รูปแบบสถาปัตยกรรมพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ภายหลังการบูรณปฏิสังขรณ์ ในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง

Page 1

ฉบับที่ 29 (มกราคม-ธันวาคม 2558) 249

รูปแบบสถาปตยกรรมพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ภายหลังการบูรณปฏิสังขรณ ในสมัยสมเด็จพระเจาปราสาททอง* ดร. เกรียงไกร เกิดศิริ

อาจารย ประจําคณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร อิสรชัย บูรณะอรรจน

นักวิจัย และนักศึกษาโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก สกว. หลักสูตรสถาปตยกรรมพื้นถิ่น คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร บทคัดยอ

บทความ “รูปแบบสถาปตยกรรมพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาภายหลังการบูรณปฏิสังขรณ ในสมัยสมเด็จพระเจาปราสาททอง” เปนการศึกษาเพือ่ การสันนิษฐานรูปแบบทางสถาปตยกรรมองค พระศรีรัตนมหาธาตุซึ่งเรือนยอดเดิมไดพังลงมาตั้งแต พ.ศ. 2153 ในรัชกาลสมเด็จพระเจาทรงธรรม และไดรับการบูรณปฏิสังขรณใหมในสมัยสมเด็จพระเจาปราสาททอง ในป พ.ศ. 2176 ซึ่งการบูรณ ปฏิสงั ขรณไดแกไขสวนยอดของพระมหาธาตุใหสงู ขึน้ กวาเดิม สําหรับนพศูลใชของเดิม นอกจากนี้ ยัง มีการกออิฐเสริมเปนมุขอีก 3 ดานและมีการกอสรางสถูปทรงปรางคบนสันหลังคามุขทิศทั้ง 4 ดาน บุเรือนยอดดวยทองจังโกและปดทองรวมเปนพระปรางค 5 ยอด ดังกลาวถึงในเอกสารคณะทูตลังกา ที่เขามาเยี่ยมเยือนในรัชกาลสมเด็จพระเจาอยูหัวบรมโกศ นอกจากนี้ยังศึกษาสถาปตยกรรมอื่นๆ ที่ อยูภายในผังบริเวณที่ลอมรอบดวยระเบียงคด อาทิ พระปรางคมุม เจดียบริวาร มณฑปบริวาร และ เจดียมุมดวย คําสําคัญ: พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา / พระมหาธาตุอยุธยา / อยุธยา / พระปรางค

* เปนสวนหนึ่งของการวิจัยเรื่อง “การพัฒนาระบบการสื่อความหมายมรดกทางสถาปตยกรรมผานระบบ อินเตอรเน็ตกรณีศึกษา วัดมหาธาตุอยุธยา (Multimedia Design for Architectural Heritage Tourism Interpretation a case study of Wat Mahathad Ayutthaya)” ภายใตแผนการวิจัย “แผนยุทธศาสตร ขับเคลื่อนประเทศไทยเปนศูนยกลางการทองเที่ยวของภูมิภาคดวยการจัดการทองเที่ยวแหลงมรดกโลกใน เอเชียตะวันออกเฉียงใตภาคพื้นทวีป (Driven Strategic Plan for Thailand as a Hub of Tourism by Managing the World Heritage in the Main Land of Southeast Asia)” ซึ่งไดรับทุนสนับสนุนจาก สถาบันวิจยั และพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร และสํานักงานคณะกรรมการวิจยั แหงชาติ ประจําป พ.ศ. 2556.


250

หนาจั่ว: วาดวยสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม

วารสารวิชาการ ประจําคณะสถาปตกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

Phra Sri Rattana Mahathat Ayuthaya after the Restoration in the Reign of King Prasat Thong Kreangkrai Kirdsiri, Ph.D.

Lecturer, Department of Architecture Faculty of Architecture, Silpakorn University Isarachai Buranaut

Researcher and Ph.D. Candidate, Faculty of Architecture, Silpakorn University Abstract

“Phra Sri Rattana Mahathat Ayudhaya after the Restoration in the Reign of King Prasat Thong” is the study about consumption of architectural forms of the Prang whose top collapsed in the reign of King Song Tham in 1610 and was restored in the reign of King Prasat Thong in 1633. The Prang became taller with the old tier. The new construction was done at the three sides. There was also the construction of stupas on all four sides of the roof top, covered by gold leaf. Hence, there were five Prangs with golden top, as mentioned in historical document of the ambassadors from Lanka in the reign of King Borom Koat. Other architectural components were also studied, consisting of the gallery, Prangs at the corners, surrounding Chedis, surrounding Mondops, and Chedis at the corners. Key words: Phra Sri Rattana Mahathat Ayuthaya/ Phra Mahathat Ayuthaya/ Ayuthaya / Phra Prang


ฉบับที่ 29 (มกราคม-ธันวาคม 2558) 251

1. ที่มาและความสําคัญของการศึกษา

สืบเนื่องจาก “วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยา” เปนวัดสําคัญที่สุดดวยมีองคพระศรีรัตน มหาธาตุทําหนาที่เปนดั่งศูนยกลางทางจิตวิญญาณของบานเมือง ดังกลาววา “เปนหลักเปนประธาน ของบานเมือง” โดยประดิษฐานพระบรมสารีรกิ ธาตุของพุทธองค และดวยอายุอนั เกาแกมาตัง้ แตสมัย ตอนตนราชธานีกรุงศรีอยุธยา วัดพระศรีรตั นมหาธาตุจงึ เต็มไปดวยสิง่ กอสรางมากมายถูกสรางถวาย เปนพุทธบูชา ทําใหการศึกษาดานสถาปตยกรรมภายในวัดทํายาก เนื่องจากการกอสรางซอนทับกัน หลายยุคหลายสมัย อีกทั้งองคพระศรีรัตนมหาธาตุประธานของวัดก็พังทลายลงมา รวมไปถึงการขุด คนอยางเรงรัดที่เปนมาในอดีตที่มีการบันทึกขอมูลตางๆ ไวนอย ตลอดจนในชั้นหลังมีการขุดแตง เพื่อสงเสริมการทองเที่ยว ก็ทําใหหลักฐานจํานวนมากไดถูกรบกวนมาจนเปนเรื่องยากในการศึกษา นอกจากนี้ สถานการณการจัดการการทองเทีย่ วในปจจุบนั ก็ยงั ขาดขอมูลอันจะเปนประโยชนทจี่ ะสง เสริมการเรียนรู และการทอ่ งเทีย่ วมรดกทางวัฒนธรรมผานระบบการสือ่ ความหมาย จึงมีความจําเปน ที่ตองทําการศึกษาขอมูลเชิงลึกเพื่อสรางคําอธิบายตอพัฒนาการทางสถาปตยกรรมตางๆ ภายในวัด พระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยา โดยเฉพาะอยางยิง่ ในประเด็นเรือ่ งรูปแบบทางสถาปตยกรรมเพือ่ นําองค ความรูใหม หรือขอเสนอใหมเพิ่มเติมนอกเหนือจากสถานภาพความรูและขอเสนอที่มีอยูในปจจุบัน พัฒนาสูระบบการจัดการการทองเที่ยว และการสื่อความหมายมรดกทางสถาปตยกรรมสําหรับการ ทองเที่ยวตอไป 2. วัตถุประสงคของบทความ

1. เพื่อศึกษาสถานภาพการศึกษา ตรวจสอบชุดความคิด ตลอดจนคําอธิบายเกี่ยวกับ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา เพื่อนําไปสูการศึกษาเชิงวิพากษเพื่อสรางสมมติฐาน และการตรวจ สอบสมมติฐานดวยวิธวี ทิ ยาการบูรณาการความรูท างประวัตศิ าสตร และประวัตศิ าสตรสถาปตยกรรม นําเสนอขอคิดเห็นในประเด็นตางๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเพิ่มเติม 2. เพื่อศึกษาสํารวจรังวัดซากสถาปตยกรรมเพื่อนํามาสูการวินิจฉัยเรื่องพัฒนาการของผัง บริเวณ และพัฒนาการทางสถาปตยกรรมของอาคารตางๆ ที่สัมพันธกับบริบททางประวัติศาสตรที่ กลาวไวในเอกสารทางประวัติศาสตรประเภทตางๆ 3. เพื่อวิเคราะห ตีความหลักฐานทางศิลปสถาปตยกรรมที่ไดจากขั้นตอนการสํารวจรังวัด เพื่อนําไปสูการสันนิษฐานรูปแบบทางสถาปตยกรรมพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาหลังจากที่ไดรับการ บูรณปฏิสังขรณในสมัยสมเด็จพระเจาปราสาททอง 3. สถาปตยกรรมพระศรีรต ั นมหาธาตุอยุธยาในสมัยสมเด็จพระเจาปราสาททอง

3.1 พระศรีรัตนมหาธาตุ สําหรับการศึกษาในสวนนี้ ผูวิจัยใชเอกสารประวัติศาสตร 3 กลุมหลัก คือ 1) เอกสาร ประวัติศาสตรสมัยอยุธยา อันไดแก พระราชพงศาวดารอยุธยาฉบับตางๆ ที่กลาวถึงขอมูลแวดลอม เกี่ยวกับการบูรณปฏิสังขรณพระศรีรัตนมหาธาตุ ทั้งที่มามูลเหตุ และชวงเวลา เพื่อนํามากําหนดอายุ ของรูปแบบสถาปตยกรรมและเหตุการณแวดลอมรวมสมัย 2) เอกสารตางชาติซงึ่ นักเดินทางและคณะ


252

หนาจั่ว: วาดวยสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม

วารสารวิชาการ ประจําคณะสถาปตกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ทูตทีเ่ ขามาเยีย่ มชมวัดพระศรีรตั นมหาธาตุไดกลาวไว เชน เอกสารคณะทูตลังกาทีม่ าสืบพระศาสนาใน สมัยพระเจาอยูหัวบรมโกศ 3) ภาพถายเกาตางๆ กอนที่พระศรีรัตนมหาธาตุไดพังทลายลงมา ผสาน กับการสํารวจรังวัดดวยเครือ่ งมือมาตรฐาน คือ การใชตลับเมตรสําหรับวัดระยะ และการใชเครือ่ งมือ สมัยใหม คือ กลองสํารวจเลเซอรแสกนเนอรสามมิติ (3Ds Laser Scanner) จากการประมวลเอกสารทางประวัติศาสตรตางๆ ขางตน สรุปขอมูลเกี่ยวกับการบูรณ ปฏิสงั ขรณพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยาไดดงั ตอไปนี้ คือ จากเหตุการณทพี่ ระศรีรตั นมหาธาตุพงั ทลาย ลงมาของตัวเรือนยอดพระมหาธาตุจนถึงชั้นอัสดงในป พ.ศ. 2153 ทั้งนี้สรุปความจากเหตุการณสืบ เนื่องในสมัยสมเด็จพระเจาทรงธรรม กลาวคือในศักราช 968 ปมะเมียศก (พ.ศ.2149) หลักฐานทาง ประวัตศิ าสตรกลาววาเปนปทที่ รงใหพนู ดินหนาวิหารแกลบไวเปนทีถ่ วายพระเพลิง (พระราชพงศาวดาร กรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม), 2542: 373) และโยงไปตอวาในปเดียวกันนั้น มีใบบอกจาก เมืองสระบุรวี า พรานบุนพบรอยทีม่ สี นั ฐานเชนรอยเทาขนาดใหญบนไหลเขา พระเจาทรงธรรมจึงเสด็จ ไปตรวจสอบ พบเปนรอยพระพุทธบาทจึงโปรดใหกอพระมณฑปครอบรอยพระพุทธดังกลาว และ สรางวัดที่เชิงเขา ทั้งนี้ในเอกสารประวัติศาสตรใหขอมูลวาสรางวัดพระพุทธบาทดังกลาวนั้นอยู 4 ป จึงแลวเสร็จจากนั้นจึงโปรดเกลาฯ ใหจัดงานสมโภช 7 วัน (พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับ พันจันทนุมาศ (เจิม), 2542: 373) ทัง้ นี้ ในปทที่ รงสมโภชวัดพระพุทธบาท ซึง่ ในเอกสารทางประวัตศิ าสตรไดกลาววา “ทรงพระ กรุณาเรงรัดใหชา งสรางมรฎปพระพุทธบาท และอาวาสบริเวณทัง้ ปวงสีป่ จ งึ สําเร็จ สมเด็จพระเจาอยูห วั เสด็จขึ้นไปกระทําการเฉลิมฉลอง มีงานมหรสพสมโภช 7 วัน แลวเสด็จกลับกรุงเทพมหานคร ในป นั้นปรางควัดมหาธาตุทําลายลงจันทันครุฑพื้นอัศตงค” (พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพัน จันทนุมาศ (เจิม), 2542: 374) จึงสรุปไดวานับจากป พ.ศ.2149 คลอยหลังมา 4 ป คือป พ.ศ. 2153 เปนปที่พระศรีรัตน มหาธาตุพงั ทลายลงถึงชัน้ อัสดง ในรัชสมัยของสมเด็จพระเจาทรงธรรมและก็ไมไดบรู ณปฏิสงั ขรณพระ ศรีรตั นมหาธาตุ อาจเนือ่ งมากจากพระราชทรัพยจาํ นวนมากไดหมดสิน้ ไปกับการสรางวัดพระพุทธบาท สระบุรี รวมไปถึงเมือ่ พระองคเสด็จสวรรคตแลวบานเมืองก็วนุ วายจากการชวงชิงราชสมบัตใิ นรัชกาล สมเด็จพระเชษฐาธิราชและสมเด็จพระอาทิตยวงศ (พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุ มาศ (เจิม), 2542: 375-377) จนเวลาใหหลังไปถึง 23 ป ในปที่ 3 ของรัชกาลสมเด็จพระเจาปราสาททอง (ครองราชย ปพ.ศ. 2173) จึงทรงโปรดเกลาฯ ใหบูรณปฏิสังขรณสวนยอดพระมหาธาตุที่พังทลายลงมาในป พ.ศ. 2176 ทัง้ นี้ มีพระราชวินจิ ฉัยใหแกไขทรวดทรงของพระมหาธาตุใหสงู เพรียวขึน้ กวาเดิม ดวยสันนิษฐาน วาไดรบั อิทธิพลจากสุนทรียภาพอันเปนความประทับใจในระเบียบและสัดสวนของปราสาทนครวัดที่ พระองคทรงสงใหชางไปถายแบบมาดวยก็เปนได ทั้งนี้ความสูงเดิมของพระมหาธาตุ คือ 19 วา หรือ เทากับประมาณ 38 เมตร โดยใหแกสัดสวนความสูงเปนหนึ่งเสนสองวา หรือเทากับประมาณ 44 เมตร สําหรับนพศูลใชของเดิมที่สูง 3 วา หรือประมาณ 6 เมตร นอกจากการซอมแกสัดสวนของเรือนยอดแลว ยังจะเห็นไดวามีกออิฐเสริมเขาไปชนกับ ศิลาแลงที่เปนโกลนของพระมหาธาตุองคเดิมซึ่งรูปทรงแตเดิมนั้นมีการยกมุขเพื่อเปนทางเขาสูหอง


ฉบับที่ 29 (มกราคม-ธันวาคม 2558) 253

ครรภธาตุทางดานทิศตะวันออกเพียงดานเดียว ตัวเรือนธาตุทิศอื่นๆ เปนเพียงการยกเก็จ และทํา เปนประตูหลอกเชนเดียวกับพระมหาธาตุองคอื่นๆ ทั้งนี้เมื่อมีการยื่นมุขทางดานทิศใต และทิศเหนือ นั้นก็มีความจําเปนตองมีการเสริมชุดฐานพรอมไปดวยในคราวเดียวกัน ซึ่งการซอมแกตัวเรือนดวย ยกมุขกออิฐเขาไปชนกับโครงสรางศิลาแลงของเดิมนัน้ ยังทําหนาทีช่ ว ยพยุงเรือนธาตุทรี่ บั นํา้ หนักของ เรือนยอดใหมีความมั่นคงดวย ทั้งนี้ ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุมก็ไดสันนิษฐานเชน กันวาการยกมุขแบบจัตุรมุขนั้นควรกอขึ้นมาในคราวบูรณปฏิสังขรณในสมัยสมเด็จพระเจาปราสาท ทอง (สันติ เล็กสุขุม, 2542: 59-60)

ภาพที่ 1: มุมประธานของพระศรี รัตนมหาธาตุองคเดิมสรางดวยศิลา แลง และมีการกอมุขทิศดวยอิฐออก มาเพือ่ ทําใหแผนผังของพระศรีรตั น มหาธาตุกลายเปนแบบจัตรุ มุขทีด่ ใู น ภาพรวมแลวสมมาตรกัน

การยกมุขดังกลาวมานั้นยังเปดโอกาสใหสามารถวางสถูปทรงปรางคบนสันหลังคามุขทิศ ทัง้ 4 ดานอีกดวย การออกแบบเพือ่ การบูรณปฏิสงั ขรณดงั กลาวนับเปนความสําเร็จขัน้ สูงสุดประการ หนึง่ คือ การสรางคุณลักษณะของความสมมาตรใหกบั ตัวองคพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยาทีแ่ ตเดิมนัน้ ใหความสําคัญแตทางดานทิศตะวันออกเพียงอยางเดียว และยังทําใหรปู แบบสถาปตยกรรมของพระ ศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ซึ่งมีความหมายของการเปน “พระมหาธาตุประจําเมือง” หรือที่ในเอกสาร เกาเรียกวา “พระมหาธาตุหลักกรุง” ที่ทําหนาที่เปน “หลักเปนประธานของบานเมือง” มีรูปลักษณ ที่แตกตางไปจากพระมหาธาตุสามัญที่มีการกอสรางขึ้นมากมายขึ้นดวยนั่นเอง ทัง้ นี้ ในสมัยสมเด็จพระเจาปราสาททองซึง่ เปนการเปลีย่ นราชวงศ และถือวาเปนจุดเริม่ ตน ของสมัยอยุธยาตอนปลายนั้น ความนิยมในการกอสรางพระมหาธาตุ หรือพระปรางคเปนประธาน ของวัดไดกลับมานิยมอีกครั้ง หลังจากที่ในสมัยอยุธยาตอนกลางนั้นหันไปนิยมกอสรางสถูปประธาน ของวัดเปนทรงเจดีย ทวาพระมหาธาตุที่สรางขึ้นในสมัยสมเด็จพระเจาปราสาททองนี้จะใหความ สําคัญกับการออกแบบอยางสมมาตร ดวยไดรับรสนิยมและสุนทรียภาพตอความงามอยางใหมจาก การสงชางไปถายแบบปราสาทที่เมืองพระนครหลวง ดังตัวอยางของพระมหาธาตุวัดไชยวัฒนารามที่ มีผังเปนจัตุรมุขสมมาตรมากขึ้นกวาพระปรางคในสมัยอยุธยาตอนตนที่เนนความสําคัญที่มุขทิศดาน หนาหรือดานทิศตะวันออกเพียงอยางเดียว


254

หนาจั่ว: วาดวยสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม

วารสารวิชาการ ประจําคณะสถาปตกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ในราวป พ.ศ. 2294 ในรัชกาลพระเจาอยูห วั บรมโกศมีคณะทูตจากลังกาเดินทางมาเพือ่ สืบ พระพุทธศาสนาจากกรุงศรีอยุธยากลับไปฟน ฟูพระพุทธศาสนาในเกาะลังกา กลาวคือ พระเจาเกียรติ ศิริราชสิงหะมีรับสั่งใหสามเณรสรณังกรแตงพระราชสาสนเปนภาษามคธมาถวายตอพระเจาอยูหัว บรมโกศ แลวแตงขาราชการชาวสิงหลเปนทูตานุทตู 5 นาย เชิญพระราชสาสนและเครือ่ งบรรณาการ มายังกรุงศรีอยุธยา (ดํารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา, 2546: 127) ในครัง้ นัน้ คณะทูตานุทตู ไดเขา เฝาพระเจาอยูหัวบรมโกศ และไดเขาเยี่ยมชมวัดวาอารามตางๆ ที่ถือวาเปนหนาเปนตาของพระนคร ซึ่งรวมทั้งวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาดวย ทัง้ นี้ เอกสารบันทึกการเดินทางของคณะทูตลังกานีม้ คี ณ ุ ประโยชนอยางสูงยิง่ ตอการศึกษา ประวัติศาสตรสถาปตยกรรมวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาในสมัยอยุธยาตอนปลาย เนื่องจากมีการ พรรณนาขอมูลทางสถาปตยกรรมอยางละเอียดความวา “....ถึงวันอาทิตยที่ 21 กันยา ตามสุริยคติ เวลาเชา ขาราชการไทย 3 คน พาเรือมารับทูตานุทูตไปยังวัดมหาธาตุวราราม อยูที่ตําบลเรียกวาหนา พระธาตุ วัดนีส้ รางในทีร่ าบรืน่ มีกาํ แพงลอมทัง้ 4 ดาน นอกกําแพงมีคลองเปนคู ตัง้ แตทา หนาวัดดาน ตะวันออกมีฉนวนหลังคา 2 ชั้น ยืนยาวเขาไปจนถึงประตูวัด เมื่อเขาประตูวัด แลดูทั้ง 4 ดานมีพระเจดียปดทอง 8 องค ระหวางพระเจดียตั้งพระพุทธ รูป แลมีหลังคา 2 ชั้น ทั้ง 4 ทิศ ในวิหารมีพระพุทธรูปใหญนั่งจรดถึงเพดาน ภายในที่ซึ่งพระเจดีย แลวิหารทั้ง 4 ลอมอยูนั้น ตรงศูนยกลางเปนองคพระมหาธาตุ 5 ยอด มีบันไดขึ้นไปถึงซุมที่องคพระ มหาธาตุ ตรงชั้นบัลลังกทั้ง 4 มุมปนรูปภาพตางๆ ตั้งไว คือ รูปครุฑ รูปจตุโลกบาล รูปโทวาริกถือ ดาบ รูปรากษสถือตระบองสั้น แลรูปพิราวะยักษถือตระบองยาว เปนตน ยอดพระมหาธาตุนนั้ เปนทองทัง้ แทง บันไดหลังพนักทัง้ 2 ขางเปนนาคราชตัวโตเทาลําตาล เลื้อยลงมา ศีรษะแผพังพานประดับกระจกอยูเชิงบันได อาปากมีเขี้ยว ใครเห็นก็เปนที่พึงกลัว รอบ ฐานพระมหาธาตุยังมีรูปสัตวตั้งเรียงรายรอบไป คือ รูปราชสีห รูปหมี รูปหงส รูปนกยูง รูปกินนร รูป โค รูปสุนัขปา รูปกระบือ รูปมังกร แลยังมีรูปโทวาริกถือดาบบาง ถือวัชนีบาง ถือจามรบาง ถือฉัตร บาง นอกจากนี้ ยังมีรปู ภาพถือเครือ่ งพุทธบูชาตางๆ อีกเปนอันมาก ทีห่ นาบันซุม ปน เปนลายรูปพระ พรหม พระสักระ พระสุยามเทพ ลวนปดทองทั้งสิ้น ในพระวิหารดานตะวันออกมีพระพุทธรูปนั่งหันพระพักตรเขาไปทางพระมหาธาตุ แลมีรูป พระอัครสาวกอยูท งั้ 2 ขาง ในวิหารนีม้ พี ระพุทธรูปทรงบาตรดวยอีกพระองค 1 อีกวิหารตองขึน้ บันได หลายขั้น ในวิหารนั้นมีพระพุทธรูปหลายพระองค แลมีรอยพระพุทธบาทจําลองดวย 2 รอย พระวิหารดานตะวันตกมีพระพุทธรูป 3 องค อีกวิหาร 1 มี พระพุทธรูปปางเสด็จสีหไสยาสน อยูใ นพระคันธกุฎี มีรปู พระอานนทนงั่ ถือเชิงเทียนทองดวยพระหัตถขวา ฝาผนังเขียนเรือ่ งมหาเวสสันดร ชาดก แลเรื่องปฐมสมโพธิ์ รูปภาพที่เขียนนั้นลวนปดทองทั้งนั้น นอกกําแพงบริเวณวิหารทีก่ ลาวมาแลวมีธรรมศาลาหลายหลัง ขางดานตะวันตกเปนตําหนัก สมเด็จพระสังฆราช ตัวตําหนักก็ดี หอเสวยก็ดี ตําหนักที่ทรงแสดงธรรมก็ดี ลวนสลักลวดลายปดทอง ที่ในตําหนักหลัง 1 ผูกเพดานแลมานปกทอง พื้นปูพรม มีขวดปกดอกไมตั้งเรียงรายเปนแถว เพดาน ตําหนักแขวนอัจกลับ ในตําหนักนีม้ บี ลั ลังก 2 ขาง บนบัลลังกนนั้ ตัง้ พัดยศสําหรับตําแหนงสมเด็จพระ สังฆราชขางละเลม พัดทั้ง 2 เลมนี้ดามทําดวยงา สวนตัวพัดอีกเลม 1 เปนพัดสานดวยงาที่เลื่อยจัก


ฉบับที่ 29 (มกราคม-ธันวาคม 2558) 255

เปนเสนละเอียด อีกเลม 1 พื้นกํามะหยี่แดงปกลวดลายดวยทองแลเงิน ภายในมาน 2 ไขอันปกดวย ทอง ตั้งพระแทนสมเด็จพระสังฆราช พระสังฆราชประทับอยูบนพระแทนนั้น พระหัตถขวาถือพัดขน นกบังพระพักตรอยู หนาพระแทนลงมามีพระฐานานุกรมยืนเฝาขางละองค ....ในบริเวณรอบตําหนักสมเด็จพระสังฆราช มีกฏุ ภิ กิ ษุสามเณรตอไปเปนอันมาก มีทงั้ ทีพ่ กั อุบาสก อุบาสิกา แลที่พักของพวกขาพระโยมสงฆซึ่งมากระทําการอุปฏฐากทุกๆ วัน เมื่อเฝาสมเด็จ พระสังฆราชแลว เจาพนักงานจึงพาพวกทูตานุทูตกลับไปสงถึงที่พักเวลาเย็น” (ดํารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา, 2546: 138-140) คําพรรณนายังใหขอมูลที่สําคัญมาก คือ การประดับตกแตงสวนเรือนยอดขององคพระศรี รัตนมหาธาตุเปนทรงปรางค 5 ยอด และปดทอง (ดํารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา, 2546: 138140) ซึง่ สอดคลองกับลักษณะการวางผังทีก่ อ สรางเพิม่ เติมในลักษณะของการยืน่ มุขออกมาทัง้ 4 ดาน เพื่อทําหนาที่รองรับเรือนยอดปรางคทิศบนสันหลังคามุขนั่นเอง นอกจากนี้ ภาพถายเกาของพระศรี รัตนมหาธาตุกอนพังทลายลงมาจนถึงเรือนธาตุนั้นก็แสดงภาพเรือนยอดปรางคทิศตะวันตกอยู แตก็ เห็นไมชัดเจนมากนัก การที่เอกสารดังกลาวนี้ใหขอมูลวาเปนพระปรางค 5 ยอดนั้นยังสอดคลองกับ ลักษณะการวางผังทีก่ อ สรางเพิม่ เติมดวยการยืน่ มุขดานทิศเหนือและทิศใตเพิม่ เติมเพือ่ เปนโครงสราง ประกบกับเรือนธาตุเปนโครงสรางเพื่อคํ้ายัน โดยมีการขยายชุดฐานใหผายออกมามากขึ้น มุขที่เพิ่ม ขึ้นมาดังกลาวนี้ยังทําหนาที่รองรับเรือนยอดปรางคทิศบนสันหลังคามุขดวย

ภาพที่ 2: ภาพซาย ภาพถายเกาของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยากอนพังทลายลงมา ภาพขวา คือ แบบ สันนิษฐานพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ภายหลังที่สมเด็จพระเจาปราสาททองใหบูรณปฏิสังขรณ โดยสราง ปรางคมุม และยืดมุขอีกสามดานใหยาวเสมอกันแลวใสพระปรางคนอยไวบนสันหลังคามุข จึงทําใหพระศรี รัตนมหาธาตุอยุธยามีรูปแบบเปนพระปรางคเกายอด


256

หนาจั่ว: วาดวยสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม

วารสารวิชาการ ประจําคณะสถาปตกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

3.2 พระปรางคมุมบนฐานไพทีพระมหาธาตุ สถานภาพของขอเสนอทางวิชาการเกีย่ วกับอายุในการกอสรางพระปรางคมมุ คือ กอสราง อยูใ นราวสมัยอยุธยาตอนตน ทัง้ นี้ ศาสตราจารย ดร. สันติ เล็กสุขมุ ใชการศึกษาเปรียบเทียบลวดลาย ปูนปน และจิตรกรรมฝาผนัง (สันติ เล็กสุขุม, 2553: 245-247) และศาสตราจารย ดร. เสมอชัย พูล สุวรรณ ใชการบงชีโ้ ดยการศึกษาเปรียบเทียบจากภาพจิตรกรรมฝาผนัง (เสมอชัย พูลสุวรรณ, 2539: 41-42) ศาสตราจารยศลิ ป พีระศรี และอาจารยธนิต อยูโ พธิก์ ย็ งั สันนิษฐานไปในทิศทางเดียวกัน (ศิลป พีระศรี และธนิต อยูโพธิ์, 2502: 15) สวนอาจารย น.ณ ปากนํ้า และศาสตราจารยเฟอ หริพิทักษ เสนอวาจิตรกรรมที่เขียนใชสีเพียง 3 สี คือ สีดํา สีดินแดง และสีขาว ซึ่งยังไมอาจระบุไดวาเปนสมัย อยุธยาตอนตน หรือตอนกลาง (น.ณ ปากนํ้า, 2540: 111) อยางไรก็ตาม หากใชระเบียบวิธีวิจัยในการวางผัง และการออกแบบทางสถาปตยกรรมที่ ไดรบั จากการศึกษาเปรียบเทียบในแงของตําแหนงทีต่ งั้ และรูปทรงของพระปรางค จึงมีขอ เสนอเพิม่ เติมเปนอีกแนวทางหนึ่งจากสถานภาพขอเสนอที่มีอยูเดิม กลาวคือ หากพิจารณาจากผังของพระศรี รัตนมหาธาตุเมือ่ แรกสถาปนานัน้ จะเห็นวายังไมสมมาตร เนือ่ งจากมีการยืดมุขดานหนาทางทิศตะวัน ออกเพียงดานเดียว เพราะฉะนัน้ การหาจุดศูนยกลางของจุดศูนยกลางของผังบริเวณของพระมหาธาตุ กอนและหลังการบูรณปฏิสงั ขรณในสมัยพระเจาปราสาททองนัน้ จะมีผงั ทีแ่ ตกตางกัน จากสมมติฐาน จากการวางผังที่กลาวมานั้นจึงสันนิษฐานวาพระปรางคมุมนาจะถูกสรางขึ้นในคราวบูรณปฏิสังขรณ พระมหาธาตุครั้งใหญที่มีการยื่นมุขยาวออกมาทั้ง 4 ดาน ทําใหพื้นที่มุม หรือที่เรียกในภาษาชางวา “รักแร” ของพระมหาธาตุกลายเปนพื้นที่วางโลง จึงตองแกไขคุณลักษณะของความ “หลวม” ของ พื้นที่ ซึ่งทําใหมีมุมมองที่มีตอพระมหาธาตุ อยุธยานั้นไมสงางาม จึงมีการกอสราง “พระปรางคมุม” นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาระเบียบและสัดสวนของพระปรางคจากการสํารวจรังวัดพบวา พระปรางค มุมเหลานี้มีระเบียบและสัดสวนแบบพระปรางคในสมัยสมเด็จพระเจาปราสาททอง นอกจากนี้ หากพิจารณาการกอสรางเจดียม มุ ทีอ่ ยูล อ มรอบพระมหาธาตุประธานจะเห็นวา เจดียม มุ ทีล่ อ มรอบพระมหาธาตุวดั พระรามซึง่ สรางในสมัยสมเด็จพระราเมศวรนัน้ สรางเปนเจดียท รง ปราสาทยอด ในขณะทีเ่ จดียม มุ ทีล่ อ มรอบพระมหาธาตุวดั ราชบูรณะนัน้ กอสรางเปนเจดียท รงระฆังที่ ซอนอยูบ นชุดฐานแปดเหลีย่ ม ยิง่ ชวยสนับสนุนวาในแงของการวางผังนัน้ พระปรางคมมุ ของวัดพระศรี รัตนมหาธาตุอยุธยา ควรจะสรางขึน้ ในรัชกาลสมเด็จพระเจาปราสาททองเชนเดียวกับทีว่ ดั ไชยวัฒนา ราม นอกจากนี้ ยังชวนใหสงสัยวานอกเหนือจากรูปทรงที่สูงเพรียวขึ้นขององคพระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยาทีไ่ ดรบั การซอมบูรณปฏิสงั ขรณใหมโดยสมเด็จพระเจาปราสาททองนัน้ ยังสันนิษฐานไดวา การ สรางพระปรางคมุม 4 องคที่ทําใหจํานวนยอดในภาพรวมมีจํานวนเปน 9 ยอดนั้น ยังสอดคลองกับ จํานวนยอดรวมของปราสาทนครวัดอีกดวย เพียงแตตําแหนงของยอดบริวารของปราสาทนครวัด นั้นเปนเรือนยอดมุมทั้ง 8 ยอด ในขณะที่พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยามีเรือนยอดขนาดยอมอยูบนสัน หลังคา 4 ยอดดังกลาวนั้นเปนเรือนยอดที่ตั้งอยูที่ดาน และอีก 4 ยอดคือพระปรางคมุม ซึ่งในการ ออกแบบสรางสรรคนั้นการไดรับคติความเชื่อ หรือรับอิทธิพลมากอสรางนั้นยอมไมมีความจําเปนที่ จะตองสรางเหมือนเนื่องจากแตละแหงแตละที่มีเงื่อนไขและปจจัยที่สงผลตอการออกแบบอยูแตก ตางกันออกไป


ฉบับที่ 29 (มกราคม-ธันวาคม 2558) 257

นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาจากภาพจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนเปนรูปซุมเรือนแกว (ภาพที่ 58) จะเห็นวาเคาโครงของรูปทรงของซุมเรือนแกวที่ตัวเหงาตรงปลายของซุมมีลักษณะคลายกับหางวัน ของทางลานนา ทวามีการยืดสวนมากกวา ซึ่งรองศาสตราจารย สมคิด จิระทัศนกุล อธิบายวา “เปน แบบซุมทรงบันแถลงที่มีซุมโคงวงเดียว โดยตรงสวนเชิงซุมขมวดทวนปลายเขาหากันอยางอินทรธนู ของเรือนแกว” (สมคิด จิระทัศนกุล, 2546: 226) มีความนิยมมาตัง้ แตสมัยอยุธยาตอนตน ดังเชน ซุม เรือนแกวลอมพระพุทธรูปปูนปน ประดับพระศรีรตั นมหาธาตุลพบุรี ซุม เรือนแกวของพระพุทธชินราช ที่เมืองพระพิษณุโลก ซุมเรือนแกวของพระประธานวัดไลย ที่อําเภอทาวุง จังหวัดลพบุรี เปนตน ทวา รูปแบบของซุม ดังกลาวนีก้ ม็ คี วามนิยมนํามาใชในตกแตงสถาปตยกรรมมาจนถึงสมัยพระเจาปราสาท ทองดวยเชนกัน ดังตัวอยางของซุม เรือนแกว และซุม ปูนปน ตกแตงชองทางเขาของเมรุทศิ -เมรุรายวัด ไชยวัฒนาราม (ภาพที่ 4-34) เปนตน

ภาพที่ 3: จิตรกรรมฝาผนังรูปซุม เรือนแกวภายใน ภาพที่ 4: ปูนปนประดับชองทางเขาสูเมรุทิศ-เมรุราย หองครรภธาตุพระปรางคมุมตะวันตกเฉียงเหนือ วัดไชยวัฒนาราม

จากลักษณะทางสถาปตยกรรมของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยากลายเปน “พระมหาธาตุ เกายอด” อีกทั้งยังพองกับจํานวนยอดปรางคของปราสาทนครวัดดังกลาวมาขางตน การออกแบบ ดังกลาวนับเปนการสรางสรรคทมี่ งุ สรางความหมายใหกบั พระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยาใหมคี วามหมาย และฐานานุศกั ดิท์ างสถาปตยกรรมสูงทีส่ ดุ กวาพระมหาธาตุองคอนื่ ๆ ทีส่ รางกันมากมายในอยุธยา และ เมืองตางๆ อีกดวย ตอกยํ้าการเปนพระมหาธาตุองคสําคัญในระดับอาณาจักรหาไดเปนพระมหาธาตุ ประจําเมืองอยุธยาเพียงอยางเดียวอีกตอไป


258

หนาจั่ว: วาดวยสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม

วารสารวิชาการ ประจําคณะสถาปตกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

เมื่อพิจารณาถึงความพองกันของ “รูปทรงทางสถาปตยกรรม” ของ “พระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยา” กับ “พระปรางควดั อรุณราชวราราม” แหงกรุงรัตนโกสินทรซงึ่ ตางก็เปนพระปรางคทมี่ ยี อด ปรางคเกายอด ความพองกันของรูปทรงพืน้ ฐานดังกลาวนัน้ จึงมิใชเรือ่ งบังเอิญ หากสันนิษฐานวาตอง มีมูลปจจัยมาจากความทรงจําที่มีตอความหมายและรูปทรงของพระมหาธาตุทรงปรางค 9 ยอดแหง วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อครั้งบานเมืองยังดี และไดธํารงรักษาสืบทอดผานความทรงจําของ ผูคนและนํามากอสรางยังราชธานีแหงใหม ซึ่งในแงนี้จึงตีความไดวา รูปทรงของพระปรางควัดอรุณ ราชวรารามไดสะทอนใหเห็นถึงการสืบทอดคติการสรางพระมหาธาตุประจําเมืองจากกรุงศรีอยุธยา มายังกรุงรัตนโกสินทรดวยนั่นเอง

ภาพที่ 5: ภาพซาย คือ แบบสันนิษฐานพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ภายหลังที่สมเด็จพระเจาปราสาททอง โปรดใหบูรณปฏิสังขรณ โดยมีการสรางพระปรางคมุม และมีการยืดมุขอีกสามดานใหยาวเสมอดานตะวัน ออกแลวใสพระปรางคนอยไวบนสันหลังคามุข จึงทําใหพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยามีสถานภาพเปนพระ ปรางคเกายอด และ ภาพขวา คือ แบบสามมิติแสดงรูปพระปรางควัดอรุณที่สันนิษฐานวาไดรับอิทธิพลใน การสรางพระมหาธาตุประจําเมืองจากพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา

ดังจะเห็นไดวา ขอมูลทีก่ ลาวถึงวัดพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยาปรากกฎอยูใ นเอกสารประเภท ตางๆ อยางกระจัดกระจาย ทั้งนี้ เอกสารประเภทพระราชพงศาวดารก็กลาวถึงเหตุการณที่เกี่ยว เนื่องอยางยนยอ แตมีคุณูปการในแงของการกําหนดอายุในการกอสราง ตลอดจนเหตุการณสําคัญ ที่เกิดขึ้นภายในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา อยางไรก็ดี เอกสารชิ้นสําคัญที่กลาวถึงลักษณะทาง สถาปตยกรรมของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยากลับเปนเอกสารของคณะทูตานุทูตลังกาผูมาเยือน กรุงศรีอยุธยาในชวงแผนดินพระเจาอยูหัวบรมโกศ ซึ่งในทัศนะของคนอยุธยามองวาเปนชวงเวลา แหงความสงบสุข บานเมือง และพระพุทธศาสนาเจริญรุง เรือง แตหลังจากนัน้ ไมนานอยุธยาก็ประสบ


ฉบับที่ 29 (มกราคม-ธันวาคม 2558) 259

กับภัยจากสงครามจนถึงกาลแตกดับ วัดพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยา และวัดวาอารามอืน่ ๆ ตางถูกทิง้ รางไปจากการยายราชธานี อีกทัง้ ประสบปญหาการลักลอบการขุดคนเพือ่ หาทรัพยสนิ ทีผ่ คู นในอดีต กัลปนาไวเปนพุทธบูชาเพื่อการสืบทอดพระพุทธศาสนา จนกระทั่งพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาไดลม พังทลายลงดวยเงื่อนไขจากการเสื่อมสภาพของวัสดุกอสราง ซึ่งเปนผลมาจากการบูรณปฏิสังขรณ ครั้งใหญในสมัยสมเด็จพระเจาปราสาททองที่มีการเพิ่มความสูงของพระปรางคซึ่งยอมเพิ่มนํ้าหนัก อันมีมหาศาลตอฐานราก รวมไปถึงการบูรณปฏิสังขรณที่หมายจะใหรูปทรงตองตามพระราชหฤทัย จึงมีการใชวัสดุกอสรางจําพวกไมมะคาเปนวัสดุกอแทรกไประหวางอิฐ ซึ่งในระยะแรกก็สามารถชวย รับนํ้าหนักได แตเมื่อกาลเวลาลวงเลยไปยาวนานจนถึงสมัยรัชกาลที่ 6 แหงกรุงรัตนโกสินทรในราว พ.ศ. 2454 (จีราวรรณ แสงเพ็ชร, 2552: 217) ทําใหบรรดาไมมะคาที่ใชแทรกเพื่อรับนํ้าหนักยอมผุ กรอนตามกาลเวลา ทําใหการรับนํ้าหนักของพระปรางคมีปญหาจนพังทลายลงมาในที่สุด 3.2 เจดียราย/บริวารทรงปราสาทยอด (ภายในผังบริเวณที่ลอมรอบดวยระเบียงคด) ขอแตกตางจากพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรีอีกประการ คือ พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยานั้น มีการกอสราง “เจดียรายทรงปราสาท” ลอมรอบองคพระมหาธาตุ ซึ่งบางครั้งเรียกวา “เจดียทรง ปราสาทยอดเจดีย” มีลกั ษณะเปนเจดียท มี่ ชี ดั ฐานและเรือนธาตุอยูใ น “ผังสีเ่ หลีย่ มยกเก็จ” กลาวคือ เปนการลดทอนผังพืน้ ของปราสาทลงกลาวคือ อาคารปราสาทนัน้ จะมีผงั พืน้ ของอาคารตรงกลางเปน สี่เหลี่ยมจัตุรัสเพื่อรองรับหลังคาเรือนยอด และมีการยกมุขออกมาทั้งสี่ดานเพื่อเปนพื้นที่ใชสอย แต ทวาการออกแบบเจดียท รงปราสาทนัน้ แทนทีจ่ ะเปนการยกมุขออกมายาว แตกลับกดมุขใหหดเขาไป จนเกือบจะเทากับผังพืน้ สีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ของตัวเรือนหลัก ทัง้ นี้ เมือ่ พิจารณาแลวจะเห็นวามุมประธานที่ เทียบไดกบั มุมของตัวเรือนนัน้ จะมีขนาดใหญกวามุมของมุขทีย่ นื่ ออกมา ทัง้ นีใ้ นภาษาชางเรียกวา “ยอ มุม” หรือ “เพิ่มมุม” (สันติ เล็กสุขุม, 2548: 99-111) ก็ได ทั้งนี้เจดียทรงปราสาทยอดสวนใหญจะมี มุมรวมกันทั้งสี่ดานรวมเปนสิบสองมุมจึงเรียกวา “ยอมุมไมสิบสอง” ทั้งนี้ บริเวณตัวเรือนของเจดีย นั้นก็ออกแบบเปนซุมจระนําซึ่งมีความหมายเชื่อมโยงไปถึงการเปนมุขทั้งสี่ดานของปราสาทนั่นเอง เหนือตัวเรือนขึ้นไปจะตอดวยยอดรูปทรงสถูปเจดีย ทัง้ นี้ เกรียงไกร เกิดศิริ ไดเสนอวาพัฒนาการของเจดียท รงปราสาทยอดนีน้ า จะเกิดจากการ ถายทอดรูปแบบสถาปตยกรรมและนํามาสูก ารลดทอน ดังกรณีศกึ ษาของ “กูพ ญา” ในสถาปตยกรรม พุกามซึง่ หมายถึง “เจติยะวิหาร” ทีส่ ามารถเขาไปใชสอยพืน้ ทีภ่ ายในได มาสูก ารลดทอนลงเปนเพียง รูปทรงสัญลักษณเทานั้น รวมทั้งไดรับอิทธิพลจากเจดียแบบปาละที่เขามามีบทบาทในเมืองพุกาม และเจดียทรงปราสาทยอดของพุกามก็ไดสงอิทธิพลเขามายังลานนาและสุโขทัยดวย (เกรียงไกร เกิด ศิริ, 2551: 84) นอกจากนี้ รองศาสตราจารย ดร. พิริยะ ไกรฤกษ เสนอวาเจดียทรงปราสาทยอด ควรมีที่มาจากแนวคิดของ “วัชรบัลลังก” ตามที่สนอดกราสไดเสนอไว (สนอดกราส เอเดรียน, เขียน, ภัทรพร สิริกาญจน, 2541: 104) ซึ่งแนวคิดดังกลาวไดถายทอดมาสูการสรางเจดียบริวาร ที่วิหารมหาโพธิ์พุทธคยา ซึ่งยังปรากฏหลักฐานในหุนจําลองมหาโพธิ์วิหารพุทธคยาซึ่งมีจารึกวา สรางขึ้นในรัชกาลจักรพรรดิ์ยงเลอ (Yong Le) (ครองราชยระหวาง พ.ศ.1946-1967) ราชวงศ หมิง (พิริยะ ไกรฤกษ, 2555: 138)


260

หนาจั่ว: วาดวยสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม

วารสารวิชาการ ประจําคณะสถาปตกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ทั้งนี้ รองศาสตราจารย ดร. พิริยะ ไกรฤกษ ไดกําหนดอายุของเจดียทรงปราสาทยอด ในลานนา คือ เจดียปราสาทยอดเชียงยัน วัดพระบรมธาตุหริภุญชัยใหมีอายุในราวพุทธศตวรรษที่ 22 ระหวาง พ.ศ.2100-2150 และเจดียปราสาทยอดวัดปาสักเมืองเชียงแสน ในราวครึ่งหลังของ พุทธศตวรรษที่ 23 (พิริยะ ไกรฤกษ, 2555: 138) เนื่องจากใชขอมูลกลาวถึงพระภิกษุตารนาถชาว ธิเบตที่มาศึกษาคัมภีรที่วัดหริภุญชัย (พิริยะ ไกรฤกษ, 2555: 138) อยางไรก็ตาม การกําหนดอายุ เจดียท รงปราสาทยอดเชียงยืนดวยขอมูลดังกลาวไดทาํ ใหมอี ายุออ นลงกวาทีค่ วรจะเปน ซึง่ ความเปน จริงแลวเจดียทรงปราสาทยอดนั้นควรมีพัฒนาการอยูในลานนามากอนหนาโดยไดรับอิทธิพลมาจาก พุกามดังกลาวมาแลวขางตน อาจเปนไดวา รูปทรงของเจดียท รงปราสาทยังอาจมีรปู ทรงทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะทีม่ คี วามหมาย ถึงการสรางเจดียบรรจุอัฐิของพระบรมวงศานุวงศชั้นสูงดวยก็อาจเปนได เนื่องจากรูปแบบของเจดีย ทรงปราสาทยอดนี้จะเห็นไดชัดวาเปนการบูรณาการรูปทรงของ “ปราสาท” และ “เจดีย” เขาอยู ในสถาปตยกรรมองคเดียวกัน ซึ่งในประเด็นเรื่องการออกแบบสถาปตยกรรมเจดียทรงปราสาทยอด นี้ สันนิษฐานวาสุโขทัยไดรับแรงบันดาลใจในการทําเจดียทรงปราสาทนี้ตอมาจากลานนาซึ่งมีความ นิยมในการกอสรางเจดียท รงปราสาทนีม้ ากอนหนาแลว เชน เจดียว ดั ปาสักเมืองเชียงแสน เจดียเ ชียง ยัน วัดพระบรมธาตุหริภุญชัย เมืองหริภุญไชย เปนตน

ภาพที่ 6: หุนจําลองสําริดวิหารมหา โพธิพทุ ธคยาทีห่ ลอขึน้ ในสมัยราชวงศห มิง รัชกาลจักรพรรดิยงเลอ ซึ่งแสดงให เห็นถึงเจดียแบบวัชรบัลลังก (กรอบสี เหลือง) ซึง่ รองศาสตราจารย ดร. พิรยิ ะ ไกรฤกษเสนอวาสงอิทธิพลในการสราง เจดียทรงปราสาทยอดในประเทศไทย ทีม่ า: พิรยิ ะ ไกรฤกษ. กึง่ พุทธกาลพุทธ ศิลปไทย. กรุงเทพฯ: 2555. หนาที่ 105.

ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุมกําหนดอายุการกอสราง “เจดียทรงปราสาท ยอดเชียงยืน วัดพระบรมธาตุหริภญ ุ ชัย” ไววา ควรจะสรางในราวครึง่ แรกของพุทธศตวรรษที่ 19 (สันติ เล็กสุขมุ , 2553: 170) รวมทัง้ ยังเสนอวาอาจจะยังไมอาจยุตไิ ดวา ควรจะสรางในชวงสมัยปลายหริภญ ุ ชั ยหรือสมัยตนของลานนา (สันติ เล็กสุขุม, 2549: 93) ทั้งนี้ศาสตราจารย ดร. ศักดิ์ชาย สายสิงห ได กําหนดอายุเจดียเชียงยืนอยูในราวปลายสมัยหริภุญไชยจนถึงตนสมัยลานนาตอนตน (ศักดิ์ชาย สาย สิงห, 2546: 74) สําหรับลวดลายตกแตงนั้นควรมาปนบูรณะเสริมในชั้นหลังราวพุทธศตวรรษที่ 21 (ศักดิช์ าย สายสิงห, 2546: 74) ในขณะทีอ่ าจารยจริ ศักดิ์ เดชวงศญา เสนอวาสวนยอดนัน้ นาจะมีอายุ กอนพุทธศตวรรษที่ 19 (จิรศักดิ์ เดชวงศญา, 2531: 18)


ฉบับที่ 29 (มกราคม-ธันวาคม 2558) 261

สําหรับ “เจดียทรงปราสาทยอดวัดปาสักเชียงแสน” ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม กําหนดอายุในราวกลางพุทธศตวรรษที่ 19 (สันติ เล็กสุขุม, 2553: 156) และศาสตราจารย ดร. ศักดิ์ชาย สายสิงหไดอภิปรายในประเด็นเรื่องลวดลายที่ประดับตกแตงจึงใหขอเสนอวาควรสราง ขึน้ ในราวตน หรือกลางพุทธศตวรรษที่ 19 และแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธกนั ระหวางแรงบันดาลใจ จากหลากหลายแหลง อาทิ พุกาม จีน เปนตน (ศักดิ์ชาย สายสิงห, 2546: 79) ทั้งนี้ จากการศึกษา ของอาจารยจิรศักดิ์ เดชวงศญามีขอเสนอวา แมวาเจดียวัดปาสักจะถูกสรางขึ้นภายใตแรงบันดาลใจ ในรูปแบบมาจากหลายแหลง โดยเฉพาะพุกามก็ตาม หากแตแหลงที่สําคัญนั้น คือ ศิลปะหริภุญไชย (จิรศักดิ์ เดชวงศญา, 2539: 48)

ภาพที่ 7: ภาพซาย คือ เจดียวัดปาสัก เมืองเชียงแสน จังหวัดเชียงราย และ ภาพขวา คือ เจดียเชียงยัน วัดพระธาตุ หริภญ ุ ชัย เมืองหริภญ ุ ไชย จังหวัดลําพูน

ทั้งนี้ การออกแบบวางผังที่มีสรางเจดียรายทรงปราสาทลอมรอบพระปรางคประธานนั้น ปรากฏมีอยูที่วัดมหาธาตุสุโขทัย ซึ่งจากการศึกษาของวิโรจน ชีวาสุขถาวรใหขอเสนอวา เจดียทรง ปราสาทยอดที่สรางลอมรอบเจดียประธานทรงพุมขาวบิณฑที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุสุโขทัยนั้นควร สรางขึ้นในป พ.ศ. 1927 หลังจากที่พระมหาธรรมราชาลิไทเสด็จสวรรคต (วิโรจน ชีวาสุขถาวร. 2545: 93-94) เนื่องจากมีการคนพบจารึกกลาวถึงการบูรณปฏิสังขรณสถูปเจดียบรรจุอัฐิพระมหา ธรรมราชาลิไทในเจดียรายทรงปราสาทองคหนึ่ง จึงทําใหสามารถกําหนดอายุการกอสรางเจดียราย ทรงปราสาทนี้ไดชัดเจน (พิเศษ เจียจันทรพงษ, 2536: 94) และจากหลักฐานดังกลาวทําใหทราบ ถึงธรรมเนียมในการกอสรางเจดียบรรจุอัฐิเปนเจดียรายอยูภายในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอันเปรียบ เสมือนการไดเฝาแหนองคพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธองคตราบจนสิ้นอายุขัยดวยนั่นเอง ทั้งนี้ จึงเห็นไดวา หากพิจารณาในลําดับทางประวัติศาสตรแลว เจดียทรงปราสาทยอดในลานนาทั้ง เจดีย ปราสาทยอดเชียงยืน วัดพระบรมธาตุหริภุญชัย และเจดียทรงปราสาทยอดวัดปาสัก เมืองเชียงแสน ลวนแตสรางขึ้นกอนหนาเจดียทรงปราสาทยอดที่สรางเปนเจดียมุมของเจดียประธานวัดพระศรีรัตน มหาธาตุสุโขทัย


262

หนาจั่ว: วาดวยสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม

วารสารวิชาการ ประจําคณะสถาปตกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ภาพที่ 8: แบบสถาปตยกรรมแสดง เจดียประธานวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ สุโขทัย ซึง่ เปนเจดียท รงพุม ขาวบิณฑ และมีเจดียทิศทรงปรางคยอดเจดีย และเจดียมุมทรงปราสาทยอดเจดีย

หากพิจารณาประวัตศิ าสตรอยุธยาในชวงเวลาดังกลาวจะเห็นวา อยุธยาไดพยายามขยายขัณฑสีมาออกไปยัง หัวเมืองฝายเหนือ คือ เมืองพิษณุโลก เมืองชากังราว เมืองเชียงใหม และเมืองลําปาง มาตั้งแตรัชกาลสมเด็จพระบรม ราชาธิราชที่ 1 (พระราชพงศาวดารกรุงเกา ฉบับหลวงประเสริฐ, 2542: 212) ซึง่ ศาสตราจารย เกียรติคณ ุ ดร. สันติ เล็ก สุขมุ ก็สนั นิษฐานวาสรางขึน้ ในรัชกาลสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ในปพ.ศ. 1917 (สันติ เล็กสุขมุ , 2541: 30) เพราะ ฉะนัน้ นับตัง้ แตรชั กาลสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 อยุธยานัน้ รูจ กั หัวเมืองฝายเหนือเปนอยางดี ในการนี้ จึงอาจจะเปน ไดวา อยุธยาไดรบั แรงบันดาลใจในการออกแบบสถูปเจดียท รงปราสาท และมีการวางผังใหสถูปทรงปราสาทดังกลาวทํา หนาทีเ่ ปนเจดียร ายลอมรอบองคพระมหาธาตุดว ย ทัง้ นีแ้ สดงใหเห็นวาแบบแผนการสรางสรรคเจดียท รงปราสาทลอม รอบเจดียป ระธานทีว่ ดั มหาธาตุสโุ ขทัยทีเ่ พิง่ ถูกสรางในป พ.ศ.1927 ก็ไดสง อิทธิพลเนือ่ งตอมายังการสรางเจดียร ายทรง ปราสาททีล่ อ มรอบเปนบริวารของพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยา ทวาก็มกี ารสรางสรรครปู ทรงอันงดงามแตกตางไปจาก รูปทรงเดิมทวายังทิ้งรองรอยของแรงบันดาลใจอยู โดยเฉพาะการใชชุดฐานแบบบัวลูกฟกซึ่งเปนลักษณะเฉพาะของ ฐานของสถูปทรงปรางค (สันติ เล็กสุขุม, 2548: 171) นอกจากนี้ สวนเรือนยอดของเจดียทรงปราสาทยอดเหนือองค ระฆังทีต่ อ ขึน้ ไปเปนเรือนยอดทีเ่ ปนปลองไฉนขนาดใหญโดยไมมบี ลั ลังกนยี้ งั สะทอนใหเห็นความสัมพันธกบั เจดียแ บบ พมาซึง่ รับผานลานนามาดวย (สันติ เล็กสุขมุ , 2553: 241) ยังมีพระมหาธาตุวดั พระรามอีกองคทมี่ กี ารออกแบบวางผัง ใหมกี ารกอสรางเจดียร ายทรงปราสาทลอมรอบซึง่ ก็เปนพระมหาธาตุทสี่ รางขึน้ ในรัชกาลสมเด็จพระราเมศวรดวยเชนกัน


ฉบับที่ 29 (มกราคม-ธันวาคม 2558) 263

ภาพที่ 9: เจดียมุมทรงปราสาทยอดเจดีย ของพระมหาธาตุวัดพระราม สรางในรัชกาล สมเด็จพระราเมศวร

3.3 มณฑปบริวาร จากเอกสารพระราชพงศาวดารอยุธยาไดกลาวถึงเหตุการณ “สมเด็จพระบรมราชาธิราช ที่ 2” หรือพระนามที่เปนที่รูจักกันคือ “สมเด็จเจาสามพระยา” ที่พระองคทรงยกกองทัพไปยึดเมือง พระนครเขามาอยูภ ายใตพระราชอํานาจได ในครัง้ นัน้ โปรดเกลาฯ ใหเคลือ่ นยายประติมากรรมสําริด รูปตางๆ จากเมืองพระนครหลวงมายังกรุงศรีอยุธยา ทัง้ นี้ พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับหลวง ประเสริฐอักษรนิตไิ์ ดกลาวแตเพียงวา “...ครัง้ นัน้ ทานจึงใหพญาแกวพญาไท แลรูปภาพทัง้ ปวงมายังกรุง ศรีอยุธยา” (พระราชพงศาวดารกรุงเกา ฉบับหลวงประเสริฐ, 2542: 214) สําหรับพระราชพงศาวดาร กรุงสยามฯ ใหขอ มูลวา “ทานจึง่ ใหเอาพญาแกว พญาไท แลครอบครัว แลทัง้ รูปพระโค รูปสิงหสตั วทงั้ ปวงมาดวย ครั้นถึงกรุงศรีอยุธยาจึ่งใหเอารูปสัตวทั้งปวงไปบูชาไว ณ วัดพระศรีรัตนธาตุบาง ไปไววัด พระศรีสรรเพชญบาง” (พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากตนฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน, 2542: 15) สําหรับพระราชพงศาวดารอยุธยาฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) กลาวา “...ทานจึงใหเอาพญา แกว พญาไท และครอบครัว ทัง้ พระโค รูปสิงหสตั วทงั้ ปวงมาดวย ครัน้ ถึงพระณครศรีอยุธยาจึงใหเอา รูปสัตวทั้งปวงไปบูชาไว ณ พระศรีรัตนมหาธาตุบาง ไววัดพระศรีรัตนมหาธาตุบาง ไววัดพระศรีสรร เพ็ฐญบาง” (พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม), 2542: 216)


264

หนาจั่ว: วาดวยสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม

วารสารวิชาการ ประจําคณะสถาปตกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

จะเห็นวาพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์นั้นไมไดบอกวา เมื่อนําประติมากรรมเหลานั้นมาแลวโปรดเกลาฯ ใหนําไปประดิษฐานที่ใด สวนเอกสารอีก 2 ฉบับ ไดบอกวาใหไปประดิษฐานที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา และวัดพระศรีสรรเพชญ ซึ่งคงเปนการ เขียนขยายความขึน้ ในภาพหลังเมือ่ เห็นวาประติมากรรมเหลานัน้ ไปประดิษฐานอยูท ใี่ ดบาง เนือ่ งจาก ในรัชกาลสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 นั้น วัดพระศรีสรรเพชญยังไมไดสราง นอกจากนี้ ขอมูลที่ กลาวในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) อาจจะตีความไปไดอีกวายังมี การนําประติมากรรมไปประดิษฐานที่วัดอื่นที่มีพระมหาธาตุเปนประธานของวัดอีกดวย ซึ่งในการ ศึกษานี้ จึงสันนิษฐานวาประติมากรรมตางๆ นั้นควรนํามาตั้งอยูลอมรอบพระศรีรัตนมหาธาตุ และ มีการสรางมณฑปคลุมไว ตอมาประติมากรรมเหลานี้ไดถูกเคลื่อนยายตอไปยังกรุงหงสาวดีเมื่อคราว เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 1 ในป พ.ศ. 2099 ดังกลาวไวในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพัน จันทุนมาศ (เจิม) ความวา “พระเจาหงสาวดีก็ใหเขาเอาครัวอพยพชาวพระนคร แลรูปภาพทั้งปวงใน หนาพระบันชันสิงคนั้นสงไปเมืองหงษาวดี...” (พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม), 2542: 272) ซึง่ บงชีว้ า ไดขนเอาประติมากรรมเหลานีไ้ ป ตอมาเมือ่ ยะไขยกทัพมาตีเมืองหงสาว ดีก็ไดขนยายรูปหลอสําริดเหลานี้ไปยังแควนยะไข และเมื่อพระเจาปดุงตีแควนยะไขไดสําเร็จก็โปรด ใหขนรูปหลอสําริด พรอมกับอัญเชิญพระมหามัยมุนีมาประดิษฐานยังเมืองมัณฑะเลย

ภาพที่ 10: ตัวอยางประติมากรรมสําริดเทาที่ยังหลงเหลืออยูที่มัณฑะเลย กลาวคือ เมื่อสมเด็จพระบรม ราชาธิราชที่ 2 (เจาสามพระยา) ใหขนยายมาจากเมืองพระนครและนํามาถวายไวทวี่ ดั พระศรีรตั นมหาธาตุ อยุธยา ตอมาคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครัง้ ที่ 1 พระเจาบุเรงนองใหขนยายไปยังเมืองหงสาวดีและเมือ่ กองทัพ ยะไขมชี ยั เหนือเมืองหงสาวดีกน็ าํ ไปไวทแี่ ควนยะไข จนกระทัง่ พระเจาปะดุงตีแควนยะไขสาํ เร็จ จึงโปรดเกลาฯ ใหขนยายมาพรอมกับการอัญเชิญพระมหามัยมุนีมายังกรุงมัณฑะเลย


ฉบับที่ 29 (มกราคม-ธันวาคม 2558) 265

แมวากองทัพพระเจาบุเรงนองจะไดขนประติมากรรมสําริดเหลานี้ไปจากวัดพระศรีรัตน มหาธาตุอยุธยาจนหมดสิน้ ก็ตาม หากแตในชวงเวลาตอมาคงไดมกี ารหลอประติมากรรมสําริดขึน้ ใหม ทดแทน แตทวาคงไมหลงเหลือถึงปจจุบนั ดวยภัยของสงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครัง้ ที่ 2 ดังกลาว ถึงในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับฟาน ฟลีต คงเหตุการณคราวที่สมเด็จพระเจาปราสาท ทองจะบูรณปฏิสังขรณพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา กลาววา “...เมื่อสองสามเดือนที่แลวพระองคศรี ธรรมราชาธิราชไดทรงใหรื้อวัดจนถึงฐานและทรงยายรูปหลอทองแดงซึ่งประดิษฐานอยูนั้นออกไป ไกลหลายวา เพื่อที่จะสรางวัดใหม ณ ที่ประดิษฐานรูปหลอทองแดง...” (พระราชพงศาวดารอยุธยา ฉบับวันวลิต, 2546: 247) จากการสํารวจรังวัดพบวา ซากมรดกทางสถาปตยกรรมสวนที่เหลือนั้นมีลักษณะเปนฐาน สีเ่ หลีย่ ม หรือสีเ่ หลีย่ มยอมุม ตัง้ อยูส บั หวางกับเจดียบ ริวารทีเ่ รียงรายอยูร อบองคพระศรีรตั นมหาธาตุ บนฐานดังกลาวมีการกอเปนเสาอิฐยอมุม เวนตรงกลางไวจึงทําใหผังพื้นเทาที่เหลืออยูนั้นมีลักษณะ เปนผังของมณฑปโถง จึงสันนิษฐานวาเปนที่ตั้งประดิษฐานประติมากรรมหลอสําริดที่ถูกเคลื่อนยาย มาจากเมืองพระนครเพื่อถวายเปนพุทธบูชาแกองคพระศรีรัตนมหาธาตุ และทําใหความหมายของ พระปรางคพระศรีรตั นมหาธาตุมคี วามหมายของการเปนเขาพระสุเมรุโดยสมบูรณเพราะฉะนัน้ แมวา รูปหลอสําริดเหลานีจ้ ะถูกเคลือ่ นยายไปยังเมืองหงสาวดีกจ็ งึ ไดมกี ารหลอรูปประติมากรรมหลอสําริด มาติดตั้งใหมทดแทนนั่นเอง นอกจากนี้ การนํารูปหลอสําริดรูปสัตวหิมพานตยังสะทอนอยูใหเห็นใน ธรรมเนียมการสรางหุน รูปสัตวหมิ พานตตกแตงรอบพระเมรุสาํ หรับพระราชพิธถี วายพระเพลิงพระบรม ศพกษัตริยและพระบรมวงศานุวงศดวยนั่นเอง

ภาพที่ 11: ตัวอยางรูปสัตวที่ใชตกแตงโดยรอบพระเมรุที่ชวยสรางความหมายของนัยที่เชื่อมตอกับ เขาพระสุเมรุไดแจมชัดขึ้น

สําหรับการสันนิษฐานรูปแบบสถาปตยกรรมมณฑปบริวารจึงเลือกใชลักษณะมณฑป เครื่องไมที่มีรูปทรงแบบมณฑปในสมัยอยุธยาตอนปลายที่ยังสืบทอดรูปแบบตอเนื่องมาจนกระทั่ง รัตนโกสินทรในการขึ้นรูปทรงสถาปตยกรรมมณฑปราย เนื่องจากเมื่อพิจารณาผังพื้นที่มีลักษณะ เปนมณฑปที่มีพื้นที่ตรงกลางโลงสําหรับติดตั้งประติมากรรมหลอสําริด และจะเห็นไดวาชุดเสาดัง


266

หนาจั่ว: วาดวยสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม

วารสารวิชาการ ประจําคณะสถาปตกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

กลาวนั้นไมมีกําลังเพียงพอที่จะรับเรือนยอดเครื่องกอซึ่งมีนํ้าหนักมากได เพราะฉะนั้นแนวทางการ สันนิษฐานรูปแบบที่นาจะเปนของอาคารสวนนี้จึงนาจะเปนมณฑปหลังคาเปนเครื่องไม อยางไรก็ดี รูปแบบสถาปตยกรรมนัน้ อาจจะเปนเชนไรก็ได หากแตระบบโครงสรางนัน้ เห็นจะไมหนีไปจากทีก่ ลาว มา นอกจากนี้ ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม ไดใหขอเสนอวาลวดลายปูนปนที่ตกแตง อยูน นั้ แสดงถึงการสรางในสมัยอยุธยาตอนปลายซึง่ มากอสรางแทรกในภายหลัง (สันติ เล็กสุขมุ , 2522: 65) ซึ่งการกําหนดอายุดังกลาวนั้นก็สอดคลองกับขอเสนอ

ภาพที่ 12: ซากฐาน และเสาของมณฑปบริวารที่สรางอยูลอมรอบพระศรีรัต มหาธาตุสลับหวางกับเจดียบริวารทรงปราสาทยอด สันนิษฐานวาเปนที่ติดตั้งรูป หลอสําริด ทัง้ นีส้ ว นของหลังคาควรจะเปนเครือ่ งยอดโครงสรางไม เพราะเสาเครือ่ ง กอนั้นไมอาจจะรับนํ้าหนักได

3.4 เจดียมุม ระเบียงคด เจดียมุมนั้นถูกสรางขึ้นอยูตรงบริเวณมุมของผังบริเวณภายในวงลอมของพระระเบียงคด สืบเนื่องจากวาเจดียมุมทั้ง 4 องคนี้ นั้นคงมีเพียงองคดานตะวันออกเฉียงเหนือเพียงองคเดียวที่อยูใน สภาพทีเ่ ห็นรูปแบบสถาปตยกรรมชัดเจน ในขณะทีเ่ จดียอ งคอนื่ ๆ ทังทลายลงมากคงเหลือแตสว นฐาน และไดรับการบูรณปฏิสังขรณใหมแตทวาดูแลวระเบียบสัดสวนนั้นผิดเพี้ยนไปมาก จนทําใหทําการ ศึกษาลักษณะทางสถาปตยกรรมไดคอนขางยาก ทั้งนี้ สามารถจําแนกรูปแบบสถาปตยกรรม และ รูปแบบที่ควรจะเปนของเจดียมุมไดดังตอไปนี้ 3.4.1 เจดียมุมทางดานตะวันออก สําหรับเจดียในรูปแบบดังกลาวนี้ มีชื่อเรียกหลักๆ ในทางวิชาการ 2 ชื่อดวยกัน คือ “เจดีย เหลี่ยมยอมุม” และ “เจดียเหลี่ยมเพิ่มมุม” อยางไรก็ดี เนื่องจากเจดียคูทางดานหนา หรือทางทิศ ตะวันออกของผังบริเวณภายในระเบียงคดนั้นมีลักษณะเปน “เจดียทรงปราสาท” ในที่นี้ จึงขอเรียก ชื่อวา “เจดียทรงปราสาทผังเหลี่ยมยอมุม” ทั้งนี้ องคมุมดานตะวันออกเฉียงใตไดพังทลายลง และ ไดรับการบูรณะสวนฐานขึ้นใหม และองคมุมดานตะวันออกเฉียงเหนือยังคงสภาพโดยรวมคอนขาง สมบูรณ คงถูกปฏิสังขรณซอมเฉพาะสวนยอดจนสมบูรณ


ฉบับที่ 29 (มกราคม-ธันวาคม 2558) 267

สําหรับรูปแบบสถาปตยกรรมของเจดียทรงปราสาทผังสี่เหลี่ยมยอมุมนี้มีรูปทรงคลายกับ เจดียศรีสุริโยทัยวัดสวนหลวงสบสวรรค เจดียประธานวัดญาณเสน เจดียภูเขาทอง ซึ่งศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม สันนิษฐานวาเปนเจดียที่กอสรางอยูในชวงสมัยอยุธยาตอนกลาง (สันติ เล็กสุขมุ , 2544: 97-100) และไดเสนอวาเจดียร ปู แบบนีส้ รางขึน้ ครัง้ แรกในรัชกาลสมเด็จพระมหาจักร พรรดิ สําหรับอาจารย น.ณ ปากนํ้า ไดใหขอเสนอวารูปแบบเจดียแบบผังสี่เหลี่ยมยอมุมนั้นเปนรูป แบบทีพ่ ฒ ั นาตอเนือ่ งมาจากปรางค และกําหนดอายุของเจดียอ งคนวี้ า มีมาตัง้ แตสมัยอยุธยาตอนกลาง เปนตนมา (น. ณ ปากนํา้ . 2540: 225) และอาจารยสรุ นิ ทร ศรีสงั ขงามไดเสนอวารูปแบบเจดียแ บบนี้ สรางขึน้ เปนครัง้ แรกในรัชกาลสมเด็จพระเจาปราสาททอง ดังจะเห็นไดวา รูปแบบสถาปตยกรรมของ เจดียแบบนี้ยังไมมีจุดยุติวาถูกสรางขึ้นในชวงเวลาใด เนื่องจากมีผูสันนิษฐานไปในทิศทางที่แตกตาง กันไปตามกรอบความคิด และเครื่องมือของศาสตรที่แตกตางกันออกไป อยางไรก็ตาม รูปทรงทาง สถาปตยกรรมโดยรวมของเจดียทรงปราสาทผังสี่เหลี่ยมยอมุมคูหนาดังกลาวนั้นมีรูปแบบที่ใกลชิด กับเจดียป ระธานวัดญาณเสนมากกวาเจดียอ งคอนื่ ๆ ทัง้ นี้ เจดียป ระธานวัดญาณเสนนัน้ ไมมหี ลักฐาน บงชี้วาสรางขึ้นในสมัยใด แตในการศึกษาของสุรินทร ศรีสังขงาม ซึ่งใชระเบียบวิธีทางประวัติศาสตร สถาปตยกรรมใหขอเสนอวา เจดียวัดญาณเสนนั้นควรสรางขึ้นในสมัยรัชกาลสมเด็จพระนารายณ มหาราช (สุรินทร ศรีสังขงาม, 2548: 214) นอกจากนี้ หากพิจารณาในแงความนิยมในการสรางเจดียผังเหลี่ยมยอมุมเปน “เจดียคู” จะเห็นวานิยมมากในสมัยพระเจาปราสาททอง อาทิเชน เจดียคูหนาวัดไชยวัฒนาราม และเจดียคูวัด ชุมพลนิกายารามนั้น จึงสันนิษฐานวาอาจมีการซอมแปลงรูปทรงเจดียคูหนาที่มีรูปแบบเปนเจดียที่มี องคระฆังบนชุดฐานผังแปดเหลีย่ มแบบเดิมมาเปนเจดียท รงปราสาทในผังสีเ่ หลีย่ มยอมุมในสมัยสมเด็จ พระเจาปราสาททองพรอมกับการบูรณปฏิสงั ขรณวดั พระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยาครัง้ ใหญ หรืออาจจะ กอสรางขึน้ ในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช ตามการขอเสนอวาเจดียป ระธานวัดญาณเสนซึง่ มีรปู ทรงพองกับเจดียอ งคนี้ ทัง้ นี้ อาจจะสรางขึน้ ในคราวเดียวกับการบูรณปฏิสงั ขรณระเบียงคดทีแ่ ลเห็น การเจาะชองประทีปอันเปนเอกลักษณสาํ คัญของศิลปสถาปตยกรรมสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช จากที่กลาวมาขางตน จึงมีขอสังเกตวา มีจารีตในการสรางเจดียประจํามุมของพระศรีรัตน มหาธาตุอยุธยามาตัง้ แตสมัยเมือ่ แรกสรางแลว และอยางนอยตองมีมากอนหนาการทีส่ มเด็จพระบรม ราชาธิราชที่ 2 หรือสมเด็จเจาสามพระยาสรางวัดราชบูรณะ จนกระทัง่ มีการบูรณปฏิสงั ขรณเจดียม มุ คูด า นหนาทางทิศตะวันออกดวยการใชรปู ทรงของเจดียท รงปราสาทผังสีเ่ หลีย่ มยอมุมมากอสรางเปน เจดียคูดานหนา ซึ่งนัยยะของการกอสรางเจดียรูปทรงดังกลาวนั้นอาจมีความสัมพันธกับเจดียที่อุทิศ สวนกุศลสําหรับบุคคล หรือบรรจุอฐั ขิ องผูว ายชนมดว ยก็เปนได ดังตัวอยางเชน เจดียผ งั สีเ่ หลีย่ มยอมุม คูห นาวัดไชยวัฒนาราม เจดียผ งั สีเ่ หลีย่ มยอมุมคูห นาวัดชุมพลนิกายาราม และแมแตเจดียผ งั สีเ่ หลีย่ ม ยอมุมคูห นาปราสาทพระเทพบิดรซึง่ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 แหง กรุงรัตนโกสินทร ไดสรางเพื่ออุทิศพระราชกุศลถวายพระปฐมบรมราชนก และพระบรมราชมารดา ของพระองค ซึ่งขอสังเกตเรื่องรูปแบบของเจดียผังสี่เหลี่ยมยอดมุมกับการเปนเจดียที่มีนัยยะความ สัมพันธกับบุคคลที่กลาวมานี้จําเปนตองทําการศึกษาเชิงลึกตอไป


268

หนาจั่ว: วาดวยสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม

วารสารวิชาการ ประจําคณะสถาปตกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

3.4.2 เจดียมุมทางดานตะวันตก เจดียคูทางดานหลัง หรือทางทิศตะวันตกของผังบริเวณภายในระเบียงคด มีลักษณะเปน “เจดียท รงระฆังบนชุดฐานผังแปดเหลีย่ ม” ทัง้ นี้ องคมมุ ทางดานตะวันตกเฉียงใตไดพงั ทลายลง และ ไดรบั การบูรณะสวนฐานขึน้ ใหม และองคมมุ ดานตะวันตกเฉียงเหนือยังคงสมภาพโดยรวมถึงสวนองค ระฆัง สวนบัลลังกและปลองไฉนพังลงมา ซึ่งปจจุบันยังไมไดรับการปฏิสังขรณ ทั้งนี้ เจดียทรงระฆังบนชุดฐานผังแปดเหลี่ยมนี้ ปรากฏมาตั้งแตในสมัยอยุธยาตอนตน ดัง ตัวอยางของการกอสรางเจดียรูปทรงดังกลาวเปนเจดียมุมบนฐานไพทีพระมหาธาตุประธานวัดราช บูรณะ ซึ่งแนชัดวาสรางขึ้นพรอมกับพระมหาธาตุวัดราชบูรณะดวย นอกจากนี้ก็ยังมีการสรางเจดีย แบบนี้ที่อื่นๆ เชน เจดียวัดชะราม เปนตน 4. สรุปผลการศึกษา

จากการศึกษา “รูปแบบสถาปตยกรรมขององคพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยา ทีไ่ ดรบั การบูรณ ปฏิสังขรณใหมในสมัยสมเด็จพระเจาปราสาททอง” ในป พ.ศ. 2176 ซึ่งการศึกษาในสวนนี้ใชขอมูล ทางประวัตศิ าสตร ภาพถายเกา และขอมูลจากการกับการสํารวจรังวัด ซึง่ พบวา มีการแกไขทรวดทรง ของพระมหาธาตุใหสูงเพรียวขึ้นกวาเดิม จาก 19 วา หรือเทากับประมาณ 38 เมตร เปน 1 เสน 2 วา หรือเทากับประมาณ 44 เมตร สําหรับนพศูลใชของเดิมที่สูง 3 วา หรือประมาณ 6 เมตร นอกจาก การซอมแกสัดสวนของเรือนยอดแลว ยังมีการกออิฐเสริมเปนมุขอีก 3 ดานและมีการกอสรางสถูป ทรงปรางคบนสันหลังคามุขทิศทั้ง 4 ดาน รวมทั้งคงมีการบุเรือนยอดดวยทองจังโกและปดทองเชน เดียวกับพระมหาธาตุวัดไชยวัฒนาราม เนื่องจากคณะทูตลังกาที่เขามาเยี่ยมเยือนในรัชกาลสมเด็จ พระเจาอยูหัวบรมโกศไดกลาววาพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยามีลักษณะเรือนยอดเปนพระปรางค 5 ยอดปดทอง ทั้งนี้ มีขอเสนอวาพระปรางคมุมที่อยูบนฐานไพทีนั้นก็ควรจะถูกสรางขึ้นในชวงเวลา เดียวกันนี้ และไดทําใหรูปทรงโดยรวมของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยามีลักษณะเปนพระปรางค 9 ยอดดวย สําหรับ “เจดียบริวารทรงปราสาทยอด” นั้น ควรจะสรางมาตั้งแตระยะแรกของการสราง วัดในชวงรัชกาลสมเด็จพระราเมศวร โดยไดรับแรงบันดาลใจจากเจดียทรงปราสาทบริวารของเจดีย วัดมหาธาตุสุโขทัย ซึ่งเจดียบริวารเหลานี้สรางในป พ.ศ.1927 สําหรับ “มณฑปราย” สันนิษฐานวา สรางมาตัง้ แตรชั กาลสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจาสามพระยา) เพือ่ วางรูปหลอสําริดทีน่ าํ มาจาก เมืองพระนครทีท่ รงถวายเปนพุทธบูชา อยางไรก็ดี ในคราวเสียกรุงศรีอยุธยาคงไดถกู รือ้ เพือ่ ขนเอารูป หลอสําริดดังกลาวไปยังเมืองหงสาวดี แตคงไดรบั การบูรณปฏิสงั ขรณและหลอรูปสําริดขึน้ ใหมอกี ครัง้ เนือ่ งจากเอกสารจดหมายเหตุชาวตางชาติไดกลาวถึงรูปสําริดดังกลาวอีกครัง้ ในรัชกาลสมเด็จพระเจา ปราสาททอง สําหรับ “เจดียมุม” ตรงรักแรระเบียงคดดานใน ซึ่งควรจะสรางมาแตเดิมในราชรัชกาล สมเเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจาสามพระยา) เปนเจดียทรงระฆังบนฐานผังแปดเหลี่ยม ซึ่งตอมา เจดียค หู นาไดถกู ซอมเปลีย่ นเปนเจดียท รงปราสาทยอดผังสีเ่ หลีย่ มยอมุมซึง่ สันนิษฐานวาเปนการซอม ในรัชกาลสมเด็จพระนารายณมหาราช


ฉบับที่ 29 (มกราคม-ธันวาคม 2558) 269

บรรณานุกรม - (2542). “พระราชพงศาวดารกรุงเกา ฉบับหลวงประเสริฐ”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เลม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. - (2542). “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับ กาญจนาภิเษก เลม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. - (2542). “พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากตนฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน” ใน ประชุม พงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เลม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. - เกรียงไกร เกิดศิริ. (2551). พุกาม การกอรูปของสถาปตยกรรมจากกอนอิฐแหงศรัทธา. กรุงเทพฯ: อุษาคเนย. - เกรียงไกร เกิดศิริ และคณะ. (2558). การพัฒนาระบบการสื่อความหมายมรดกทางสถาปตยกรรม ผานระบบอินเตอรเน็ตกรณีศึกษา วัดมหาธาตุอยุธยา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร. - เกรียงไกร เกิดศิร.ิ “พระศรีรตั นมหาธาตุหลักกรุงศีอยุธยา: ความยอกยอนในประวัตศิ าสตรการสถานปนา” ใน วารสารหนาจั่วฉบับประวัติศาสตรสถาปตยกรรม และสถาปตยกรรมไทย. ปที่ 12 (มกราคมธันวาคม 2558) - เกรียงไกร เกิดศิริ และบุณยกร วชิระเธียรชัย. (2557). “พัฒนาการของผังบริเวณวัดพระบรมธาตุนครศรี ธรรมราชจากหลักฐานทางประวัติศาสตร และการสํารวจภาคสนาม”. ใน วารสารหนาจั่วฉบับ สถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม. ปที่ 28 ประจําปการศึกษา 2557. หนา 81-118. - เกรียงไกร เกิดศิร,ิ อิสรชัย บูรณะอรรจน และตะวัน วีระกุล. “สมมติฐานบางประการเกีย่ วกับรูปแบบทาง สถาปตยกรรมพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาในสมัยเมื่อแรกสถาปนา” ใน วารสารหนาจั่ว ฉบับสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม. ฉบับที่ 29 (มกราคม-ธันวาคม 2558) หนาที่ 225-248. - กรมศิลปากร. (2546). “พระราชพงศาวดารอยุธยา ฉบับวันวลิต”. ใน รวมบันทึกประวัติศาสตรอยุธยา ของฟาน ฟลีต (วัน วลิต). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. - จิรศักดิ์ เดชวงศญา. (2531). เครือ่ งยอดลําพูน. เอกสารประกอบการศึกษาวิชาการศึกษาสถาปตยกรรม ไทยชั้นสูง บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. กรุงเทพฯ: มปพ. - จิรศักดิ์ เดชวงศญา. (2539). พระเจดียเมืองเชียงแสน. เชียงใหม: สุริวงศบุคเซนเตอร. - จีราวรรณ แสงเพ็ชร. (2552). ระบบการจัดและการประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุในประเทศไทย. วิทยานิพนธปริญญาปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัตศิ าสตร, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร. - ดํารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. (2546). “จดหมายเหตุระยะทางราชทูตลังกาเขามาขอพระสงฆสยาม” ใน ดํารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. เรื่องประดิษฐานพระสงฆสยามวงศในลังกาทวีป. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม. - น.ณ ปากนํ้า. (2540). หาเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. - พิเศษ เจียจันทรพงษ. (2536). “อัฐิธาตุเจดียมหาธรรมราชาลิไท เจดียบรรจุกระดูก”. ใน วารสาร ศิลปวัฒนธรรม. 10,2 (ธันวาคม 2536) - พิริยะ ไกรฤกษ. (2555). กึ่งพุทธกาลพุทธศิลปไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพกรุงเทพ. - วิโรจน ชีวาสุขถาวร. (2545). การศึกษารูปแบบสถาปตยกรรมสุโขทัย กรณีศกึ ษาวัดมหาธาตุ ตําบลเมือง เกา จังหวัดสุโขทัย. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร สถาปตยกรรม, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร. - ศักดิ์ชาย สายสิงห. (2546). ศิลปะลานนา. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม.


270

หนาจั่ว: วาดวยสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม

วารสารวิชาการ ประจําคณะสถาปตกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

- ศิลป พีระศรี และธนิต อยูโพธิ์. (2502). “วิวัฒนาการแหงจิตกรรมฝาผนังไทย” ใน วิวัฒนาการแหง จิตรกรรมฝาผนังของไทย สถานจิตรกรรมและสารบาญจิตกรรมฝาผนังในหอศิลปะ. พระนคร: กรมศิลปากร. - สนอดกราส เอเดรียน, เขียน, ภัทรพร สิรกิ าญจน. (2541). สัญลักษณแหงพระสถูป. กรุงเทพฯ: อัมรินทร วิชาการ. - เสมอชัย พูลสุวรรณ. (2539). สัญลักษณในงานจิตรกรรมไทยระหวางพุทธศตวรรษที่ 19-24. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. - สมคิด จิระทัศนกุล. (2546). คติสญ ั ลักษณ และความหมายของซุม ประตู-หนาตางไทย. กรุงเทพฯ: คณะ สถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2546. - สันติ เล็กสุขมุ . (2522). วิวฒ ั นาการของชัน้ ประดับ และลวดลายสมัยอยุธยาตอนตน. กรุงเทพฯ: อัมรินทร การพิมพ. - สันติ เล็กสุขุม. (2529). เจดียเพิ่มมุม เจดียยอมุม สมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ: อัมรินทรการพิมพ. - สันติ เล็กสุขมุ . (2541). เจดียร าย “ทรงปราสาทยอด” วัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: อัมรินทรพริ้นติ้งแอนพับลิชชิ่ง จํากัด. - สันติ เล็กสุขุม. (2542). ศิลปะอยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. - สันติ เล็กสุขมุ . (2548). “แนวความคิดกับกระบวนกรรมวิธที างชาง: เหตุผลทีเ่ รียกเจดียเ พิม่ มุมแทนเจดีย ยอมุม”. ใน รวมบทความมุมมอง ความคิด และความหมาย: งานชางไทยโบราณ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. - สันติ เล็กสุขมุ . (2548). ประวัตศิ าสตรศลิ ปะไทย (ฉบับยอ) การเริม่ ตนและการสืบเนือ่ งงานชางในศาสนา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. - สันติ เล็กสุขุม. (2549). ศิลปะภาคเหนือ: หริภุญชัย-ลานนา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. - สันติ เล็กสุขุม. (2553). “ประเทศไทยกับงานชางตั้งแตพุทธศตวรรษที่ 19” ใน พัฒนาการของลายไทย: กระหนกกับเอกลักษณไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. - สันติ เล็กสุขมุ . (2553). พัฒนาการกระหนกของลายไทย: กระหนกกับเอกลักษณไทย. กรุงเทพฯ: เมือง โบราณ. - สุรนิ ทร ศรีสงั ขงาม. (2548). เจดียเ หลีย่ มยอมุมสมัยอยุธยา. วิทยานิพนธหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตรสถาปตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร. กิตติกรรมประกาศ - ขอขอบพระคุณ อาจารย ดร. วินัย พงศศรีเพียร เมธีวิจัยอาวุโส สกว. อาจารยผูใหคําแนะนํา และ เปนแบบอยางในความมุงมั่นที่จะผลักดันใหงานวิจัยเกิดประโยชนสูสังคม - ขอขอบพระคุณ ศาสตราจารย ดร. เสมอชัย พูลสุวรรณ สําหรับคําแนะนําตางๆ เกี่ยวกับการศึกษาวิจัย - ขอขอบพระคุณ สถาบันวิจยั และพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร และสํานักงานคณะกรรมการวิจยั แหงชาติ ทีใ่ ห การสนับสนุนทุนการวิจัย - คณะนักวิจัย ผูชวยวิจัย ผูชวยวิจัยภาคสนาม ทุกๆ ทานที่รวมดําเนินการวิจัยในชุดโครงการนี้ดวยดี เสมอมา คือ อาจารยอสิ รชัย บูรณะอรรจน, อาจารยตะวัน วีระกุล, อาจารยบณ ุ ยกร วชิระเธียรชัย, อาจารยคาํ ซาย พันทะวง มหาวิทยาลัยสุพานุวง หลวงพระบาง สปป.ลาว, คุณสมชาย เชือ้ ชวยชู, อาจารยกุลพัชร เสนีวงศ อยุธยา, คุณนิดถา บุนปานี สําหรับการสํารวจรังวัด ในการสํารวจ ภาคสนาม และการจัดทําแบบสถาปตยกรรม และอื่นๆ - คุณปญจเวช บุญรอด และคุณศรัญ กลิ่นสุคนธ ผูชวยคนควาเอกสารที่เกี่ยวเนื่องกับวัดพระศรีรัตน มหาธาตุอยุธยา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.