สมมติฐานบางประการเกี่ยวกับรูปแบบทางสถาปัตยกรรม พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาในสมัยเมื่อแรกสถาปนา

Page 1

ฉบับที่ 29 (มกราคม-ธันวาคม 2558) 225

สมมติฐานบางประการเกี่ยวกับรูปแบบทางสถาปตยกรรม พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาในสมัยเมื่อแรกสถาปนา* ดร. เกรียงไกร เกิดศิริ

อาจารย ประจําหลักภาควิชาสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร อิสรชัย บูรณะอรรจน

นักวิจัย และนักศึกษาปริญญาเอก หลักสูตรสถาปตยกรรมพื้นถิ่น คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ตะวัน วีระกุล

อาจารยประจําภาควิชาศิลปสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร บทคัดยอ

บทความ “สมมติฐานบางประการของลักษณะทางสถาปตยกรรมพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยา เมื่อแรกสถาปนา” จากขอสันนิษฐานวาพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยานาจะสรางขึ้นในรัชกาลสมเด็จ พระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพระงั่ว) - รัชกาลสมเด็จพระราเมศวร ในป พ.ศ.1931 จึงควรจะมี ความสัมพันธกับพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี ทั้งในแงของการวางผัง และรูปแบบทางสถาปตยกรรม ทั้งนี้สันนิษฐานวา อาจเคยวางผังเปนพระปรางควางตัวเรียงแถวหนากระดานกัน 3 องค นอกจากนี้ ในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยากลาววาพระศรีรตั นมหาธาตุมคี วามสูงตัง้ แตฐานจรดยอดประมาณ 38 เมตร แตเนื่องจากเรือนยอดของพระศรีรัตนมหาธาตุไดพังทลายลงมาในสมัยพระเจาทรงธรรม จึงเกิดคําถาม 2 ขอ คือ ขอที่ 1 บนเรือนยอดชั้นที่ 1 หรือที่เรียกวาชั้นอัสดงตรงมุมประธานนั้นอาจ เคยตกแตงดวยประติมากรรมรูปครุฑหรือเปนกลีบขนุน ขอที่ 2 บนสันหลังคาของมุขดานตะวันออก มีการตกแตงดวยสถูปทรงปรางคดวยหรือไม อันนําไปสูขอเสนอเพิ่มเติม และการสันนิษฐานรูปแบบ สถาปตยกรรมพระศรีรตั นมหาธาตุเมือ่ แรกสถาปนาโดยใชหลักฐานทางสถาปตยกรรมของพระมหาธาตุ องคอื่นๆ ที่สรางขึ้นกอนหนา และสรางรวมสมัยกับพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา คําสําคัญ: พระศรีรัตนมหาธาตุ / พระมหาธาตุ / อยุธยา / พระปรางค * เปนสวนหนึง่ ของการศึกษาในโครงการวิจยั “การพัฒนาระบบการสือ่ ความหมายมรดกทางสถาปตยกรรม ผานระบบอินเตอรเน็ตกรณีศึกษา วัดมหาธาตุอยุธยา (Multimedia Design for Architectural Heritage Tourism Interpretation a case study of Wat Mahathad Ayutthaya)” ภายใตแผนการวิจัย “แผน ยุทธศาสตรขับเคลื่อนประเทศไทยเปนศูนยกลางการทองเที่ยวของภูมิภาคดวยการจัดการทองเที่ยวแหลง มรดกโลกในเอเชียตะวันออกเฉียงใตภาคพื้นทวีป (Driven Strategic Plan for Thailand as a Hub of Tourism by Managing the World Heritage in the Main Land of Southeast Asia)” ซึ่งไดรับทุน สนับสนุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร และสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ประจําป พ.ศ. 2556.


226

หนาจั่ว: วาดวยสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม

วารสารวิชาการ ประจําคณะสถาปตกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

Assumptions about Architectural Form of Phra Sri Rattana Mahathat Ayuthaya in the Early Period Kreangkrai Kirdsiri, Ph.D.

Lecturer, Department of Architecture Faculty of Architecture, Silpakorn University Isarachai Buranaut

Researcher and Ph.D. Candidate in Vernacular Architecture, Faculty of Architecture, Silpakorn University Tawan Weerakul

Lecturer, Department of Thai Architecture and Related Art Faculty of Architecture, Silpakorn University Abstract

This article comprises of three main parts: 1) the history of the temple relating to Ayutthaya period; 2) the architectural aspects of Phra Prang Mahathadu Ayuthaya during the first erection; and 3) the architectural aspects of Phra Prang Mahathat Ayuthaya during the preservation in the reign of King Prasat Thong. It has been assumed that Phra Prang Mahathat Ayuthaya was constructed during the reign of King Boromrachathiraj I (Khun Luang Phra Ngua) - King Ramesuan in 1388 due to the fact that the architectural style and the plan of Mahathadu relating to that of Pra Prang Mahathadu Lopburi. It was also found that the height of Phra Prang Mahathadu Ayuthaya t is 38 metres, then the top part collapsed in the reign of King Song Tham. It was assumed that the upper layer at the main angle used to be decorated with Garuda or decorated parts and the roof top at the east side was decorated with Stupa. The assumption was based on architectural evidences of other Phra Prang Mahathats which were previously built or built at the same period. Key words: Phra Sri Rattana Mahathat Ayuthaya / Phra Mahathat Ayuthaya / Ayuthaya / Phra Prang


ฉบับที่ 29 (มกราคม-ธันวาคม 2558) 227

1. ที่มาและความสําคัญของการศึกษา

“วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา” เปนวัดสําคัญที่สุดดวยพระศรีรัตนมหาธาตุนั้นทําหนาที่ เปนดั่งศูนยกลางทางจิตวิญญาณของบานเมือง หรือที่เรียกวา “เปนหลักเปนประธานของบานเมือง” ดวยทําหนาทีป่ ระดิษฐานพระบรมสารีรกิ ธาตุของพระพุทธเจา และดวยอายุอนั เกาแกตงั้ แตสมัยตอน ตนราชธานีกรุงศรีอยุธยาตอนตนจึงทําใหผานการบูรณปฏิสงัขรณ การซอมแซมทํานุบํารุงมาตลอด หนาประวัติศาสตร ทวาในรัชกาลสมเด็จพระเจาทรงธรรมที่เกิดเหตุการณเรือนยอดของพระศรีรัตน มหาธาตุไดพังทลายลงมา และตอมาจึงมีการบูรณปฏิสังขรณสวนยอดขึ้นไปและมีการเปลี่ยนแปลง รูปทรงเพื่อใหสอดคลองกับสุนทรียภาพใหมในสมัยที่บูรณปฏิสังขรณ จึงมีคําถามวาองคพระศรีรัตน มหาธาตุอยุธยาองคดั้งเดิมควรมีการวางผัง และลักษณะทางสถาปตยกรรมเชนไร อันเปนการนํามา สูการกําหนดโจทยในการศึกษาดวยวิธีวิทยาทางประวัติศาสตรสถาปตยกรรม ดวยการศึกษาเทียบ เคียงกับพระศรีรัตนมหาธาตุประจําเมืองอื่นๆ และพระมหาธาตุองคอื่นๆ ที่สรางอยูในเงื่อนไข และ บริบทแวดลอมเชนเดียวกัน เพื่อสรางสมมติฐานตอลักษณะทางสถาปตยกรรมที่ควรจะเปนขององค พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา 2. วัตถุประสงคของบทความ

1. เพื่อศึกษาสถานภาพการศึกษา ตรวจสอบชุดความคิด ตลอดจนคําอธิบายเกี่ยวกับ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ เพื่อนําไปสูการศึกษาเชิงวิพากษเพื่อสรางสมมติฐาน และการตรวจสอบ สมมติฐานดวยวิธีวิทยาการบูรณาการความรูทางประวัติศาสตร และประวัติศาสตรสถาปตยกรรม นําเสนอขอคิดเห็นเพิ่มเติมในประเด็นตางๆที่เกี่ยวเนื่องกับพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเพิ่มขึ้น นอก เหนือจากสถานภาพของขอเสนอที่มีอยูในปจจุบัน อันจะเปนการเพิ่มเติมประเด็นสําหรับผูสนใจได คนควาเพิ่มเติมตอไป 3. เพื่อศึกษาสํารวจรังวัดซากสถาปตยกรรมดวยเครื่องมือประเภทตางๆ เพื่อนํามาสูการ วินิจฉัยเรื่องพัฒนาการของผังบริเวณ และพัฒนาการทางสถาปตยกรรมของอาคารตางๆ ที่สัมพันธ กับบริบททางประวัติศาสตรที่กลาวไวในเอกสารทางประวัติศาสตรประเภทตางๆ 4. เพื่อวิเคราะห ตีความหลักฐานทางศิลปสถาปตยกรรมที่คงเหลือจากขั้นตอนการสํารวจ รังวัด เพื่อนําไปสูการสันนิษฐานรูปแบบทางสถาปตยกรรมพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาในชวงเวลา ตางๆ อันจะเปนการนําเสนอขอคิดเห็นใหมเพิ่มเติม นอกเหนือจากสถานภาพของขอเสนอที่มีอยูใน ปจจุบัน 3. ประวัติศาสตรอยุธยาที่เกี่ยวของกับวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา

จากขอเสนอการศึกษาของเกรียงไกร เกิดศิริ และคณะ (2558) มีขอเสนอวา พระศรีรัตน มหาธาตุอยุธยานั้นนาจะสถาปนาขึ้นระหวางรัชกาลสมเด็จสมเด็จพระราเมศวร (ครองราชยครั้งที่ 2 ระหวาง พ.ศ. 1931-1938) สันนิษฐานวาไดรับแรงบันดาลใจในแงของความหมาย และรูปทรง ทางสถาปตยกรรมมาจากพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี ดังที่ปรากฏกลาวถึงในพระราชพงศาวดารกรุง ศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ใหขอมูลวามีการสถาปนาพระศรีรัตนมหาธาตุขึ้น ในป พ.ศ.


228

หนาจั่ว: วาดวยสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม

วารสารวิชาการ ประจําคณะสถาปตกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

1927 ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระราเมศวร ความวา “...แลวเสด็จออกทรงศีลยังพระที่นั่งมังคลา ภิเศกเพลา 10 ทุม ทอดพระเนตรโดยฝายบูรพเห็นพระบรมสารีริกธาตุเสด็จปาฏิหาริย เรียกปลัด วังใหเอาพระราชยานทรงเสด็จออกไป ใหเอาตรุยปกขึ้นไว สถาปนาพระมหาธาตุนั้นสูง 19 วา ยอด นภศูลสูง 3 วา ชื่อวัดมหาธาตุ แลวใหทําพระราชพิธีประเวศพระนคร แลวเฉลิมพระราชมณเฑียร” (พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม): 216) ทั้งนี้ความทรงจําตอการที่สมเด็จ พระราเมศวรทรงเปนองคอัครณูปถัมภกที่สําคัญยังปรากฏกลาวถึงในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับ วันวลิต ความวา “...พระองคทรงพระราชทานสิ่งของใหแกพระภิกษุและคนยากจน ทรงสรางและ บูรณะโบสถวหิ ารจํานวนมากดวยพระราชศรัทธา เสด็จไปถวายพระราชทรัพยแดพระพุทธเจาประหนึง่ ทรงเปนพระภิกษุยงิ่ กวาทรงเปนพระเจาแผนดิน...” (พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุ มาศ (เจิม): 8) อยางไรก็ดี ขอมูลเกี่ยวกับการครองราชยครั้งที่ 2 ของพระราเมศวรก็ยังมีขอมูลที่ชวน สงสัยอยูเ นือ่ งจากไมปรากฏกลาวถึงในเอกสารจีนราชวงศหมิงเลย จึงจําเปนตองสืบสวนกันตอไป ซึง่ หากมีความชัดเจนอยางไรก็จาํ เปนตองมาปรับปรุงสถานภาพของขอสันนิษฐานทีก่ ลาวมาขางตนตอไป หลังจากรัชสมัยสมเด็จพระราเมศวรไปแลวนั้น วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาไดถูกกลาว ถึงในเอกสารทางประวัติศาสตรอีกครั้ง คือ ในเหตุการณที่พระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจาสามพระยา) ซึ่งทรงครองราชยระหวาง พ.ศ.1967-1991 ไดทรงตีเมืองพระนครไดอยูภายใตพระราชอํานาจ การ นั้นไดโปรดใหนํารูปหลอสําริดตางๆ อาทิ รูปพระโค รูปสิงห และรูปสัตวทั้งปวงมาบูชาถวายไว ณ วัด พระศรีรัตนมหาธาตุ และวัดพระศรีสรรเพชญ ทวาในคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 1 ในป พ.ศ. 2099 นั้น พระเจาบุเรงนองไดโปรดฯ ให ขนยายรูปหลอสําริดดังกลาวไปยังพระราชวังของพระองคที่เมืองหงสาวดี “พระเจาหงสาวดีก็ใหเขา เอาครัวอพยพชาวพระนคร และรูปภาพทั้งปวงในหนาพระบันชันสิงคนั้นสงไปเมืองหงษาวดี” (พระ ราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม): 272) ในป พ.ศ. 2104 ในพงศาวดารกรุงเกาฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิตใิ์ หขอ มูลวา “พระศรีสนี บวชอยูวัดมหาธาตุ...” (พระราชพงศาวดารกรุงเกา ฉบับหลวงประเสริฐ: 224) ซึ่งผนวชเปนสามเณร ที่วัดราชประดิษฐานเมื่อป พ.ศ.2087 (พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม): 244) และในรัชกาลสมเด็จพระนเรศวร (พ.ศ.2133-2148) ไดโปรดใหมหาเถรคันฉองทีพ่ ระองคทลู เชิญ นิมนตมาจากเมืองมอญมายังกรุงศรีอยุธยาโดยโปรดฯ ใหประทับจําพรรษาที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยา ดังใจความวา “...จึงโปรดใหพระมหาเถระคันฉองอยูว ดั มหาธาตุ ไดพระราชทานสัปทน กรรชิง คานหาม จังหัน นิตยภัตร เครื่องสมณบริกขารตางๆ” (พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจัน ทนุมาศ (เจิม): 283) อันแสดงใหเห็นถึงความสําคัญของวัดพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยาในฐานะของวัด ที่จําพรรษาของพระเถระชั้นผูใหญของเมือง และพระภิกษุที่เปนพระบรมวงศานุวงศชั้นสูงอีกดวย ใน พ.ศ. 2149 ในรัชกาลสมเด็จพระเจาทรงธรรม ซึ่งครองราชยระหวาง พ.ศ. 2154-2171 มีธรรมเนียมในราชสํานักอยุธยาทีพ่ ระมหากษัตริยเ สด็จพระราชดําเนินออกจากพระราชวังหลวงทาง สถลมารคมาใหอาณาประชาราษฎรเขาเฝาจากบันทึกของนายโยส สเคาเต็น (โยสต สเคาเต็น 2542: 262-263) ทีเ่ ขามาเปนผูแ ทนยังกรุงศรีอยุธยาระหวาง พ.ศ. 2167-2172 (ค.ศ.1624-1629) ในรัชกาล สมเด็จพระเจาทรงธรรม และถูกขยายความ และอางอิงถึงวัดพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยาในในเอกสาร เรื่องพรรณนาเรื่องอาณาจักรสยาม (พรรณนาเรื่องอาณาจักรสยาม 2546: 18) ของฟาน ฟลีต ผูที่


ฉบับที่ 29 (มกราคม-ธันวาคม 2558) 229

เดินทางเขามาประจําสถานีการคาที่กรุงศรีอยุธยาระหวาง พ.ศ. 2176-2185 (ค.ศ.1633-1642) ได เรียบเรียงจากบันทึกของนายโยส สเคาเต็น ซึ่งแสดงใหเห็นความสําคัญของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุที่ มีบทบาทตอพระราชพิธี และราชสํานักอยางสูง อยางไรก็ดี ในการแปลอาจจะสับสนในการเรียกคํา ศัพททางสถาปตยกรรมของอาคาร กลาวคือ อาคารที่พระมหากษัตริยเสด็จเขาไปประกอบพิธีกรรม นั้น คือ “พระวิหารหลวง” ซึ่งอยูดานหนาพระศรีรัตนมหาธาตุทางทิศตะวันออกของวัด ซึ่งดวยเปน พืน้ ทีอ่ นั ศักดิส์ ทิ ธิใ์ นการประกอบพิธกี รรมของราชสํานักจึงอาจเปนเหตุใหพระวิหารหลวงทีม่ ผี นังดาน แปออกแบบชองเปดเปนชองลมแคบยาวลายกุดั่น ซึ่งมีความนิยมมาตั้งแตสมัยอยุธยาตอนตน และ แมวา จะมีการบูรณปฏิสงั ขรณครัง้ ใหญอยางนอยอีก 2 ครัง้ ดังประจักษหลักฐานของซากสถาปตยกรรม แตก็ไมไดเปลี่ยนแกชองลมเปนชองหนาตาง ดวยนัยยะเพื่อเปนการรักษาความปลอดภัยแกพระมหา กษัตริย และพระบรมวงศานุวงศชนั้ สูงยามทีเ่ สด็จมาใชงานพระวิหารหลวง ตลอดจนรักษาคุณลักษณะ ที่เขมขลังของพื้นที่ภายในเอาไวเพื่อสรางความศักดิ์สิทธิ์ใหแกพิธีกรรมดวยนั่นเอง อยางไรก็ดี ใน พ.ศ. 2153 ในรัชกาลสมเด็จพระเจาทรงธรรม ในขณะที่พระองคกําลังดี พระทัยที่ไดขาวการคนพบรอยพระพุทธบาทบนภูเขาที่เมืองสระบุรี เมื่อป พ.ศ. 2149 คลอยหลังมา 4 ป คือป พ.ศ. 2153 เปนสรางพระมณฑปแลวเสร็จ และเปนปที่พระศรีรัตนมหาธาตุพังทลายลงถึง ชั้นอัสดง ดังกลาวถึงในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ความวา “....ในป นัน้ ปรางควดั มหาธาตุทาํ ลายลงจันทันครุฑพืน้ อัสดง” (พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจัน ทนุมาศ (เจิม) 2542: 374) หรือในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา จากตนฉบับบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน กลาววา “… ในปนั้นปรางควัดมหาธาตุทําลายลงจนชั้นครุฑพื้นอัสดงค …” (พระราชพงศาวดารกรุง สยาม จากตนฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน 2542: 165) ตอมาในรัชกาลสมเด็จพระเจาปราสาททอง (ครองราชยระหวาง พ.ศ. 2173-2199) กลาว คือ ในป พ.ศ. 2176 ทรงโปรดเกลาฯ ใหบูรณปฏิสังขรณพระปรางคมหาธาตุที่พังทลายลงมาตั้งแตป พ.ศ. 2149 เปนเวลายาวนานถึง 23 ป ที่องคพระปรางคประธานวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาหลัก ประธานของกรุงศรีอยุธยาไดยอดหักพังทลายลงมา สะทอนใหเห็นถึงความไมตอ เนือ่ งและเสถียรภาพ ทีไ่ มมนั่ คงอันเกิดจากปญหาภายในในชวงปลายรัชกาลสมเด็จพระเจาทรงธรรม รวมทัง้ รัชกาลสมเด็จ พระเชษฐาธิราช และสมเด็จพระอาทิตยวงศกม็ ชี ว งเวลาทีส่ นั้ มาก เนือ่ งจากทรงเปนเยาวกษัตริยท ยี่ งั ไมพรอมในการบริหารราชการบานเมือง ซึง่ ไดสะทอนขอมูลอยูใ นพงศาวดารวันวลิต ทีก่ ลาววามีพระ มหากษัตริยหลายพระองคพยายามอํานวยการใหเกิดการบูรณปฏิสังขรณพระศรีรัตนมหาธาตุขึ้นไป ใหมแตก็ไมสําเร็จ ทั้งนี้ ในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับฟาน ฟลีต กลาววา “...ครั้งหนึ่งวัดแหงนี้ เปนวัดใหญที่สุดในพระราชอาณาจักร แตไดถูกฟาผาและพายุพัดหักลงมาตลอดเวลา พระเจาแผน ดินหลายพระองคไดทรงปฏิสังขรณวัดแหงนี้ แตเมื่อไรก็ตามที่เริ่มงานก็ตองลมเลิกไปกลางคันเพราะ วาผูค วบคุมงานและคนงานเกิดเจ็บปวยและสิน้ ชีวติ อยางนาสังเวช กลาวกันวาพราหมณและพระสงฆ ไดทํานายไววา ผูที่จะบูรณะวัดนี้ไดตองเปนพระเจาแผนดินซึ่งสืบเชื้อสายมาจากราชวงศเกาอยาง บริสทุ ธิ์ เมือ่ สองสามเดือนทีแ่ ลวพระองคศรีธรรมราชาธิราชไดทรงใหรอื้ วัดจนถึงฐานและทรงยายรูป หลอทองแดงซึ่งประดิษฐานฐานอยูนั้นออกไปไกลหลายวา เพื่อที่จะสรางวัดใหม ณ ที่ประดิษฐานรูป หลอทองแดง ประชาชนตางมีความเห็นในการสรางวัดนีต้ า งๆ กัน มีหลายคนทีท่ เี่ ห็นวาพระเจาแผนดิน


230

หนาจั่ว: วาดวยสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม

วารสารวิชาการ ประจําคณะสถาปตกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

จะทรงสามารถทํางานนี้ไดสําเร็จดวยเหตุที่วาพระองคทรงเหมือนพระเจาแผนดินผูแรกสรางกรุง ศรีอยุธยาหลายดาน ซึง่ เหตุผลนีก้ เ็ ปนเรือ่ งทีย่ อมรับกัน แตชาวสยามก็ไมไดมคี วามเห็นเชนนัน้ ทัง้ หมด เนื่องจากผูสรางวัดนี้เปนคนแรกที่ฆาพระเจาแผนดินซึ่งมีพระชนมพรรษาเพียง 5 ป (หลังจากที่ครอง ราชยอยู 5 เดือน) และชิงพระราชบัลลังก อยางไรก็ดี พวกพราหมณกลาววา ไดเห็นปรากฏการณ บนสวรรคซึ่งระบุวาพระเจาแผนดินจะสรางวัดใหมไมสําเร็จ และจะทรงสวรรคตกอนที่งานจําสําเร็จ เนื่องจากสาเหตุที่พระเจาแผนดินไมทรงสรางวัดดวยเจตนาบริสุทธิ์ แตพระองคทรงหวังวาจะไดพบ ทรัพยสมบัติลํ้าคาในการทําลายรื้อวัดเกา แตใครเลาจะสามารถบอกความจริงไดนอกจากกาลเวลา” (พระราชพงศาวดารอยุธยา ฉบับวันวลิต 2546: 247) ขอความที่กลาวถึงในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับฟาน ฟลีต ที่มีเนื้อหากลาวถึงวัดพระ ศรีรัตนมหาธาตุอยุธยามีความนาสนใจอยางยิ่ง เนื่องจากวาเอกสารอื่นๆ ไมไดใหบริบทแวดลอมทาง สังคมวัฒนธรรมมากนัก ตางไปจากขอมูลที่ปรากฏในพงศาวดารอยุธยาของฟาน ฟลีต กลาวคือ ได ขอมูลวาพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยานั้นฟงทลายลงมาในทามกลางวันที่ฝนตกฟาคะนองหนัก และ อาจจะเกิดจากฟาผาลงบนองคปรางคเนื่องจากเปนสิ่งกอสรางที่สูงที่สุดในบริเวณดังกลาว กอปรกับ โครงสรางกออิฐทีท่ เี่ กาแกของสวนเรือนยอดทีส่ รางมาตัง้ แตสมัยอยุธยาตอนตนคงมีความเสือ่ มสภาพ ของวัสดุกอสรางมาก ทัง้ นี้ ยังสะทอนใหเห็นถึงความเชือ่ ของชาวกรุงศรีอยุธยา โดยเฉพาะผูท ใี่ หขอ มูลแกฟาน ฟลีต วาภายใตองคพระศรีรตั นมหาธาตุนนั้ มีทรัพยสมบัตอิ นั มีคา ฝงอยู รวมไปถึงความเชือ่ วาผูท จี่ ะสามารถ อํานวยใหการบูรณปฏิสงั ขรณลลุ ว งไปนัน้ ตองสืบสายมาจากเชือ้ พระวงศเกาซึง่ ในประเด็นดังกลาวนัน้ สะทอนใหเห็นขอมูลอันสําคัญประการหนึ่งที่ปรากฏกลาวถึงอยูในเอกสารโคลงเฉลิมพระเกียรติพระ นารายณที่กลาวอางถึงการสืบสายความสัมพันธทางสายโลหิตมาจากราชธานีเดิมที่ละโว รวมทั้งยัง แสดงใหเห็นอีกดวยวา แมวากองทัพพมาจะไดขนยายเทวรูป และรูปหลอสําริดไปเมื่อคราวเสียกรุง ศรีอยุธยาครั้งที่ 1 แตคงไดมีการหลอรูปหลอสําริดชุดใหมมาถวายเปนพุทธบูชาแทนที่และตั้งอยูราย รอบองคพระศรีรตั นมหาธาตุ เพราะฉะนัน้ ในการรือ้ ยายอิฐทีถ่ ลมลงมากองนัน้ มีความจําเปนตองยาย รูปหลอเหลานั้นออกไปพักยังพื้นที่ขางเคียงกอน นอกจากนี้ ขอความชุดดังกลาวมาขางตน ยังสนับสนุนสมมติฐานทีว่ า ผูท รงสถาปนาพระศรี รัตนมหาธาตุอยุธยา คือ สมเด็จพระราเมศวร ดังกลาวความวา “ผูสรางวัดนี้เปนคนแรกที่ฆาพระเจา แผนดินซึ่งมีพระชนมพรรษาเพียง 5 ป (หลังจากที่ครองราชยอยู 5 เดือน) และชิงพระราชบัลลังก” ซึ่งขอมูลพระชนมายุ และชวงเวลาในการครองราชยของพระเจาทองลันที่กลาวถึงในนี้ไมตรงกับ พงศาวดารฉบับอื่นๆ ทั้งนี้ พระเจาทองลัน หรือเอกสารบางชิ้นเรียก พระเจาทองจันทร ครองราชย เมื่อมีพระชนมายุได 15 พรรษา และครองราชยสั้นเพียง 7 วัน (ปรีดี พิศภูมิวิถี 2554: 59) ซึ่งคงมี เหตุผลมาจากลักษณะของขอมูลที่ฟาน ฟลีตไดรับมาในลักษณะเปนคําสัมภาษณ หรือประวัติศาสตร แบบมุขปาฐะทัง้ นีผ้ ใู หขอ มูลนัน้ สันนิษฐานวานาจะเปนพระภิกษุผรู ปู ระวัตศิ าสตร (ศุภวัฒย เกษมศรี, พลตรี หมอมราชวงศ, สัมภาษณ) อยางไรก็ดี การบอกเลาขอมูลยอมมีความคลาดเคลื่อนในแงของ ขอมูลตัวเลข แตก็แสดงขอมูลของบริบทแวดลอมใหสามารถสะกดรอยตามได รวมไปถึงขอความยังทิง้ ทายของบริบททีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยาวา จากคํา


ฉบับที่ 29 (มกราคม-ธันวาคม 2558) 231 ทํานายของผูท รงศีลทัง้ พระสงฆ และพราหมณ ซึง่ อาจจะเปนทัศนะของผูค นในสังคมทีด่ จู ะไมคอ ยเชือ่ มัน่ นัก กับการบูรณปฏิสงั ขรณในครัง้ นีว้ า จะเปนไปดวยดีประสบความสําเร็จของผูค นในสังคม รวมถึงความคลางแคลง ใจในวาการซอมที่เกิดขึ้นนี้จะเปนการขุดทรัพยสมบัติตางๆ ที่บอกเลากันมาหรือไม ซึ่งไดทิ้งทายวาตองให กาลเวลาเปนเครื่องบงชี้นั้น เปนขอมูลที่แสดงวาในขณะที่จดบันทึกนั้นพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยายังบูรณ ปฏิสงั ขรณไมแลวเสร็จ และฟาน ฟลีตคงกลับออกไปจากกรุงศรีอยุธยากอนทีพ่ ระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยาจะ บูรณะเสร็จสมบูรณ นอกจากนี้ หลักฐานทางสถาปตยกรรมทีไ่ ดรบั จากการสํารวจรังวัดยังสอดคลองกับขอมูล ทีก่ ลาวที่กลาวไวในพงศาวดารวาพระศรีรัตนมหาธาตุชํารุดทรุดลงมาถึงชั้นอัสดง และไดบูรณปฏิสังขรณขึ้น ไปใหมเฉพาะสวนยอด หาไดรื้อลงแลวสรางใหมไม ดังกลาวถึงในพระราชพงศาวดารวาในป พ.ศ. 2176 สมเด็จพระเจาปราสาททองไดโปรดเกลาฯ ให บูรณปฏิสงั ขรณสว นยอดของพระปรางคเหนือชัน้ อัสดงขึน้ ไป ดังกลาวถึงในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ความวา “...ศักราช 995 ทรงพระกรุณาใหสถาปนาพระปรางควดั มหาธาตุอนั ทําลาย ลงเกา เดิมในองคสงู สิบเกาวา ยอดนภศูลสามวา จึงดํารัสวาทรงเกานัน้ ตํา่ นัก กอไมใหองคสงู เสนสองวา ยอด นภศูลคงไว เขากันเปนเสนหาวา กอแลวเห็นเพรียวอยู ใหเอาไมมะคาแทรกดามอิฐ เอาปูนโบกทับ เกาเดือน สําเร็จ ใหกระทําการฉลองอันมากนัก” (พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) 2542: 380) ทัง้ นี้ ในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา จากตนฉบับบริตชิ มิวเซียม กรุงลอนดอน ความวา “...ศักราช 995 ประกาศก ทรงพระกรุณาใหสถาปนาพระปรางควัดมหาธาตุอันทําลายลงเกา เดิมในองคสูงสิบเกาวา ยอดนภศูลสามวา จึงดํารัสวาทรงเกาลํ่านัก กอใหมใหองคสูงเสนสองวา ยอดนภศูลคงไวเขากันเปนเสนหา วา กอแลวเห็นเพรียวอยู ใหเอาไมมะคาแทรกตามอิฐ เอาปูนบวก 9 เดือนสําเร็จ ใหกระทําการฉลองเปนอัน มาก…” (พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากตนฉบับของบริตชิ มิวเซียม กรุงลอนดอน 2542: 170) นอกจากนี้ จะเห็นไดวาการบูรณปฏิสังขรณพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาซึ่งทําหนาที่เปนหลักเปนประธานของบานเมือง ในครั้งนั้น ยังเปนโอกาสในการแสดงสิทธิธรรมในการปกครองบานเมืองกรุงศรีอยุธยาของสมเด็จพระเจา ปราสาททองหลายอยาง โดยเฉพาะการบูรณปฏิสังขรณสําเร็จสมบูรณนั้นยังชวยตอกยํ้าขอกังขาเรื่องความ ชอบธรรมในการขึน้ มาสูอ าํ นาจของสมเด็จพระเจาปราสาททองนัน้ มีเปนผูม บี ญ ุ ญาธิการดวยสืบสายโลหิตมา จากราชวงศเกา ดังทีม่ คี าํ รํา่ ลือวาหากไมไดเปนผูส บื สายโลหิตจากราชวงศเกานัน้ จะไมมที างบูรณปฏิสงั ขรณ ไดสําเร็จ สอดคลองกับคําประกาศที่กลาวอางถึงในโคลงเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนารายณดวยนั่นเอง ขอความดังกลาวมานี้แสดงใหเห็นวา สุนทรียภาพตอรูปทรงพระปรางคมีความเปลี่ยนแปลงไป กลาวคือพระปรางคในสมัยอยุธยาตอนตนมีลักษณะเปนพระปรางคซึ่งในพระราชพงศาวดารกลาววา “ตํ่า/ ลํ่า” อันสืบเนื่องมาจากเทคนิควิธีในการกอสราง ตลอดจนเปนพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยานั้นไดรับอิทธิพล สืบเนือ่ งมาจากพระศรีรตั นมหาธาตุลพบุรซี งึ่ ไดรบั อิทธิพลมาจากปราสาทแบบศิลปะเขมรสมัยบายนทีร่ งุ เรือง อยูในเมืองลพบุรีมาอีกตอหนึ่ง ทัง้ นี้ อาจเปนผลมาจากการทีช่ ว งตนรัชกาลสมเด็จพระเจาปราสาททองมีการสงชางไปสํารวจรังวัด ปราสาทที่เมืองพระนครหลวงเพื่อจําถายแบบนํามากอสรางที่อยุธยา ดังกลาวถึงในพงศาวดาร มีใจความวา “ศักราช 993 ปมะแมศก ทรงพระกรุณาใหชา งออกไปถายอยางพระนครหลวง แลปราสาทกรุงกําภุชประเทศ เขามา...” (พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากตนฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน 2542: 169) ซึ่งการ ดังกลาวคงไดสรางความประทับใจในรูปทรงของปราสาททีเ่ มืองพระนครโดยเฉพาะอยางยิง่ ปราสาทนครวัด ทําใหรูปทรงทางสถาปตยกรรมของสวนยอดพระปรางคที่ปฏิสังขรณขึ้นไปใหมมีระเบียบสัดสวนที่สูงเพรียว มากขึ้น


232

หนาจั่ว: วาดวยสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม

วารสารวิชาการ ประจําคณะสถาปตกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ในราวป พ.ศ. 2294 ในรัชกาลสมเด็จพระเจาอยูหัวบรมโกศมีคณะทูตจากลังกาเดินทางมาของพระ สงฆสยามเพือ่ สืบพระพุทธศาสนาจากกรุงศรีอยุธยากลับไปฟน ฟูพระพุทธศาสนาในเกาะลังกา กลาวคือ พระเจา เกียรติศิริราชสิงหะ มีรับสั่งใหสามเณรสรณังกรแตงพระราชสาสนเปนภาษามคธมาถวายพระเจาอยูหัวบรม โกศ แลวแตงขาราชการชาวสิงหลเปนทูตานุทูต 5 นาย เชิญพระราชสาสนและเครื่องบรรณาการมายังกรุง ศรีอยุธยา (จดหมายเหตุระยะทางราชทูตลังกาเขามาขอพระสงฆสยาม 2546: 127) ในครั้งนั้นคณะทูตานุทูต ไดเขาเฝาพระเจาอยูห วั บรมโกศ และไดเขาเยีย่ มชมวัดวาอารามตางๆ ทีถ่ อื วาเปนหนาเปนตาของพระนคร ซึง่ รวมทั้งวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาดวย 4. ผังบริเวณวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา และความสัมพันธกับผังเมือง

จากหลักฐานทางประวัติศาสตรที่กลาวถึงเหตุการณการสถาปนาพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาใน สมัยสมเด็จพระราเมศวรเมื่อปพ.ศ. 1931 จากการที่พระองคเสด็จประทับบนพระที่นั่งมังคลาภิเษกแลวเห็น ปาฏิหาริยพระธาตุ นํามาเปรียบเทียบกับระบบพิกัดทางภูมิศาสตรจะเห็นวา แนวแกนตะวันออกทางดาน ตะวันออกดังกลาวนั้นเปนแกนที่วิ่งตรงจากพระราชวังหลวงในสมัยอยุธยาตอนตน ซึ่งก็คือที่ตั้งของวัดพระศรี สรรเพชญ เนือ่ งจากเคยเปนพระราชวังหลวงในสมัยอยุธยาตอนตน ตอมาในสมัยพระบรมไตรโลกนาถไดโปรด ยกวังสรางเปนวัดพระศรีสรรเพชญ เมื่อป พ.ศ. 2061 แลวขยับพระราชวังหลวงขึ้นไปทางเหนือของพื้นที่เดิม ตอมาในสมัยพระเจาสามพระยามีการกอสรางวัดราชบูรณะหลังป พ.ศ.1967 (พระราชพงศาวดาร กรุงเกา ฉบับหลวงประเสริฐ 2542: 214) ทั้งนี้ ในป พ.ศ.1974 เสด็จไปตีเมืองพระนครหลวงได (พระราช พงศาวดารกรุงเกา ฉบับหลวงประเสริฐ 2542: 214) ความนาสนใจประการหนึง่ คือ เมือ่ สมเด็จเจาสามพระยา ใหสถาปนาพระมหาธาตุวัดราชบูรณะขึ้นเคียงคูกับพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยานั้น ทําใหเกิดแกนที่สมมาตร ขึ้นในการวางผังระดับเมือง (Urban Scale) กลาวคือ จากแกนของสะพานปาถานนั้นมุงตรงไปยังทิศตะวัน ตกกลายเปนแกนที่สําคัญเนื่องจากทางทิศตะวันตกนั้นเปนที่ตั้งของพระราชวังหลวง (หมายเลข 14 ในภาพ ที่ 1) โดยที่มีพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา และพระมหาธาตุวัดราชบูรณะตั้งขนาบถนนดังกลาว ยิ่งเมื่อสมเด็จ พระเจาปราสาททองสรางพระมหาปราสาทองคหนึ่งแลวใหพระราชทานนามวา “ศิริยโสธรมหาพิมานบันยัง ค” (พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) 2542: หนา 379) แตก็ไดเปลี่ยนนามใหม เปน “จักรวัติไพชยันตมหาปราสาท” (พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) 2542: หนา 379) (หมายเลข 13 ในภาพที่ 1) เมื่อป พ.ศ. 2175 ยิ่งตอกยํ้าความสําคัญของแกนดังกลาว และที่นา สนใจก็คือแกนดังกลาวนี้เหมือนกับแกนทางดานทิศตะวันออกของเมืองศรียโสธรปุระ ที่เริ่มตนจากสะพาน ศิลาแลงขามแมนํ้าเสียมเรียบ ในปจจุบันเรียกสะพานดังกลาววา “สเปยน ทมอร (Spean Thma)” ซึ่ง แปลวา สะพานหิน ถัดเขามาจะพบปราสาท 2 หลังวางตัวขนาบแกนถนนดังกลาว คือ “ปราสาทเจาสาย เทวดา (Chau Say Tevoda)” และ “ปราสาทธมมานนท (Thommanon)” เมื่อมุงตรงไปยังทิศตะวัน ตกจะผานประตูชัยซึ่งเปนแกนที่มุงตรงไปยังลานหนาพระที่นั่ง ซึ่งปจจุบันเรียกวา “ลานชาง (Elephant Terrace)” ความสัมพันธดังกลาวมาขางตนจึงสะทอนใหเห็นวาการวางผังดังกลาวนั้นไมใชเปนเรื่องบังเอิญ แตเปนการออกแบบวางผังเมืองอยางจงใจ


ฉบับที่ 29 (มกราคม-ธันวาคม 2558) 233

ภาพที่ 1: แผนทีภ่ าพถายดาวเทียมแสดง (ภาพบน) ภาพถายดาวเทียมเมืองพระนคร แสดงใหเห็นแกนในแนว ตะวันออก-ตะวันตก (ภาพลาง) ภาพถายดาวเทียมกรุงศรีอยุธยา แสดงใหเห็นแนวแกนตะวันออก-ตะวันตก

ภาพที่ 2: ภาพแสดงที่ตั้งของวัดสําคัญบนแกนตะวันออก-ตะวันตก จากแกนเดิม คือ แกนจากพระราชวัง หลวงมายังวัดพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยา ซึง่ เปนแกนทีเ่ กิดขึน้ ในสมัยพระราเมศวร แตตอ มาในสมัยพระบรม ไตรโลกนาถไดยกพระราชวังหลวงทําวัดพระศรีสรรเพชญ แมวาจะตอมาในสมัยสมเด็จเจาสามพระยาจะ เกิดแกนใหมแตก็ยังอยูในแนวตะวันออก-ตะวันตกเชนเดิม คือ จาก “สะพานปาถาน” ผาน “วัดพระศรีรัตน มหาธาตุ” ทางซายมือ และ “วัดราชบูรณะ” ทางขวามือ จากนั้นผาน “วัดหลังคาขาว” ทางซายมือ และ “วัดชุมแสงทาง” ขวามือ จากนั้นตรงไปยังพระที่นั่งจักรวัติไพชยนต ซึ่งในสมัยสมเด็จพระเจาปราสาททอง หลวงทีโ่ ปรดฯ ใหสรางพระทีน่ งั่ จักรวัตไิ พชยนตซงึ่ เทียบไดกบั ลานพระราชวังทีเ่ มืองพระนครหลวง ทําใหแกน ตะวันออก-ตะวันตกนี้มาสมบูรณแบบและเทียบไดกับแกนหลักทางตะวันออกของเมืองพระนครหลวงดวย


234

หนาจั่ว: วาดวยสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม

วารสารวิชาการ ประจําคณะสถาปตกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

วัดพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยาเปนวัดทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ ของเมืองในสมัยอยุธยาตอนตนเนือ่ งจาก ทําหนาที่เปนหลักเปนประธานของบานเมือง ที่ตั้งสัมพันธของวัดมีดังนี้ “ดานทิศตะวันออก” จรด “ถนนชีกุน” (หมายเลข 3 ในภาพที่ 3) และทางตะวันออกเฉียง เหนือของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา คือ “สะพานปาถาน” (หมายเลข 2 ในภาพที่ 3) ซึ่งแตเดิม เปนตลาดหนาวัดพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยา มีรา นขายเสือ่ ตะนาวศรี เสือ่ แขก เครือ่ งอัฐบริขาร เครือ่ ง บวชนาค เครื่องทอดกฐิน คือ ฝาบาตร เชิงบาตร กราด (ไมกวาดยาวสําหรับกวาดลานวัด) ตาลปตร ตะลุมโอ ชื่อวา “ตลาดบริขาร” (วินัย พงศศรีเพียร 2551: 78) (หมายเลข 5 ในภาพที่ 3) นอกจากนี้ หนาวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยายังมี “ตลาดแลก” (หมายเลข 5 ในภาพที่ 3) เปนศาลาหาหองที่ ผูค นจะเอาขาวของเครือ่ งใชโลหะเกา เชน พรา ขวาน มีดทีช่ าํ รุดแลวมาแลกกับตังเม ขาวพอง เปนตน (วินัย พงศศรีเพียร 2551: 82) “ดานทิศใต” ปจจุบนั เปนทีว่ า งโลงจึงใชเปนสวนบริการนักทองเทีย่ ว และมีวดั ทีม่ พี ระปรางค เปนประธานของวัดชื่อ “วัดนก” (หมายเลข 6 ในภาพที่ 3) ซึ่งตั้งอยูคลอยไปทางตะวันตกเฉียงใต พื้นที่สวนนี้ในอดีตนั้นเปนที่ตั้งของบานเรือนชาวมอญที่อพยพมาตั้งถิ่นฐานอยูในกรุงศรีอยุธยา ซึ่ง มีหลักฐานประวัติศาสตรกลาววาเปนครัวมอญที่เคลื่อนยายมาพรอมสมเด็จพระนเรศวรซึ่งสวนหนึ่ง เปนเครือญาติของพระมหาเถรคันฉอง พระยาเกียรติ พระยาราม (พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) 2542: 283) พื้นที่วางโลงบริเวณนี้จึงเคยมีบานเรือนตั้งถิ่นฐาน และตลาด ชื่อ “ตลาดมอญ” (หมายเลข 7 ในภาพที่ 3) มีรานชําทั้งคนไทย คนมอญ ขายขัน พานนอย พานใหญ เครื่องทองเหลือง มีของสดขายตอนเชาและตอนเย็น (วินัย พงศศรีเพียร 2551: 82) ถัดออกไปทาง ทิศใตจะจรดกับบึงพระรามซึ่งเปนเสนทางสําคัญสัญจรของผูคน “ดานทิศตะวันตก” เมื่อพิจารณาจากแนวกําแพงแกวดานหนาของพระอุโบสถวัดพระศรี รัตนมหาธาตุอยุธยา ผูค นทัว่ ไปจะคิดวาหมดเขตของวัดแตเพียงเทานี้ แตในความเปนจริงแลวกําแพง ดังกลาวนั้นทําหนาที่กั้นเขตพุทธาวาสเทานั้น ถัดจากแนวกําแพงไปเล็กนอยจะเปนคูไมกวางมากนัก และมีพนื้ ทีว่ า งโลงผืนใหญ ซึง่ พืน้ ทีบ่ ริเวณนีเ้ องซึง่ เคยเปนทีต่ งั้ ของ “เขตสังฆาวาสของวัดพระศรีรตั น มหาธาตุ” (หมายเลข 9 ในภาพที่ 3) โดยเฉพาะเปนที่ตั้งของตําหนักพระสังฆราชของกรุงศรีอยุธยา ดวย ดังปรากฏกลาวถึงในเอกสารคณะทูตตานุทูตจากลังกาที่ไดมีโอกาสมานมัสการพระสังฆราวาส นอกจากนี้ ยังประกอบไปดวยกุฏใิ หญนอ ยมากมายสําหรับพระภิกษุสามเณรจําพรรษา และยังมีทพี่ กั ของพวกขาพระโยมสงฆที่คอยอุปฏฐากพระสงฆดวย (จดหมายเหตุระยะทางราชทูตลังกาเขามาขอ พระสงฆสยาม 2546: 138-140) “ดานทิศเหนือ” จรดถนนทีว่ งิ่ ตรงในแนวแกนตะวันออก-ตะวันตกจากสะพานปาถานไปยัง พระราชวังหลวง ปจจุบันเรียกชื่อวาถนนนเรศวร ซึ่งถนนสายนี้ในสมัยสมเด็จพระเจาปราสาททองได ถูกกลาวไวในเอกสาร “พรรณนาเรื่องอาณาจักรสยาม (Description of the Kingdom of Siam )” ของฟานฟลีตวา “..มีเพียงถนนสายเดียวและมีทางเดินเล็กๆ สองสายเทานั้นที่ตรงไปยังพระราชวัง” (พรรณนาเรือ่ งอาณาจักรสยาม 2546: 18) ซึง่ ไดถกู ใชเปนเสนทางเสด็จพระราชดําเนินทางสถลมารค มายังวัดพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยาเปนประจําทุกป ดังขอความกลาวพรรณนาไววา “ขบวนเสด็จทาง สถลมารคไมจัดเหมือนกันทุกป แตบางครั้งก็จัดดังนี้ คือ ตอนแรกออกมาจากพระราชวังเปนระเบียบ สงางาม ตรงไปยังวัดสําคัญชือ่ วาหนาพระธาตุ” (พรรณนาเรือ่ งอาณาจักรสยาม 2546: 33) ถัดไปเล็ก นอย คือ ที่ตั้งของ “วัดราชบูรณะ” (หมายเลข 10 ในภาพที่ 3)


ฉบับที่ 29 (มกราคม-ธันวาคม 2558) 235

ภาพที่ 3:แผนที่แสดงที่ตั้งสัมพันธของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุกับองคประกอบระดับผังเมืองอื่นๆ

5. พัฒนาการทางสถาปตยกรรมพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาจากการศึกษา เอกสารทางประวัติศาสตร และการสํารวจรังวัด

ในเนือ้ หาสวนนีจ้ ะนําเสนอเรือ่ งลักษณะทางสถาปตยกรรม และพัฒนาการทางประวัตศิ าสตร สถาปตยกรรมวัดพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยา ทัง้ นีใ้ ชขอ มูลจากการสํารวจรังวัดดวยเครือ่ งมือวัดระยะ แบบปกติ และการใชเทคโนโลยีการเลเซอรแสกน 3 มิติ รวมทั้งการศึกษาเปรียบเทียบกับพัฒนาการ ทางสถาปตยกรรมในแหลงอื่นๆ ที่สามารถกําหนดอายุไดชัดเจน ตลอดจนการบูรณาการเขากับองค ความรูทางประวัติศาสตรที่ไดรับจากการทําสารัตถะวิพากษ และการอานเอกสารทางประวัติศาสตร ตางๆ ที่เกี่ยวของ จากนั้นจึงนํามาจัดทําแบบเพื่อการสันนิษฐานรูปแบบเพื่อสรางความรูความเขาใจ เกี่ยวกับรูปทรงทางสถาปตยกรรมตอไป


236

หนาจั่ว: วาดวยสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม

วารสารวิชาการ ประจําคณะสถาปตกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

5.1 ลักษณะทางสถาปตยกรรมพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อแรกสถาปนา 5.1.1 การวางผังพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา จากการศึกษาของเกรียงไกร เกิดศิริ และคณะ (2558) เสนอวา “พระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยา” สถาปนาขึน้ ครัง้ แรกในป พ.ศ. 1931 ในรัชกาลสมเด็จพระราเมศวรทีก่ ลับมาครองราชยยงั กรุง ศรีอยุธยาอีกครัง้ เนือ่ งจากการครองราชยครัง้ แรกในป พ.ศ. 1913 ไดถกู สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพระงั่ว) จากเมืองสุพรรณบุรีมาเสวยราชสมบัติแทน เปนเหตุใหสมเด็จพระราเมศวรตอง ไปครองเมืองลพบุรี จนกระทั่งเมื่อสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 สวรรคตแลวพระเจาทองลันผูเปน พระราชโอรสขึน้ ครองราชย สมเด็จพระราเมศวรจึงกรีธาทัพจากลพบุรลี งมาเพือ่ ชิงราชสมบัตคิ นื และ ปราบดาภิเษกเปนพระมหากษัตริยครองกรุงศรีอยุธยาเปนครั้งที่ 2 ในป พ.ศ. 1931 ดวยเหตุดังกลาว จึงสันนิษฐานไดวาพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อแรกสรางนั้น ยอมไดรับอิทธิพลในแงของความเชื่อ ความศรัทธา ตลอดจนรูปทรงทางสถาปตยกรรมจาก “พระมหาธาตุลพบุรี” มาไมมากก็นอย (เกรียง ไกร เกิดศิริ และคณะ, 2558) ทั้งนี้ ชวงเวลาในการสถาปนา “พระมหาธาตุลพบุรี” นั้น มีขอสันนิษฐานวาควรสรางขึ้นใน ราวพุทธศตวรรษที่ 19 (กวิฏ ตั้งจรัสวงศ 2557 (หนา 147-168): 147) คือ ราวป พ.ศ. 1800-1900 (สมคิด จิระทัศนกุล 2554: 71) ซึ่งเปนชวงเวลาที่เขมรเสื่อมอํานาจลง ทวากอนจะมีการสถาปนา กรุงศรีอยุธยาขึ้นเปนราชธานี ประมาณ 100 ป ทั้งนี้ ศาสตราจารย Jean Boisselier ไดเสนอวาเปน ชวงเวลาที่เขมรหมดสิ้นอํานาจลงจากลุมนํ้าเจาพระยา และเมืองลพบุรีนั้นก็มีผูปกครองของตนเอง ดังปรากฏหลักฐานวาลพบุรีไดสงคณะทูตไปยังจีนอยางนอย 3 ครั้ง ระหวางป 1932-1842 (Jean Boisselier. 2508: 37) นอกจากนี้ ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม ไดศึกษาลวดลาย ปูนปนที่ประดับบนองคปรางคและใหขอคิดเห็นวาลวดลายยังรักษาระเบียบแบบเขมรไวไดมาก จึงสันนิษฐานวาพระมหาธาตุลพบุรีนี้สรางขึ้นกอนการสถาปนากรุงศรีอยุธยาราว 100 ป (สันติ เล็ก สุขมุ 2544: 153) เนือ่ งจากสะทอนความสัมพันธกบั ศิลปะกอนสมัยอยุธยาทีย่ งั มีกลิน่ อายวาไดรบั แรง บันดาลใจจากศิลปสถาปตยกรรมเขมรที่เผยแผเขามายังดินแดนภาคกลางของไทย สําหรับพระมหาธาตุ ลพบุรี นั้นมีการวางผังประกอบดวยพระปรางคประธานตรงกลาง และมีพระปรางคบริวารขนาบดานขาง ซึ่งในปจจุบันไดพังทลายลงแลว สิ่งที่เปนที่นาสังเกต คือ วัสดุ ในการกอสรางพระปรางคประธาน และพระปรางคบริวารนั้นใชวัสดุกอสรางที่แตกตางกัน กลาวคือ พระปรางคประธานกอสรางดวยศิลาแลง ในขณะพระปรางคบริวารนั้นกอสรางดวยอิฐเปนหลัก จาก การศึกษาของอาจารยกวิฏ ตั้งจรัสวงศ เสนอวาพระปรางคประธาน และพระปรางคบริวารถูกสราง กันคนละคราวกัน แตตองกอนการสราง “พระมหาธาตุวัดพุทไธสวรรย” “พระมหาธาตุวัดพระราม” (กวิฏ ตั้งจรัสวงศ 2557 (หนา 147-168): 166) ทั้งนี้ มีพระมหาธาตุที่ควรสรางในสมัยอยุธยาตอน ตนอีกองค คือ “พระมหาธาตุ สุพรรณบุรี” (น.ณ ปากนํ้า 2541: 57) ที่มีการออกแบบวางผังใหเปน พระปรางคที่วางตัวเรียงกันในแนวหนากระดาน 3 องค


ฉบับที่ 29 (มกราคม-ธันวาคม 2558) 237

นอกจากนี้ ในกลุม ของพระปรางคทมี่ อี ายุเกาแกกวาสมัยอยุธยาตอนนัน้ พบวา มีความนิยม ในการวางผังพระปรางคในลักษณะทีก่ ลาวมา อาทิเชน “พระมหาธาตุ ราชบุร”ี เปนตน ซึง่ แมวา พระ พระมหาธาตุราชบุรี นัน้ จะมีการสรางปรางคบริวารอีกองคดา นหลัง ทําใหกลายเปนมีพระปรางคบริวาร 3 องค แตก็สะทอนใหเห็นพัฒนาการวามาจากการสรางพระปรางคบริวารขนาบดานขางมาแตเดิม

ภาพที่ 4: แบบสถาปตยกรรมสันนิษฐานแสดงพระมหาธาตุลพบุรีที่มีพระปรางคบริวารขนาบดานขาง

จากขอมูลดังกลาวมาขางตน ที่แสดงใหเห็นวาพระมหาธาตุที่กอสรางขึ้นกอนหนาสมัย อยุธยา รวมทัง้ พระมหาธาตุในสมัยอยุธยาตอนตนตางก็มกี ารวางผังในลักษณะเปนพระปรางค 3 องค วางตัวเรียงหนากระดานกัน โดยมีปรางคประธานตรงกลางมีขนาดใหญพระกวาปรางคทวี่ างขนาบขาง ทั้ง 2 องค ทําใหเกิดคําถามตอเนื่องวา หากวา “พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา” ไดรับแรงบันดาลใจมา จากพระมหาธาตุลพบุรีแลว ถาเชนนั้นลักษณะการวางผังของควรจะมีลักษณะเปนเชนไร เนื่องจาก วาพระปรางควัดพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรีนั้น มีการวางผังเปนพระปรางค 3 องค โดยมีพระปรางค องคกลางมีขนาดใหญกวาพระปรางคที่ขนาบขางอยู ทั้งนี้ Hiram Woodward (2005) มีขอเสนอที่ นาสนใจวาการวางผังเรียงตัวในแนวเดียวกัน 3 องคนี้อาจเปนลักษณะการวางผังที่ไดรับอิทธิพลจาก พระพุทธศาสนาแบบเถรวาทดัง้ เดิมทีป่ รากฏในพมาและลุม นํา้ เจาพระยาทีเ่ กาแกกวาสมัยรัชกาลพระ เจาชัยวรมันที่ 7 (Hiaram Woodward, 2005) ทั้งนี้ รูปแบบการวางผังพระปรางคที่วางเรียงกัน 3 องค ดังกลาวนั้นยังปรากฏมายังการ กอสราง “พระมหาธาตุวดั พุทไธสวรรย” ซึง่ ตามหลักฐานประวัตศิ าสตรกลาววาสรางขึน้ ในสมัยพระเจา อูทอง ดังเนื้อความดังนี้ “ศักราช 715 ปมะเส็งเบญจศก (พ.ศ.1896) วันพฤหัสบดี เดือน 4 ขึ้น 1 คํ่า เพลา 2 นาฬกา 5 บาท ทรงพระกรุณาตรัสวา ที่พระตําหนักเวียงเหล็กนั้น ใหสถาปนาพระวิหารและ พระมหาธาตุเปนพระอาราม แลวใหนามชือ่ วัดพุทไธสวรรค” (พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับ พันจันทนุมาศ (เจิม) 2542: 214) ซึ่งเมื่อพิจารณาถึงการวางผังขององคพระมหาธาตุก็ยังปรากฏรอง รอยของการวางผังแบบที่มีสิ่งกอสรางวางตัวเรียงกัน 3 องค ทวาอาคารที่ขนาบขางของพระปรางค ประธานไดกลายเปนอาคารทรงมณฑป ซึ่งสันนิษฐานวามีการซอมแกในชั้นหลัง แตอยางไรก็ตอง เปนการซอมแกรูปทรงในสมัยอยุธยานั่นเอง


238

หนาจั่ว: วาดวยสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม

วารสารวิชาการ ประจําคณะสถาปตกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

นอกจากนี้ ลักษณะที่ยังปรากฏเดนชัดคือ “พระมหาธาตุวัดพระราม” ซึ่งใน พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) กลาววาสรางขึ้นในสมัย พระบรมไตรโลกนาถ ดังใจความวา “...ทีถ่ วายพระเพลิงสมเด็จพระรามาธิบดีทพี่ ระองค สรางกรุงนั้นใหสถาปนาพระมหาธาตุ และพระวิหารเปนพระอารามหลวงใหนามชื่อวา วัดพระราม” (พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) 2542: 219) จะเห็นไดวา ขอความชุดดังกลาวนีเ้ ปนความสับสนของผูค ดั ลอก เนือ่ งจากในเนือ้ หากอน หนานั้นกลาววา “พระราเมศวรเจาผูเปนพระราชกุมารขึ้นเสวยราชสมบัติทรงพระนาม ชือ่ พระบรมไตรโลกนาถ...” (พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) 2542: 219) ซึ่งหากเปรียบเทียบขอความเดียวกันในพระราชพงศาวดารกรุงเกา ฉบับ หลวงประเสริฐอักษรนิติ์กลาววา “...จึงพระราชกุมารทานสมเด็จพระราเมศวรเจาเสวย ราชสมบัติ ทรงพระนามสมเด็จพระบรมไตรโลกเจา” (พระราชพงศาวดารกรุงเกา ฉบับ หลวงประเสริฐ 2542: 215) จึงทําใหเนื้อหาในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับ พันจันทนุมาศ (เจิม) ไดเขียนขยายความในกรณีการสถาปนาพระมหาธาตุวดั พระรามขึน้ โดยนําไปใสไวเปนเนือ้ หาภายใตรชั กาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ซึง่ ความเปนจริงแลว วัดพระรามตองถูกสรางขึ้นในสมัยสมเด็จพระราเมศวร ทั้งนี้ ก็จะเห็นไดวาพระปรางค ประธานวัดพระรามนัน้ ก็มกี ารวางผังเปนพระปรางคทวี่ างตัวเรียงกัน 3 องคเชนเดียวกัน จากขอมูลที่กลาวมาขางตนจะเห็นไดวา พระปรางคประธานวัดพระศรีรัตน มหาธาตุอยุธยาเมือ่ แรกสรางในรัชกาลสมเด็จพระราเมศวรในป พ.ศ. 1931 นัน้ อาจเปน “พระปรางคประธานทีม่ พี ระปรางคควู างตัวขนาบดานขาง” เนือ่ งจากการทีเ่ รือนยอดของ พระปรางคไดพังทลายลงมาในครั้งรัชกาลสมเด็จพระเจาทรงธรรม อาจกอใหเกิดความ เสียหายแกพระปรางคคูดานขาง จนเมื่อมีการบูรณปฏิสังขรณครั้งใหญในป พ.ศ. 2176 ในรัชสมัยสมเด็จพระเจาปราสาททอง ซึ่งในการปฏิสังขรณครั้งนั้นมีการปรับแกรูปทรง ของพระมหาธาตุใหมีความสูงเพิ่มขึ้น รวมทั้งมีการกอเพิ่มความยาวของมุขกอดวยอิฐ เขาไปชนกับโครงสรางเรือนธาตุเดิมทีก่ อ ดวยศิลาแลงตามสุนทรียภาพใหมทเี่ ปลีย่ นแปลง ไป จึงอาจเปนเหตุใหมีการกอสรางทับลงบนฐานของพระปรางคบริวารที่เคยขนาบขาง ของพระปรางคประธานอยูก็เปนได ทั้งนี้ หากมีวิทยาการในการสํารวจที่กาวหนา หรือ มีโครงการบูรณะและสํารวจทางโบราณคดี หากไดพสิ จู นทราบวาลักษณะการวางผังของ พระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยาเมือ่ แรกสรางนัน้ มีลกั ษณะเปนเชนไรก็จะเกิดประโยชนตอ วง วิชาการอีกไมนอย


ฉบับที่ 29 (มกราคม-ธันวาคม 2558) 239

ภาพที่ 5: แสดงแบบสันนิษฐานพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา เมื่อแรกสถาปนาใน ป พ.ศ. 1931 ในรัชกาล สมเด็จพระราเมศวร พ.ศ. 1931 (ภาพซาย) ในกรณีที่เปนพระปรางคประธานองคเดียว (ภาพขวา) ใน กรณีทเี่ ปนพระปรางคประธาน และมีปรางคบริวารขนาบดานขาง ซึง่ ทัง้ นี้ ไมอาจจะชีช้ ดั ลงไปวาเปนแบบใด จําเปนตองมีการสํารวจทางโบราณคดี ในการศึกษานี้ ใหขอ มูลไดเพียงแตวา สามารถเปนไปไดทงั้ 2 แนวทาง ตามที่มีหลักฐานแวดลอมดังกลาวมาในเนื้อหา

5.1.2 ความสูงของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา จากทีก่ ลาวมาขางตนวา การสถาปนาพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยาไดรบั แรงบันดาล ใจจากพระศรีรตั นมหาธาตุลพบุรี ทัง้ นีจ้ ากการสํารวจรังวัดพระปรางคประธานวัดพระศรีรตั นมหาธาตุ ลพบุรี ไดความสูงตั้งแตระดับพื้นดินถึงจอมโมลี ประมาณ 28 เมตร หรือประมาณ 14 วา ยอนกลับ มาพิจารณาจากหลักฐานพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาทีก่ ลาวถึงความสูงของพระศรีรตั นมหาธาตุ อยุธยาวามีความสูงตั้งแตฐานถึงจอมโมลี 19 วา และยอดนพศูลสูง 3 วา ทั้งนี้ ความสูงของพระศรี รัตนมหาธาตุอยุธยายังถูกกลาวถึงอีกครัง้ ในชวงรัชกาลสมเด็จพระเจาปราสาททองดวย จึงทําใหคอ น ขางแนใจไดวา สัดสวนทีก่ ลาวมานัน้ เปนความสูงของพระปรางคประธานวัดพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยา อยางแนนอน ซึ่งทั้งนี้ หากเทียบเปนมาตราวัดสากลนั้นจะเทียบไดประมาณ 38 เมตร หรือมีความ สูงประมาณตึก 12 ชั้นในสมัยปจจุบัน และมีความสูงของยอดนพศูลประมาณ 6 เมตร โดยเฉพาะ ลักษณะการซอนชุดฐานบัวลูกฟกซอนกัน 3 ชัน้ ทําใหกลายเปนองคเรือนธาตุนนั้ ตัง้ เทินอยูบ นฐานทีส่ งู ประมาณ 9.50 เมตร เพราะฉะนัน้ ความสูงของตัวเรือนจนถึงยอดจอมโมลีควรจะมีความสูงประมาณ 28.5 เมตร ซึง่ เมือ่ นําความสูงทีไ่ ดจากการสํารวจรังวัดนํามาหักลบกับความสูงทีก่ ลาวถึงไวในเอกสาร ทางประวัติศาสตรดังกลาวนั้นจึงนํามาสูการสันนิษฐานรูปแบบของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ทั้งนี้ อาจารยพิชญา สุมจินดา เสนอวาการซอนฐานสูงดังกลาวนั้นไดรับอิทธิพลมาจาก ปราสาทพระปถุ X ในกลุม ปราสาทพระปถุ ซึง่ สันนิษฐานวาสรางขึน้ ในสมัยพระเจาชัยวรมันที่ 8 (ครอง ราชยระหวาง พ.ศ. 1813-1838) ซึง่ เปนปราสาททีย่ กฐานสูงแตกตางไปจากปราสาทหลังอืน่ ๆ ในเมือง พระนครทีส่ รางขึน้ กอนหนา (พิชญา สุม จินดา 2557: 199) ซึง่ อาจจะสงอิทธิพลมาสูก ารออกแบบพระ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา แตทั้งนี้ เมื่อพิจารณาเงื่อนไขการประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุจะ


240

หนาจั่ว: วาดวยสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม

วารสารวิชาการ ประจําคณะสถาปตกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

เห็นวามีความจําเปนตองสรางชุดฐานซอนชั้นสูง จึงทําใหลักษณะการซอนฐานสูงดังกลาวนั้นไปพอง กับปราสาทพระปถุดวยก็เปนได อยางไรก็ดี เมื่อมีการศึกษาลักษณะทางสถาปตยกรรมของปราสาท หินในเมืองพระนครโดยละเอียดจะพบวา มีปราสาทอีกหลายองคที่สรางในลักษณะยกฐานสูง ทวามี องคประกอบทางสถาปตยกรรมอืน่ ๆ อยูร ว มดวย จึงทําใหคณ ุ ลักษณะของการเปนปราสาทยกฐานสูง ไมไดแสดงออกมาอยางชัดเจนนัก เชน สวนพระปรางคประธานของปราสาทนครวัด เปนตน

ภาพที่ 6: แบบสถาปตยกรรมเปรียบเทียบสัดสวนและความสูงของพระมหาธาตุ ลพบุรี (ซาย) มีระยะ ความกวางรวมของฐานดานหนา ประมาณ 15.52 เมตร สูง ประมาณ 28 เมตร ซึ่งไดขอมูลจากการ สํารวจรังวัด และพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา (ขวา) ซึ่งไดขอมูลในการทําแบบสันนิษฐานจากการสํารวจ รังวัด และการขอมูลความสูงจากพระราชพงศาวดาร ทั้งนี้มีระยะความกวางรวมของฐานดานหนา 22.03 เมตร และความสูงประมาณ 38 เมตร

ภาพที่ 8: แบบแสดงลักษณะทางสถาปตยกรรมของปราสาทนครวัด จะเห็นไดวา เมือ่ แสดงขอมูลของลักษณะ ทางสถาปตยกรรมดวยภาพตัด (Section) จะเห็นวาพระปรางคประธานก็ถกู ออกแบบใหเปนปราสาทยกฐานสูง ทวาเมือ่ มองในภาพรวมจะถูกสวนระเบียงคต และอาคารหลังอืน่ ๆบัง ทําใหเห็นเฉพาะสวนเรือนยอดเทานัน้


ฉบับที่ 29 (มกราคม-ธันวาคม 2558) 241

ภาพที่ 7: ปราสาทพระปถุ X ซึ่งเปนปราสาทจัตุรมุขยกฐานสูง (ภาพซาย) แสดงภาพรวมของปริมาตร ของตัวปราสาทที่ยกฐานสูง และมีทางเขาทั้ง 4 ดาน (ภาพขวา) แสดงบันไดทางขึ้นปราสาทพระปถุ X

5.1.3 การตกแตงชั้นอัสดงของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อแรกสถาปนา เนื่องจากวาพระมหาธาตุองคเดิมเมื่อแรกสถาปนานั้นไดพังทลายลงมาจนถึงชั้น อัสดง คําถามทีม่ ตี อ ลักษณะทางสถาปตยกรรมพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยาอีกประการหนึง่ คือ ลักษณะ การประดับตกแตงชั้นอัสดงของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาควรเปนอยางไร ในการนี้ หากพิจารณาพระมหาธาตุลพบุรที สี่ รางขึน้ กอนหนา และเปนแมแบบสําคัญใหแก พระมหาธาตุองคตา งๆ ในลุม นํา้ เจาพระยานัน้ จะเห็นไดวา ชัน้ อัสดงซึง่ ถือวาเปนชัน้ หลังคาชัน้ แรกทีอ่ ยู เหนือเรือนธาตุขนึ้ ไปนัน้ ซึง่ จะตอขึน้ ไปดวยเรือนยอดชัน้ ถัดไปทีจ่ ะตองลดขนาดของผังลงเพือ่ รวบให ยอดนัน้ เปนกระพุม จึงจะเห็นไดวา พืน้ ทีช่ นั้ อัสดงทีเ่ รือนยอดชัน้ ตอไปเทินอยูน นั้ จะมีพนื้ ทีว่ า งเหลืออยู จึงมีการออกแบบเปนกลีบขนุนซึง่ มีความหมายเปนดัง่ ซุม วิมานชัน้ ตางๆ ของสรวงสวรรค ทวาดวยพืน้ ที่ ที่ติดตั้งกลีบขนุนนั้นอยูตรงมุมที่ตองมองไดจากทิศทางตางๆ จึงออกแบบวิมานดังกลาวใหมีลักษณะ พับครึง่ หักมุมสัมพันธกบั พืน้ ทีท่ ตี่ ดิ ตัง้ อยางไรก็ดี ในพระปรางคทมี่ ขี นาดเล็ก หรือมีพฒ ั นาการตอมาใน ชัน้ หลังความหมายของการเปนวิมานไดเลือนไป เนือ่ งจากพืน้ ทีบ่ นผิวหนาของกลีบขนุนทีจ่ ะสามารถ นําเสนอขอมูลอยางตรงไปตรงมาไดนนั้ มีขนาดเล็กลง ในการนีจ้ งึ มีการลดรูปทีซ่ บั ซอนลงเหลือเปนรูป ทรงนามธรรมดังที่ปรากฏนั่นเอง อยางไรก็ตาม หากพิจารณาความสัมพันธระหวางพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยากับพระศรีรตั น มหาธาตุลพบุรีก็เห็นจะมีขอเสนอวา การตกแตงชั้นอัสดงของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาควรตกแตง ดวยกลีบขนุนเชนเดียวกัน หากแตวา มีขอขัดแยงที่ทําใหตองเปดมุมมองของการสันนิษฐานเพิ่มเติม อีกมุมมองคือ เนือ่ งจากวาพระมหาธาตุวดั พระรามซึง่ สรางในรัชกาลสมเด็จพระราเมศวรเชนเดียวกัน นัน้ ก็มกี ารออกแบบตกแตงตรงชัน้ อัสดงดวยประติมากรรมรูปครุฑบนมุมประธาน และมุมยอยตกแตง ดวยประติมากรรมรูปเทวดาประทับยืน ทั้งนี้ ในสถานภาพความรูปจจุบันยังไมมีขอเสนอใดๆ วาการ ตกแตงชัน้ อัสดงของพระมหาธาตุวดั พระรามทีเ่ ปนรูปครุฑกับเทวดานัน้ เกิดขึน้ ตัง้ แตเมือ่ แรกสถาปนา องคพระปรางคหรือไม หรือมีการซอมแกใหมในการบูรณปฏิสังขรณในชั้นหลัง


242

หนาจั่ว: วาดวยสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม

วารสารวิชาการ ประจําคณะสถาปตกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

จากการศึกษาของปุณยนุช หวังดํารงทรัพย (2552) เสนอวา การตกแตงดวยประติมากรรม รูปครุฑนั้นเริ่มเกิดขึ้นที่พระปรางควัดนครโกษา ลพบุรี ซึ่งไดรับแบบอยางมาจากการทํานาคปกของ ปราสาทขอม ทั้งนี้ การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการตกแตงมาสูการใชประติมากรรมรูปครุฑประดับนั้น เปนผลมาจากการปรับเปลี่ยนเปลี่ยนรูปทรงหลังคาเรือนยอด เนื่องดวยขอมูลที่บงชี้ดังกลาวนั้นยังไมมีมากพอที่จะชี้ชัดได เมื่อนํามาศึกษาเปรียบเทียบ กับการตกแตงชั้นอัสดงของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาวามีโอกาสจะเปนไดทั้ง 2 แนวทาง คือ การ ตกแตงดวยกลีบขนุนเชนเดียวกับพระมหาธาตุลพบุรีที่เปนแรงบันดาลใจ หรืออาจจะตกแตงดวย ประติมากรรมรูปครุฑและเทวดาเชนเดียวกับพระมหาธาตุวัดพระรามที่สรางขึ้นในสมัยสมเด็จพระ ราเมศวรเชนเดียวกัน (ดูภาพที่ 9) จนกวาจะมีการศึกษาและสามารถบงชี้ไดวาประติมากรรมตกแตง บนชั้นอัสดงของพระมหาธาตุวัดพระรามนั้นถูกสรางขึ้นมาพรอมกับองคพระปรางคหรือไม

ภาพที่ 9: การตกแตงชั้นอัสดงของพระมหาธาตุตางๆ ที่สถาปนาขึ้นกอนหนา และรวมสมัยกับพระศรีรัตน มหาธาตุอยุธยา (ซาย) การตกแตงชั้นอัสดงพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรีดวยกลีบขนุน (กลาง) การตกแตง ชัน้ อัสดงพระมหาธาตุวดั พุทไธสวรรยดว ยกลีบขนุน (ขวา) การตกแตงชัน้ อัสดงพระมหาธาตุวดั พระรามดวย ประติมากรรมปูนปน รูปครุฑทีต่ าํ แหนงมุมประธาน และมุมรองตกแตงดวยกลีบขนุนปน ตกแตงดวยรูปเทวดา


ฉบับที่ 29 (มกราคม-ธันวาคม 2558) 243

ภาพที่ 10: แบบสถาปตยกรรมเปรียบเทียบพระปรางคมหาธาตุอยุธยาเมือ่ แรกสรางในประเด็นการตกแตง ชั้นอัสดง ภาพทางซายมือ คือ การตกแตงชั้นอัสดงดวยการใชกลีบขนุนเชนเดียวกับพระมหาธาตุลพบุรี สําหรับภาพทางขวามือ คือ การตกแตงชัน้ อัสดงโดยใชประติมากรรมรูปครุฑและเทวดาประทับยืน เชนเดียว กับการตกแตงพระมหาธาตุวัดพระรามซึ่งสรางในรัชกาลสมเด็จพระนเรศวรเชนเดียวกัน

5.1.4 การตกแตงสันหลังคามุขทิศตะวันออกของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา เมื่อแรกสถาปนา สืบเนื่องจากมีการยื่นมุขทิศดานตะวันออกมายาวกวามุขดานอื่นๆ ซึ่งทําหนาที่เปนเพียง มุขสัญลักษณ หาไดเปนทางเขาสูห อ งครรภคฤหะเชนมุขทางดานตะวันออกไม ทัง้ นี้ จึงนําไปสูค าํ ถาม ทีว่ า “บนสันหลังคาของมุขทิศดานตะวันออกของพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยานัน้ เคยมีสถูปขนาดเล็กตัง้ อยู หรือไม” เนื่องมาจากพระมหาธาตุลพบุรีที่กอสรางกอนหนานั้นไมมีการสรางสถูปบนสันหลังคามุข ทิศตะวันออก อยางไรก็ดี แมวาพระมหาธาตุลพบุรีควรจะสงอิทธิพลตอพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา แตทวาดวยการอายุการกอสรางที่ทิ้งหางกันเปน 100 ป ทําใหความนิยมในรูปทรง และลักษณะทาง สถาปตยกรรมก็คงเปลี่ยนแปลงไปดวย ดังตัวอยางเชน ความสูงของชุดฐานซอนชั้นซึ่งพระมหาธาตุ ลพบุรมี คี วามสูงประมาณ 3.6 เมตร แตทวาความสูงของชุดฐานซอนชัน้ ของพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยา นั้นมีความสูงประมาณ 9.5 เมตร นอกจากนี้ พระมหาธาตุวดั พระรามทีส่ รางขึน้ ในรัชสมัยสมเด็จพระ ราเมศวรเชนเดียวกันนั้นก็มีการสรางสถูปทรงปรางคบนสันหลังคามุขทิศดวยเชนกัน (ดูภาพที่ 12) ทั้งนี้ บนสันหลังคามุขทางดานทิศตะวันออกของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาอาจจะมี หรือ อาจจะไมมีสถูปทรงปรางคบนสันหลังคามุขทิศตะวันออกก็เปนไปไดทั้ง 2 แนวทาง คือ “ไมมีสถูป ทรงปรางคบนสันหลังคามุขทิศตะวันออก” เชนเดียวกับพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรีที่มีการกอสราง อยูกอนหนา หรือ “มีสถูปทรงปรางคบนสันหลังคามุขทิศตะวันออก” เชนเดียวกับพระมหาธาตุวัด พุทไธสวรรย หรือพระมหาธาตุวัดพระรามที่สรางขึ้นในสมัยสมเด็จพระราเมศวรเชนเดียวกัน


244

หนาจั่ว: วาดวยสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม

วารสารวิชาการ ประจําคณะสถาปตกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ภาพที่ 11: (ภาพซาย) ภาพถายเกาของพระมหาธาตุวัดพระราม ดังจะเห็นไดวามุขทางดานตะวันออกนั้น มีสถูปทรงปรางคบนสันหลังคามุข (ภาพขวา) พระมหาธาตุวัดราชบูรณะมีสถูปทรงเจดียบนสันหลังคามุข ดานหนาทางทิศตะวันออก

ภาพที่ 12: แบบสถาปตยกรรมสันนิษฐานเพื่อเปรียบเทียบพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อแรกสรางในประเด็นวา ดวย “สถูปทรงปรางคบนสันหลังคามุขทิศตะวันออก” ภาพทางซายมือ คือ แบบสันนิษฐานของพระศรีรตั นมหาธาตุ อยุธยาเมือ่ แรกสรางแบบไมมมี ขุ บนสันหลังคา สําหรับภาพทางขวามือ คือ แบบสันนิษฐานของพระศรีรตั นมหาธาตุ อยุธยาเมื่อแรกสรางแบบมีสถูปทรงปรางคอยูบนสันหลังคามุข


ฉบับที่ 29 (มกราคม-ธันวาคม 2558) 245 นอกจากนี้ หากพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยาเคยมีพระสถูปทรงปรางคบนสันหลังคามุขทิศดานตะวันออกเชน พระมหาธาตุวัดพระรามนั้น ก็ยิ่งเปนที่นาสนใจและอาจจะเปนคําตอบถึงการกอสรางพระมหาธาตุวัดราชบูรณะใน รัชกาลสมเด็จพระเจาสามพระยาซึ่งมีการกอสรางสถูปขนาดเล็กทรงเจดียอยูบนสันหลังคามุขทิศดานตะวันออกดวย (ดูภาพที่ 11) ทั้งนี้ อาจตีความไดวาในการกอสรางพระมหาธาตุวัดราชบูรณะในสมัยเจาสามพระยาที่ทําใหแกนที่พุง ตรงไปยังพระราชวังหลวงนั้นชัดเจนมากขึ้น โดยมีพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา และพระมหาธาตุวัดราชบูรณะขนาบ ขางกันดวยการออกแบบสรางสรรคดวยความจงใจ ผานรูปทรงปรางค และขนาดที่ใกลเคียงกัน เพราะฉะนั้นจึงมีการ ออกแบบพระสถูปบนสันหลังคามุขทิศตะวันออกของพระปรางควดั ราชบูรณะใหเปนทรงเจดีย เพือ่ แสดงความแตกตาง ในแงสญ ั ลักษณและความหมายของพระมหาธาตุสององคทมี่ คี วามหมายทีแ่ ตกตางกันเมือ่ พินจิ พิจาณาในรายละเอียด นั่นเอง 8. สรุปผลการศึกษา

บทความนี้ประกอบดวยเนื้อหาหลัก 3 สวน คือ 1. ประวัติศาสตรอยุธยาที่เกี่ยวของสัมพันธกับวัดพระ ศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา 2. รูปแบบสถาปตยกรรมของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อแรกสถาปนา และ 3. รูปแบบ สถาปตยกรรมของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อคราวบูรณปฏิสังขรณใหมในสมัยสมเด็จพระเจาปราสาททองหลัง จากที่เรือนยอดไดพังทลายลงมา 1. “ประวัติศาสตรอยุธยาที่เกี่ยวของสัมพันธกับวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา” คือ สันนิษฐานวาสราง ขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระราเมศวร ในป พ.ศ.1931 โดยสะทอนความสัมพันธกับพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี ตอมาในรัช สมัยพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจาสามพระยา) ไดโปรดใหนํารูปหลอสําริดตางๆ อาทิ รูปพระโค รูปสิงห และรูปสัตว ทั้งปวงที่ไดมาจากเมืองพระนครมาบูชาถวายไว ณ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ทวาในคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 1 ใน ป พ.ศ. 2099 พระเจาบุเรงนองไดใหขนยายรูปหลอสําริดเหลานั้นไปหงสาวดี นอกจากบทบาทในแงของการเปนหลัก ประธานของบานเมืองแลวในเชิงความหมาย วัดพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยายังเปนทีจ่ าํ พรรษาของพระเถระชัน้ ผูใ หญ ตลอดจนพระบรมวงศานุวงศชนั้ สูงทีท่ รงผนวชดวย นอกจากนี้ ยังมีธรรมเนียมทีพ่ ระมหากษัตริยแ ละพระบรมวงศานุ วงศชนั้ สูงตองเสด็จมาและใหราษฎรเขาเฝา ตอมาในรัชกาลสมเด็จพระเจาทรงธรรมพระมหาธาตุไดพงั ทลายลงมาถึงชัน้ อัสดงและไมไดมกี ารบูรณปฏิสงั ขรณจนกระทัง่ รัชกาลสมเด็จพระเจาปราสาททอง ทรงโปรดเกลาฯ ใหบรู ณปฏิสงั ขรณ พระปรางคมหาธาตุทพี่ งั ทลายลงมาแตวา มีการแกรปู ทรงของพระมหาธาตุใหมรี ะเบียบสัดสวนทีส่ งู เพรียวมากขึน้ ดวย ในรัชกาลพระเจาอยูห วั บรมโกศวัดพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยาถือเปนวัดสําคัญทีส่ วยงามแหงหนึง่ และเปนทีจ่ าํ พรรษา ของพระสังฆราชเมืองอยุธยาซึ่งคณะทูตลังกาไดมาเยี่ยมชมและไดจะบันทึกพรรณนาถึงความงดงามตางๆ ไวดวย 2. “รูปแบบสถาปตยกรรมของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อแรกสถาปนา” การศึกษาในสวนนี้ ใช ระเบียบวิธวี จิ ยั ทางประวัตศิ าสตรศลิ ปสถาปตยกรรมเปรียบเทียบลักษณะทางสถาปตยกรรมกับพระมหาธาตุองคตา งๆ ที่สันนิษฐานวาสงแรงบันดาลใจใหแกกัน และสรางอยูรวมสมัยกัน อาทิ พระมหาธาตุประจําเมืองตางๆ อาทิ พระศรี รัตนมหาธาตุลพบุรี พระศรีรตั นมหาธาตุราชบุรี พระศรีรตั นมหาธาตุสพุ รรณบุรี และพระมหาธาตุในเมืองอยุธยา อาทิ พระมหาธาตุวัดพุทไธสวรรย พระมหาธาตุวัดพระราม พระมหาธาตุวัดราชบูรณะ ทําใหมีสมมติฐานเกี่ยวกับลักษณะ ทางสถาปตยกรรมของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อแรกสถาปนาดังตอไปนี้ คือ


246

หนาจั่ว: วาดวยสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม

วารสารวิชาการ ประจําคณะสถาปตกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

2.1 “การวางผังพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา” สืบเนื่องจากวา พระมหาธาตุที่กอสรางขึ้นกอน หนาสมัยอยุธยา รวมทั้งพระมหาธาตุในสมัยอยุธยาตอนตน ตางก็วางผังเปนพระปรางค 3 องควางตัวเรียง หนากระดานกัน เพียงแตวาพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาซึ่งเปนหลักเปนประธานของเมืองหลวงที่มีอายุถึง 417 ป จึงผานพัฒนาการในการวางผังและสถาปตยกรรมผานการพังทลาย รื้อลง บูรณะ ปฏิสังขรณ สราง เสริม ตางๆนานา ทําใหลักษณะในการวางผังและสถาปตยกรรมในระยะสุดทายนั้นเปลี่ยนแปลงไปจากรูป แบบเมื่อแรกสถาปนาโดยสิ้นเชิง จึงมีขอเสนอเพิ่มเติมวา “พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อแรกสถาปนานั้นอาจจะมีการวางผังเปน พระปรางควางเรียงตัวกัน 3 องค” เชนเดียวกับพระมหาธาตุอื่นๆ ที่สรางกอนหนาและสรางขึ้นรวมสมัย แต ทวาพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาไดถูกการซอมแกเปลี่ยนแปลงไปในชั้นหลัง อยางไรก็ดี ขอเสนอนี้เปนเพียง สมมติฐานทีใ่ ชขอ มูลตางๆ ทีอ่ ยูแ วดลอมซึง่ จะเปนการดีทจี่ ะมีสาํ รวจขุดคนทางโบราณคดีเพือ่ ความกระจาง ชัดในประเด็นดังกลาวตอไป 2.2 “ความสูงของพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยา” ตามการสันนิษฐานวาพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยา สถาปนาขึน้ ในรัชกาลสมเด็จพระราเมศวร ซึง่ กลาวถึงในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาวามีความสูงตัง้ แต ฐานถึงจอมโมลี 19 วา และยอดนพศูลสูง 3 วา ซึ่งเทียบเปนมาตราวัดสากล คือ ประมาณ 38 เมตร ทั้งนี้ ชุดฐานบัวลูกฟกซอนกัน 3 ชัน้ สูงประมาณ 9.50 เมตร เพราะฉะนัน้ ความสูงของตัวเรือนจนถึงยอดจอมโมลี ควรจะมีความสูงประมาณ 28.5 เมตร 2.3 “การตกแตงชั้นอัสดงของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา” เนื่องจากวาพระมหาธาตุองคเดิม เมื่อแรกสถาปนานั้นไดพังทลายลงมาจนถึงชั้นอัสดง ซึ่งหากพิจารณาพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี และพระ มหาธาตุวดั พุทไธสวรรยทสี่ รางขึน้ กอนหนา ก็ตกแตงชัน้ อัสดงดวยกลีบขนุน ในขณะทีพ่ ระมหาธาตุวดั พระราม ซึง่ สรางในรัชกาลสมเด็จพระราเมศวรเชนเดียวกันกับพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยานัน้ ตกแตงตรงชัน้ อัสดงดวย ประติมากรรมรูปครุฑบนมุมประธาน และมุมยอยตกแตงดวยประติมากรรมรูปเทวดาประทับยืน ในทีน่ มี้ ขี อ เสนอเพิม่ เติมวา “การตกแตงชัน้ อัสดงของพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยาวามีโอกาสจะเปน ไดทั้ง 2 แนวทาง คือ การตกแตงดวยกลีบขนุนเชนเดียวกับพระมหาธาตุลพบุรี และพระมหาธาตุวัดพุทไธ สวรรย หรืออาจตกแตงดวยประติมากรรมรูปครุฑและเทวดาเชนเดียวกับพระมหาธาตุวดั พระรามทีส่ รางขึน้ ในสมัยสมเด็จพระราเมศวรเชนเดียวกัน” จนกวาจะสามารถบงชีไ้ ดวา ประติมากรรมตกแตงบนชัน้ อัสดงของ พระมหาธาตุวัดพระรามนั้นถูกสรางขึ้นมาพรอมกับองคพระปรางคหรือไม ขอจํากัดของการศึกษา

สืบเนือ่ งจากสถานภาพความรูข องประวัตศิ าสตรชว งตอนตนอยุธยายังมีความคลุมเครืออยูม ากโดย เฉพาะรัชกาลพระราเมศวร ทีก่ ลาวถึงการครองราชยครัง้ ที่ 2 ซึง่ มีขอ ชวนสงสัย เนือ่ งจากไมปรากฏกลาวถึง ในเอกสารจีน ซึง่ การศึกษาในหัวขอนีม้ คี วามสัมพันธโดยตรงกับชวงเวลาดังกลาว ทัง้ นีห้ ากมีการสรางความ กระจางชัดในเรื่องดังกลาวแลวก็มีความจําเปนที่ตองปรับปรุงการศึกษาในประเด็นเกี่ยวกับวัดพระศรีรัตน มหาธาตุอยุธยาดวยในโอกาสตอไป


ฉบับที่ 29 (มกราคม-ธันวาคม 2558) 247

บรรณานุกรม เอกสารภาษาตางประเทศ - Karl Dohring. Buddhist (Phra Chedi) Architecture of Thailand. Bangkok: White Lotus. 2000. - Hajime Nakamura. (1965). Indian Buddhism: A Survey with Bibliographical Notes. Delhi: Motilal Banaesidass publishing house. - Hiram Woodward. (2005). he Art and Architecture of Thailand from Prehistoric Times through the Thirteenth Century. Ansterdam: Leiden. - Walpola Rahula. (1956). History of Buddhism in Ceylon: the Anuradhapura period 3rd century BC-10th century. Colombo: M.D. Gunasena. เอกสารภาษาไทย - (2542). “พระราชพงศาวดารกรุงเกา ฉบับหลวงประเสริฐ”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เลม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. - (2542). “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนา ภิเษก เลม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. - (2542). “พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากตนฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน” ใน ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เลม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. - (2543). ไตรภูมิพระรวง หรือไตรภูมิกถา. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. - เกรียงไกร เกิดศิริ. (2551). พุกาม การกอรูปของสถาปตยกรรมจากกอนอิฐแหงศรัทธา. กรุงเทพฯ: อุษาคเนย. - เกรียงไกร เกิดศิริ. “พระศรีรัตนมหาธาตุหลักกรุงศีอยุธยา: ความยอกยอนในประวัติศาสตรการสถานปนา” ใน วารสารหนาจั่วฉบับประวัติศาสตรสถาปตยกรรม และสถาปตยกรรมไทย. ปที่ 12 (มกราคม-ธันวาคม 2558) - เกรียงไกร เกิดศิริ และอิสรชัย บูรณะอรรจน. “รูปแบบสถาปตยกรรมพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาภายหลังการบูรณ ปฏิสังขรณในสมัยสมเด็จพระเจาปราสาททอง” ใน วารสารหนาจั่ว ฉบับสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม. ฉบับที่ 29 (มกราคม-ธันวาคม 2558) หนาที่ 249-270. - เกรียงไกร เกิดศิริ และบุณยกร วชิระเธียรชัย. (2557). “พัฒนาการของผังบริเวณวัดพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช จากหลักฐานทางประวัติศาสตร และการสํารวจภาคสนาม”. ใน วารสารหนาจั่วฉบับสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม. ปที่ 28. (กันยายน 2556-สิงหาคม 2557) หนา 81-118. - เกรียงไกร เกิดศิริ และคณะ. (2558). การพัฒนาระบบการสื่อความหมายมรดกทางสถาปตยกรรมผานระบบ อินเตอรเน็ตกรณีศึกษา วัดมหาธาตุอยุธยา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร. - กรมศิลปากร. (2546). “พระราชพงศาวดารอยุธยา ฉบับวันวลิต”. ใน รวมบันทึกประวัติศาสตรอยุธยาของฟาน ฟลีต (วัน วลิต). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. - จีราวรรณ แสงเพ็ชร. (2552). ระบบการจัดและการประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุในประเทศไทย. วิทยานิพนธ ปริญญาปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัตศิ าสตร, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร. - จอหน เอส สตรอง, เขียน. สุลกั ษณ ศิวลักษณ, แปล. (2552). ความเขาใจในเรือ่ งพระเจาอโศกและอโศกาวทาน. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย. - จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. (2534). มหาธาตุ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. - ดํารงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยา. (2503). ตํานานพระพุทธเจดีย เลม 1. - น.ณ ปากนํ้า. (2540). หาเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. - พิริยะ ไกรฤกษ. (2555). กึ่งพุทธกาลพุทธศิลปไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพกรุงเทพ.


248

หนาจั่ว: วาดวยสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม

วารสารวิชาการ ประจําคณะสถาปตกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

- ปุณยนุช หวังดํารงทรัพย. (2552). การประดับครุฑที่ปรางคในสมัยอยุธยา. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตรศิลปะ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร. - ศิลป พีระศรี และธนิต อยูโพธิ์. (2502). “วิวัฒนาการแหงจิตกรรมฝาผนังไทย” ใน วิวัฒนาการแหงจิตรกรรม ฝาผนังของไทย สถานจิตรกรรมและสารบาญจิตรกรรมฝาผนังในหอศิลปะ. พระนคร: กรมศิลปากร. - สนอดกราส เอเดรียน, เขียน, ภัทรพร สิริกาญจน. (2541). สัญลักษณแหงพระสถูป. กรุงเทพฯ: อัมรินทร วิชาการ. - ธนธร กิตติกานต. (2557). มหาธาตุ. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม. - น. ณ ปากนํ้า. (2516). สถูปเจดียในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร. - มูลนิธิ.สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา. (2554). นามานุกรมพระมหากษัตริยไทย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดา. - วินัย พงศศรีเพียร, บรรณาธิการ. (2551). อยุธยา พรรณนาภูมิสถานและมรดกความทรงจําแหงพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: อุษาคเนย. - ศรีศักร วัลลิโภดม. (2546). ความหมายพระบรมธาตุในอารยธรรมสยามประเทศ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. - เสมอชัย พูลสุวรรณ. (2539). สัญลักษณในงานจิตรกรรมไทยระหวางพุทธศตวรรษที่ 19-24. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. - สันติ เล็กสุขุม. (2522). วิวัฒนาการของชั้นประดับ และลวดลายสมัยอยุธยาตอนตน. กรุงเทพฯ: อัมรินทรการพิมพ. - สันติ เล็กสุขุม. (2542). ศิลปะอยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. - สันติ เล็กสุขุม. (2548). “แนวความคิดกับกระบวนกรรมวิธีทางชาง: เหตุผลที่เรียกเจดียเพิ่มมุมแทนเจดียยอมุม”. ใน รวมบทความมุมมอง ความคิด และความหมาย: งานชางไทยโบราณ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. - สันติ เล็กสุขมุ . (2548). ประวัตศิ าสตรศลิ ปะไทย (ฉบับยอ) การเริม่ ตนและการสืบเนือ่ งงานชางในศาสนา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. - สันติ เล็กสุขุม. (2553). “ประเทศไทยกับงานชางตั้งแตพุทธศตวรรษที่ 19” ใน พัฒนาการของลายไทย: กระหนก กับเอกลักษณไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. - สันติ เล็กสุขุม. (2553). พัฒนาการกระหนกของลายไทย: กระหนกกับเอกลักษณไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. กิตติกรรมประกาศ - ขอขอบพระคุณ อาจารย ดร. วินยั พงศศรีเพียร เมธีวจิ ยั อาวุโส สกว. อาจารยผใู หคาํ แนะนําเกีย่ วกับระเบียบวิธวี จิ ยั ทาง ประวัติศาสตร และเปนแบบอยางในความมุงมั่นที่จะผลักดันใหงานวิจัยเกิดประโยชนสูสังคม - ขอขอบพระคุณ ศาสตราจารย ดร. เสมอชัย พูลสุวรรณ สําหรับคําแนะนําตางๆ เกี่ยวกับการศึกษาวิจัย - ขอขอบพระคุณ สถาบันวิจยั และพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร และสํานักงานคณะกรรมการวิจยั แหงชาติทใี่ หการสนับสนุน ทุนการวิจัย - คณะนักวิจัย ผูชวยวิจัย ผูชวยวิจัยภาคสนาม ทุกๆ ทานที่รวมดําเนินการวิจัยในชุดโครงการนี้ดวยดีเสมอมา คือ อาจารยอสิ รชัย บูรณะอรรจน, อาจารยตะวัน วีระกุล, อาจารยบณ ุ ยกร วชิระเธียรชัย, อาจารยคาํ ซาย พันทะวง มหาวิทยาลัยสุพานุวง หลวงพระบาง สปป.ลาว, คุณสมชาย เชื้อชวยชู, อาจารยกุลพัชร เสนีวงศ อยุธยา, คุณนิดถา บุนปานี สําหรับการสํารวจรังวัด ในการสํารวจภาคสนาม และการจัดทําแบบสถาปตยกรรม และอืน่ ๆ - คุณปญจเวช บุญรอด และคุณศรัญ กลิ่นสุคนธ ผูชวยคนควาเอกสารที่เกี่ยวเนื่องกับวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.