยังมีสินค้าเกี่ยวกับกีฬาวิ่ง ไม่ว่า จะเป็นรองเท้า เครื่องแต่งกาย ฯลฯ สินค้าและผลิตภัณฑ์ชุมชน จาก อ.แม่เมาะ และ จ.ล�ำปาง ส่วนที่ขาดไม่ได้เลยคือดารารับเชิญ ปีนี้มี ซัน ประชากร ปิยะสกุลแก้ว นักแสดงจากละครนางชฎา และแพรว เฌอมาร์วี สุวรรณภาณุโชค นางเอก MV เพลงภูมิแพ้ กรุงเทพ จากค่าย Polyplus มาร่วมในพิธปี ล่อยตัวนักวิง่ และแสดง มินิคอนเสิร์ตอีกด้วย สมัครด้วยตัวเอง บริเวณลานหน้าโรงเรียนแม่เมาะวิทยา ต.แม่เมาะ ในวันเสาร์ที่ 1 ส.ค. 58 ตั้งแต่เวลา 09.00-20.00 น. และวันอาทิตย์ที่ 2 ตั้งแต่เวลา 04.30-05.45 น. ข้อมูลเพิ่มเติมที่ เวปไซต์ http://maemoh.egat.com/public/

@

กาแฟคั่วบดเอง ฮิมม่อน ชีวติ คนเรา...บางครัง้ ในความขมก็แอบมีหวาน บางทีกซ็ อ่ น ความมันเอาไว้ด้วยกัน เฉกเช่นเดียวกับรสชาติของกาแฟ เครื่อง ดื่มยอดนิยมตลอดกาล ยิ่งใครเป็นคอกาแฟแล้วเพียงจิบเดียวก็รู้ ได้ถึงความพิถีพิถันของกาแฟแก้วนั้น “ร้านฮิมม่อน” ของป้าไล วิไล ชุ่มเชย เป็นอีก 1 ร้านของ อ.แม่เมาะ ที่ลูกค้าชื่นชอบในสไตล์ กาแฟเข้มหอม หวานน้อย ด้วยพ่อบ้านโปรดปรานการดื่มกาแฟ จึงศึกษาอย่างลึกซึ้ง น�ำมาสู่การคัดสรรแหล่งปลูกกาแฟ 1 ในนั้น คือ บ้านแม่แจ๋ม อ.แจ้หม่ จ.ล�ำปาง น�ำมาสีควั่ เองในโรงคัว่ หลังบ้าน เครื่องคั่วได้ครั้งละ 10 กิโลกรัม เวลาประมาณ 40 นาที จะเน้นใช้

ที่ร้านก่อนแล้วจ�ำหน่ายให้ลูกค้าที่มีเครื่องชงเอง ถัดมาคือการบดที่แยกเป็น 2 เครื่องบด กาแฟร้อนใช้ อราบิ ก ้ า 100% ส่ ว นกาแฟเย็ น ใช้ โรบั ส ต้ า ผสม อราบิก้าเพิ่มความเข้ม ต่อจากนั้นไปที่เครื่อง ชงกาแฟไซส์ใหญ่แบบ 2 หัว ทั้งหมดทั้งมวลนี้ ป้าไลยังเพิ่มความใส่ใจในรายละเอียดของลูกค้า แต่ละคนที่แตกต่างกัน นอกจากกาแฟสดเมนูหลักแล้ว ป้าไลมีกาแฟไซฟ่อน (ชงด้วยเครื่องดิ๊ปกาแฟญี่ปุ่น) และฮิมม่อนที่เป็นเอสเพรสโซ่ อีกแนว โอวว..เรื่องราวของกาแฟช่างมากมายเหลือเกิน เชิญไปคุย กับเจ้าของร้านต่อเอง ร้านอยู่ที่ริมถนนลงเนินโค้งหมู่บ้านห้วยคิง จากถนนผาลาดเข้าแม่เมาะผ่านบ้านพัก กฟผ. ลงมาเริ่มชะลอ เกื อ บถึ ง ทางโค้ ง อยู ่ ด ้ า นขวา เปิ ด ทุ ก วั น 08.00-16.00 น. เสาร์-อาทิตย์ ปิดเร็ว หน่อย 15.00 น. โทรสัง่ ที่ 082-1946784 ร้านนี้ลูกสาวสวยนะ...นายอ้วนขอบอก


3-5 ก.ค.

กฟผ. ร่วมกับ กฟภ. และ กฟน. น�ำเยาวชนจาก 17 โรงเรียนใน ภาคเหนือและภาคกลางตอนบน เข้าค่าย “เยาวชนกับการอนุรกั ษ์พลังงาน” เพือ่ ถ่ายทอดความรูด้ า้ นพลังงานไฟฟ้า ณ กฟผ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง

เดือนนี้มีอะหยัง

10 / 16 ก.ค.

กฟผ.แม่เมาะ จัดโครงการให้ความรูค้ ณ ุ ค่าไฟฟ้าไทย รุน่ ที่ 5 แก่นกั ศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการ กฟผ.แม่เมาะ และรุน่ ที่ 6 แก่นกั เรียน ร.ร.แม่เมาะวิทยา ตามล�ำดับ

ขอเชิญชวนนักปั่นจิตอาสารวมพลังสร้างฝายชะลอน�้ำ 12 ก.ค. กับชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพ กฟผ.แม่เมาะ ในกิจกรรม “ปัน่ เสือไปสร้างฝาย ถวายแม่ของแผ่นดิน” ณ บ้านสวนป่า 14 ก.ค. แม่เมาะ ต.บ้านดง อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง - ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมได้ที่ คุณกัญพร พุกศิริกุล งานแถลงข่าวสื่อมวลชน การแข่งขันเดิน-วิ่ง เฉลิมพระเกียรติฯ แม่เมาะ ประธานชมรมฯ โทร.088-5473277 ก่อนวันที่ 8 ก.ค. 58 ฮาล์ฟมาราธอน ครัง้ ที่ 24 ณ บ้านเสานัก อ.เมือง จ.ล�ำปาง ทุกวันพุธที่ 1, 15, 22, 29 ก.ค. กฟผ.แม่เมาะ จัดโครงการเปิดบ้านต้อนรับ พี่ เพือ่ น น้อง ในพืน้ ที่ จ.ล�ำปาง ประจ�ำปี 2557 เพือ่ น�ำสมาชิกในชุมชน จ.ล�ำปาง ศึกษาดูงานกระบวนการผลิตไฟฟ้าและร่วมกิจกรรมสร้างความ สัมพันธ์อนั ดีรว่ มกัน /ตลอดเดือน ก.ค. กองจิตอาสา กฟผ.แม่เมาะ ถวายเทียนพรรษาให้แก่วดั ในเขตพืน้ ที่ อ.แม่เมาะ

คณะผู้จัดท�ำ ที่ปรึกษา

นายถาวร งามกนกวรรณ นายนิกูล ศิลาสุวรรณ

ผู้ช่วยผู้ว่าการเหมืองแม่เมาะ ผู้ช่วยผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า2

นายสมชาย ติวะตันสกุล

ผู้อ�ำนวยการฝ่ายจัดการโรงไฟฟ้าแม่เมาะ

บรรณาธิการบริหาร บรรณาธิการ

หัวหน้าแผนกสื่อมวลชนสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ

กองบรรณาธิการ

แผนกสื่อมวลชนสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ แผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ แผนกประชาสัมพันธ์เหมืองแม่เมาะ ศูนย์จิตอาสาโรงไฟฟ้าแม่เมาะ

ออกแบบและจัดท�ำ

แผนกสื่อมวลชนสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ โทรศัพท์ 054-256086 อีเมล์ CSRmaemoh@egat.co.th ร้านกล้าคิดก�ำลังดี โทรศัพท์ 081-8812109 อีเมล์ gumlangdee@gmail.com

ติดต่อเรา : โรงไฟฟ้าแม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 800 หมู่ที่ 6 ต.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง 52220 เหมืองแม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 801 หมู่ที่ 6 ต.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�ำปาง 52220

http:/ / maemoh.egat.com tel : 054-256070 fax : 054-256988 ศูนย์จิตอาสา กฟผ. แม่เมาะ tel : 054-256091 fax : 054-256098 แผนกประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ tel : 054-252730 fax : 054-252731 แผนกประชาสัมพันธ์เหมืองแม่เมาะ tel : 054-254054 fax : 054-254052 สนามกอล์ฟ กฟผ.แม่เมาะ tel : 054254970 พิพิธภัณฑ์ศูนย์ถ่านหินลิกไนต์ศึกษาฯ (เหมืองแม่เมาะ) tel : 054-254930 กองชุมชนสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.