Vernacular 4 region

Page 1


การประชุมวิชาการ และนิทรรศการ ระดับชาติ การจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย

๔ ภาค

สนับสนุนโดย ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ ภาคเหนือ

คณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

ภาคกลาง

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ภาคใต

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 1

9/6/2558 1:14:33


ขอมูลทางบรรณานุกรม สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค กรุงเทพฯ: คณะสถาปตยกรรมศาสตร ม.ศิลปากร . 2557. 168 หนา 1. สถาปตยกรรมพื้นถิ่น 2. สภาพแวดลอมสรรคสราง 2. ภาคเหนือ 3. ภาคกลาง 3. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4. ภาคใต ISBN 978-974-641-521-7

ชื่อหนังสือ: โครงการวิจัย:

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค การจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัย และวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น ภาคเหนือ: คณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ภาคกลาง: คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ภาคใต: คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ผูสนับสนุนการวิจัย: ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ เผยแพรโดย: ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ บรรณาธิการ: ดร. เกรียงไกร เกิดศิริ กองบรรณาธิการ: อิสรชัย บูรณะอรรจน, กุลพัชร เสนีวงศ ณ อยุธยา, ธนกฤต ธัญญากรณ, อิษฏ ปกกันตธร, วศิน วิเศษศักดิ์ดี จํานวนพิมพ: 500 เลม ISBN: 978-974-641-521-7 ภาพปก: วิษณุ หอมนาน รูปเลม: อิสรชัย บูรณะอรรจน, กุลพัชร เสนีวงศ ณ อยุธยา, ธนกฤต ธัญญากรณ สํานักพิมพ: คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ถ.หนาพระลาน เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 2

9/6/2558 1:14:47


การประชุมวิชาการ และนิทรรศการ ระดับชาติ การจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย

๔ ภาค

ผูทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความ

รองศาสตราจารย วิวัฒน เตมียพันธ ศาสตราจารย เกียรติคุณ อรศิริ ปาณินท ศาสตราจารย ดร. วีระ อินพันทัง รองศาสตราจารย ดร. ชัยสิทธิ์ ดานกิตติกุล ผูชวยศาสตราจารย ดร. โชติมา จตุรวงศ ที่ปรึกษาโครงการ

รองศาสตราจารย ดร. ชัยสิทธิ์ ดานกิตติกุล นางสาวสมดี เบ็ญจชัยพร อาจารย ดร. ปรมพร ศิริกุลชยานนท

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 3

9/6/2558 1:14:47


โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 4

9/6/2558 1:14:47


FACEBOOK

โ ค ร ง ก า ร ศึ ก ษ า วิ จั ย เพื่ อ จั ด การความรู  ที่ อ ยู  อ าศั ย

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 5

9/6/2558 1:14:48


โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 6

9/6/2558 1:14:48


กลาวนํา

ผูวาการ การเคหะแหงชาติ

การเคหะแหงชาติ เปนหนวยงานหลักของประเทศที่มีพันธกิจดานการ พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนดานที่อยูอาศัย และจากยุทธศาสตรชาติเพื่อการ พัฒนาที่อยูอาศัยยุทธศาสตรที่ 5 คือ การสรางองคความรูเรื่องที่อยูอาศัยตอทุก ภาคสวนของสังคม ในการนี้ การเคหะแหงชาติจึงเล็งเห็นความสําคัญ และความ จําเปนอยางเรงดวนที่ตองดําเนินการศึกษาวิจัยเพื่อรวบรวมองคความรูเรื่องที่อยู อาศัยในทองถิ่นในภูมิภาคตางๆอยางเปนระบบ เพื่อเก็บรักษาองคความรู นําไปสู การสืบสาน และนําไปสูกระบวนการตอยอดตลอดจนเปนการผลิตเปนสื่อในรูปแบบ ตางๆ เพื่อเผยแพรใหสาธารณชนไดเรียนรู และนําไปพัฒนาการตอยอดเพื่อสืบสาน ภูมิปญญาใหคงอยูคูกับประเทศไทยตอไป การเคหะแหงชาติจงึ ไดสนับสนุนทุนวิจยั ใหสถาบันการศึกษาตางๆ ศึกษา วิจัยใน “โครงการศึกษาวิจัยเพื่อจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัย และวิถีการอยูอาศัย ผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค” โดยมอบหมายให “คณะศิลปกรรม และสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา” ศึกษา “ภาคเหนือ” “คณะ สถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน” ศึกษา “ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” “คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร” ศึกษา “ภาคกลาง” และ “คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร” ศึกษา “ภาคใต” ซึ่งการวิจัย ไดเสร็จสิ้นแลว และคณะผูวิจัยไดเรียบเรียงผลลัพธของการวิจัยเปนบทความวิจัย เพื่อเผยแพรในการประชุมวิชาการ และนิทรรศการระดับชาติวาดวย “การจัดการ ความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น” เรื่อง “สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค” ในนามของการเคหะแหงชาติ ขอแสดงความชื่นชมตอคณะผูวิจัย และมี ความภาคภูมิใจอยางยิ่งที่เปนกําลังหลักที่ผลักดันใหเกิดการศึกษาวิจัยเพื่อพิทักษ รักษา ตลอดจนการพัฒนาองคความรูเรื่องที่อยูอาศัย ภูมิปญญาทองถิ่น และวิถีชีวิต ที่สัมพันธกับที่อยูอาศัย อันจะนําพาใหเกิดความรูความเขาใจ ความตระหนักรูใน คุณคาของมรดกสิ่งกอสรางพื้นถิ่นเรือนที่อยูอาศัยในแตละภูมิภาค อันจะเปนตนทุน ในการตอยอดองคความรู และประยุกตไปสูการพัฒนาที่อยูอาศัยที่เหมาะสม และ สอดคลองกับทองถิ่นตางๆ ตอไป นายกฤษดา รักษากุล ผูวาการ การเคหะแหงชาติ สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 7

9/6/2558 1:14:49


โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 8

9/6/2558 1:14:49


คํานิยม

อธิการบดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

“สถาปตยกรรมพื้นถิ่น” หรือ “สิ่งกอสรางพื้นถิ่น” เปนผลงานสรรสราง ที่สําคัญของมวลมนุษยชาติ เนื่องจากกอตัวขึ้นภายใตสภาพแวดลอมและบริบท ที่เปนภาวะจํากัดนานัปการ ทําใหสถาปตยกรรมพื้นถิ่นในแตละภูมิภาคมีความ แตกตางกัน และเปนสิ่งที่สะทอนใหเห็นถึงภูมิปญญาในการสรางสรรคที่อยูอาศัย อันอุดมไปดวยสรรพองคความรูนานา อาทิ สภาพภูมิศาสตร นิเวศวิทยาวัฒนธรรม วัสดุกอสราง ตลอดจนมิติทางวัฒนธรรมทั้งศาสนา คติความเชื่อ ประเพณี ฯลฯ ทวาภาวการณปจจุบันที่ความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี สภาพสังคม และเศรษฐกิจไดสรางความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว จนทําใหภูมิความรูของสังคม ในเรื่องสถาปตยกรรม และสภาพแวดลอมพื้นถิ่นไดรับผลกระทบ จนอยูในภาวะ วิกฤติที่อาจทําใหภูมิปญญาที่มีคาตองลมสลายลง ซึ่งหากเปนเชนนั้นยอมสงผล ตอความมั่นคงของอนาคตของมนุษยชาติทั้งปวง ในโอกาสนี้ ขอแสดงความชื่นชมตอการเคหะแหงชาติ ที่ดําเนินพันธกิจที่ สําคัญดานที่อยูอาศัยของประชาชนมาอยางยาวนาน และมีวิสัยทัศนที่เล็งเห็น ประโยชนของประเทศชาติในการรักษาองคความรูทางวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับ ทีอ่ ยูอ าศัยของทองถิน่ อันเปนมรดกทางวัฒนธรรมทีส่ าํ คัญของชาติดว ยมุง เปาหมาย สูการพัฒนาอยางยั่งยืน ขอชื่นชมคณะผูวิจัยจากสถาบันการศึกษาตางๆ ที่ไดศึกษาวิจัยรวบรวม องคความรูเกี่ยวกับสถาปตยกรรมพื้นถิ่น และสภาพแวดลอมทางวัฒนธรรม และ วิถีชีวิตของผูคนในหลากมิติ ตลอดจนพัฒนาเปนสื่อสารสนเทศตางๆ ที่จะนําไปสู การสื่อสารกับนิสิตนักศึกษาและประชาชนผูที่สนใจทั่วไป ใหเกิดความตระหนักรูใน คุณคาของมรดกทางวัฒนธรรมที่อยูอาศัย อันจะนําพาสังคมไปสูสังคมแหงการ เรียนรูการพัฒนาอยางยั่งยืนบนรากฐานของการพึ่งพาตนเองไดอยางยั่งยืนตอไป

ผูชวยศาสตราจารย ชัยชาญ ถาวรเวช อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 9

8 9

9/6/2558 1:14:50


โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 10

9/6/2558 1:14:50


คํานิยม “สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย 4 ภาค” เปนหนังสือที่รวบรวมผลงาน วิจัย ภายใต “โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการ อยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น” ซึ่งการเคหะแหงชาติไดใหทุนสนับสนุนสถาบัน การศึกษาทั้ง 4 สถาบัน คือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน และมหาวิทยาลัยศิลปากร ดวยเห็นความ สําคัญในภูมิปญญาของบรรพบุรุษที่สรางมรดกทางวัฒนธรรม “เรือนพื้นถิ่น” ไวให ลูกหลานไดอยูอาศัยสืบมาจนถึงปจจุบัน วัตถุประสงคของโครงการศึกษาวิจัย เพื่อสํารวจ และเก็บขอมูลที่อยูอาศัย และวิถีชีวิตการอยูอาศัยที่ใชภูมิปญญาทองถิ่นในการดํารงชีวิตที่กลมกลืนกับสภาพ แวดลอม และนําขอมูลมาจัดทําเปนสื่อเพื่อเผยแพรใหแกสาธารณชนใหไดเรียนรู ผลงานของทัง้ 4 ทีมวิจยั สามารถดําเนินการไดอยางครบถวนสมบูรณแบบ มีขนั้ ตอน การดําเนินงานที่ชัดเจน ดวยความมานะพากเพียรของทีมงาน การใสใจรายละเอียด ในทุกมิติ ทําใหผลงานดังกลาวสะทอนใหเห็นถึงคุณคามรดกทางวัฒนธรรมในทุก มิติของที่อยูอาศัยและการอยูอาศัยที่สอดคลองกับสภาพแวดลอมในแตละพื้นที่มี ประโยชนสําหรับนักศึกษา นักวิชาการ และคนทั่วไปที่สนใจเรื่องสถาปตยกรรม เรือนพื้นถิ่นอยางมาก และยังเปนบทเรียนที่สามารถนํามาประยุกตใชไดอยางดียิ่ง เพื่อใหเกิดการธํารงรักษาอัตลักษณของทองถิ่นไวใหยั่งยืนตอไป ดิฉันขอแสดงความชื่นชมยินดีกับ อาจารยสืบพงศ จรรยสืบศรี ผศ.ดร. นพดล ตั้งสกุล ผศ.ดร.วันดี พินิจวรสิน ดร.เกรียงไกร เกิดศิริ และคณะผูวิจัยทุกทาน ที่ไดทุมเทสรางผลงานที่มีคาในครั้งนี้ โอกาสนี้ ขออํานาจคุณพระศรีรัตนตรัย และ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ทานเคารพนับถือโปรดประทานพร ใหทุกๆทาน และครอบครัวประสบ แตความสุขความเจริญตลอดไป นางสาว สมดี เบ็ญจชัยพร

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 11

10 11

9/6/2558 1:14:50


บทบรรณาธิการ “หนังสือสถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค” เปนหนังสือรวมบท ความวิจัยอันเปนสวนหนึ่งของการวิจัยในชุดโครงการ “วิจัยเพื่อจัดการความรูเรื่อง ที่อยูอาศัย และวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น” ที่การเคหะแหงชาติ โดย ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย ไดมอบหมายใหสถาบันการศึกษาตางๆ จํานวน ๔ สถาบัน คือ คณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนา, คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน, คณะ สถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และคณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร และไดผลิตผลงานวิจัยจํานวน ๔ โครงการ ซึ่งนอกจาก การจัดทํารายงานวิจัยฉบับสมบูรณ รายงานสรุปผูบริหาร ทั้งภาษาไทย และภาษา อังกฤษแลว ทุกๆโครงการยังไดผลิตสื่อสารสนเทศประเภทตางๆ คือ ภาพยนตสั้น, โปสเตอร, เว็บไซต เพื่อการเผยแพรองคความรูทางวิชาการ และขอคนพบของ โครงการวิจัยดังกลาว อีกทั้งยังบริการวิชาการผานระบบสารสนเทศในเครือขายทาง สังคม (Social Network) และเพื่อใหการนําขอคนพบ และองคความรูเผยแพรสู วงวิชาการจึงไดจัดกิจกรรมประชุมวิชาการ และนิทรรศการ ระดับชาติ “การจัดการ ความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมปิ ญญาทองถิ่น: สถาปตยกรรม พื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค” ซึ่งไดจัดทําหนังสือรวมบทความวิจัย “สถาปตยกรรม พื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค” เพื่อเผยแพรทั้งในรูปแบบของ “หนังสือ” และ “หนังสือ อิเล็กทรอนิกส (E-Book)” เพือ่ ใหสามารถเผยแพรผลงานวิชาการออกไปสูส าธารณะ ไดอยางกวางขวาง และนอกจากนี้ ยังจัดนิทรรศการระดับชาติเพื่อแสดงผลงานวิจัย สรางสรรคที่คัดเลือกผลงานวิจัยมานําเสนอในรูปแบบของ “ผลงานสรางสรรค” และเผยแพรผลงานในหนังสือสูจบิ ตั รนิทรรศการรูปแบบของ “หนังสืออิเล็กทรอนิกส (E-Book)” สําหรับบทความวิจัยที่ตีพิมพในหนังสือนี้ประกอบดวย ๔ โครงการ คือ บทความที่ ๑ “การจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัย และวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญา ทองถิ่น พื้นที่ภาคเหนือ” โดย อาจารย สืบพงศ จรรยสืบศรี, อาจารย อิศรา กันแตง, รองศาสตราจารย สุรพล มโนวงศ, อาจารย ธนิตพงษ พุทธวงศ จากคณะศิลปกรรม และสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ซึ่งมีพื้นที่ ศึกษาในแถบลุมแมนํ้าปงตอนลางในเขตจังหวัดเชียงใหม และลําพูน โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 12

9/6/2558 1:14:51


บทความที่ ๒ คือ “การจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัย ผานภูมิปญญาทองถิ่น พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กรณีศึกษาพื้นที่ลุมนํ้าเลย” โดยผูชวยศาสตราจารย ดร. นพดล ตั้งสกุล, ผูชวยศาสตราจารย ดร. ทรงยศ วีระ ทวีมาศ, อาจารย สุกัญญา พรหมนารท, ผูชวยศาสตราจารย อธิป อุทัยวัฒนานนท, และผูชวยศาสตราจารย กุลศรี ตั้งสกุล คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย ขอนแกน ที่ทําการศึกษาในพื้นที่ลุมนํ้าเลย ในจังหวัดเลย บทความที่ ๓ คือ “การจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัย ผานภูมิปญญาทองถิ่น พื้นที่ภาคกลาง กรณีศึกษา เรือนไทยพื้นถิ่นเมืองเพชรบุรี” ผูชวยศาสตราจารย ดร. วันดี พินิจวรสิน, อาจารย จตุพล อังศุเวช และสุภางคกร พนมฤทธิ์ คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ซึ่งทําการศึกษา ในเขตอําเภอบานลาด จังหวัดเพชรบุรี บทความที่ ๔ คือ “การจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัย และวิถีการอยูอาศัย ผานภูมิปญญาทองถิ่น พื้นที่ภาคใต: เรือนแตแรกเมืองพัทลุง” โดยอาจารย ดร. เกรียงไกร เกิดศิริ, อาจารยอิสรชัย บูรณะอรรจน และอาจารยสกนธ มวงสุน ซึ่งทําการศึกษาในพื้นที่ลุมนํ้าทะเลสาบสงขลา ในเขตจังหวัดพัทลุง คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ในฐานะเจาภาพในการ จัดกิจกรรมประชุมวิชาการ และนิทรรศการระดับชาติ ขอขอบพระคุณ การเคหะ แหงชาติ ที่สนับสนุนใหเกิดการวิจัย ขอบพระคุณหอศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่เอื้อเฟอสถานที่ในการจัดกิจกรรม และขอขอบพระคุณ นักวิจัยจากทุกสถาบัน มา ณ โอกาสนี้ กองบรรณาธิการ หนังสือสถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 13

12 13

9/6/2558 1:14:51


โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 14

9/6/2558 1:14:51


สารบัญ บทความ

หนาที่

การจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัย และวิถีการอยูอาศัย ผานภูมิปญญาทองถิ่น พื้นที่ภาคเหนือ

17

การจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัย และวิถีการอยูอาศัย ผานภูมิปญญาทองถิ่น พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กรณีศึกษาพื้นที่ลุมนํ้าเลย

51

การจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัย และวิถีการอยูอาศัย ผานภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ พืน้ ทีภ่ าคกลาง: กรณีศกึ ษา เรือน ไทยพื้นถิ่นเมืองเพชรบุรี

81

การจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัย และวิถีการอยูอาศัย ผานภูมิปญญาทองถิ่น พื้นที่ภาคใต: เรือนแตแรกเมือง พัทลุง

131

Download

หนั ง สื อ สถาป ต ยกรรมพื้ น ถิ่ น

ที่อยูอาศัย ๔ ภ าค สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 15

14 15

9/6/2558 1:14:51


โปสเตอร: สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัยภาคเหนือ

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 16

9/6/2558 1:14:51


การจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัย ผานภูมิปญญาทองถิ่น

พื้นที่ภาคเหนือ

1

อาจารย สืบพงศ จรรยสืบศรี อาจารย อิศรา กันแตง รองศาสตราจารย สุรพล มโนวงศ อาจารย ธนิตพงษ พุทธวงศ

คณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา

บทคัดยอ

งานวิจัยนี้เกิดขึ้นเนื่องจากการเคหะแหงชาติไดตระหนักถึงความสําคัญที่ ตองสํารวจศึกษาเก็บรวบรวมองคความรูเรื่องที่อยูอาศัย และวิถีการอยูอาศัยที่เปน ภูมิปญญาดั้งเดิมของบรรพบุรุษมาจัดเก็บในฐานขอมูลและผลิตสื่อสารสนเทศใน รูปแบบตางๆ เผยแพรใหสาธารณชนไดเรียนรูและนําไปพัฒนาตอยอดเพื่อสืบสาน ภูมิปญญาใหคงอยูตอไป การดําเนินงานวิจัยใชแนวทางจากโครงการนํารองที่ดําเนิน การไปแลวคือ โครงการศึกษารูปแบบและวิธีการจัดทําชุดองคความรูเรื่องที่อยูอาศัย และวิถีการอยูอาศัย กรณีศึกษา อําเภอแมแจม จังหวัดเชียงใหม โดยศึกษาสํารวจรัง วัด เก็บขอมูลเพื่อจัดการความรูจากเรือนพื้นถิ่นแบบประเพณีดั้งเดิมจํานวน 18 หลัง จาก 15 ชุมชนใน 10 อําเภอของจังหวัดเชียงใหมและจังหวัดลําพูน ผลการศึกษา

บทความวิจัยสรุปผลโครงการวิจัย อาจารยสืบพงศ จรรยสืบศรี และคณะ. โครงการ ศึกษาวิจัยเพื่อจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัย และวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น พื้นที่ภาคเหนือ. สนับสนุนทุนวิจัยโดย การเคหะแหงชาติ ประจําป พ.ศ. 2556.

1

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 17

16 17

9/6/2558 1:14:52


พบวาดานการตั้งถิ่นฐาน มีปจจัย 4 ดานที่ทําใหเกิดลักษณะเฉพาะของพื้นที่ ไดแก ปจจัยดานการเมืองการปกครอง ปจจัยดานกายภาพ ปจจัยดานสังคม และปจจัย ดานเศรษฐกิจ สวนดานรูปแบบเรือน พบเรือน 4 ประเภท ไดแก เฮือนบะเกาจั่วแฝด เฮือนบะเกาจั่วเดี่ยว เฮือนสมัยกลาง และเฮือนกาแล โดยเรือนสวนใหญถึงรอยละ 72 เปนเฮือนบะเกาจั่วแฝด และพบเฮือนกาแลซึ่งเปนเอกลักษณเฮือนลานนาที่สําคัญ เพียงหลังเดียว องคประกอบในบริเวณบาน และองคประกอบทางสถาปตยกรรมของ เรือนที่สํารวจยังคงมีหลงเหลือใหเห็นและบางอยางยังคงใชงานอยูในชีวิตประจําวัน หลายอยาง แตพบการเปลี่ยนแปลงบางตามวิถชี ีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป ผลการจัดการความรู ไดจัดทําสื่อสารสนเทศใน 4 รูปแบบ ไดแก สื่อสิ่งพิมพ ประเภทโปสเตอรขนาด 24”x 36” จํานวน 20 แผน เพื่อใชสําหรับการนําเสนอขอมูล องคความรูที่เปนรายละเอียดของชุมชนในพื้นที่โครงการในภาพรวม วิถีการอยูอาศัย และเรือนไมในแตละหลัง ใชสําหรับการจัดแสดงหรือติดแสดง การจัดนิทรรศการเพื่อ การเผยแพร สื่อวีดิทัศน จํานวน 3 เรื่อง เพื่อการนําเสนอขอมูลที่เปนภาพเคลื่อนไหว ประกอบเสียงบรรยาย สื่อเว็บไซต จํานวน 1 เว็บไซต เพื่อการจัดเก็บรวบรวม องคความรูขอมูลรายละเอียดทั้งหมดของโครงการ และนําเสนอรายละเอียดของ องคความรูทั้งหมด ประกอบดวยภาพถาย, ภาพกราฟฟก, ตัวหนังสือบรรยาย, ภาพ เคลื่อนไหวพรอมเสียงบรรยาย รวมถึงภาพเคลื่อนไหวที่เปนภาพ 3 มิติ และเชื่อมโยง เขากับระบบฐานขอมูลสารสนเทศขององคกร สะดวกตอการสืบคนขอมูล และสื่อ หนังสืออิเล็กทรอนิกส จํานวน 1 เลม นําเสนอขอมูลอยางละเอียดของขอมูลทั้งหมด เพื่อการจัดแสดงทั้งในระบบออนไลนผานระบบอินเทอรเน็ต เเและการจัดแสดงใน หองนิทรรศการ คําสําคัญ

- เรือนพื้นถิ่น (vernacular house) - ภาคเหนือ (northern region) - การจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัย (knowledge management)

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 18

9/6/2558 1:14:52


ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

การเคหะแหงชาติ โดยฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย ไดตระหนักถึงคุณคา ของภูมิปญญาทองถิ่นของบรรพบุรุษดานการสรางที่อยูอาศัย อันเปนหนึ่งในปจจัยสี่ ที่มีความจําเปนตอการดํารงชีวิตของมนุษย และเปนปจจัยสําคัญที่กอใหเกิดเปน สถาปตยกรรมทีส่ ะทอนความเปนเอกลักษณของพืน้ ที่ ตลอดจนบงบอกถึงวิวฒ ั นาการ ของรูปแบบที่อยูอาศัย และวัสดุที่ใชในการกอสรางเรือนที่แตกตางกันตามยุคสมัย ตามสภาพพื้นที่และวัฒนธรรม ที่ไดสรางสรรคใหสวยงาม มีความสอดคลองกลมกลืน กับธรรมชาติ มีความเปนอยูที่พอเพียง ใชทรัพยากรอยางประหยัด เปนองคความรู ที่มีคุณคาทั้งดานศิลปวัฒนธรรม และเอกลักษณที่หลากหลายกําลังถูกผลกระทบ จากความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี สภาพเศรษฐกิจ และสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป เทคโนโลยีการกอสรางทีพ่ ฒ ั นาไปใชวสั ดุกอ สรางในระบบอุตสาหกรรม ทําใหสามารถ กอสรางทีอ่ ยูอ าศัยในรูปแบบเดียวกันจํานวนมากในเวลารวดเร็ว เกิดปญหาดานรูปแบบ และเอกลักษณของทีอ่ ยูอ าศัยทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป จึงเห็นความจําเปนตองศึกษาวิจยั เพือ่ รวบรวมองคความรูร ปู แบบทีอ่ ยูอ าศัยและวิถกี ารอยูอ าศัยของคนไทย มาจัดการความรู ประมวลเปนชุดองคความรูแ ลวผลิตเปนสือ่ ในรูปแบบตางๆเผยแพรใหสาธารณชนได เรียนรู และนําไปพัฒนาตอยอดเพื่อสืบสานภูมิปญญาใหคงอยูคูกับประเทศไทย ตลอดไป และไดจัดทําโครงการศึกษาวิจัยเพื่อจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัย และวิถี การอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น โดยมอบใหคณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ดําเนินการวิจัยในพื้นที่ภาคเหนือ วัตถุประสงคของการวิจัย

- เพื่อสํารวจเก็บขอมูลที่อยูอาศัย และวิถีชีวิตการอยูอาศัยในทุกมิติ - เพือ่ จัดการความรูเ รือ่ งทีอ่ ยูอ าศัย และวิถกี ารอยูอ าศัยดานมรดกภูมปิ ญ  ญา ทองถิ่นในมิติของชาติพันธุ การตั้งถิ่นฐาน สถาปตยกรรม ศิลปวัฒนธรรม โดยสราง สรรคสื่อเปนชุดองคความรูเรื่องที่อยูอาศัย และวิถีชีวิตการอยูอาศัยดานภูมิปญญา ทองถิ่นอยางเปนรูปธรรม - เพื่อสํารวจ และจัดเก็บขอมูลที่อยูอาศัยตําแหนงตางๆในทางแผนที่ เปน ชั้นขอมูลภูมิสารสนเทศของที่อยูอาศัยและองคประกอบอื่นที่เกี่ยวของ - เพื่อเปนสวนหนึ่งของการเรียนการสอน การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 19

18 19

9/6/2558 1:14:52


การสรางจิตสํานึกในการหวงแหนศิลปวัฒนธรรมของทองถิ่นใหแกนักศึกษา ชุมชน หนวยงานทองถิ่น ตลอดจนการสรางเครือขายการทํางานดานการวิจัย การทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม ขอบเขตของการศึกษา

ขอบเขตดานเนื้อหา - เนื้อหาดานสถาปตยกรรม ทําการศึกษา สํารวจ รูปแบบที่อยูอาศัย และ วิถีการอยูอาศัยบริเวณพื้นที่โครงการ จํานวนไมนอยกวา 15 หลังในทุกมิติ วิเคราะห และประมวลขอมูลเปนชุดองคความรูเรื่องรูปแบบที่อยูอาศัย และวิถีการอยูอาศัยซึ่ง สะทอนคุณคาทางศิลปวัฒนธรรม เอกลักษณและภูมิปญญาทองถิ่น และคัดเลือก บานที่มีรูปแบบสวยงาม สมบูรณ และโดดเดนในเอกลักษณและภูมิปญญาทองถิ่น จัดทําเปนรูปแบบ 3 มิติ เพื่อการจัดเก็บขอมูลและจัดทําเปนสื่อองคความรูฯ จํานวน 5 หลัง - เนื้อหาดานสื่อสารสนเทศ สังเคราะหองคความรูที่ไดเพื่อพัฒนาสื่อสาร สนเทศสําหรับการเรียนรูเกี่ยวกับรูปแบบที่อยูอาศัย และวิถีการอยูอาศัย จัดทําเปน ฐานขอมูลและสื่อประสมในรูปแบบตางๆ ที่มีทั้งขอมูลที่เปนขอความตัวอักษร ภาพ ถายภาพเคลื่อนไหวและเสียงบรรยาย ภาพกราฟฟก 2 มิติ และ 3 มิติ เพื่อการนําไป เผยแพรในลักษณะแบบออนไลนที่มีความสะดวกตอการสืบคน และมีขอดีสําหรับ การมีปฏิสัมพันธกับผูใชในการนําเขาขอมูลใหมหรือการแกไขปรับปรุงขอมูลเดิมให มีความทันสมัย โดยใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในลักษณะรวมสมัย - เนื้อหาดานขอมูลสารสนเทศ ศึกษา สํารวจ และจัดเก็บขอมูลที่อยูอาศัย เพื่อการจัดเก็บลงระบบฐานขอมูลสารสนเทศ ดังตอไปนี้ 1. ขอมูลพื้นฐานบาน ประกอบดวย ชื่อเรือน ที่ตั้ง พิกัด รูปแบบ เรือน ปที่สราง ระยะเวลาการกอสราง ชื่อสลา แรงงาน คาใชจาย ประวัติการ ซอมแซม/ตอเติม และเอกลักษณหรือจุดเดน 2. ขอมูลสมาชิกในครัวเรือน ประกอบดวย ชื่อ-นามสกุล เพศ อายุ อาชีพ และทําเนียบเจาของบาน 3. ขอมูลวัสดุกอสราง ประกอบดวย หลังคา โครงสรางหลังคา โครงสรางผนัง คาน/ตง/พื้น เสา และฐานราก ฯลฯ

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 20

9/6/2558 1:14:52


4. ขอมูลองคประกอบผังบริเวณบาน ประกอบดวย ตัวเรือน หลองขาว ครัวไฟ หองนํ้า บอนํ้า คอกสัตว และตูบผี ฯลฯ - เนื้อหาดานขอมูลภูมิสารสนเทศ ศึกษา สํารวจ หาขอมูล จัดทําและจัด เก็บขอมูลภูมิสารสนเทศเพื่อการจัดเก็บลงในระบบสารสนเทศ ดังตอไปนี้ ขอบเขต การปกครองประกอบดวย จังหวัด อําเภอ ตําบลเสนทางคมนาคมเสนทางนํ้า แหลงนํ้า (กรณีมีขอมูลจากหนวยงานที่เกี่ยวของ) ขอบเขตของพื้นที่ศึกษาตําแหนงที่ตั้งของ อาคาร ที่อยูอาศัย และสถานที่สําคัญในพื้นที่ศึกษา ขอบเขตพื้นที่ศึกษา พื้นที่แถบอําเภอทางใตของจังหวัดเชียงใหม กลุม อ.หางดง อ.สันปาตอง อ.ดอยหลอ อ.จอมทอง อ.ฮอด ยกเวน อ.อมกอย และ อ.ดอยเตา เนื่องจากการสํารวจ เบื้องตนพบวา 2 อําเภอนี้ ไมปรากฏที่อยูอาศัยแบบประเพณีลานนาประเภทเรือนไม ซึ่งเปนขอบเขตการศึกษาของโครงการนี้ และพื้นที่แถบอําเภอทางตะวันตกของ จังหวัดลําพูน กลุม อ.เมืองฯ (นอกเขตเมืองดานใต) อ.ปาซาง อ.เวียงหนองลอง อ.บานโฮง และ อ.ลี้ ดังแสดงในภาพที่ 1

ภาพที่ 1: แผนที่แสดงพื้นที่ศึกษาเก็บขอมูล จังหวัดเชียงใหม และลําพูน

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 21

20 21

9/6/2558 1:14:52


ผลผลิตของโครงการ

- รายงานฉบับสมบูรณ เปนเอกสารแสดงขอมูลที่ทําการศึกษา จัดเก็บ ในพืน้ ทีโ่ ครงการ บทสรุป และขอเสนอแนะสําหรับการพัฒนาตอยอดงานวิจยั ในระยะ ตอไป - สื่อสารสนเทศแบบออนไลน เพื่อการเผยแพรตอสาธารณะ - ขอมูลสารสนเทศ และภูมิสารสนเทศ เพื่อการจัดเก็บขอมูลลงระบบฐาน ขอมูลดานที่อยูอาศัยของการเคหะแหงชาติตอไป

กระบวนการศึกษาและระยะเวลาทําการวิจัย

ในการศึกษาวิจัยนี้ ใชกระบวนการศึกษาการตามแบบโครงการศึกษาที่ได ดําเนินการเปนตนแบบไวแลว มุงเนนการเก็บขอมูลทุกมิติมาจัดการความรู ดวยสื่อ หลายชนิดสําหรับการเผยแพร และเตรียมจัดเก็บขอมูลในระบบฐานขอมูลที่ไดออก แบบสรางขึ้นไวแลว ดังแสดงในแผนภูมิ (ดูภาพที่ 2)

ภาพที่ 2: กระบวนการศึกษาเพื่อจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัย

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 22

9/6/2558 1:14:52


ประโยชนที่ไดรับจากโครงการ

- ไดขอมูลความรูดานรูปแบบที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยของคนไทยซึ่ง รวบรวมศิลปวัฒนธรรม สถาปตยกรรม และเอกลักษณของชาติที่ใชภูมิปญญาทองถิ่น - ไดขอมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศรูปแบบที่อยูอาศัย และวิถีการอยู อาศัยของคนไทย เพื่อประโยชนในการใชตอยอดองคความรูในการวิจัยตอไป - ไดสื่อสําหรับเผยแพรความรูรูปแบบที่อยูอาศัย และวิถีการอยูอาศัยของ คนไทยใหแกหนวยงาน สถาบันการศึกษา นักเรียนนักศึกษา และผูสนใจทั่วไป - ไดแนวทางในการเผยแพรองคความรู โดยใชเครือขายเชื่อมตอกับพื้นที่ ที่เปนแหลงเรียนรู

ขอมูลทั่วไปของพื้นที่ศึกษา

พื้นที่ศึกษา ไดแก พื้นที่แถบอําเภอทางตอนใตของจังหวัดเชียงใหม และ แถบเขตอําเภอทางทิศตะวันตกของจังหวัดลําพูน หรือพื้นที่สองฝงลุมนํ้าแมปงชวงใต เมืองเชียงใหม และสองฟากฝงของลุมนํ้าลี้ อันประกอบดวย อ.หางดง อ.สันปาตอง อ.ดอยหลอ อ.จอมทอง และอ.ฮอด ในเขต จ.เชียงใหม อ.เมืองลําพูนตอนใต อ.ปาซาง อ.เวียงหนองลอง อ.บานโฮง และอ.ลี้ ในเขต จ. ลําพูน รวม 10 อําเภอ ซึ่งพื้นที่ศึกษา ที่ครอบคลุมใน 2 จังหวัด มีพื้นที่รวมกันมากกวา 5,500 ตร.กม. และมีประชากรรวม กันมากกวา 443,000 คน โดยมี อ.ฮอด ใน จ.เชียงใหม และ อ.ลี้ ใน จ.ลําพูน เปน อําเภอที่มีพื้นที่มากที่สุด แตพื้นที่สวนใหญเปนพื้นที่ภูเขาสูง

ผลการศึกษา : ชุมชน

ผลการศึกษาชุมชน พบวา ภูมิปญญาในการตั้งถิ่นฐานหมูบานและเมืองใน พื้นที่แองเชียงใหม-ลําพูน ตอนลางนั้น มีความสัมพันธกับปจจัยดานตางๆ จนเกิดเปน ลักษณะเฉพาะ ดังนี้ - ปจจัยดานการเมืองการปกครอง ภาพปรากฏของหมูบาน และเมืองในพื้นที่แองเชียงใหม-ลําพูน ตอนลาง ในปจจุบันสืบยอนไปไดไกลถึงสมัย 200 กวาป ที่พญากาวิละชนะศึกพมาและได รวบรวมผูคนจากดินแดนใกลเคียง มาตั้งหมูบาน และเมืองขึ้นใหมแทนของเดิมที่ถูก ทิ้งรางไป ผูคนหลากหลายชาติพันธุ อันไดแก “ลัวะ” ซึ่งเปนชนพื้นเมืองที่อยูอาศัย ในพื้นที่มาแตเดิม “ไตยวน” หรือที่เรียกกันวา “คนเมือง” “ไตลื้อ” ที่มีถิ่นฐานดั้งเดิม สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค

4

.indd 23

22 23

9/6/2558 1:14:52


อยูที่แควนสิบสองปนนา “ไตเขิน” ที่มีถิ่นฐานเดิมอยูที่เชียงตุง “ไตยอง” ที่มีถิ่นฐาน ดั้งเดิมอยูที่เมืองยอง “ไตใหญ” หรือ “เงี้ยว” จากรัฐฉาน ผูคนเหลานี้ ไดถูกจัด แบงใหอยูตามพื้นที่ตางๆ ถาเปนระดับเจานาย ชางฝมือก็ใหอยูในพื้นที่เมืองหรือใกล เมือง ถาเปนระดับชาวบาน ก็ใหออกไปตั้งหมูบานทามกลางพื้นที่เกษตรกรรม ซึ่ง มักตั้งถิ่นฐานอยูรวมกันเปนกลุม ตามหมูบานหรือเมืองเดิมที่ถูกเทครัวมา โดยนํา ภูมิปญญาและคติความเชื่อจากถิ่นเดิม มาปรับใชในสภาพแวดลอมใหม - ปจจัยดานกายภาพ สภาพภูมิประเทศของหมูบานและเมืองในพื้นที่แองเชียงใหม-ลําพูนตอน ลางนั้นมีที่ราบลุมแมนํ้าที่กวางใหญ และอุดมสมบูรณกวาพื้นที่ตอนบนของแอง และ มักเลือกตั้งถิ่นฐานอยูบนพื้นที่ที่มีลักษณะเปน “สัน” อยูริมแมนํ้าปง แมนํ้ากวง และ แมนํ้าสาขาตางๆ ขนาดชุมชนจะสัมพันธกับขนาดของพื้นที่ ถาเปนที่สันตอเนื่องกัน เปนผืนใหญก็จะมีหลายหมูบานและรวมกันขึ้นเปนเมือง แตถาที่สันนั้นขนาดเล็กก็จะ เปนเพียงหมูบานสลับกับทุงนาแลวจึงเปนหมูบานอื่นๆ เรียงตอกันไปเปนแนวยาว ดวยพื้นที่สันนั้นเกิดจากการทับถมของดินตะกอนบริเวณริมแมนํ้า เมื่อนํ้าหลากทวม จนกลายเปนเนินดินที่นํ้าทวมไมถึง เหมาะแกการตั้งถิ่นฐานในวิถีชีวิตแบบสังคม เกษตรกรรมซึ่งมีถึงรอยละ 80 ของพื้นที่ รูปแบบการตั้งถิ่นฐานของบานสัน แบงออก เปน 2 ลักษณะ ไดแก “บานสันแบบเกาะกลุม (Cluster)” และ “บานสันแบบเกาะ ตัวเปนแนวยาว (Linear)” มีเพียงรอยละ 20 ของพื้นที่ที่เปนบานเชิงดอยที่ตั้งอยู บริเวณขอบของที่ราบ เพื่อรักษาที่ราบลุมแมนํ้าที่มอี ยูจํากัดนั้นไวทํานา หมูบานและ เมืองประเภทนี้สวนใหญอยูในบริเวณหุบเขาทางตอนลางสุดของแอง เชน เมืองฮอด เมืองลี้ มีรูปแบบการตั้งถิ่นฐานของบานเชิงดอยแบงออกเปน 2 ลักษณะ ไดแก “บาน เชิงดอยแบบเกาะกลุม (Cluster)” และ “บานเชิงดอยแบบเกาะตัวเปนแนวยาว (Linear)” - องคประกอบหมูบาน ประกอบดวย “บานหลวง” หรือ “บานเกา” เปนหมูบานที่ตั้งอยูใจกลาง เปนทั้งนามธรรมและรูปธรรมในพื้นที่ โดยจัดวางใหบานหลวงอยูในตําแหนงที่สําคัญ ที่สุด บานหลวงจะตั้งอยูบนขอบที่ราบของ “ทุงหลวง” ซึ่งอยูสูงกวาระดับนํ้าทวมถึง

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 24

9/6/2558 1:14:52


และอยูใ กลกบั “เหมืองหลวง” บานหลวงเปนหมูบ า นแรกๆทีก่ อ ตัง้ ขึน้ กอนหมูบ า นอืน่ จึงมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจเปนหลักที่พึ่งพาของลูกหลานซึ่งขยายออกไปตั้งบาน เรือนในหมูบานใหมๆ นอกจากนี้ บานหลวงยังมีวัดหลวง ชางฝมือ หมอพื้นบาน ฯลฯ สําหรับ “ทุงหลวง” นั้นหมายถึงทุงที่ใหญที่สุดของหมูบานหรือเมือง ใหผลผลิต จํานวนมากหลอเลี้ยงผูคน นอกจากนี้ องคประกอบของหมูบานยังประกอบดวย “ฝายหลวง” และ “เหมืองหลวง” ซึ่งหมายถึง ระบบการจัดการนํ้าของชาวลานนา เพือ่ นํานํา้ จากตนนํา้ ไปหลอเลีย้ งไรนา โดยมีฝายทําหนาทีเ่ ปนตัวกัน้ ลํานํา้ เพือ่ ยกระดับ นํ้าเหนือฝายใหสูงขึ้นและจายนํ้าเขาไปยังเหมืองซึ่งทําหนาที่เปนคลองลําเลียงนํ้า ซึ่ง ตองอาศัยภูมิปญญาในการจัดการและความรวมมือกันภายในชุมชน นอกจากนี้ ยังมี “ดอยหลวง” ซึ่งหมายถึง ภูเขาลูกสําคัญที่เปนฉากหลัง ของหมูบานและเมือง โดยดอยทําหนาที่เปนภูเขาแหงความศักดิ์สิทธิ์ และมักเปนที่ตั้ง ของ “วัดพระธาตุ” และ “วัดพระบาท” มีตํานานเลาเรื่องความศักดิ์สิทธิ์ของดอย ผูกโยงเขากับตํานานพระเจาเลียบโลก เมืองในความเขาใจของชุมชนมักมีเขตแดนทาง ภูมิศาสตร คือ พื้นที่ในหุบที่ลอมรอบดวยภูเขาและกั้นอาณาเขตไว ทําใหเกิด “พื้นที่” ในมโนสํานึกวาพวกตนอยูแยกตางหากจากอีกพวกหนึ่ง บางทีเรียกดอยที่กั้นอยูนี้วา “ดอยแดน” สําหรับ “ใจเมือง” หรือ “เสาหลักเมือง” มีอยูทุกเมืองในแองเชียงใหม และลําพูน เชน “เสาอินทขิล” ซึ่งเปนเสาใจเมืองเชียงใหม ในหลายพื้นที่ที่ชุมชน ขยายตัวมากขึ้น หรือมีความหลากหลายของชาติพันธุที่เขามาใชพื้นที่ทางภูมิศาสตร ที่ซับซอนมากขึ้น ใจเมืองชวยเชื่อมโยงใหหลากหลายกลุมชาติพันธุเขามาอยูภายใต “กฎเกณฑอันศักดิ์สิทธิ์” รวมกัน นอกจากนี้ในระดับชุมชนยังมี “ใจบาน” ซึ่งมี ลักษณะ และมีหนาที่เชนเดียวกับใจเมือง แตเปนศูนยรวมจิตใจในระดับหมูบาน สําหรับ “หอเสื้อเมือง” หรือ “ผีควบเมือง” คือ ผีวีรบุรุษประจําเมือง เรียกวา “เสื้อเมือง” เกิดเมื่อชุมชนไดพัฒนาจากหมูบานเขาสูความเปนเมืองแบบรัฐเจาฟา กลาวคือ เสื้อเมืองจะถูกอัญเชิญใหมาอยู ณ หอผีที่ดงหรือที่ดอนประจําเมือง ที่ถือวา เปน “พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์” หรือ “ที่หนาหมู” (ที่สาธารณะ) ทําหนาที่เปนศูนยรวมพลัง ทางจิตใจของผูคนในเมือง “หอเสื้อบาน” มีลักษณะและหนาที่เชนเดียวกับหอเสื้อเมือง แตเปนศูนย รวมจิตใจในระดับหมูบาน

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 25

24 25

9/6/2558 1:14:52


“วัด” วัดสําคัญระดับเมืองของแองเมืองเชียงใหม-ลําพูน ในพื้นที่ศึกษา คือ วัดจอมทอง วัดลี้หลวง วัดบานโฮงหลวง วัดพระบาทตากผา นอกนั้น เปนวัดประจํา หมูบาน เชน วัดพระเจาเหลื่อม วัดหัวริน วัดปาลาน วัดตนแหนหลวง วัดบานแม วัด หนองเตา วัดฉางขาวนอยใต เปนตน โดยมีผูคนในหมูบานรวมกันเปน “ศรัทธาวัด” หรือหากเปนหมูบานขนาดเล็กก็จะรวมกัน 2-3 หมูบานเปนศรัทธาวัดรวมกัน วัดมัก ใชชื่อเดียวกับชื่อหมูบานซึ่งเปนไปตามลักษณะภูมิประเทศ และลักษณะเดนที่สังเกต เห็นไดชัดเจน เชน วัดปาลาน-บานปาลาน (ปาตนลาน) วัดตนแหนหลวง-บานตน แหนหลวง (ตนแหน หรือตนสมอพิเภก) วัดหัวริน-บานหัวริน (ตนนํ้า) เปนตน “โบสถคริสตจักร” มีอยูทั่วไปตามหมูบานในแองเมืองเชียงใหม-ลําพูน การ นับถือศาสนาคริสตในลานนา เริ่มจากการเดินทางเขามาเผยแพรศาสนาคริสตของ ดร. แดเนียล แมคกิลวารี ตั้งแตป พ.ศ.2410 เปนตนมา “ที่วางสาธารณะประโยชน” ของเมืองและหมูบาน ที่สํารวจพบสวนใหญ คือ ทีว่ า งของวัด “ขวงวัด” วัดนอกจากจะถูกใชเปนพืน้ ทีป่ ระกอบพิธกี รรมทางศาสนาแลว ยังเปนพื้นที่สาธารณะที่สําคัญ สําหรับงานวัฒนธรรม ประเพณีตางๆอีกดวย “สุสาน” หรือ “ปาชา” มักตั้งอยูทายหมูบานในดงไมใหญเลยกลุมบานออก ไป เพื่อกรองฝุนควันและนิยมอยูใกลแมนํ้า ชาวลานนาไมเผาศพที่วัด บางหมูบานมี สุสานทั้งสองแบบสําหรับเผาศพหรือฝงศพตามความเชื่อของแตละชาติพันธุ หมูบาน ขนาดใหญจะมีปาชาของตนเอง เชน บานศรีเตี้ย บานฉางขาวนอยใต สวนหมูบาน ขนาดเล็กหลายหมูบานจะใชปาชารวมกันกัน “กาด” หรือ ตลาด มีหลายประเภท อาทิเชน “กาดกอม” หมายถึง ตลาด ขนาดเล็กใชเวลาชวงสั้นๆ ในการขาย แบงออกเปน 3 ประเภท คือ “กาดเชา” ขาย เฉพาะชวงเชาประมาณ ตี 5 – 8 โมงเชา “กาดแลง” ขายชวงบายประมาณ 3 โมง – 6 โมงเย็น และ “กาดยอย” ตั้งขายเฉพาะหนาบาน “ตลาดประจําโหลง” เปนตลาด ทีต่ งั้ อยูร ะหวางชุมชน หรือระหวางโหลงและเมืองตางๆ ทําหนาที่เปนตัวกลางรับซื้อ สินคาจากทองถิ่นเพื่อสงตอไปยังจังหวัด และซื้อของจากตลาดใหญในตัวจังหวัดมา “ขายยอย” หรือ “ขายปลีก” ใหแมคารายยอยจากหมูบาน “กาดนัด” สําคัญในแอง เชียงใหม-ลําพูนตอนลาง ไดแก กาดนัดทุง ฟาบด อ.สันปาตอง จ.เชียงใหม ติดตลาดใน เชาวันเสาร เดิมเปนกาดที่ซื้อขายแลกเปลี่ยนวัว-ควาย แตปจจุบันกลายเปนตลาดนัด ขนาดใหญที่มีสินคาเพื่อการอุปโภค และบริโภคที่จําเปนตอชีวิตประจําวัน

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 26

9/6/2558 1:14:52


“สถานที่ราชการ” ตั้งอยูบริเวณศูนยกลางหมูบานหรือเมือง เชน สํานักงาน เทศบาล สถานีตํารวจ โรงเรียน สถานสงเสริมสุขภาพระดับตําบล เปนตน “พื้นที่เกษตรกรรม” เดิมชาวบานทํานาเปนหลัก และปลูกพืชหมุนเวียน เชน กระเทียม หอมแดง ทําสวนในพื้นที่รอบบาน เชน สวนหมาก มะพราว สมโอ ขนุน ฯลฯ ไวสําหรับกินในครอบครัวเหลือจึงนําออกขาย แตตอมาสวนใหญไดปรับ เปลี่ยนที่นาเปนสวนลําไย เนื่องจากมีราคาดี และดูแลไดงาย อีกทั้งยังขาดแรงงาน เพราะลูกหลานซึ่งเปนคนรุนใหมไมนิยมทําเกษตรกรรม - ปจจัยดานสังคม คติความเชื่อเรื่องผีและพุทธศาสนา เปนสิ่งสําคัญที่มีผลตอการจัดวางองค ประกอบทางกายภาพของหมูบานและเมือง คติความเชื่อเรื่องผีของคนลัวะและคนไต ในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ทําหนาที่ดูแล และปกปกรักษาหมูบานและเมืองใหรมเย็นเปนสุข อยูรอดปลอดภัย ในนามของ “เสื้อบาน” “เสื้อเมือง (ผีควบเมือง)” “ใจบาน” “ใจเมือง” เพื่อยึดโยงผูคนหลากหลายชาติพันธุใหอยูรวมกันได สวนคติความเชื่อ ในพุทธศาสนา ไดปรากฏวัดระดับหมูบาน วัดระดับเมือง รวมทั้งวัดสําคัญของแองที่ ผูค นจํานวนมากใหความเคารพนับถือ ความเชือ่ นีอ้ า งอิงไดจากตํานานพระเจาเลียบโลก ซึ่งกลาวถึงการเสด็จมาของพระพุทธเจาในดินแดนลานนา ที่ไดทรงประทาน พระธาตุ และรอยพระบาทไวตามหมูบานและเมืองสําคัญ ทําใหผูคนมีตัวตนรวมกัน มีสิ่ง ยึดเหนี่ยวจิตใจและศรัทธารวมกัน อันนํามาซึ่งความสงบสุขของคนในสังคม การ กําหนดตําแหนงของ “เสื้อบาน” และ “เสื้อเมือง” จะเลือกที่ตั้งในดงไมใหญ เพราะ เปนที่สถิตของเทวดาอารักษ สําหรับ “ใจบาน” และ “ใจเมือง” จะเลือกที่ตั้งบริเวณ ศูนยกลางหมูบาน หรือศูนยกลางเมือง สวนวัดประจําหมูบานจะเลือกตั้งบนที่เนิน ที่สะดวกแกการเขาถึง หรืออยูบริเวณ “หัวบาน” ซึ่งเปนมงคล โดยนิยมหันหนาวัดไป ทางทิศตะวันออก ถาเปนวัดประจําเมืองจะเลือกตั้งบนพื้นที่บริเวณบานหลวงของ เมืองนั้น สําหรับ “วัดพระธาตุ” หรือ “วัดพระบาท” มักเลือกที่ตั้งบริเวณ “บาน หลวง” หรือบริเวณ “ดอยหลวง” ซึ่งถือวาเปนดินแดนศักดิ์สิทธิ์ นอกจากนี้ บางหมูบ า น และบางเมืองยังคงรักษาคติความเชือ่ ในการกําหนด ตําแหนงของหมูบานและเมืองเรื่อง “หัวบาน-หัวเวียง” “หางบาน-หางเวียง” “ใจบาน ใจเมือง” “ประตูหมูบาน-ประตูเวียง” อีกดวย

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 27

26 27

9/6/2558 1:14:52


- ปจจัยดานเศรษฐกิจ วิถีชีวิตในสังคมเกษตรกรรม ที่มีระบบเศรษฐกิจแบบพอยังชีพ ทําใหผูคน สวนใหญมีชีวิตที่เรียบงายแบบสังคมชนบท ดวยการทํานาเพื่อใหมีขาวกินตลอดป ปลูกพืชผักสวนครัวและเก็บของปาเปนอาหาร มีสวนไมผลไวกินและขาย เลี้ยงไก หมู วัว ควาย ไวบริโภค ใชแรงานและขาย ทํางานหัตถกรรมไวใชงาน ซึ่งหมูบานและเมือง ในพื้นที่ไดถูกออกแบบเพื่อรองรับวิถีชีวิตในสังคมเกษตรกรรมอยางลงตัว สรุปไดวา รูปแบบการตั้งถิ่นฐานของหมูบานและเมืองในพื้นที่แองเชียงใหม -ลําพูนตอนลาง เปนผลจากปจจัยทั้ง 4 ดาน ดังนั้น ถาปจจัยดังกลาวเปลี่ยนแปลง ก็ จะมีผลถึงรูปแบบการตั้งถิ่นฐานดวยเชนกัน ผลการศึกษา: บาน และเรือน

คณะผูวิจัยไดเขาพื้นที่ทําการสํารวจเบื้องตนตามขอบเขตของการศึกษา ในชวงเดือนพฤศจิกายน 2555 ถึงมีนาคม 2556 ผลการสํารวจ ไดขอมูลเบื้องตน ประกอบดวยพิกัดที่ตั้ง ภาพถาย และขอมูลเบื้องตนของเจาของเรือน ทั้งนี้ เรือนไม แบบประเพณีที่ทําการสํารวจขอมูลเบื้องตนจํานวน 38 หลัง จาก 35 ชุมชน ใน 9 อําเภอ สวนใหญจะพบในชุมชนเกาที่ตั้งอยูในลุมแมนํ้าปง และแมนํ้าลี้ทั้งสองฝง แลวคัดเลือกเรือนไดจํานวน 18 หลัง เพื่อดําเนินการเก็บขอมูลรายละเอียด เพื่อ บันทึกลงฐานขอมูล จากนั้นจึงไดดําเนินการเขียนแบบสถาปตยกรรมทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ เพื่อนําไปจัดทําสื่อเผยแพรองคความรูตอไป ในการสํารวจพื้นที่เบื้องตนนั้น คณะผูวิจัยไดสํารวจอีก 2 อําเภอตอนใต ของเชียงใหม คือ อ.ดอยเตา และ อ.อมกอย เพื่อใหครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของพื้นที่ ตอนใตเชียงใหม แตไมพบวามีเรือนไมแบบประเพณีลานนา ซึ่งเปนขอบเขตการศึกษา ของโครงการนี้เลย พื้นที่บางสวนของบริเวณนี้ เปนชุมชนที่ตั้งถิ่นฐานใหมเพื่อหนี นํ้าทวมจากการสรางเขื่อนภูมิพลในป พ.ศ.2507

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 28

9/6/2558 1:14:52


ภาพที่ 3: ที่ตั้งเรือนที่คัดเลือกเพื่อทําการศึกษา จํานวน 18 หลัง

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 29

28 29

9/6/2558 1:14:52


การคัดเลือกเรือนไมเพื่อที่ทําการสํารวจเก็บขอมูลรายละเอียดดังนี้

หลังที่ 1 รหัส CM-002-H01

หลังที่ 2 รหัส CM-002-S01

หลังที่ 3 รหัส CM-002-S02

หลังที่ 4 รหัส CM-002-S03

หลังที่ 5 รหัส CM-002-S04

หลังที่ 6 รหัส CM-002-D01

หลังที่ 7 รหัส CM-002-C01

หลังที่ 8 รหัส CM-002-C02

หลังที่ 9 รหัส CM-002-HT01

หลังที่ 10 รหัส CM-002-HT02 หลังที่ 11 รหัส CM-002-HT03 หลังที่ 12 รหัส LN-001-W01

หลังที่ 13 รหัส LN-002-M01 หลังที่ 14 รหัส LN-001-M02 หลังที่ 15 รหัส LN-001-P01 โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 30

9/6/2558 1:14:53


หลังที่ 16 รหัส LN-001-B01

หลังที่ 17 รหัส LN-001-B02

หลังที่ 18 รหัส LN-001-L01

ภาพที่ 4: ผลการคัดเลือกเรือนไมที่ทําการสํารวจและเก็บขอมูล

ทั้งนี้ การกําหนดรหัส ใหความหมายไวคือ จังหวัด – แหลงเรียนรู – เรือน ตัวอยางรหัสเรือน CM-001-S04 CM หมายถึง จังหวัดเชียงใหม, LN หมายถึง จังหวัดลําพูน 001, 002 หมายถึง แหลงเรียนรูแหลงที่ 1 หรือ 2 ของจังหวัดนั้นๆ S04 หมายถึง เรือนหลังที่ 4 ของอําเภอสันปาตอง H = อําเภอหางดง, S = อําเภอสันปาตอง, D = อําเภอดอยหลอ, C = อําเภอ จอมทอง, HT= อําเภอฮอด, W = อําเภอเวียงหนองลอง, M = อําเภอเมือง, P = อําเภอปาซาง, B = อําเภอบานโฮง, L = อําเภอลี้ โดยมีเกณฑการคัดเลือกสําหรับการสํารวจเขียนแบบ 2 มิติ ดังนี้ 1. การกระจายตัวทั่วถึงครอบคลุมพื้นที่เปาหมายโครงการ 2. มีแบบแผน รูปแบบ ลักษณะเดน เปนแบบประเพณีลานนา 3. เปนตัวแทนของชาติพันธุ ชุมชน อําเภอ และประเภทของเรือนแบบ ประเพณี 4. ไมถูกตอเติมหรือดัดแปลงจนทําใหเสียรูปเมื่อพิจารณาในองครวม 5. มีความเสี่ยงสูงที่จะถูกรื้อถอนหรือพังทลาย ควรเก็บขอมูลอยางเรงดวน สวนเกณฑการคัดเลือกเพิ่มเติมสําหรับการเขียนแบบ 3 มิติ คือ 1. มีเอกลักษณโดดเดนดานใดดานหนึ่ง เชน ระบบโครงสราง รูปแบบ ประเพณี องคประกอบเรือน สามารถใชเปนแบบอยางสําหรับการศึกษาเรียนรู รายละเอียด 2. มีรูปทรงและสัดสวนสวยงาม ใชเปนแบบอยางในการศึกษาได สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 31

30 31

9/6/2558 1:14:53


การสํารวจรังวัดและเก็บขอมูลดานสถาปตยกรรม บานและเรือน ผังบาน ตัวเรือน และรายละเอียดองคประกอบทางสถาปตยกรรม ขอมูลทางสังคม เศรษฐกิจ การกอสรางซอมแซม สลา และรายละเอียดอื่นๆ ทําการสํารวจรังวัดโดยละเอียด ทั้งผังบาน ตัวเรือน และรายละเอียดองคประกอบทางสถาปตยกรรม ตลอดจนเก็บ ขอมูลดานตางๆ ประกอบดวย 1. ขอมูลที่ตั้ง ไดแก บานเลขที่ และพิกัดทางภูมิศาสตร 2. ขอมูลทางสังคม ไดแก เจาของเดิมหรือผูสราง เจาของปจจุบัน สมาชิก ในครอบครัว อายุ อาชีพ 3. ขอมูลการกอสราง ไดแก ปที่สราง ระยะเวลาที่ใชกอสราง สลา วิธีการ กอสราง วัสดุกอสราง และการซอมแซม 4. แบบทางสถาปตยกรรม ไดแก ผังบริเวณ ผังหลังคา ผังพื้น รูปดาน รูป ตัด แบบขยายประตูหนาตาง ชองลม ราวระเบียง ฯลฯ 5. องคประกอบอื่นในบาน ไดแก หลองขาว ครัวไฟ บอนํ้า ตูบไฟ หองนํ้า ฯลฯ 6. ขอมูลอื่นๆ เชน คติความเชื่อ เอกลักษณ ความเปนมา ฯลฯ มีรูปแบบการเก็บและบันทึกขอมูลสําหรับเรือนแตละหลัง ซึ่งประกอบดวย ตารางขอมูล ภาพถาย และแบบแปลนและรายละเอียด (ดูตัวอยางจากภาพที่ 5)

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 32

9/6/2558 1:14:53


ภาพที่ 5: รูปแบบการเก็บและบันทึกขอมูลสําหรับเรือนแตละหลัง สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 33

32 33

9/6/2558 1:14:54


ภาพที่ 5: (ตอ) รูปแบบการเก็บและบันทึกขอมูลสําหรับเรือนแตละหลัง

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 34

9/6/2558 1:14:54


แบบ 3 มิติ (รูป 3 มิติมีแสดงเฉพาะเรือนหลังที่คัดเลือกไวจํานวน 5 หลัง)

ภาพที่ 5: (ตอ) รูปแบบการเก็บและบันทึกขอมูลสําหรับเรือนแตละหลัง

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 35

34 35

9/6/2558 1:14:54


ผลการศึกษา: องคความรูเกี่ยวกับเรือน

เรือนที่คัดเลือกและสํารวจรังวัดเก็บขอมูลเพื่อศึกษาวิจัยในโครงการนี้ จํานวน 18 หลังนั้น สามารถนํามาวิเคราะหในประเด็นตางๆ เพื่อประมวลเปนขอมูล ในการจัดทําชุดองคความรูได ดังนี้ 1. อายุเรือน อายุเฉลี่ยของเรือนที่ทําการสํารวจ 58.9 ป อายุนอยที่สุด 45 ป มากที่สุด 87 ป 2. เจาของเรือนหรือผูครอบครอง พบวา เรือนที่เจาของเรือนไมที่ทําการ สํารวจ มีเจาของเรือนอยู 2 กลุม คือ - กลุมที่เปนเจาของเดิมเปนผูสรางเรือน และครอบครองมาจนถึง ปจจุบัน สวนใหญเปนผูสูงอายุ - กลุมที่เปนทายาทโดยตรงจากกลุมแรก สวนใหญเปนบรรพบุรุษ ของฝายหญิง เพราะประเพณีของลานนาเดิม การแตงงานจะเปนการแตงเขาบาน ฝายหญิง ผูชายจะเปนเขย ในเรือนที่สํารวจ ซึ่งเปนเรือนแบบประเพณีดั้งเดิม ไมพบเจาของที่เปนผูมา ซื้อเรือนพรอมที่ดินจากเจาของเดิมเพื่อยายถิ่นฐานมาอยูอาศัยในชุมชนเลย แตพบ การขายเรือนเพื่อรื้อยายออกไปจากที่ดินเดิม เพราะเจาของเรือนตองการปลูกเรือน ใหม 1 หลัง พบการขายเรือนเพราะไมใชแลว ไมมีคนอยูอาศัยแลว 1 หลัง และพบ การขายที่ดินใหคนกรุงเทพฯ 1 หลัง เปนการประสงคตอที่ดินริมนํ้าอันเปนที่ตั้งของ เรือนจึงไดเรือนติดไปดวย เปนการซื้อเพื่อเปนทรัพยสิน ไมใชเพื่อการอยูอาศัยเมื่อซื้อ แลวไมไดยายเขามาอยู และไมไดทําประโยชนกับที่ดินแปลงนั้น ปลอยเรือนใหผุพัง ไปตามกาลเวลา เปนเวลากวา 10 ปแลว 3. รูปแบบเรือน จากการศึกษาพบ รูปแบบทางสถาปตยกรรมของเรือน 4 รูปแบบ คือ - แบบที่ 1 เฮือนกาแล จํานวน 1 หลัง เฮือนกาแลเปนเรือนไมแบบประเพณีดั้งเดิมของลานนา เอกลักษณสําคัญ คือ ไมประดับยอดจั่วที่เรียกวา “กาแล” ลักษณะเปนเรือนไม ยกใตถุนสูง ทําเปน เรือนแฝด หันหนาเรือนไปทางใต หลังคาจั่วผสมปนหยา แตสวนที่เปนจั่วจะมีสัดสวน มากจนดูคลายเปนหลังคาจั่ว ทําเปนหลังคาแฝด ทําเรือนขวางขนาดเล็กคลุมครัวไฟ ดานหลัง และชานหนา สวนหลังคาคลุม บันไดทําเปนมุขยื่นออกมาตรงๆ จึงมีเสาสูง คูหนา 2 ตนวิ่งขึ้นไปหลังคาหนามุข โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 36

9/6/2558 1:14:55


ฝาเรือนดานขางผายออกดานนอก มีปลองหรือหนาตางขนาดเล็กบานเปดเดี่ยวตาม ตํารา ผสมผสานหนาตางบานเปดคู โครงสรางพืน้ มีลกั ษณะทีแ่ ปลกตา ดวยการวางตง ขนาด 2” x 4” ตามแนวนอน เพราะตั้งเสาถี่ คานวางถี่ตามแนวเสา ตงจึงวางแนวนอน จะไดรับนํ้าหนักไดดี โครงสรางตัวเรือนและหลังคาเปนไปตามประเพณีของการปลูก เรือนกาแล เชน การวางขื่อนอน ไมขัวยาน ไมแปนตอง ฯลฯ หลังคามุงกระเบื้อง ดินขอแบบโบราณ แตกหักเสียหายมากแลว ทําใหนํ้าฝนรั่วเขาสูตัวอาคาร สรางความ เสียหายใหกับตัวเรือน องคประกอบเรือนเปนตามแบบประเพณี คือ มีชาน ระเบียง เติ๋น หองนอน ฮอมริน ครัวไฟ ฮานนํ้า หํายนต หิ้งพระ ฯลฯ ทุกประการ เปนเรือน กาแลตามตําราที่ทรงคุณคาหลังหนึ่งที่ยังหลงเหลืออยู

ภาพที่ 6: เฮือนกาแล บานขวงเปา อ.จอมทอง จ.เชียงใหม

- แบบที่ 2 เฮือนบะเกาจั่วแฝด จํานวน 13 หลัง สําหรับเรือนแบบนี้เรียกในภาษาทองถิ่นวา “เฮือนสองจอง” (จองแปลวา สันหลังคาหรือจั่ว) ลักษณะเปนเรือนไม ยกใตถุนสูง หลังคาแฝด หันหนาเรือนไปทาง เหนือ-ใต “หลังคาจั่วผสมปนหยา” หรือที่เรียกวา “ทรงมนิลา” มีรางนํ้าฝนอยูตรง กลางเรือน ทางดานตะวันออกเปนเรือนประธานจะเปนหองนอนของพอแม สวน เรือนดานตะวันตกเปนหองโถง หรือหองนอนหองที่ 2 (หรือ 3) สําหรับลูกสาว ระหวางหองนอน 2 ขางจะมีทางเดินผานกลางเพื่อเชื่อมไปยังดานหลังเรือน เรียกวา “ฮอมริน” ดานหนาหองนอน จะเปนพื้นที่ของเติ๋น เปนพื้นที่กึ่งเปดโลง เปนพื้นที่ หลักสําหรับการใชงานบนเรือน ใชงานเอนกประสงค ทั้งนั่งเลน รับแขก เย็บปก ถักรอย และทําการงานอาชีพ จนถึงเปนที่นอนของลูก สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 37

36 37

9/6/2558 1:14:55


ภาพที่ 6: เฮือนสองจองจั่วแฝดที่ทําการสํารวจ

นอกจากหลังคาจั่วแฝดคลุมตัวเรือนแฝดซึ่งเปนเรือนหลักแลว เรือนครัวไฟ ดานทายเรือนมักจะทําเปนเรือนขวาง หลังคาจั่วมนิลาหลังเล็กสวนของหลังคาคลุม บันได ชาน หรือระเบียงดานหนาบานนั้น มักทําเปนปกนกกันสาดออกมา ทําเปน หลังคาลดระดับลงประมาณ 8 นิ้ว เรือนครัวไฟดานหลัง ใชสําหรับหุงหาอาหาร มีเติ๋นนอยหรือเติ๋นเล็ก สําหรับ เตรียมอาหารและนั่งลอมวงกินขาวแลวก็มีนอกชาน สําหรับซักลางทําความสะอาด โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 38

9/6/2558 1:14:55


ปจจุบันสวนใหญจะยายครัวไฟลงไปปลูกเปนเรือนแยกตางหากดานหลังเรือนให หองนี้ก็จะใชเปนหองเก็บของ ครัวไฟที่สรางเปนเรือนแยกนี้ มักจะทําเปนเรือนขนาด เล็ก ปลูกติดดินไมยกพื้น ผนังโปรงเพื่อการระบายควัน ใตถุนเรือนนั้นเปนพื้นที่สําหรับการใชงานกันในชวงกลางวัน ทําเปนแคร เปนตั่งขนาดใหญไวใชงานเอนกประสงค ทั้งนั่งนอน รับแขก ทําการงานอาชีพ หรือ อื่นๆ ใตถุนนี้แตเดิมจะไมทําพื้น ปลอยเปนพื้นดิน แตปรับเรียบบดอัดแนน ปจจุบัน หลายหลังเทพื้นคอนกรีตเต็มพื้นที่ใหใชงานไดดีขึ้น ปจจุบันมีการใชงานใตถุนมากขึ้น บางหลังใชเปนที่จอดรถหรือมอเตอรไซค บางหลังตอเติมเปนหองเก็บของ หรือแมแต เปนหองนอน - แบบที่ 3 เฮือนบะเกาจั่วเดี่ยว จํานวน 2 หลัง ลักษณะเปนเรือนแบบเดียวกับเฮือนจั่วแฝด มีองคประกอบตางๆ ของเรือน เหมือนกัน ตางกันที่เปนเรือนที่ใชหลังคาจั่วเดี่ยว เพราะมีขนาดเล็กกวา หรือใชจั่ว สูงใหญคลุมเรือนทั้งหลัง

ภาพที่ 7: เฮือนจั่วเดี่ยวที่ทําการสํารวจ

- แบบที่ 4 เฮือนสมัยกลาง จํานวน 2 หลัง เฮือนสมัยกลางเปนเรือนไมที่มีพัฒนาการตอจากเฮือนบะเกา ผังพื้นและ องคประกอบเรือนไมเปนแบบประเพณีเฮือนบะเกา หองนอนและหองตางๆ วางตาม แบบเรือนสมัยใหม บางหลังยังมีเติ๋นใชงาน บางหลังไมมีเติ๋นใหเห็นแลว แตมีหอง รับแขก หองรับประทานอาหารมาแทนที่ หลังคาซับซอนมากขึ้น ไมเปนหลังคาจั่วแฝด หรือจั่วเดี่ยว ไมวางแนวจั่วตามแบบประเพณี คือ แนวเหนือใต แมเรือนสมัยกลาง ที่บานปาลาน และบานขวงเปาที่ทําการเก็บขอมูลในโครงการนี้จะมีอายุเกาแกกวา สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 39

38 39

9/6/2558 1:14:56


เฮือนบะเกาแบบประเพณีหลังอื่นๆ แตดวยรูปแบบผังพื้นที่ไมเปนแบบประเพณีใน เฮือนบะเกา จึงนับเปนเรือนรูปแบบใหมที่มีพัฒนาการตอจากเฮือนบะเกาที่เรียกวา “เฮือนสมัยกลาง”

ภาพที่ 8: เรือนสมัยกลางที่ทําการสํารวจ

ผังพื้นเรือนที่สํารวจสวนใหญเปนแบบเฮือนบะเกา ซึ่งเปนแบบประเพณี ลานนา มีองคประกอบหลัก คือ พื้นที่วาง ไดแก ชาน เติ๋น และระเบียงทางเดิน หองนอน 1–2 หอง ครัวไฟ มีบันไดหนา-หลัง มีเพียงเรือนแมอุยเชื้อ กองบุปผา บานขวงเปาเพียงหลังเดียว ซึ่งเปนเรือนสมัยกลาง ที่ไมใชผังพื้นแบบประเพณี แมแต เรือนพออุยชื่น บานปาลานที่ใชรูปหลังคาแบบเรือนสมัยกลาง คือ ไมเปนจั่วแฝด หรือจั่วเดี่ยว แตผังพื้นก็ยังเปนแบบประเพณี และมีเพียงเรือนกาแล บานขวงเปา เพียงหลังเดียวที่เปนเรือนกาแลตามแบบประเพณีลานนา ซึ่งเปนเรือนแบบประเพณี ดั้งเดิมกอนจะพัฒนาเปนเฮือนบะเกาในยุคตอมา รูปทรงหลังคาของเรือนไมที่ทําการสํารวจทั้งหมดเปนทรงจั่วผสมปนหยา หรือเรียกวา ทรงมนิลา นํามาประกอบกันขึ้นเปนเรือน ทั้งการทําเรือนแฝด เรือนขวาง หนาจั่วตีไมฝาปดแบบงายๆ ไมมีลวดลาย หรือมีเพียงเล็กนอยในบางหลัง เชน เรือน ยายบัวเทพที่บานตนแหนนอย ตกแตงลวดลายดวยไมแกะสลักเปนรูปราง และป พ.ศ.ที่สราง บางหลังเขียนสีเปนป พ.ศ.ที่สราง บางหลังเจาะชองระบายลม วัสดุมุง หลังคาของเรือนสํารวจทั้งหมด เปนวัสดุแบบที่นิยมใชในพื้นที่ลานนาในอดีต 4 แบบ คือ กระเบื้องดินขอพื้นเมืองกระเบื้องคอนกรีตหางวาว (แผนเรียบ) กระเบื้องคอนกรีต หางตัด (แผนเรียบ) และกระเบื้องคอนกรีตแบบลอน (กระเบื้องวิบูลยศรี)

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 40

9/6/2558 1:14:56


ทั้งนี้ ในจํานวนนี้ มีเรือนที่ไดเปลี่ยนกระเบื้องมุงหลังคาไปแลว เพราะชํารุด เสียหายมาก โดยเปลี่ยนเปนกระเบื้องลอนคู กระเบื้องลอนเล็ก และกระเบื้องลอน รุนใหม (กระเบื้องพรีมา) จํานวน 4 หลัง และพบสวนประดับยอดจั่ว 4 แบบ คือ 1. แบบกาแล ไมคูไขว แกะสลักอยางประณีต พบ 1 หลังในเรือนกาแล ที่บานขวงเปา จ.เชียงใหม 2. แบบแมแจม สวนตกแตงยอดจั่วหลังคาแบบแมแจม เปนเอกลักษณ เฉพาะพื้นที่ แถบอําเภอทางตอนใตของจังหวัดเชียงใหม โดยเฉพาะที่อําเภอแมแจม ลักษณะเปนไมฉลุลายติดตั้งสวนยอดจั่ว ติดประกับดานบนดวยไมกระดานทอนสั้นๆ พบในเรือนสํารวจที่บานตาลเหนือ อ. ฮอด จ.เชียงใหม 3. แบบไมฉลุลาย สวนตกแตงยอดจั่วที่ใชไมฉลุลายเปนลวดลายตางๆ คลาย กับแบบแมแจม แตไมมีไมทอนสั้นติดประกับดานบน พบที่บานปาลาน อ.สันปาตอง จ.เชียงใหม 4. แบบสรไน มีไมประดับหลังคาที่เรียกวา “สรไน” ประดับอยูที่ยอดจั่ว บางหลังก็ใชไมฉลุลายแบบลานนาประกอบเขาดวยกันกับไมสรไนที่ยอดจั่วคลาย เรือนขนมปงขิง พบในเขต จ. ลําพูนเปนสวนใหญ

ภาพที่ 8: “ปลายจอง” องคประกอบยอดจั่วของเรือนไมที่ทําการศึกษา

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 41

40 41

9/6/2558 1:14:56


วัสดุหลักที่ใชในการกอสรางเรือนที่ทําการสํารวจ คือ ไม โดยใชไมแงะ (เต็ง) ทําเสา ใชไมทอนกลม แปรรูปอยางงาย หรือถากใหเปนสี่เหลี่ยม แตพบวามีการใช เสาคอนกรีตเสริมเหล็กแบบโบราณ (ชาวบานเรียกเสาสะตาย) ใชเปนเสาชั้นใตถุน ของเรือน สวนเสาชั้นบนเปนไม สวนอื่นๆ ไดแก คาน ตง พื้น โครงหลังคา ฝา และ องคประกอบเรือนอื่นๆ จะใชไมสัก ไมแดง แปรรูปโดยการจางคนเลื่อย ฝาเรือนทีท่ าํ การสํารวจ มีเพียงหลังเดียวทีเ่ ปนฝาไมไผขดั แตะ และใชเฉพาะ ฝาภายใน นอกนั้นจะเปนฝาไมจริงทําเปนไมกระดานขนาดกวางประมาณ 6” หนา ประมาณ ½” หรือบางกวานั้น บางหลังบางมากจนบิดงอ วิธีการตีฝานั้นพบทั้งการ ตีฝาแนวตั้งและตีในแนวนอน หรือผสมกัน พบทั้งการตีบังใบ การตีซอ นเกล็ด และการ ตีชิดอัดแนน เจาของเลาถึงวิธีการกอสรางไปในทางเดียวกันวา เจาของจะเตรียมวัสดุ กอสรางไวใหพรอมกอน เชน การตัดไม จางเลื่อย ซื้อดินขอ จางปูกระเบื้องคอนกรีต ฯลฯ แลวจางสลามาทํางาน 1 - 4 คน แตใชแรงงานชาวบานในหมูบานจํานวนมาก ชวยในการกอสรางชวงโครงสรางหลัก คือการปรับผัง ขุด หลุม ตั้งเสา ติดขื่อ ติดแป (อะเส) เจาของจะเตรียมอาหารไวเลี้ยงผูที่มาชวยเอาแรง สวนงานอื่นๆ สลาจะทํางาน ไปกับลูกมือ ใชเวลา 2 – 4 เดือน บางหลังเปนสวนนอยไมไดใชแรงงานชาวบาน ใชสลา กับลูกมือเทานั้น แตไมใชการจางเหมาเหมือนปจจุบัน เปนการจางแรงงานพรอมเลี้ยง อาหาร แตเจาของเปนผูจัดหาและเตรียมวัสดุกอ สราง โดยเฉพาะกระเบื้องคอนกรีต แบบทําเอง ทีใ่ ชสลาอีกชุดหนึง่ และใชเวลาพอสมควร ในเรือนทีท่ าํ การสํารวจสวนใหญ จะพบฮานนํ้า แตพบวาบางหลังไมมีการใชงานแลว เพียงไมไดรื้อถอนออกไป หรือ ใชงานอยางอื่นแทน เชน ใชเปนชั้นวางของ นอกนั้นยังมีการใชงานฮานนํ้าอยู ทั้งการ ดืม่ กิน การทําอาหาร ครัวไฟแบบประเพณีดงั้ เดิมทีย่ งั คงใชงานอยูบ นเรือนทีส่ าํ รวจใน โครงการเหลือเพียงไมกี่หลัง โดยเฉพาะที่ยังใชแมเตาไฟเปนกระบะไมอัดดินเหนียว ไวกอไฟตามแบบประเพณีนั้น แทบไมเหลือใหเห็น บางหลังยังคงมีครัวไฟอยูบนเรือน แตไมใชงานแลว บางหลังปรับเปลี่ยนเปนหองเก็บของหรือใชประโยชนอยางอื่นไป เรือนสวนใหญจะยายครัวลงจากเรือนไปสรางเปนเรือนแยกไวตางหาก

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 42

9/6/2558 1:14:56


4. องคประกอบตามความเชื่อ พบหํายนตเพียง 2 หลังที่เรือนกาแล บานขวงเปา และเรือนพอชื่น บาน ปาลาน พบหิ้งพระที่เติ๋นทุกหลังที่ทําการสํารวจ ยกเวนเรือนแมอุยเชื้อที่บานขวงเปา เพราะนับถือศาสนาคริสต การประดับฝาเรือนดวยพระบรมฉายาลักษณ รูปพระ รูปบรรพบุรุษ และรูปสมาชิกในครอบครัวนั้น พบทุกหลัง รวมทั้งเรือนแมอุยเชื้อ บาน ขวงเปาที่นับถือศาสนาคริสต เวนแตไมมีรูปพระ ผลการศึกษา: เรื่องผังบริเวณบาน

การวางผังบริเวณบานทัง้ หมดทีท่ าํ การสํารวจ จะวางตัวเรือนแบบขวางตะวัน หรือวางเรือนตามแนวทิศเหนือ-ใต โดยการพิจารณาจากแนวจั่ว หรือแนวสันหลังคา มีองคประกอบตางๆตามแบบประเพณีในบริเวณบาน ดังนี้ “นํ้าบอ” หรือ “บอนํ้า” พบแทบทุกหลัง เพราะเปนแหลงนํ้าใชสําคัญในอดีต หลังที่ไมพบนํ้าบอเพราะใชรวมกับเพื่อนบาน และเปนพื้นที่ที่ไมมีนํ้าบาดาล ขุดเจาะ แลวไมไดนํ้า “หลองขาว” มีหรือเคยมีอยูในทุกบานที่เปนเรือนดั้งเดิม แสดงถึงความเปน ชาวนาปลูกขาว ทั้งเพื่อเก็บไวกินเองในอดีตและเพื่อเปนอาชีพในเวลาตอมา “รั้วบาน” ตามแบบประเพณีพบเพียงสวนนอย สวนใหญเปลี่ยนเปนรั้ว กอบล็อกทึบ หรือมีรั้วเหล็กโปรงชวงบนตามสมัยนิยมแลว “หองสวม” ตามแบบประเพณีที่สรางเปนหลังโดดๆ แยกจากเรือนใหญ พบเพียงไมกี่หลัง แตพบการตอเติมหองนํ้าสวมบนเรือนมากกวา โดยเฉพาะเรือนของ ผูสูงอายุมากๆ ที่ลูกหลานมาตอเติมใหเพื่อความสะดวกของพอแม สวน “ตอมนํ้า” หรือที่อาบนํ้าสําหรับหญิงสาวพบจํานวน 5 แหง ทุกแหงไมมีการใชงานแลว “ศาลผี” หรือ “หอผี” พบ 3 หลัง เฉพาะบานเกา หรือบานลูกสาวคนโตที่ เปนผูสืบทอดผีปูยาตายาย สวนศาลเจาที่ หรือศาลพระภูมินั้นพบในหลายหลัง

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 43

42 43

9/6/2558 1:14:56


ผลการศึกษา: รูปแบบสื่อสารสนเทศ

ไดนําแนวทางการจัดทําสื่อสารสนเทศจากโครงการตนแบบมาพิจารณา ประเมินและปรับใช และจัดทําเปนสือ่ หลากหลายชนิดเพือ่ ตอบสนองในแตละโอกาส ไดเหมาะสม ประกอบดวย 1. สื่อสิ่งพิมพประเภทโปสเตอรขนาด 24” x 36” จํานวน 20 แผน เพื่อใช สําหรับการนําเสนอขอมูล องคความรูที่เปนรายละเอียดของชุมชนในพื้นที่โครงการ ในภาพรวม วิถีการอยูอาศัย และเรือนไมในแตละหลัง ใชสําหรับการจัดแสดงหรือ ติดแสดง การจัดนิทรรศการเพื่อการเผยแพร 2. สื่อวีดีทัศน จํานวน 3 เรื่อง เพื่อการนําเสนอขอมูลที่เปนภาพเคลื่อนไหว ประกอบเสียงบรรยาย ประกอบดวยเรื่องเมืองและชุมชนหมูบาน เรื่องบาน และเรือน และเรื่องวิถีชีวิต ใชประกอบการนําเสนอในการจัดนิทรรศการ หรือการเผยแพรผาน ในระบบสื่อออนไลน 3. สื่อเว็บไซต จํานวน 1 เว็บไซต เพื่อการจัดเก็บรวบรวมองคความรู ขอมูล รายละเอียดทั้งหมดของโครงการ และนําเสนอรายละเอียดขององคความรูทั้งหมด ประกอบดวยภาพถาย ภาพกราฟฟก ตัวหนังสือบรรยาย ภาพเคลื่อนไหวพรอมเสียง บรรยาย รวมถึงภาพเคลื่อนไหวที่เปนภาพ 3 มิติ เชื่อมโยงเขากับระบบฐานขอมูล สารสนเทศขององคกร สะดวกตอการสืบคนขอมูล 4. สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส จํานวน 1 เลม นําเสนอขอมูลอยางละเอียด ของขอมูลทั้งหมด เพื่อการจัดแสดงทั้งในระบบออนไลนผานระบบอินเทอรเน็ต และ การจัดแสดงในหองนิทรรศการ ผลการศึกษา: ระบบฐานขอมูลสารสนเทศ

ไดวิเคราะห และออกแบบระบบสารสนเทศใหเหมาะสมกับขอบเขต และ ประเภทของขอมูลที่ทําการเก็บขอมูล ตลอดจนลักษณะการเขาไปใชงานระบบ โดย คํานึงถึงการคนหาขอมูลที่อาจมีเปนจํานวนมากเมื่อโครงการไดรับการตอยอดไป ศึกษาเก็บขอมูลในพื้นที่อื่นๆตามวัตถุประสงคหลักของโครงการตอไป และไดระบบ ฐานขอมูลสารสนเทศที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. เปนระบบทีเ่ รียกใชงานผาน Web browser ไมตอ งมีการติดตัง้ โปรแกรม ใดๆ เพิ่มเติมบนเครื่องผูใช

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 44

9/6/2558 1:14:56


2. มีระบบการจัดการขอมูลการศึกษาทีส่ ามารถจัดการไดทงั้ ขอมูลขอความ ตัวอักษร ภาพถาย ภาพเคลื่อนไหว และเสียงบรรยายภาพกราฟฟก 2 มิติ และ 3 มิติ 3. มีการกําหนดสิทธิ์ผูใชงานในการจัดการขอมูลในระบบ 4. มีระบบการแสดงผลขอมูลสารสนเทศ และสารสนเทศภูมิศาสตร 5. การแสดงผลขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร สามารถเปด-ปดชั้นขอมูลได มีการแยกสีและสัญลักษณของขอมูลอยางชัดเจน และแสดงขอมูลเชิงบรรยาย หรือ แอตทริบิวต (Attribute) ได โดยระบบฐานขอมูลสารสนเทศนี้เปนระบบที่ออกแบบ มารองรับการบรรจุขอ มูลทีอ่ ยูอ าศัยไดไมจาํ กัด เปนระบบใหญทรี่ องรับโครงการจัดทํา ชุดความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอาศัยของคนไทย ตามนโยบายและวัตถุประสงค ของการเคหะแหงชาติไดในระยะยาว โดยมีขอมูลของเรือนไมแมแจมซึง่ เปนโครงการ ตนแบบของโครงการนี้ เปนขอมูลกลุม แรกทีน่ าํ รองปอนขอมูลจากงานวิจยั โครงการนี้ และโครงการอืน่ ๆ เปนชุดขอมูลทีไ่ ดปอ นลงระบบเพิม่ เติมตามลําดับ ปญหา และอุปสรรค

1. การเก็บขอมูลเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัย เปนการดําเนินการ ทีต่ อ งการการยอมรับและใหความรวมมือจากเจาของบาน เพราะเปนการละเมิดพืน้ ที่ สวนบุคคล รบกวนเวลาทํางานหรือพักผอนของเจาของบาน ซึ่งอาจตองใชเวลาใน การสรางความสัมพันธ หรือตองการบุคคลที่เจาของบานใหการยอมรับเปนผูนําทาง 2. การเก็บขอมูลเรือนและวิถกี ารอยูอ าศัยเพือ่ การนําเสนอประเภทภาพถาย ภาพเคลื่อนไหว สําหรับเรือนบางหลังที่เจาของเรือนไมมีเวลาหรือกําลังพอจะจัดการ ใหเปนระเบียบเรียบรอยในชีวิตประจําวัน จําเปนตองมีการเตรียมการบางบางอยาง เชน การเก็บกวาดหรือเก็บของเพื่อใหภาพที่ปรากฏนั้นมีคุณภาพสําหรับการเผยแพร สาธารณะ 3. ขอมูลที่เปนภาพถายและวีดิทัศน ในการเก็บขอมูลเรือนที่เปนเปาหมาย และการบันทึกขอมูลโดยรวมมีจํานวนมาก และจําเปนตองใชสื่อในการบันทึกขอมูล ที่มีความจุสูงในการบันทึกขอมูล และจําเปนตองมีการทําสําเนา เพื่อปองกันความ เสียหายที่อาจเกิดขึ้น 4. ในสื่อวีดิทัศน หากพิจารณาถึงมาตรฐานการนําเสนอในระดับรายการ โทรทัศน จําเปนตองใชเครื่องมือ และกําลังคนมากกวาโครงการนี้ ซึ่งมีคาใชจายสูง

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 45

44 45

9/6/2558 1:14:56


5. ในการสํารวจขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร ไมสามารถสํารวจขอมูลถนน และทางนํ้าของพื้นที่ศึกษาได เนื่องจากขอมูลดังกลาวเปนขอมูลเชิงเสน ตอง Digitize ขอมูลจากภาพถายทางอากาศ หรือภาพถายดาวเทียม ซึ่งมีหนวยงานที่เกี่ยวของจัด ทําไวอยูแลว จึงไดทําการขอและใชขอมูลของหนวยงานนั้น 6. ระบบอางอิงในตัวขอมูลที่สํารวจ และขอมูลจากแหลงภายนอกไมตรงกัน ทําใหตําแหนงของขอมูลแตละชั้นขอมูลมีความคลาดเคลื่อน ตองแกไขโดยการปรับ ระบบอางอิงของชั้นขอมูลแตละชั้นใหตรงกัน คือ ระบบอางอิงแบบ WGS 84 ตาม มาตรฐานระบบอางอิงขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรของประเทศไทยโดยใชโปรแกรม QGIS ในการปรับระบบอางอิง ขอเสนอแนะ

1. ในการดําเนินการวิจัย นักวิจัยเห็นถึงสถานการณที่เรือนไมทรงคุณคา กําลังเสื่อมโทรม และสูญหายไปตามระยะเวลา และกําลังของผูเปนเจาของ การ อนุรักษตองการสํานึกของเจาของพื้นที่ที่เห็นคุณคาในเรือนไมพื้นถิ่นเหลานี้ ดังนั้น การนําเสนอขอมูลการวิจัยที่ดําเนินการเสร็จแลวกลับไปยังเจาของเรือน เจาของพื้นที่ องคกร หรือหนวยงานในพื้นที่ หรือการเผยแพรองคความรูและคุณคาของเรือนพื้นถิ่น ตอเยาวชนและคนทั่วไปในทองถิ่น จะเปนสวนหนึ่งที่ชวยใหเกิดสํานึกในคุณคาของ ภูมิปญญาทองถิ่นเหลานี้ได 2. ในการสํารวจเบื้องตนของโครงการวิจัยนี้ พบวาเรือนไมพื้นถิ่นลานนา ยังมีอยูใหศึกษาจํานวนมากใน 2 พื้นที่ คือ พื้นที่ อ.สันปาตอง และอ.ดอยหลอ จ.เชียงใหม โดยเฉพาะที่บานยางคราม อ.ดอยหลอ ยังเปนชุมชนที่มีบริบทแบบชุมชน เกาดั้งเดิม และมีเรือนไมเกาหลงเหลืออยูจํานวนมาก แตมีสัญญานการเปลี่ยนแปลง ทีค่ วรทําการศึกษาเก็บขอมูลไวกอ นทีจ่ ะเกิดการเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดลอมชุมชน 3. โครงการศึกษาและจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัย และวิถีการอยูอาศัย ที่ไดริเริ่มดําเนินการแลว การเคหะแหงชาติควรดําเนินการอยางตอเนื่องในพื้นที่อื่นๆ ตอไป ดวยเครื่องมือ วิธีการ และระบบฐานขอมูลที่ไดจัดทําขึ้นแลวในโครงการที่ได ริเริ่มขึ้น เพื่อใหไดภูมิปญญาในภาพรวมของประเทศไทย และควรดําเนินการอยาง เรงดวนในสวนของการอยูอาศัยที่เปนเรือนพื้นถิ่น เพราะสวนใหญมีสภาพทรุดโทรม ถูกรื้อถอนและเปลี่ยนแปลงไปจนแทบไมเหลือรูปแบบและวิถีการอยูอาศัยแบบไทย

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 46

9/6/2558 1:14:56


4. การเคหะแหงชาติ มีผลการศึกษา และสือ่ ทีเ่ ปนองคความรูเ รือ่ งทีอ่ ยูอ าศัย และวิถีการอยูอาศัยอยูระดับหนึ่งแลว ควรไดรวบรวมผลงานและดําเนินการเผยแพร อยางเปนรูปธรรม ทั้งในลักษณะสื่อสารสนเทศแบบ online และการจัดแสดงถาวร ที่มีสถานที่รองรับทั้งในสวนภูมิภาค และสวนกลาง เพื่อเปนแหลงศึกษาเรียนรูเรื่อง ที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยของชุมชน เมือง และประเทศไทยตอไป 5. การเคหะแหงชาติ ในฐานะองคกรหลักดานการอยูอาศัย ควรเพิ่มบทบาท ดานการอนุรักษ โดยเฉพาะอาคารพักอาศัยและรานคาซึ่งเปนมรดกทางวัฒนธรรม ที่ยังไมมีหนวยงานหรือมาตรการใดมาดําเนินการอนุรักษอยางชัดเจน โดยดําเนินการ ไดในหลายระดับ เชน การใหความชวยเหลือทางวิชาการ ความชวยเหลือทางเงินทุน การยกยองใหรางวัลเชิดชูคุณคา ฯลฯ บรรณานุกรม จูเหลียงเหวิน. ชนชาติไต สถาปตยกรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีไตในสิบสองพันนา. กรุงเทพฯ: โอ เอสพริ้นติ้งเฮาส, 2536. พรพิไล เลิศวิชา และคณะ. เชียงใหม–ลําพูน เขตเศรษฐกิจวัฒนธรรม พลวัต และพัฒนาการ. กรุงเทพฯ: บริษัทธารปญญา จํากัด, 2552. พิชัย จันทรจรัสทอง. คูมือ Oracle 8. กรุงเทพฯ:ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2542. รังสรรค จันตะ. บาน โหลง และเมือง เขตความสัมพันธบนฐานเศรษฐกิจ และวัฒนธรรมชุมชน ในแองเชียงใหม-ลําพูนตอนบน. กรุงเทพฯ: ฐานปญญา, 2552. สมคิด จิระทัศนกุล. “เรือนลานนา”, ใน เอกสารประกอบการประชุมวิชาการความหลากหลาย ของเรือนพื้นถิ่นไทย. กรุงเทพฯ: คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2543. สืบพงศ จรรยสืบศรี. เรือนลานนา. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก http://suebpong.rmutl.ac.th/. (วันที่ 2 มิถุนายน 2556) สุรชัย รัตนเสริมพงศ. ความกาวหนาเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก http: //kmcenter.rid.go.th/. (วันที่ 20 มิถุนายน 2556). อนุวิทย เจริญศุภกุล และวิวัฒน เตมียพันธ. เรือนลานนาไทยและประเพณีการปลูกเรือน. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สมาคมสถาปนิกสยาม, 2539. โอภาส เอี่ยมสิริวงศ. การวิเคราะห และออกแบบระบบ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2548. อัน นิมมานเหมินท. วาระครบหกรอบของ ศ.อัน นิมมานเหมินท. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ สุขภาพใจ, 2532.

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 47

46 47

9/6/2558 1:14:57


A Study on the Explicit Knowledge and Local Wisdom in the Field of Housing for Knowledge Management in the North of Thailand Suebpong Chansuebsri Isara Guntang Associate Professor Surapon Manowong Tanitpong Puttawong

Faculty of Art and Architecture Rajamangala University of Technology Lanna Abstract

This study was initiated by the National Housing Authority by its awareness of the significance of the survey to collect the knowledge on the habitation and way of life of the ancestor’s wisdom. The knowledge was to be installed in a database and information distribution schemes were to be set up to disseminate the knowledge for the public to learn and further develop it to preserve and pass on the respective local wisdom. This research adopted and continued the previous pilot project studying the formats and knowledge management method on the habitation and way of life, the Mae Chaem District, Chiang Mai Province case study. This survey and data collection was conducted for knowledge management of 18 traditional houses in 15 communities of 10 districts in Chiang Mai and Lamphun Provinces. The study results show 4 factors that created the specific characteristics of a settlement in the area, namely political and administrative factors, physical factors, social factors and economic factors. As for the styles, there were four of them: the twin-roof house, the single roof โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 48

9/6/2558 1:14:57


house, the middle period house and the Kalae house. Most of them (72%) were of the twin roof style. Some of the house elements including the surrounding structures and architectural elements could be found and some were used in the people’s daily lives. The changes were due to the change in the lifestyle. The outcomes of knowledge management were the production of four types of information media. One of these was 20 posters 24” X 36” for the presentation of the information on detailed knowledge about the communities in the project area to give an overall picture concerning the people’s way of living and each of the wooden houses for display. There were also three videos for moving pictures and sound narration as well as one website for collecting all the knowledge and information of the project through photographs, graphic pictures with captions, moving pictures with narration and three dimensional pictures linking to the information database of the organization for convenient access. Moreover, one e-book containing all the detailed information was produced to be displayed online via the Internet as well as an exhibition.

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 49

9/6/2558 1:14:57


โปสเตอร: สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 50

9/6/2558 1:14:57


การจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัย ผานภูมิปญญาทองถิ่น

พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 กรณีศึกษาพื้นที่ลุมนํ้าเลย

ผูชวยศาสตราจารย ดร. นพดล ตั้งสกุล ผูชวยศาสตราจารย ดร. ทรงยศ วีระทวีมาศ อาจารย สุกัญญา พรหมนารท ผูชวยศาสตราจารย อธิป อุทัยวัฒนานนท ผูชวยศาสตราจารย กุลศรี ตั้งสกุล บทคัดยอ

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

เรือนพื้นถิ่นเปนสถาปตยกรรมเพื่อการอยูอาศัยที่มีความสอดคลองกับ สภาพแวดลอมในแตละภูมิภาค การศึกษาที่อยูอาศัยเพื่อทําความเขาใจกับสภาพ แวดลอม ธรรมชาติของทีต่ งั้ ตัง้ แตระดับชุมชน จนถึงระดับบานพักอาศัยทําใหทราบถึง ความสัมพันธ และความสอดคลองกันของที่อยูอาศัยกับเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม และเขาใจการปรับตัวและยอมรับเงื่อนไขอันเกิดจากสภาพแวดลอม การ เปลีย่ นแปลงรูปแบบทีอ่ ยูอ าศัยและเทคนิคในการกอสรางในปจจุบนั ทําใหเอกลักษณ ของที่อยูอาศัยเปลี่ยนแปลงและไดสงผลกระทบตอองคความรูเกี่ยวกับภูมิปญญาใน การกอสรางบานเรือนซึ่งนับวันก็จะสูญหายไป ดังนั้น โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการ จัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัย และวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น พื้นที่ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ กรณีศึกษาพื้นที่ลุมนํ้าเลย จึงจัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อ บทความวิจยั สรุปผลโครงการวิจยั นพดล ตัง้ สกุล และคณะ. โครงการศึกษาวิจยั เพือ่ จัดการ ความรูเรื่องที่อยูอาศัย และวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น พื้นที่ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ. สนับสนุนทุนวิจัยโดย การเคหะแหงชาติ ประจําป พ.ศ. 2556. คณะผูวิจัย ขอขอบพระคุณ ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ ที่เล็งเห็นความสําคัญของ สถาปตยกรรมพื้นถิ่นในภูมิภาคที่นับวันจะลดจํานวนลงไปทุกขณะ

1

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 51

50 51

9/6/2558 1:14:57


รวบรวมองคความรูดานรูปแบบที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยของคนอีสาน โดยการ จัดการความรูในรูปแบบสื่อลักษณะตางๆ เพื่อใหพรอมในการนําไปใชสําหรับเผยแพร ใหสาธารณชนไดเรียนรู นําไปใชประโยชน รวมทัง้ พัฒนาตอยอดเพือ่ สืบสานภูมปิ ญ  ญา ทองถิ่นเกี่ยวกับที่อยูอาศัย โครงการจึงทําการเก็บตัวอยางเรือนพื้นถิ่นที่ถือไดวาเปน เอกลักษณและเปนสวนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งสะทอนถึงพัฒนาการในการ อยูอาศัยในพื้นที่ลุมนํ้าเลย ซึ่งถือไดวาเปนพื้นที่ที่ยังคงเหลือรูปแบบเรือนอันเปน เอกลักษณสาํ คัญแหงหนึง่ ในภาคอีสาน การสํารวจภาคสนามเลือกสํารวจเรือนทัง้ หมด จํานวน 15 หลัง กระจายตัวอยูตลอดแนวที่ราบลุมนํ้าในพื้นที่ 4 อําเภอ ไดแก อ.ภูหลวง อ.วังสะพุง อ.เมืองเลย และ อ.เชียงคาน ผลผลิตที่ไดจากงานวิจัย เปนไปตามวัตถุประสงคหลักของโครงการที่เนน การนําเสนอผลการศึกษาในลักษณะที่เปนขอมูลสารสนเทศและสื่อในรูปแบบตางๆ โดยที่มีการนําเสนอขอมูลจากสัมภาษณเจาของเรือนและคนในพื้นที่และขอมูลเรือน ตัวอยางจากการสํารวจทั้งในลักษณะที่เปนแบบทางสถาปตยกรรมแบบสองมิติและ สามมิติ รวมทั้งการนําเสนอในรูปแบบภาพจําลองแบบเคลื่อนไหวในลักษณะสามมิติ มีการบันทึกวิถีชีวิตและการใชพื้นที่ภายในเรือน นําเสนอประกอบรายละเอียดทาง สถาปตยกรรมผานสื่อสิ่งพิมพแบบโปสเตอร เว็บไซต หนังสืออิเล็กทรอนิกส รวมทั้ง สื่อวีดิทัศน เพื่อใหสามารถที่จะนําไปใชในการเผยแพรไดหลายรูปแบบและสอดคลอง กับความสนใจของผูชมที่หลากหลาย ผลการศึกษาพบวา การตั้งถิ่นฐานของชุมชนบริเวณลุมนํ้าเลยยังคงมีที่อยู อาศัยที่มีเอกลักษณที่สะทอนถึงภูมิปญญาทองถิ่นที่สามารถพบรูปแบบที่อยูอาศัย ที่สะทอนถึงการดําเนินชีวิตของผูคนที่สัมพันธกับสภาพแวดลอมกายภาพและดาน สังคม-วัฒนธรรม พื้นที่ดังกลาวยังเปนที่รวมของกลุมชาติพันธุที่หลากหลาย ไดแก ไทเลย ไทดําและไทพวน ซึ่งมีพัฒนาการอยางตอเนื่อง จากการศึกษาพบวา มีทั้ง เรือนพื้นถิ่นที่มีรูปแบบตามแบบประเพณีตามแบบแผนของภาคอีสาน เชน เรือนเซีย หรือเรือนเกย และเรือนรูปแบบที่มีการปรับตัวผสมผสานกับวัฒนธรรมในชุมชนเมือง ทีม่ รี ปู แบบเปนเรือนมุขหลังคาปน หยาและเรือนใตถนุ ตํา่ เปนตน ขณะทีว่ ธิ กี ารกอสราง และที่มาของวัสดุสะทอนใหเห็นถึงความสัมพันธในการจัดสรรและใชทรัพยากรที่อยู ในทองถิ่นที่เปนการประสานความสัมพันธประเด็นทางสังคม และการกอรูปของ กายภาพที่อยูอาศัยผานภูมิปญญาชางในทองถิ่นไดอยางพอดีและมีความยั่งยืน

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 52

9/6/2558 1:14:57


คําสําคัญ (keyword) ของงานวิจัย

- สถาปตยกรรมพื้นถิ่น (Vernacular House) - ภูมิปญญาทองถิ่น (Local wisdom) - ลุมนํ้าเลย (Loei Watershed) - ภาคอีสานของประเทศไทย (Northeastern region of Thailand)

ความสําคัญและที่มาของการวิจัย

เรือนพืน้ ถิน่ เปนสถาปตยกรรมเพือ่ การอยูอ าศัยทีม่ คี วามสอดคลองสัมพันธ กับสภาพแวดลอมในแตละภูมิภาค การศึกษาที่อยูอาศัยเพื่อทําความเขาใจกับสภาพ แวดลอมของชุมชน และธรรมชาติของที่ตั้ง ตั้งแตระดับชุมชน จนถึงหนวยยอยใน ระดับของบานพักอาศัย เพื่อใหทราบถึงความสัมพันธและความสอดคลองกันของ ที่อยูอาศัยกับเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ สังคม-วัฒนธรรม ทําใหเขาใจตอการปรับตัวที่ ผูอยูอาศัยไดกระทําผานการกอสรางบานเรือนเพื่อตอบสนองความตองการตามยุค สมัยที่เปลี่ยนไป จนกอใหเกิดสถาปตยกรรมที่สะทอนถึงอัตลักษณของแตละพื้นที่อัน เกิดจากปจจัยแวดลอมดังกลาว พัฒนาการของรูปแบบทีอ่ ยูอ าศัย และวัสดุทใี่ ชกอ สรางเรือนมีความแตกตาง กันไปตามยุคสมัย ตามสภาพเศรษฐกิจ และปจจัยที่หลากหลายที่สงผลตอรูปแบบ ของที่อยูอาศัย เชน สภาพภูมิศาสตร วัฒนธรรม ภูมิอากาศ ภูมิทัศนวัฒนธรรม วัสดุ กอสรางในทองถิ่น คติความเชื่อ ประเพณี รวมถึงแนวคิดในการดําเนินวิถีชีวิตตาม วิถีทางสังคม-วัฒนธรรม ปจจุบันความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี สภาพเศรษฐกิจ และสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป การกอสรางที่อยูอาศัยมีการพัฒนาและใชวัสดุกอสราง ในระบบอุตสาหกรรมเพื่อทดแทนวัสดุทองถิ่น จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบที่อยู อาศัยและเทคนิคในการกอสรางอยางรวดเร็ว ทําใหเอกลักษณของทีอ่ ยูอ าศัยในปจจุบนั เปลี่ยนแปลงไปดวย และไดสงผลกระทบตอองคความรูเกี่ยวกับภูมิปญญาในการ กอสรางบานเรือนซึ่งนับวันก็จะสูญหายไป ดังนั้น ดวยการเล็งเห็นความสําคัญของ ปญหาดังกลาว และเนื่องจากเปนหนึ่งในพันธกิจสําคัญของการเคหะแหงชาติ ที่ตอง มีการถายทอดองคความรูเกี่ยวกับการอยูอาศัยของคนในสังคมไทย เพื่อใหประชาชน ไดมีความตระหนักรูถึงคุณคาของภูมิปญญาทองถิ่นที่บรรพบุรุษใชในการสรางที่อยู อาศัย ตลอดจนการดํารงวิถีชีวิตใหมีความสอดคลองกับสภาพแวดลอมทองถิ่น และ

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 53

52 53

9/6/2558 1:14:57


หากไมมีการจัดการองคความรูเหลานี้ อาจทําใหภูมิปญญาทองถิ่นขาดการสืบสานและปรับใช ใหเหมาะสมกับสภาพบริบทที่เปลี่ยนแปลงไปในปจจุบัน ภาคอีสานเปนหนึ่งในภูมิภาคที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ มีประวัติศาสตรการ ตั้งถิ่นฐานมายาวนาน ประชากรในภาคอีสานมีการอพยพมาตั้งถิ่นฐานจากประเทศเพื่อนบาน เชน ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม และจาก ภาคกลางของประเทศไทย ทําใหเกิดการปรับตัวทางวัฒนธรรมหลายครั้ง รูปแบบที่อยูอาศัย นอกจากแบบแผนเดิมที่กลุมชาติพันธุตางๆไดปลูกสรางขึ้นตามลักษณะทางสังคม-วัฒนธรรม ของตนแลว ยังไดรับอิทธิพลจากภายนอกดวย การปรับตัวรับเงื่อนไขการเปลี่ยนแปลงจากปจจัย ตางๆ จึงจําเปนตองมีการศึกษาเพือ่ ทําความเขาใจ และนําความรูเ หลานีเ้ ปนบทเรียนในการพัฒนา เกี่ยวกับที่อยูอาศัย และถายทอดใหคนในทองถิ่นไดตระหนักถึงความสําคัญของเอกลักษณของ ที่อยูอาศัยในทองถิ่น โครงการศึกษาวิจยั เพือ่ จัดการความรูเ รือ่ งภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ ดานทีอ่ ยูอ าศัย และวิถชี วี ติ ในภาคอีสาน จึงมีความสําคัญและจําเปนตองมีการดําเนินการ เพื่อรวบรวมองคความรูดาน รูปแบบทีอ่ ยูอ าศัยและวิถกี ารอยูอ าศัยของคนอีสาน เพือ่ การจัดการความรูใ นรูปแบบสือ่ ลักษณะ ตางๆ มีความพรอมในการนําไปใชสําหรับเผยแพรตอสารธารณะ อันจะเปนประโยชนในการ พัฒนาตอยอดเพื่อสืบสานภูมิปญญาทองถิ่นเกี่ยวกับที่อยูอาศัยในภาคอีสานทั้งในทางกวาง และทางลึกตอไป วัตถุประสงคของการศึกษา

1. เพื่อสํารวจและเก็บขอมูลที่อยูอาศัยและวิถีชีวิตการอยูอาศัยในภาคอีสาน 2. เพื่อจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีชีวิตในภาคอีสานในฐานะที่เปนมรดกและ ภูมิปญญาทองถิ่นที่ถายทอดผานงานสถาปตยกรรมและสภาพแวดลอมการอยูอาศัยดวยสื่อ รูปแบบตางๆ 3. เพื่อจัดทําขอมูลแผนที่ภูมิสารสนเทศของครัวเรือนหรือที่อยูอาศัย เพื่อที่การเคหะ แหงชาติจะสามารถนํามาจัดการเผยแพรในระบบสารสนเทศ

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 54

9/6/2558 1:14:57


ขอบเขตการศึกษา

1. ขอบเขตดานพื้นที่ จากขอมูลประวัติศาสตรการโยกยายถิ่นฐานของชุมชนสวนใหญในภาค อีสานที่มีการตั้งถิ่นฐานแบบดั้งเดิมนั้น ปรากฏหลักฐานวามีพื้นที่หลักสองแหงไดแก พื้นที่แองโคราชและแองสกลนคร ซึ่งจากการสํารวจภาคสนามของพื้นที่ทั้งสองแหง ในปจจุบนั พบวา ชุมชนบริเวณดังกลาวมีการเปลีย่ นแปลงสภาพแวดลอมและภูมทิ ศั น วัฒนธรรมเปนอันมาก ทั้งนี้เนื่องจาก การตั้งถิ่นฐานบริเวณที่ราบที่เหมาะแกการปลูก ขาวและทําการเกษตรนัน้ สามารถเขาถึงพืน้ ทีไ่ ดโดยสะดวกทําใหมกี ารพัฒนาโครงสราง พื้นฐานเชน ถนนและสิ่งอํานวยความสะดวกเขาถึงเกือบทุกพื้นที่ การเปลี่ยนแปลง ดังกลาวทําใหชุมชนโดยรอบไดรับผลกระทบจากการพัฒนาสูความเปนเมืองอยาง รวดเร็ว และที่อยูอาศัยก็เปนหนึ่งในการเปลี่ยนแปลงเหลานั้นดวย ดังนั้น เพื่อใหบรรลุ ตามวัตถุประสงคในการศึกษาภูมิปญญาและพัฒนาการของที่อยูอาศัยและการปรับ ตัวของผูคนในพื้นที่ การเลือกพื้นที่ศึกษาจําเปนตองเลือกพื้นที่ที่ยังคงมีเอกลักษณที่ สะทอนถึงภูมิปญญาทองถิ่นที่ยังคงพบเห็นและสะทอนในการดําเนินชีวิตของชุมชน การศึกษาภาพรวมทั้งดานสภาพแวดลอมกายภาพ และดานสังคม-วัฒนธรรม จึงเลือก ศึกษาชุมชนที่ตั้งถิ่นฐานบริเวณลุมนํ้าเลย ซึ่งเปนการตั้งถิ่นฐานทางตอนเหนือของ พื้นที่แองสกลนคร โดยแมนํ้าเลยมีตนกําเนิดจากภูหลวงแลวไหลขึ้นไปทางทิศเหนือ ลงสูแมนํ้าโขงบริเวณอําเภอเชียงคาน จากขอมูลเบื้องตนพบวา ชุมชนในลุมนํ้าเลย สวนใหญตงั้ ถิน่ ฐานอยูบ ริเวณทีร่ าบระหวางหุบเนินเขา เปนทีอ่ ยูอ าศัยของกลุม ชาติพนั ธุ ทีห่ ลากหลายซึง่ อพยพมาจากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ไดแก ชาติพนั ธุ ไทเลย ชุมชนบานนาออ อ.เมืองฯ, ไทดํา ชุมชนบานนาปาหนาด อ.เชียงคาน และ ไทพวน ชุมชนบานกลาง อ.เชียงคาน จังหวัดเลย เปนตน ชุมชนบริเวณนี้มีพัฒนาการ ตอเนื่อง มีทั้งเรือนพื้นถิ่นที่มีรูปแบบตามแบบประเพณีและที่มีการปรับตัวผสมผสาน กับวัฒนธรรมภายนอก อยางกรณีของชางญวนที่อพยพขามแมนํ้าโขงมาจากประเทศ เวียดนาม หรือการผสมผสานกับไทใตซงึ่ เปนไทลาวในภาคอีสานซึง่ อพยพไปตัง้ ถิน่ ฐาน ในแถบจังหวัดเลยในระยะหลัง จึงเกิดการผสมผสาน และมีความหลากหลายทาง วัฒนธรรม ดังนั้น ความสมบูรณของรูปแบบที่พักอาศัยบริเวณลุมนํ้าเลย จึงยังคง สามารถพบเห็นอยูในปจจุบัน ทําใหพื้นที่นี้เปนเพียงชุมชนในภาคอีสานไมกี่แหงที่ยัง คงพบรูปแบบที่อยูอาศัยดั้งเดิมที่เปนภูมิปญญาพื้นถิ่นภาคอีสาน มีเอกลักษณทั้งใน

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 55

54 55

9/6/2558 1:14:57


ดานกายภาพ สภาพแวดลอม วิถีชีวิต และวัฒนธรรม ที่ควรคาแกการบันทึก และ เผยแพรเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคดานการนําไปใหสาธารณชนไดเรียนรูและนําไปใช ประโยชน ดานภูมิปญญาดานที่อยูอาศัยในภาคอีสาน ซึ่งบางชุมชนไดรับการยกยอง ใหเปนชุมชนอนุรักษวัฒนธรรมทองถิ่นโดยหนวยงานในพื้นที่อีกดวย การสํารวจภาคสนามในพื้นที่ลุมนํ้าเลยจึงดําเนินการในพื้นที่ 4 อําเภอซึ่ง กระจายตัวอยูตลอดแนวที่ราบลุมนํ้าในพื้นที่ 4 อําเภอ ไดแก อ.ภูหลวง อ.วังสะพุง อ.เมืองเลย และ อ.เชียงคาน

ภาพที่ 1: ขอบเขตพื้นที่ศึกษาในลุมนํ้าเลย โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 56

9/6/2558 1:14:57


2. ขอบเขตดานเนื้อหา 1. ดานสถาปตยกรรม ศึกษา สํารวจ เก็บขอมูล รูปแบบที่อยูอาศัยแบบ ประเพณี และวิถีการอยูอาศัย วิเคราะหและประมวลขอมูลเปนชุดองคความรูเรื่อง รูปแบบทีอ่ ยูอ าศัยและวิถกี ารอยูอ าศัยซึง่ สะทอนคุณคาทางศิลปวัฒนธรรม เอกลักษณ และภูมิปญญาทองถิ่น 2. สํารวจและเก็บขอมูล บานตัวอยาง ทําการบันทึกขอมูลเกี่ยวกับรูปแบบ และวิถีชีวิตที่สัมพันธกับการใชพื้นที่ในแตละหลัง 3. ดานสื่อสารสนเทศ เปนการสังเคราะหองคความรูที่ไดจากภาคสนาม เกี่ยวกับรูปแบบที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัย พัฒนาเปนสื่อรูปแบบตางๆเพื่อใชใน การเผยแพรและสืบคนที่หลากหลาย เชน โปสเตอร เว็บไซต และวีดิทัศน 4. ดานขอมูลสารสนเทศ ศึกษา สํารวจและจัดเก็บขอมูลที่อยูอาศัย และ ขอมูลภูมิศาสตร สารสนเทศของครัวเรือนหรือที่อยูอาศัยตําแหนงตางๆ ในทางแผนที่ สงเปนชั้นขอมูลภูมิสารสนเทศของครัวเรือนหรือที่อยูอาศัย ขั้นตอนการดําเนินงาน

โครงการศึกษาวิจยั เพือ่ การจัดการความรูเ รือ่ งทีอ่ ยูอ าศัยและวิถกี ารอยูอ าศัย ผานภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ พืน้ ทีภ่ าคตะวันออกเฉียงเหนือ กรณีศกึ ษาในลุม นํา้ เลย มีขนั้ ตอน การศึกษา ดังนี้ 1. ศึกษา รวบรวม ขอมูลทุติยภูมิจากแหลงขอมูลจากเอกสารทางวิชาการ และสิ่งพิมพของหนวยงานตางๆ เชน ผลการศึกษาวิจัยหรือรายงานผลการสํารวจ ระดับพื้นที่ 2. ศึกษาสํารวจเบือ้ งตนพืน้ ทีศ่ กึ ษาดานสภาพกายภาพของทีอ่ ยูอ าศัย สภาพ ทางสังคม วัฒนธรรม 3. สํารวจและคัดเลือกตัวอยางเรือนกรณีศกึ ษา รวมกับตัวแทนจากการเคหะ แหงชาติ 4. สํารวจภาคสนาม สัมภาษณ เก็บรวบรวมขอมูลทีอ่ ยูอ าศัยทีเ่ ปนเรือนพืน้ ถิน่ ที่มีอยูในปจจุบัน จําแนกรูปแบบสถาปตยกรรม รวมถึงปจจัยอื่นที่มีผลตอวิถีชีวิตของ ผูอยูอาศัย

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 57

56 57

9/6/2558 1:14:58


5. รวบรวมองคความรู และภูมิปญญาทองถิ่นเกี่ยวกับการปลูกสราง ปรับเปลี่ยน ที่อยูอาศัยเพื่อใหสอดคลองกับวิถีชีวิตในทองถิ่น 6. พัฒนารางสื่อแบบออนไลนและแบบทางสถาปตยกรรมทั้งสองมิติ และสามมิติ เพื่อ รับฟงความคิดเห็นจากทองถิ่น และผูที่มีสวนเกี่ยวของกับการจะใชประโยชนจากผลการศึกษา 7. จัดประชุมรับฟงและระดมความคิดเห็นกับทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ เชน ประชาชน องคกรทองถิ่น 8. พัฒนาสื่อสารสนเทศสําหรับการเรียนรูจากผลการศึกษา จัดทําเปนสื่อเพื่อจัดแสดง ในรูปแบบนิทรรศการทั้งสื่อสิ่งพิมพ (โปสเตอร) สื่อวีดิทัศน และสื่อแบบออนไลน (Website) ที่พรอมในการนําไปเผยแพรและสืบคน 9. นําเสนอผลการศึกษาในที่ประชุมจังหวัดเลย เพื่อสรางเครือขายความรวมมือในการ ใชประโยชนขอมูลจากการศึกษากับหนวยงานทองถิ่นที่เกี่ยวของทุกภาคสวน การสํ า รวจเบื้ อ งต น และการคั ด เลื อ กตั ว อย า งเรื อ นเพื่ อ จั ด ทํ า แบบทาง สถาปตยกรรม

การสํารวจภาคสนามเพื่อรวบรวมขอมูลรูปแบบและวิถีการอยูอาศัยแบบประเพณีใน พื้นที่อีสานบริเวณลุมแมนํ้าเลย ใน 4 อําเภอ ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ อ.ภูหลวง อ.วังสะพุง อ.เมืองเลย และอ.เชียงคาน คณะวิจัยเลือกชุมชนกรณีศึกษาเพื่อสํารวจภาคสนามจากการทบทวนเอกสารที่ เกี่ยวของกับพัฒนาการดานประวัติศาสตรการตั้งถิ่นฐานอันเนื่องมาจากลักษณะภูมิประเทศ โดยเฉพาะการพักอาศัยแถบทีร่ าบลุม นํา้ เลย ประกอบกับการพิจารณาขอมูลจากเอกสารทุตยิ ภูมิ เกีย่ วกับทีอ่ ยูอ าศัยโดยเฉพาะรูปแบบทีเ่ ปนแบบประเพณี อันจะเปนหลักฐานสําคัญในการบันทึก องคความรูดานภูมิปญญาทองถิ่น การสํารวจภาคสนามเบื้องตนในพื้นที่ศึกษา พบวา มีเรือน พื้นถิ่นที่มีรูปแบบที่สะทอนถึงความสัมพันธกับวิถีวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่นในการใชวัสดุ และการกอสราง จํานวน 69 หลัง โดยกระจายตัวในพื้นที่ลุมนํ้าเลยบริเวณ อ.ภูหลวง จํานวน 4 หลัง อ.วังสะพุง จํานวน 9 หลัง อ.เมืองเลย จํานวน 25 หลัง และ อ.เชียงคาน จํานวน 31 หลัง จึงไดทําการคัดเลือกเรือนตัวอยางกรณีศึกษาโดยกําหนดเกณฑในการพิจารณาเรือนพื้นถิ่น ที่เปนลักษณะเฉพาะอันเปนเอกลักษณของพื้นที่ โดยที่เกณฑที่ทําการคัดเลือกมีดังตอไปนี้ 1. รูปแบบเรือนมีเอกลักษณตามแบบประเพณีและเปนพัฒนาการสําคัญในพื้นที่ 2.รูปแบบการใชที่วางภายในเรือนที่เปนตัวแทนแบบแผนของเรือนแบบประเพณีที่ยัง คงเหลือหลักฐานในการศึกษาภูมิปญญาทองถิ่น

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 58

9/6/2558 1:14:58


3. เปนตัวแทนกลุมชาติพันธุที่สําคัญในลุมนํ้าเลย 4. มีความเสี่ยงในการที่จะไมสามารถรักษาหรืออนุรักษไวได เชน มีโอกาส ที่จะถูกรื้อถอนสูง 5. การกระจายตัวของเรือนตัวอยางมีความครอบคลุมอําเภอสําคัญที่เปน ตัวแทนพื้นที่ศึกษา ลุมนํ้าเลย 6. รูปแบบเรือนยังคงสภาพเรือนแบบประเพณีที่เปนเอกลักษณของพื้นที่ ศึกษา 7. สภาพของเรือนยังมีความสมบูรณ มีสิ่งแวดลอมการอยูอาศัยที่เชื่อมโยง กับแบบแผนการใชชีวิตที่สะทอนถึงภูมิปญญาทองถิ่น จากเกณฑทั้ง 7 ขอขางตน คณะวิจัยไดประชุมและสํารวจภาคสนามรวมกับ คณะกรรมการจากการเคหะแหงชาติเพื่อทําการคัดเลือกเรือนตัวอยางในการศึกษา เชิงลึก และทําการสํารวจเรือนตัวอยางจํานวน 15 หลัง กระจายอยูในพื้นที่ 4 อําเภอ ตลอดแนวลุมแมนํ้าเลย โดยแบงเปนอําเภอภูหลวง จํานวน 1 หลัง อ.วังสะพุง จํานวน 1 หลัง อ.เมืองเลย จํานวน 5 หลัง (ทําแบบสามมิติ 2 หลัง) และ อ.เชียงคาน จํานวน 8 หลัง (ทําแบบสามมิติ 3 หลัง) การสํารวจภาคสนามดําเนินการ 2 ลักษณะ ไดแก 1. การสังเกตและบันทึกกายภาพและสภาพแวดลอมของชุมชนและเรือน ทําการรังวัดและบันทึกพฤติกรรมการใชพื้นที่ระดับครัวเรือนเชิงลึก โดยพิจารณาจาก รูปแบบบาน การใชพื้นที่ภายในและภายนอกอาคาร รวมถึงการใชวสั ดุที่มีในทองถิ่น ทั้งนี้เพื่อทราบถึงวิถีชีวิตในการใชพื้นที่ทั้งในระดับเรือน บริเวณโดยรอบเรือนและ การใชพื้นที่ในระดับชุมชน เพื่อทําความเขาใจถึงความสัมพันธของผูคนในพื้นที่กับ สถาปตยกรรมพื้นถิ่นในการปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมโดยรอบที่มีผลตอการ สรางสรรครูปแบบที่เปนเอกลักษณของทองถิ่นที่มีความสัมพันธอยางแนบแนนกับ บริบทของพื้นที่ ทั้งดานกายภาพ เศรษฐกิจและสังคม-วัฒนธรรม 2. การสัมภาษณแบบมีโครงสรางโดยใชแบบสํารวจทําการสัมภาษณผเู ปน เจาของอาคารและประชาชนในพื้นที่ โดยที่เจาของเรือนจะเปนผูใหขอมูลเกี่ยวกับ ประวัติและอธิบายถึงการใชพื้นที่สวนตางๆภายในตัวเรือนและบริเวณโดยรอบ เพื่อ ใหทราบถึงขอมูลที่เกี่ยวของกับวัฒนธรรมการอยูอาศัย โดยมีแบบสํารวจที่ทําการ ออกแบบตามโครงสรางฐานขอมูลดานที่อยูอาศัยของการเคหะแหงชาติที่มีการ ดําเนินการโครงการเดียวกันนี้ในพื้นที่ 4 ภาคทั่วประเทศไทย และไดทําการสัมภาษณ

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 59

58 59

9/6/2558 1:14:58


เชิงลึกดานภูมิปญญาทองถิ่นเกี่ยวกับตัวเรือน และสภาพแวดลอมในการอยูอาศัยใน ระดับชุมชน รวมถึงวิถีชีวิตและประเพณีที่เกี่ยวของกับที่อยูอาศัยในลุมนํ้าเลย โดยทํา การสัมภาษณกลุม ประชากรทีม่ อี งคความรูแ ละเปนผูท มี่ สี ว นเกีย่ วของกับกระบวนการ ปลูกสรางทีอ่ ยูอ าศัยแบบประเพณี เชน ชางปลูกสรางเรือนโบราณ พราหมณผปู ระกอบ พิธี ผูสูงอายุ พระภิกษุ รวมถึง ผูนําของชุมชน

ภาพที่ 2: เรือนตัวอยางที่ศึกษา จํานวน 15 หลัง ผลจากการดําเนินโครงการ

โครงการศึกษาวิจยั เพือ่ การจัดการความรูเ รือ่ งทีอ่ ยูอ าศัย และวิถกี ารอยูอ าศัย ผานภูมิปญญาทองถิ่น (พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) กรณีศึกษาพื้นที่ลุมนํ้าเลย ได ดําเนินการผลิตฐานขอมูลและสื่อรูปแบบตางๆเพื่อใหสอดคลองกับวัตถุประสงคใน การศึกษา ดังนี้ 1. สื่อสิ่งพิมพ ประเภทโปสเตอร เปนการสรุปผลจากการศึกษาทั้งในสวนที่ ทบทวนวรรณกรรมทีเ่ กีย่ วของกับเรือนพืน้ ถิน่ ในภาคอีสานในภาพกวาง และสวนทีเ่ ปน ขอมูลภาคสนามจากการสํารวจในพืน้ ทีล่ มุ นํา้ เลย โปสเตอรเปนสือ่ ทีจ่ ะใชประชาสัมพันธ และจัดแสดงนิทรรศการ เพื่อเผยแพรองคความรูที่ไดจากการศึกษาใหบุคคลสนใจ ทั่วไปเขาใจงายขึ้น โปสเตอรจํานวน 18 แผน เนื้อหาประกอบดวย ขอมูลพื้นฐานเกี่ยว กับการตั้งถิ่นฐานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รูปแบบเรือนอีสานและพัฒนาการที่อยู อาศัยในลุมนํ้าเลย จํานวน 3 แผน ซึ่งนําเสนอขอมูลในภาพกวางตั้งแตระดับมหภาค

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 60

9/6/2558 1:14:58


สูร ะดับพืน้ ทีศ่ กึ ษาในลุม นํา้ เลยและระดับชุมชน ซึง่ เนือ้ หาจะแสดงความเชือ่ มโยงและ สัมพันธกันของสภาพแวดลอมการตั้งถิ่นฐานที่มีผลตอวัฒนธรรมการอยูอาศัยของ ชาวอีสานอันเกิดจากภาพกวาง และโปสเตอรอีก 15 แผน เปนการนําเสนอขอมูล เรือนแตละหลัง ทั้งขอมูลเรือนและขอมูลสมาชิกในครัวเรือน รวมทั้งรายละเอียดทาง สถาปตยกรรมดานการใชวัสดุ โครงสรางและองคประกอบของเรือนในผังบริเวณโดย จะเนนเนื้อหาสวนที่เปนแบบรังวัดทางสถาปตยกรรมเพื่อใหเกิดความเขาใจเกี่ยวกับ รูปแบบเรือนทั้งในดานของสัดสวนทางสถาปตยกรรมที่เปนผลจากปจจัยแวดลอม ในพื้นที่ โดยเฉพาะการเลือกใชวัสดุและวิธีการกอสรางเรือนที่เปนทั้งศักยภาพ และ ขอจํากัดในการสรางสรรครูปแบบเรือนลักษณะตางๆ 2. สื่อวีดีทัศน จํานวน 4 เรื่อง นําเสนอเปนภาพเคลื่อนไหว เนนขอคนพบ ที่เปนผลจากการวิจัยภาคสนาม โดยเฉพาะวิถีชีวิตและการใชพื้นที่ในเรือน ประกอบ กับการสัมภาษณปราชญทองถิ่นที่เปนชางปลูกเรือนแบบโบราณ รวมทั้งนําเสนอภาพ เรือนในลักษณะสามมิติประกอบคําบรรยายเนื้อหาพื้นที่และองคประกอบสวนตางๆ ของเรือนพื้นถิ่นในลุมนํ้าเลย รวมถึงขั้นตอนในการกอสรางเรือน เนื้อหาวีดิทัศนทั้ง 4 เรื่อง ประกอบดวย 1. การตั้งถิ่นฐานและสภาพแวดลอมที่อยูอาศัยในลุมนํ้าเลย 2.รูปแบบและพัฒนาการที่อยูอาศัยในลุมนํ้าเลย 3. ภูมิปญญาในการปลูกสรางเรือน พืน้ ถิน่ ไทเลย 4. ภูมิปญญาและวิถีชีวิตไทเลย 3. สื่อเว็บไซต จํานวน 1 เว็บไซต เปนการสรุปขอมูลจากการศึกษาวิจัยเพื่อ นํามาเผยแพร ประกอบดวย 1. ความเปนมาและวัตถุประสงคของโครงการ 2. สภาพ แวดลอมการตั้งถิ่นฐาน 3. ขอมูลเรือนทั้ง 15 หลัง 4. สื่อวีดิทัศน จํานวน 4 เรื่อง 5. การเชื่อมโยงขอมูลสวนตางๆที่เกี่ยวของ เชน งานวิจัยเกี่ยวกับที่อยูอาศัยในภาค อีสาน ประเพณีและวิถีชีวิตชาวอีสาน เปนตน โดยที่สวนขอมูลเรือนประกอบไปดวย ขอมูลพื้นฐานของครัวเรือน และรายละเอียดทางสถาปตยกรรมดานการใชวัสดุ โครงสรางและองคประกอบของเรือนในผังบริเวณ ภาพถายสภาพแวดลอมบริเวณโดย รอบเรือน และองคประกอบเรือนทั้งภายใน และภายนอก รวมถึงแบบรังวัดทาง สถาปตยกรรมจากการสํารวจภาคสนาม

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 61

60 61

9/6/2558 1:14:58


ภาพที่ 3: แบบสํารวจภาคสนามเรือนตัวอยาง โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 62

9/6/2558 1:14:58


ภาพที่ 4: ภาพสามมิติ เรือนตัวอยาง

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 63

62 63

9/6/2558 1:14:58


ภาพที่ 5: ภาพสามมิติแสดงเรือนตัวอยาง

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 64

9/6/2558 1:14:59


องคความรูเรือนพื้นถิ่นในลุมนํ้าเลยจากการสํารวจภาคสนาม

จากขอมูลประวัติศาสตรการโยกยายถิ่นฐานของชุมชนสวนใหญในภาค อีสานที่มีการตั้งถิ่นฐานแบบดั้งเดิมนั้น ปรากฏหลักฐานวามีพื้นที่หลักสองแหงไดแก พื้นที่แองโคราชและแองสกลนคร ซึ่งจากการสํารวจภาคสนามของพื้นที่ทั้งสองแหง ในปจจุบนั พบวา ชุมชนบริเวณดังกลาวมีการเปลีย่ นแปลงสภาพแวดลอมและภูมทิ ศั น วัฒนธรรมเปนอันมาก ทั้งนี้เนื่องจากการตั้งถิ่นฐานบริเวณที่ราบที่เหมาะแกการ ปลูกขาวและทําการเกษตรนั้น สามารถเขาถึงพื้นที่ไดโดยสะดวก ทําใหมีการพัฒนา โครงสรางพื้นฐาน เชน ถนนและสิ่งอํานวยความสะดวกเขาถึงเกือบทุกพื้นที่ การ เปลี่ยนแปลงดังกลาวทําใหชุมชนไดรับผลกระทบจากการพัฒนาสูความเปนเมือง อยางรวดเร็ว และที่อยูอาศัยก็เปนหนึ่งในการเปลี่ยนแปลงเหลานั้นดวย อยางไรก็ตาม พื้นที่ชุมชนที่ตั้งถิ่นฐานบริเวณแถบลุมนํ้าเลย ถือไดวายังคงมี เอกลักษณที่สะทอนถึงภูมิปญญาทองถิ่น ยังสามารถพบรูปแบบที่อยูอาศัยที่สะทอน ถึงการดําเนินชีวิตของผูคนที่สัมพันธกับสภาพแวดลอมทางกายภาพ และทางสังคม วัฒนธรรม นอกจากนั้นยังเปนที่รวมของกลุมชาติพันธุที่หลากหลาย ซึ่งสวนใหญมี การอพยพมาจากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ไดแก กลุมชาติพันธุไทเลย ชุมชนบานนาออ อ.เมืองเลย, ไทดํา ชุมชนบานนาปาหนาด อ.เชียงคานและไทพวน ชุมชนบานกลาง อ.เชียงคาน จังหวัดเลย เปนตน ชุมชนบริเวณนี้มีพัฒนาการตอเนื่อง มี ทั้ ง เรื อ นพื้ น ถิ่ น ที่ มี รู ป แบบตามแบบประเพณี แ ละที่ มี ก ารปรั บ ตั ว ผสมผสานกั บ วัฒนธรรมภายนอก ดวยความหลากหลายและความสมบูรณของรูปแบบที่พักอาศัย บริเวณลุมนํ้าเลยจึงเปนพื้นที่ที่ยังคงพบรูปแบบที่อยูอาศัยดั้งเดิมที่เปนภูมิปญญา พื้นถิ่นภาคอีสานหลงเหลืออยู มีเอกลักษณทั้งในดานกายภาพ สภาพแวดลอม วิถีชีวิต และวัฒนธรรม จากการสํารวจภาคสนามในพื้นที่ศึกษาประกอบดวย ลักษณะทางกายภาพ ของที่พักอาศัย เชน รูปแบบ วัสดุและวิธีการกอสราง การตอเติม ซอมแซม และ ปรับปรุงอาคาร องคประกอบพืน้ ทีส่ ว นตางๆ รวมถึงขอมูลพืน้ ฐานดานสังคม-วัฒนธรรม ของครอบครัวที่เปนเจาของเรือนตัวอยาง เรือนที่ทําการสํารวจทั้งหมด มีจํานวน 15 หลัง มีรายละเอียดสําคัญที่พบจากการสํารวจดังนี้

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 65

64 65

9/6/2558 1:14:59


1. รูปแบบเรือน รูปแบบบานที่ทําการสํารวจ พบวา สวนใหญมีลักษณะเปน “เรือนจั่วเดียว” มากที่สุด จํานวน 4 หลัง คิดเปนรอยละ 27 ซึ่งพบวา มีการกระจายตัวอยูทางตอนใต ของพื้นที่ศึกษา โดยเฉพาะ อ.ภูหลวง และ อ.วังสะพุง เนื่องจากรูปแบบเรือนจั่วเดียว มีหลังคาคลุมชาน เปนรูปแบบที่ไดรับอิทธิพลจากกลุมไทลาวซึ่งเปนกลุมหลักในพื้นที่ ภาคอีสาน มีความเปนไปไดที่เปนรูปแบบของที่พักอาศัยของกลุมชาติพันธุชาวไทใต ซึ่งอพยพมาตั้งถิ่นฐานในจ.เลย และจาก จ.อุบลราชธานี จ.กาฬสินธุ จ.ยโสธร รูปแบบรองลงมาที่พบจะเปนแบบ “เรือนปนหยาและแบบเรือนมุข” ที่ผังพื้นเปน รูปตัวแอล (L) จํานวนรูปแบบละ 3 หลัง คิดเปนรอยละ 20 ทั้งสองรูปแบบ รูปแบบ ที่เปนเรือน “ปนหยาแบบเรือนสองมุข” ที่ผังพื้นเปนรูปตัวยู (U) จํานวน 2 หลัง คิดเปนรอยละ 13 “รูปแบบเรือนแถว” แบบมีระเบียงดานหนา จํานวน 2 หลัง คิดเปนรอยละ 13 ใชงานสําหรับการพักอาศัยเปนหลัก จากการสํารวจภาคสนาม พบวา รูปแบบเรือนแถวเปนรูปแบบที่ไดรับอิทธิพลจากการที่ชางผูกอสรางไปทํางาน กอสรางในพื้นที่เมือง โดยเฉพาะเมืองคาขายหลักอยาง เชียงคาน แลวจดจํารูปแบบ นําไปใชในการกอสรางในชุมชนและหมูบานที่อยูในชนบท โดยที่ไมไดมีกิจกรรม การคาขายอยางเชนในเมือง นอกจากนี้ ยังพบรูปแบบ “เรือนเหยา” ซึ่งเปนเรือน ชั่วคราวสําหรับครอบครัวใหมที่แยกออกมาจากครอบครัวพอแม จํานวน 1 หลัง คิดเปนรอยละ 7 ซึ่งรูปแบบที่พักอาศัยชั่วคราว ถือไดวาเปนแบบแผนการอยูอาศัย ที่สําคัญของครอบครัวชุมชนในภาคอีสาน และเปนรูปแบบเรือนที่หาไดยากแลวใน ปจจุบัน จึงไดทําการคัดเลือกเปนตัวอยางเพื่อจะไดสะทอนถึงภูมิปญญาและวิถีชีวิต ในการอยูอาศัยของคนอีสาน

ภาพที่ 6: เรือนจั่วเดียว (เรือนเซียหรือเรือนเกย)

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 66

9/6/2558 1:14:59


ภาพที่ 7: เรือนมุขหลังคาปนหยา ผังพื้นรูปตัวแอล

ภาพที่ 8: เรือนแถว (เรือนใตถุนตํ่า)

2. อายุเรือน เรือนตัวอยางเปนเปนสองกลุมใหญๆ หากจะจําแนกตามชวงอายุ เรือน รุนเกา อายุ 60 ป ขึ้นไป และเรือนรุนกลาง อายุตํ่ากวา 60 ปลงมา ซึ่งพบวา เรือนใน กลุมนี้มีจํานวนคอนขางกระจายตัว ตั้งแตอายุ 56 ป จนกระทั่งถึง 41 ป พบในพื้นที่ บานกลาง บานนาบอน บานนาปาหนาด และบานศรีโพนแทน ซึ่งตามประวัติการตั้ง ถิ่นฐานจะเปนหมูบานรุนหลัง และพบวา มีรูปแบบเรือนที่หลากหลาย และมีอิทธิพล ของรูปแบบเรือนกลุมคนจากที่อื่นเชน เรือนแถว เรือนมุขผังพื้นเปนรูปตัวยูและตัว แอล เปนตน โดยที่เรือนแถวจะเปนอิทธิพลของรูปแบบที่อยูอาศัยจากชาวจีนและชาว เวียดนามที่อพยพขามฝงแมนํ้าโขง ขณะที่เรือนมุข จะเปนรูปแบบเรือนในระยะหลังที่ เริ่มมีการกอสรางรูปแบบหลังคาที่มีความซับซอนเนื่องจากมีวสั ดุใหมๆ อยางสังกะสี ในการทํารางนํ้า และรูปแบบนี้ ถือไดวาเปนอิทธิพลที่ถายทอดมาจากรูปแบบบานพัก ขาราชการในชวงที่มีการกระจายอํานาจสูทองถิ่น ซึ่งเปนแบบแผนที่ไดรับอิทธิพล มาจากตะวันตกในชวงสมัยรัชกาลที่ 4 และ 5 รวมถึงอิทธิพลที่มาจากสถาปตยกรรม ยุคอาณานิคม (Colonial style) ของฝรั่งเศส จากสปป.ลาวและเวียดนาม สําหรับเรือนรุนเกา ที่มีอายุ 60 ปขึ้นไป พบรูปแบบเรือนซับซอนนอย โดยมากมักจะเปนรูปแบบจั่วเดียวและแบบปนหยา ซึ่งเปนรูปทรงหลังคาที่มีความ ซับซอนนอยกวาแบบมุข ทีม่ กี ารยืน่ รูปทรงหลังคาตามแบบแผนของผังพืน้ แบบจัว่ เดียว สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 67

66 67

9/6/2558 1:15:00


เปนแบบที่เรียบงาย กอสรางไมยาก เปนแบบแผนที่ถือไดวา เปนรูปแบบของเรือน ในภาคอีสานที่ไดรับอิทธิพลจากไทลาวซึ่งเปนกลุมชาติพันธุหลัก รูปแบบทั้งสองพบ กระจายตัวอยูตาม อ.ภูหลวง อ.วังสะพุง และบานนาออ อ.เมืองเลย 3. องคประกอบการใชพื้นที่ภายในเรือน แมวา รูปแบบเรือนมีความหลากหลาย แตจากผลการศึกษาภาคสนาม พบวา เรือนเหลานี้มีผังพื้นเรือนที่มีลักษณะคลายคลึงกัน ทั้งในพื้นที่ลุมนํ้าเลย และพื้นที่อื่น ในภาคอีสาน ซึง่ มีความเปนไปไดทวี่ ฒ ั นธรรมการอยูอ าศัยของชาวอีสานมีความสัมพันธ กับสิ่งแวดลอมในลักษณะเดียวกัน ตั้งแตระดับการเลือกที่ตั้งในระดับชุมชน จนกระทั่ง ถึงระดับเรือน ทั้งนี้เกิดคติความเชื่อทางสังคมที่มีรากฐานทางวัฒนธรรมเดียวกัน โดย เฉพาะคติในการใชพื้นที่ของวัฒนธรรมกลุมไท-ลาว ทั้งที่อยูในภาคอีสานและที่อยูใน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว อันเปนพื้นที่ตั้งถิ่นฐานของชาวอีสานใน ลุมนํ้าเลยกอนที่จะอพยพเขาสูประเทศไทย กลาวคือ แบบแผนการใชพื้นที่ภายใน เรือนลุมนํ้าเลยมีองคประกอบหลัก ไดแก สวนเรือนนอน ชาน (เซีย หรือเสี่ย) และ เรือนครัว (เรือนไฟ) โดยที่ภายในสวนเรือนนอน มักจะเปนพื้นที่โลง ไมกั้นผนัง ประกอบดวยพื้นที่สวนฮองและสวมนอน “สวนฮอง” เปนพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งเปนที่ตั้งของหิ้งพระและหิ้งบรรพบุรุษ ใชประกอบพิธีทางศาสนาและบางครั้งมีการใชงานเพื่อรับรองแขกที่เปนญาติสนิท โดยมากจะเปนเครือญาติที่นับถือผีเดียวกันของครอบครัว ประกอบดวยพื้นที่ 1 หอง เสา และโดยมากมักจะเปนสวนที่ติดกับดานหนาเรือน และเปนดานทิศตะวันออก “สวมนอน” เปนพื้นที่โลง ไมมีการกั้นหอง มักจะใชตูหรือเครื่องเรือนเปน ตัวแบงพื้นที่กําหนดอาณาเขตสวนนอนของแตละครอบครัวดวยชวงเสา 1 ชวงเสา เปน 1 หองนอน ซึ่งคลุมพื้นที่นอนดวยมุง ภายในสวนเรือนนอน อาจประกอบดวย สวมนอนหลายหอง หากเปนเรือนที่มีผังพื้นเปนสี่เหลี่ยม มักจะประกอบดวย 2 หอง แตสวนใหญจากการสํารวจเรือนในพื้นที่ที่มักจะมีลักษณะผังพื้นเปนรูปตัวแอล หรือ ตัวยู จึงมักจะประกอบดวยจํานวนหองมากกวาสองหองขึ้นไป

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 68

9/6/2558 1:15:01


4. วัสดุและวิธีการกอสราง วัสดุที่ใชในการกอสราง เปนทรัพยากรที่หาไดในพื้นที่ชุมชนและบริเวณปา และภูเขาใกลหมูบาน เชน ทรายจากแมนํ้าเลย ปูนขาวจากการเผาหินปูนโดยนํามา จากภูเขาใกลๆหมูบาน รวมถึงดินจอมปลวกผสมดินเหนียวที่ใชทําแผนหลังคา และ อิฐดิน (ดินจี่) ก็มาจากบริเวณรอบตัวบาน โดยจะเผาจากเตาที่ทําขึ้นเองภายในบริเวณ บาน ซึ่งในปจจุบันมีการใชวัสดุจากทองถิ่นลดลงมาก ทั้งนี้เนื่องจากความสะดวก สบายในการเขาถึงวัสดุที่ผลิตในระบบอุตสาหกรรมที่จําหนายในรานคาใกลๆชุมชน จากการสํารวจเรือนตัวอยางพบวา การกอสรางจะใชชางที่มีในหมูบานที่มีการสอน สืบตอกันมา กอสรางโดยใชแรงงานของญาติพนี่ อ งและการลงแขกจากสมาชิกในชุมชน ชางจะเปนผูเตรียมวัสดุแตละสวน ตั้งแตเสา คาน หลังคาและผนัง โดยที่รูปแบบของ เรือนสวนใหญจะกําหนดโดยชางและผูเปนเจาของ ยังพบวามีการใชชางที่อพยพมา จากเวียดนามซึ่งหนีภัยสงคราม โดยคาจางแรงงานจะเปนการสนับสนุนดานอาหาร และที่พักอาศัยแกผูที่อพยพ สําหรับระยะเวลาในการกอสรางขึ้นอยูกับความพรอม ในการเตรียมวัสดุของเจาของเรือนวาจะเก็บสะสมไม และเขาไปตัดไมในปามาได มากนอยเพียงใด ซึ่งอาจจะใชเวลาในการกอสรางตั้งแต 2 เดือน จนถึง 4 ป แตระยะ เวลาในการยกเรือนจากการลงแขกของแรงงานญาติมิตรและอาสาสมัครในชุมชน มักจะใชเวลาไมเกิน 1 สัปดาห 5. การปรับปรุงและตอเติม การตอเติมและปรับเปลี่ยนพื้นที่ใชงาน สวนใหญเปนการแกปญหาในการ อยูอ าศัย เนือ่ งจากวิถกี ารดําเนินชีวติ ของผูค นเปลีย่ นไปจากเดิม ทัง้ ทีเ่ ปนผลจากปจจัย ทางเศรษฐกิจ สังคม และการผสานกลมกลืนทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะจากการที่มี ผูค นหลากหลายเชือ้ ชาติและหลากหลายกลุม ชาติพนั ธุอ ยางพืน้ ทีล่ มุ นํา้ เลย ทีอ่ ยูอ าศัย จึงจําเปนตองมีการปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมและสอดคลองกับเงื่อนไขที่เปลี่ยนไป ตัวอยางเชน พื้นที่ชาน (เซีย) มีการตอเติมหลังคาคลุมเพื่อลดภาระในการซอมบํารุง จากการผุกรอนของพื้นไม สวนหองนํ้า-สวมมีการตอเติมเพื่อความสะดวกในการ ใชงานโดยเฉพาะในพื้นที่บนเรือน ทั้งนี้เนื่องจากการใชงานหองนํ้า-สวมนอกตัวเรือน อาจไมสะดวก โดยเฉพาะสําหรับผูสูงอายุ

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 69

68 69

9/6/2558 1:15:01


พัฒนาการเรือนพื้นถิ่นในลุมนํ้าเลย

จากการสํารวจเรือนพักอาศัยในลุมนํ้าเลยตั้งแตตอนตนนํ้าจนถึงปลาย สายนํ้าเลยที่ไหลลงแมนํ้าโขงที่อําเภอเชียงคาน อาจสรุปไดวา ลักษณะเรือนพักอาศัย มีการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาจนกระทั่งมีลักษณะรวมอันอาจกลาวไดวาเปนลักษณะ เฉพาะที่นิยมในแถบลุมนํ้าเลย ซึ่งแตกตางไปจากแถบอีสานตอนกลางบริเวณแอง สกลนคร โดยมีระยะการเปลี่ยนแปลงดังนี้ 1. ระยะเริ่มตน: เรือนแบบดั้งเดิม จากการศึกษากรณีตัวอยางเรือนในเขตลุมนํ้าเลย ที่แยกตามกลุมชาติพันธุ คือ ไทเลยที่บานนาออ ตําบลนาออ อําเภอเมือง ไทดําที่บานนาปาหนาด ตําบลเขา แกว อําเภอเชียงคาน และไทพวนที่บานกลาง ตําบลปากตม อําเภอเชียงคาน พบวา ในระยะแรก เรือนของแตละกลุมมีการรักษาลักษณะเฉพาะตามแบบแผนของกลุม ชาติพันธุ โดยเฉพาะในเรือนของชาวไทดํา ซึ่งยังคงมีการปลูกสรางเรือนที่มักเรียกกัน วาเปนทรงกระดองเตา อันถือวาเปนเรือนแบบดั้งเดิมของไทดํา ที่พบทั้งในเวียดนาม ในทางภาคกลางของประเทศไทย (วีระและคณะ, 2551:139-143) ซึ่งที่บานนา ปาหนาดก็ปลูกเรือนทรงกระดองเตาในระยะแรก เรือนประเภทนี้เปนเรือนที่ปูพื้น ดวยฟากและฝาเรือนก็เปนฟากดวยเชนเดียวกัน ภายในเรือนมีเตาไฟ ในขณะที่ที่ บานกลางที่เปนกลุมไทพวนและบานนาออที่เปนกลุมไทเลย ก็พบวา ในระยะแรกก็มี การปลูกเรือนแบบเกา ซึ่งในบานนาออ เรียกวา “เรือนกันสาด” หรือ “เรือนเซีย” ใน บานกลางก็ปลูกเรือนที่มีลักษณะคลายกัน เรียกวา เรือนเกาะเซีย ลักษณะเรือนเซีย หรือเรือนเกาะเซีย เปนเรือนในผังสี่เหลี่ยมผืนผา มีสวนของ “หนาคอง” หรือ “ฮอง” อันเปนทีต่ งั้ หิง้ พระหรือหิง้ ผีเรือนทีด่ า นหัวเรือน ถัดจากฮองเปนหองสวมนอนของพอแม สวนหองสวมนอนทายสุดเปนหองของลูกสาว ดานขางเรือนเปนระเบียงมีหลังคาลาด ลงมาคลุม เรียกวา เซีย ในเรือนเซียของบานนาออ พบวาในระยะแรกไมมีเรือนครัวแยก ออกมา แตจะวางเตาไฟไวบริเวณเซีย หลังคามุงดวยหญา พื้นและฝาเรือนเปนฟาก ไมไผ สวนเรือนเกาะเซียในบานกลางจะมีครัวไฟ โดยมีชานเชื่อมกับเรือนนอน ลักษณะ เรือนเซียนี้คลายกับเรือนแบบเกาในหลวงพระบางและเรือนในแถบอีสานตอนกลาง

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 70

9/6/2558 1:15:01


ภาพที่ 9: เรือนระยะแรกในลุมนํ้าเลย (จากซายไปขวา เรือนเซียในหลวงพระบาง (ที่มา: โซฟ และปแอร, 2003: 129, 143), เรือนกระดองเตา และเรือนเซียใน อ.วังสะพุง)

2. ระยะที่สอง: การเปลี่ยนแปลงแบบเรือนจากเรือนดั้งเดิม การเปลี่ยนแปลงแบบเรือนของหมูบานในลุมนํ้าเลย เกิดขึ้นในราวป พ.ศ. 2480 ลงมา ภายหลังจากที่อาคารจํานวนหนึ่งในจังหวัดเลยไดกอสรางอาคารหลังคา ทรงปนหยามีมุขและมุงหลังคากระเบื้องซีเมนตสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน เชน อาคาร ที่วาการอําเภอเมืองเลย ซึ่งเดิมคือ ศาลากลางจังหวัด สรางเสร็จในป พ.ศ. 2476 และ ยังมีอาคารสุขศาลาจังหวัดเลย สรางขึ้นในป พ.ศ.2479 ลักษณะอาคารเปนอาคารชั้น เดียวกอดวยอิฐฉาบปูน หลังคาทรงปนหยามีมุขสองขางเชนเดียวกัน และยังมีอาคาร พาณิชยที่อยูใกลๆกัน สรางในป พ.ศ. 2476 เปนอาคารสองชั้นหลังคามุงกระเบื้อง ซีเมนตรปู สีเ่ หลีย่ มขนมเปยกปูน (วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัตศิ าสตรฯ จังหวัดเลย, 103-104) ซึ่งอาคารพาณิชยทําประตูช้นั บนเปนบานเฟยม การกอสรางอาคารทางราชการซึง่ แสดงใหเห็นถึงความมัน่ คงทางการปกครอง ทําใหเมืองเลยเริม่ พัฒนาโดยมีการสรางอาคารพาณิชยมากขึน้ รวมทัง้ ในเชียงคานดวย ชางพื้นบานในหมูบานชนบทออกไปรับจางกอสรางในเมือง จึงไดเรียนรูรูปแบบทาง สถาปตยกรรมใหมๆ และเริ่มนําเขามาเผยแพรในหมูบาน หลัง พ.ศ. 2480 เปนตนมา ตามหมูบานเริ่มมีการรื้อถอนเรือนแบบเกาที่ไมคอยถาวรนักมาเปนเรือนไมทั้งหลัง ทํารูปลักษณะหลังคาเปนทรงปนหยาและจั่วปนหยาหักฉากตามแบบสถาปตยกรรม ในเขตเมืองทั้งในเชียงคานและเมืองเลย เปลี่ยนแปลงวัสดุมุงจากหญาเปนกระเบื้อง ดินเผาที่ชาวบานทําไดเองเพื่อใหเขากับรูปแบบเรือนแบบใหม นอกจากนั้นในระยะนี้ ชางในหมูบานยังนําเอาแบบพิมพกระเบื้องซีเมนตเขามา ทําใหรูปแบบเรือนมีทั้งมุง กระเบื้องดินเผาและมุงกระเบื้องซีเมนต เรือนเหลานี้จํานวนมากนิยมทําบานประตู สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 71

70 71

9/6/2558 1:15:01


เปนบานเฟยมเลียนแบบลักษณะของเรือนแถวหรืออาคารรานคาในเมืองที่ตองการ เปดดานหนาอาคารตลอดแนวเพือ่ คาขาย ลักษณะเรือนเชนนีพ้ บแพรกระจายอยูท วั่ ไป ในแถบลุมนํ้าเลย ตั้งแตอ.ภูหลวง อ.วังสะพุง ไปจนถึง อ.เชียงคาน แบบเรือนเชนนี้ จึงถือวาเปนแบบเฉพาะที่เปนเอกลักษณและนิยมกันมากทั้งเขตลุมนํ้าเลย ในชวง พ.ศ. 2480 ซึ่งพบเรือนลักษณะเชนนี้ทั้งในบานกลาง ต.ปากตม บานนาปาหนาด ต.เขาแกว อ.เชียงคาน และบานนาออใน อ.เมืองเลย อยางไรก็ตาม ลักษณะทางพลวัตที่มีกระแสการรับรูปแบบเรือนจากในเมือง ทําใหมเี รือนแบบทีร่ บั อิทธิพลจากแบบเรือนแถวหรือเรือนรานคาในเมืองในเวลาตอมา ไมนาน ซึ่งมักหันหนาเรือนหาทางสัญจรและเอาเรือนครัวไฟไวดานหลัง โดยมีการ ลําดับจากหัวเรือนที่เปนหองฮอง หองสวม และมีครัวไฟอยูตอนทายเรือนตามแบบ ประเพณีของภาคอีสาน 3. ระยะที่สาม: พัฒนาการตอเนื่องของเรือน ตั้งแตพ.ศ. 2495 เปนตนมา การคมนาคมเขาสูจังหวัดเลยมีความสะดวก มากขึ้น มีทางลัดจากกรุงเทพฯ โดยแยกจากอําเภอชุมแพ-ภูเขียว-ไปบรรจบถนน มิตรภาพที่อําเภอสีคิ้ว (เติม. 2530: 326) นอกจากนั้นมีการขนสงสินคามาทางรถไฟ ลงที่ขอนแกนแลวขนสงตอเขามาในจังหวัดเลยมากขึ้น ซึ่งสังกะสีก็เปนวัสดุที่ขนสง เขามาในจังหวัดเลยและกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงแบบเรือนในระยะเวลาตอมา ซึ่ง เรือนในรุนที่เปนเรือนหลังคาปนหยาหรือจั่วปนหยาที่มุงดวยกระเบื้องดินเผาหรือ กระเบื้องซีเมนตที่มีหลังคาสูงชัน ตอมาแมวาจะรักษาแบบแผนผังของเรือนไว แตสวน หลังคาก็มีการทําใหมีความลาดชันนอยลง เนื่องจากสังกะสีไมตองการความชันมาก เหมือนการมุงกระเบือ้ งแผนเล็ก และยังมีแบบเรือนทีร่ บั อิทธิพลจากเรือนแถวมุงหลังคา ดวยสังกะสี นิยมทําใตถุนเรือนตํ่าลงมาก เพื่อใหสวนระเบียงตอเนื่องกับลานดาน หนาที่ติดกับทางสัญจร ทําใหมีลักษณะคลายเรือนชั้นเดียว นิยมเอาครัวไฟไวดานหลัง โดยมีหลังคาจั่วเชื่อมกับจั่วของเรือนนอน ลักษณะหลังคาลาดตํ่ากวาแบบเดิม เชน เรือนที่บานศรีโพธิ์แทน ต.นาซาว อ.เชียงคาน อยางไรก็ตามเรือนเชนนี้ที่ทําเปนเรือน สองชั้นก็มีเชนเดียวกัน โดยชั้นลางจะตีฝาปดทั้งหมด ทําใหไมมีลักษณะของเรือนแบบ มีใตถุนโลง และหันหนาเรือนหาทางสัญจร มีครัวไฟอยูทางดานหลังเรือน ในระยะแรก มักวางหลังคาจั่วไปตามเสนทางสัญจร แตตอมาก็วางจั่วโดยหันหนาจั่วเขาหาถนน

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 72

9/6/2558 1:15:01


ภาพที่ 10: พัฒนาการรูปแบบเรือนในลุมนํ้าเลย (จากซายไปขวา เรือนเกยหรือเรือนเซีย เรือนปนหยาหักฉาก เรือนแบบเรือนแถว (เรือน ใตถุนตํ่า)) ขอเสนอแนะจากการศึกษา

จากการรับฟงความคิดเห็นจากภาคประชาชน หนวยงานทองถิ่น และภาค เอกชนที่เกี่ยวของพบวา โครงการรวบรวมองคความรูดานที่อยูอาศัยที่เนนการจัดทํา ฐานขอมูลเพื่อนําไปเผยแพรใหเกิดความรูความเขาใจในลักษณะพรอมใชงานอยาง โครงการวิจัยนี้ จะมีการนําไปสูการใชประโยชนอยางจริงจังเพื่อสรางความตระหนักรู และเขาใจถึงภูมิปญญาเกี่ยวกับการกอสรางที่อยูอาศัย ทําใหเกิดความภาคภูมิใจและ เปนประโยชนตอการอนุรักษเรือนแบบโบราณในการที่จะเปนหลักฐานสําคัญสําหรับ การซอมแซม และนําไปประยุกตใชใหเกิดประโยชนสําหรับการปลูกสรางที่อยูอาศัย ที่มีเอกลักษณในทองถิ่น โดยเฉพาะรูปแบบเรือนอันมีเอกลักษณที่เกิดจากภูมิปญญา ของชางและทรัพยากรที่มีอยูในทองถิ่นประเด็นที่นาสนใจ ไดแก การนําขอมูลแบบ เรือนจากการสํารวจไปตอยอดเพื่อจัดทําเปนแบบบานสําหรับประชาชนในพื้นที่โดย หนวยงานทองถิ่น ซึ่งปจจุบันกระบวนการในการขออนุญาตปลูกสรางอาคารนั้น ชาวบานในพื้นที่ ตองมีการจัดทําแบบและยื่นตอเทศบาล และเนื่องจากการดําเนิน การเปนกระบวนการที่ยุงยากในการที่ตองหาผูออกแบบ เขียนแบบบาน รวมถึงการ ดําเนินการขออนุญาตปลูกสรางอาคาร ดังนั้น การเตรียมแบบบานสําหรับประชาชน จึงเปนทางออกที่นาสนใจในการที่ประชาชนจะสามารถนําแบบไปกอสรางไดใน วงกวาง ทั้งยังเปนการนํารูปแบบที่อยูอาศัยที่มีเอกลักษณของทองถิ่นสําหรับใน เชิงเทคนิคนัน้ การกอสรางทีอ่ ยูอ าศัยในทองถิน่ ควรมีการกระตุน ใหเกิดการจัดการ และ สรางแหลงทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่นใหเอื้อตอการเปนวัสดุทางเลือกในพื้นที่เพื่อ ความยัง่ ยืนในการกอสรางทีอ่ ยูอ าศัยในระยะยาว รวมทัง้ ประชาชนในพืน้ ทีส่ ามารถมี สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 73

72 73

9/6/2558 1:15:01


ที่อยูอาศัยเปนของตนเองไดในงบประมาณที่มีความเหมาะสม จากทรัพยากรที่มีอยู ในทองถิ่น ซึ่งในอนาคตเทคนิคและวิธีการในการกอสราง คนในพื้นที่จะมีสวนสําคัญ อยางยิ่งในการที่จะสรางสรรครูปแบบที่อยูอาศัยที่เปนเอกลักษณและสอดคลองกับ สภาพแวดลอมและวัฒนธรรมการใชชีวิต นอกจากนี้ ในดานการรวบรวมองคความรูเกี่ยวกับภูมิปญญาทองถิ่นดาน ที่อยูอาศัย ถือวามีความจําเปนอยางยิ่งทั้งนี้ เนื่องจากที่อยูอาศัยแบบประเพณีไดลด จํานวนลงไปอยางรวดเร็วจากการเสื่อมสภาพและขาดการใหความสําคัญซึ่งสาเหตุ หลักเกิดจากการขาดองคความรูแ ละการถายทอดขอมูลอยางเปนระบบ จากการศึกษา ภาคสนามครั้งนี้พบวา ยังพอมีรูปแบบเรือนพื้นถิ่นอีกจํานวนมากที่ยังสามารถเปน ตัวอยางสําหรับการศึกษาเอกลักษณทอ งถิน่ และนําไปเปนตนแบบสําหรับการประยุกต รูปแบบที่อยูอาศัยที่สะทอนอัตลักษณของทองถิ่น ตลอดจนมีความสอดคลองกับ สภาพแวดลอมทั้งดานกายภาพและดานสังคม-วัฒนธรรมในภูมิภาคได ซึ่งการสราง องคความรูเ รื่องที่อยูอาศัยสูทุกภาคสวนถือเปนบทบาทสําคัญของการเคหะแหงชาติ ในฐานะองคกรหลักที่ดําเนินนโยบายดานที่อยูอาศัยโดยตรง ดังนั้น จึงจําเปนตองมี การดําเนินการอยางตอเนื่อง กิตติกรรมประกาศ

คณะวิจัย ขอขอบคุณเจาของเรือนทุกหลังที่ใหขอมูลเกี่ยวกับเรือนพื้นถิ่น และใหการตอนรับคณะวิจัยระหวางการสํารวจภาคสนามเปนอยางดี ขอขอบคุณฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติผูสนับสนุนทุน ในการวิจัย ขอขอบคุณทีมงานสํารวจภาคสนาม จัดทําแบบสถาปตยกรรมและทีมงาน ผลิตสื่อรูปแบบตางๆ ประกอบดวย: เถลิงรัฐ ทีคําแกว, นันทศักดิ์ สิริเสน (FinView Studio), พิมพชนก ศรีสุริยะมาตย นักศึกษาหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต: ชายชาญ ดานสวัสดิกลุ , ธวัชชัย ศรีแกว, และชินวัฒน มนัสมาศเจริญ นักศึกษาหลักสูตร สถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต: ดุษฎี สุมมาตย, เฉลิมวัฒน วงศชมภู, ภาคยพงศ งอยผาลา, จักรี ชูศรีทอง, จตุพล หาญโสภา, อายุสต ศรีจินดา, อภิสิทธิ์ สายเนตร, ฉัตริน ปญญาพูนตระกูล, พิพัฒน อุปาจันโท โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 74

9/6/2558 1:15:02


บรรณานุกรม

ภาษาไทย

คณะกรรมการฝายประมวลเอกสาร และจดหมายเหตุ. วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร เอกลักษณและภูมิปญญาจังหวัดเลย. จัดพิมพเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542. คณะกรรมการหมูบาน อพป. บานกลาง. เอกสารบรรยายสรุป โครงการประกวดหมูบานอาสา พัฒนาและปองกันตนเอง (อพป.) หมูบานกลาง หมูที่ 3 ต.ปากตม อ.เชียงคาน จ.เลย, 11 ก.ค. 2546. จันทนีย วงศคํา. ชุมชนและเรือนไทเลย. ขอนแกน: คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย ขอนแกน. 2548. เชี่ยวชาญ ชิตชม. สถาปตยกรรมบานไทเลย: ศึกษากรณีบานนาออ ตําบลนาออ อําเภอเมือง จังหวัดเลย. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาไทยศึกษาเพื่อการพัฒนา. สถาบันราชภัฏเลย. 2546. เติม วิภาคยพจนกิจ. ประวัตศิ าสตรอสี าน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. 2530. ทรงยศ วีระทวีมาศ, นพดล ตั้งสกุล, สุดจิต สนั่นไหว และจันทนีย วงศคํา. สถาปตยกรรม สิ่งแวดลอมในเรือนพื้นถิ่นไท-ลาวในภาคอีสานของประเทศไทย และในสปป.ลาว. ในชุดโครงการวิจัยภูมิปญญา พัฒนาการ และความสัมพันธกันระหวางเรือนพื้นถิ่นไทไทย: ลักษณะของสถาปตยกรรมสิ่งแวดลอมในเรือนพื้นถิ่น (เมธีวิจัยอาวุโส สกว. 2545) ทุนอุดหนุนจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. 2548. ทวี พรมมา. เรือนไทดําบานนาปาหนาด ตําบลเขาแกว อําเภอเชียงคาน จังหวัดเลย, วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 2541. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานสถาน พ.ศ. 2525. กรุงเทพ: ราชบัณฑิตย สถาน. พิมพครั้งที่ 5. (หนา 254). 2525. เรืองเดช ปนเขื่อนขัติย. ภาษาถิ่นตระกูลไทย (พรอมทั้งภาษาตระกูลตางๆ ในประเทศไทย). ฉบับเพิ่มเติมแกไข. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 2531. วารุณี (ภูสนาม) หวัง. “การศึกษารูปแบบและการกอสรางบานพักอาศัยทีเ่ หมาะสมสําหรับเกษตรกร ในชนบทของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”. ใน การพัฒนาชนบททีย่ งั่ ยืน. เอกสารประกอบ การประชุมทางวิชาการป 2552. ขอนแกน: โรงพิมพคลังนานาวิทยา, หนา 264-270. 2552. วีระ อินพันทัง, ตนขาว ปาณินท, อภิรดี เกษมศุข และโชติมา จตุรวงศ, “โลกของไทดํา”, ใน เรือนพื้นถิ่นไทย-ไท, กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 125-158. 2551. ศรีศักร วัลลิโภดม. แองอายธรรมอีสาน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมติชน, 2533.

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 75

74 75

9/6/2558 1:15:02


ศูนยวัฒนธรรมจังหวัดเลย. สมบัติเมืองเลย. เลย: รุงแสงธุรกิจการพิมพ, 2541. สาขาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน. โครงการศึกษา สังเคราะหและนําอัตลักษณทางวัฒนธรรมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือเพื่อนํา มาใชเปนทุนในการสรางสรรคใหสามารถประยุกตใชในการพัฒนาสรางคุณคา และ มูลคาเพิ่มใหกับผลิตภัณฑ. เสนอตอ สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอม (ISMED). ขอนแกน: คณะสถาปตยกรรมศาสตร, 2555. สมชาย นิลอาธิ. “เรือนอีสานและประเพณีการอยูอาศัย”. ใน สถาปตยกรรมอีสาน. เอกสาร ประกอบการสัมมนา เอกลักษณสถาปตยกรรมอีสาน. กรุงเทพฯ: เมฆาเพรส, หนา 137-140. 2530. สมนึก พลซา. เลาขาวกับวิถีชุมชน: กรณีศึกษาบานนาออ ตําบลนาออ อําเภอเมือง จังหวัดเลย. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาไทยศึกษาเพื่อการพัฒนา. สถาบันราชภัฏ เลย. 2546. สุจินต เพชรดี. 300 ปแหงการตั้งถิ่นฐานบานนาออ อําเภอเมือง จังหวัดเลย (2536-2543). ม.ป.ท. 2543. สุวิทย ธีรศาศวัต และดารารัตน เมตตาริกานนท. ประวัติศาสตรอีสานหลังสงครามโลกครั้ง ที่สองถึงปจจุบัน. ขอนแกน: โรงพิมพคลังนานาวิทยา. 2541. อรศิริ ปาณินท. "เรือนพื้นถิ่นไทย-ไท" ใน เรือนพื้นถิ่นไทย-ไท. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุน สนับสนุนงานวิจัย (สกว.) 2551. ภาษาตางประเทศ Fathy, H. (1976). Architecture for the poor. Chicago: The University of Chicago Press. 2nd edition. Ilbery, B. (1998). “Dimensions of Rural Changes”. in The Geography of rural change. London: Addison Wesley Longman Limited. Janssen, J. J.A. (2003). Building with bamboo: A handbook. Warwick shire: ITDG Publishing. 2nd edition. Oliver, P. (1987). Dwelling: the house across the world. Austin: University of Texas Press. Rudofsky, B. (1981). Architecture without architects: A short introduction to non-Pedigreed architecture. Hong Kong: Fifth impression. Schliesinger, J. (2001). Tai Groups of Thailand, Volume 2, Profile of the Existing Groups, Bangkok: White Lotus. สุนันทา กันละยา กัดติยะสัก และคณะ. แปล. จาก Sophie Clement–Charpentier และ Pierre Clement. เฮือนลาวในเขตเวียงจันและหลวงพระบาง. เหลม ที่ 1, เวียงจัน: จําปา กานพิม. 2003.

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 76

9/6/2558 1:15:02


A Study for Knowledge Management on Local Wisdom through Traditional Housing and People’s Way of Life in the Northeastern Region: Case Study of the Loei River Basin Assistant Professor Dr. Nopadon Thungsakul Assistant Professor Dr. Songyot Weerataweemat Sukanya Prommanart Assistant Professor Atip Utaiwattananond Assistant Professor Kunlasri Thungsakul

Faculty of Architecture Khon Kaen University Abstract

Vernacular house is the architecture for living that has been created harmoniously with its local environments. Consequently, the study of housing styles and settlements in each region can manifest an understanding of the relations and adaptations to their natural settings, living environments, economic conditions and socio-cultural contexts. Presently, housing style and construction methods have been changed from time to time, therefore a current condition of the transformation of house style has accelerated the loss of cultural identity and the decline of local wisdom. This research, “A Study for Knowledge Management on Local Wisdom through Traditional Housing and People’s Way of Life in the Northeastern Region”, has been conducted aiming to collect local ways in constructing traditional house style and people’s lifestyle in order to dissimilate the knowledge from research findings in a various forms of medias for public to learn in accordance with their interests. Field research conducted in 4 districts along the Loei River Basin where traditional houses that have reflected Isan identity can still be found,

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 77

9/6/2558 1:15:02


Vernacular house is the architecture for living that has been created harmoniously with its local environments. Consequently, the study of housing styles and settlements in each region can manifest an understanding of the relations and adaptations to their natural settings, living environments, economic conditions and socio-cultural contexts. Presently, housing style and construction methods have been changed from time to time, therefore a current condition of the transformation of house style has accelerated the loss of cultural identity and the decline of local wisdom. This research, “A Study for Knowledge Management on Local Wisdom through Traditional Housing and People’s Way of Life in the Northeastern Region”, has been conducted aiming to collect local ways in constructing traditional house style and people’s lifestyle in order to dissimilate the knowledge from research findings in a various forms of medias for public to learn in accordance with their interests. Field research conducted in 4 districts along the Loei River Basin where traditional houses that have reflected Isan identity can still be found, including Phuluang district, Wangsapung district, Muang district and Chiangkhan district through 15 various house styles selected as house samples that reflected the development of housing style in the focused area. Research outputs are pursuing the main objective which has emphasized on dissimilating research findings in the form of information technology database and various forms of media. Information from the house’s owners and locals’ interview along with the measurement of selected house samples from field research are displayed in twodimensional and three-dimensional drawing including the animation of three-dimension model. People way of life and their use of interior spaces were also recorded. Architectural drawings are presented through variety forms of media including printed media in a poster format, website, electronic book and video since the viewer’s interests are varied. โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 78

9/6/2558 1:15:02


The results reveal that the community settlements along the Loei River Basin have maintained traditional housing styles that reflected local wisdom in accordance with people’s way of life, sociocultural factors and their living environments. Moreover, this area has also the melting pot for the settlement of diverse ethnicities including Tai Loei, Tai Dam and Tai Phouane. Housing styles have indicates a continuous development from various factors in the area, from the one that indicate the traditional Northeastern housing style, the Sae House or the Koei House, to the recently developed style which has influenced from row house in urban area, the Gable-roofed and the Low-under floored-space Style. Housing construction methods and materials have show a harmonious relationship between the management and the use of available local resources associated with social and physical dimensions through the creation of local craftsmanship that built up on the concepts of appropriateness and sustainability

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 79

9/6/2558 1:15:02


โปสเตอร: สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัยภาคกลาง

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 80

9/6/2558 1:15:02


การจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัย ผานภูมิปญญาทองถิ่น

พื้นที่ภาคกลาง1

กรณีศึกษา เรือนไทยพื้นถิ่นเมืองเพชรบุรี ผูชวยศาสตราจารย ดร. วันดี พินิจวรสิน อาจารย จตุพล อังศุเวช สุภางคกร พนมฤทธิ์

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บทคัดยอ

จากการที่การเคหะแหงชาติ โดยฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย ตระหนักถึง คุณคาของภูมิปญญาในบานเรือนที่เปนอยูอาศัยในแตละทองถิ่น ซึ่งกําลังมีจํานวน ลดลงอยางมากและเกิดปญหาดานการเปลี่ยนแปลงรูปแบบที่สงผลตอการสูญเสีย อัตลักษณของทองถิ่นในหลายทองที่ จึงไดกําหนดใหมีศึกษาวิจัยเพื่อจัดการความรู เรื่องที่อยูอาศัย และวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่นขึ้น ทั้งนี้เพื่อรวบรวมองค ความรูรูปแบบที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยของคนไทย มาจัดการความรู ประมวล เปนชุดองคความรูแลวผลิตเปนสื่อในรูปแบบตางๆเผยแพรใหสาธารณชนไดเรียนรู และนําไปพัฒนาตอยอดเพื่อสืบสานภูมิปญญาใหคงอยูคูกับประเทศไทยตลอดไป งานวิจัยนี้มุงเนนศึกษาบานเรือนไทยพื้นถิ่นในภูมิภาคภาคกลาง และบทความนี้มุง เนนนําเสนอผลการศึกษาสวนของการรวบรวมองคความรูรูปแบบที่อยูอาศัยและวิถี การอยูอาศัยของทองถิ่นในภูมิภาคนี้

บทความวิจัยสรุปผลโครงการวิจัย วันดี พินิจวรสิน และคณะ. โครงการศึกษาวิจัยเพื่อ จัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัย และวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น พื้นที่ภาคกลาง. สนับสนุนทุนวิจัยโดย การเคหะแหงชาติ ประจําป พ.ศ. 2556.

1

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 81

80 81

9/6/2558 1:15:02


พื้นที่เลือกสรรสําหรับการศึกษานี้อยูในบริเวณชุมชนบานละหานใหญ (หมู 5) ตําบลตําหรุ และบานไรสะทอน (หมู 4) ตําบลถํ้ารงค อําเภอบานลาด จังหวัด เพชรบุรี เนือ่ งจากเปนพืน้ ทีศ่ กึ ษาทีย่ งั คงบานเรือนทีม่ ศี กั ยภาพการดํารงอยูข องคุณคา ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาที่สัมพันธกับสภาพแวดลอมและวิถีชีวิตของทองถิ่น การศึกษาไดทําการเลือกศึกษาและสํารวจบานเรือนไทยพื้นถิ่น ในเบื้องตนจํานวน 30 หลัง และในรายละเอียดจํานวน 15 หลัง และ 5 หลัง โดยวิธีการสังเกต และ สัมภาษณ จากการศึกษาพบขอคิดสําคัญที่สามารถกลาวไดเปน 2 สวน สวนแรก คือ ลักษณะและองคประกอบในภูมิทัศนของบานในพื้นที่ศึกษา ซึ่งแสดงใหเห็นถึงความ สัมพันธกับระบบนิเวศ ทรัพยากร และวิถีชีวิตของทองถิ่น องคประกอบเหลานี้ นอกจากจะสะทอนถึงความสัมพันธเชิงสังคมของชุมชน อันสงผลตอภาพลักษณของ ทองถิ่นแลว ยังแสดงใหเห็นถึงการปรับตัวที่ยังคงรักษาความสัมพันธของวิถีชวี ิตและ สภาพแวดลอม โดยเฉพาะการประกอบอาชีพทางการเกษตรตามแนวคิดเศรษฐกิจ พอเพียง สวนที่สองเปนสวนของลักษณะเรือน เรือนไทยเมืองเพชรในพื้นศึกษา สวนใหญยังคงมีลักษณะตามแบบแผนประเพณีของทองถิ่น ซึ่งเปนเรือนไมยกพื้นสูง หลังคาจั่วคูทรงสูงของเรือนประธานและหอหนา ลอมรอบดวยระเบียงขาง และบาง องคประกอบที่แสดงออกถึงอัตลักษณเฉพาะตามวิถีในการอยูอาศัยและความเชื่อ ของทองถิ่นและของบรรพบุรุษตามแตละครัวเรือน อยางไรก็ตาม เรือนเหลานี้มี การเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่อง ซึ่งสามารถแบงไดเปน 2 สวน สวนแรก คือ การ เปลี่ยนแปลงในเรือนชั้นบน ซึ่งมักเปนในแนวทางอนุรักษ และสรางความสอดคลอง กับลักษณะทางสถาปตยกรรมในรูปแบบประเพณีของทองถิ่น ยังผลใหเกิดสัดสวน ของเรือนที่มีอัตลักษณเฉพาะและเกิดสุนทรียภาพของความลดหลั่นของรูปทรงเรือน กับสภาพแวดลอม สวนที่สองคือการตอเติมบริเวณใตถุนเรือน ซึ่งพบไดโดยทั่วไปใน ชุมชน แมวาการตอเติมนี้สงผลตอการเปลี่ยนแปลงภาพลักษณของทองถิ่น แตก็ยัง แสดงใหเห็นถึงความเคารพตอสิ่งที่มีคุณคาดั้งเดิม จากการศึกษาพบวาแมวาวิถีชีวิต ที่สัมพันธกับเรือนในพื้นที่ศึกษามีการเปลี่ยนแปลงไป แตเรือนเหลานี้ยังคงสะทอน ใหเห็นทั้งการอนุรักษความเปนประเพณีและการปรับตัวตามวัสดุและเทคโนโลยีที่ เปลี่ยนแปลงไป โดยยังสามารถสรางใหเกิดสุนทรียภาพทางสถาปตยกรรม วิถีชีวิต และสภาพแวดลอมของทองถิ่นไดอยางลงตัว

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 82

9/6/2558 1:15:02


คําสําคัญ

- ภาคกลาง (Central region) - เรือนพื้นถิ่น (vernacular house) - เรือนไทยเมืองเพชร (traditional house in Phetchaburi) - ภูมิปญญาทองถิ่น (local wisdom) - การจัดการความรู (knowledge management) - สื่อสารสนเทศ (communication media)

ความนํา

เนื้อนาแหง “เมล็ดชีวิต” ที่สุดก็คือบานของมนุษยในโลก ทิพยสุดา ปทุมานนท. 2539. กําเนิดสถาปตยกรรม.

บานเรือนพื้นถิ่นเปนสถาปตยกรรมเพื่อการอยูอาศัยที่มีรูปแบบ และวัสดุ ที่ใชในการกอสรางที่แตกตางกัน ตามแตละสังคมวัฒนธรรม ทองที่ และยุคสมัย บานเรือนเหลานีม้ วี วิ ฒ ั นาการทีก่ ารตกทอดกันมาจากรุน สูร นุ เปนแหลงขององคความรู ที่มีคุณคาดานศิลปวัฒนธรรมที่หลากหลาย และนับเปนมรดกทางวัฒนธรรมที่สําคัญ ที่สะทอนความเปนเอกลักษณของทองถิ่น อยางไรก็ตาม บานเรือนเหลานี้ไดรับผลก ระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอม สังคม และเศรษฐกิจ และความ เจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี โดยเฉพาะเทคโนโลยีการกอสรางที่พัฒนาไปใชวัสดุ กอสรางในระบบอุตสาหกรรมและสามารถกอสรางที่อยูอาศัยในรูปแบบเดียวกัน จํานวนมากในเวลารวดเร็ว กอใหเกิดปญหาดานรูปแบบและเอกลักษณของทีอ่ ยูอ าศัย ของทองถิ่นเปลี่ยนแปลงไป การเคหะแหงชาติ โดยฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย ได ตระหนักถึงคุณคาของภูมิปญญาทองถิ่นในบานเรือนเหลานี้ จึงเห็นความจําเปนตอง ศึกษาวิจัยในการรวบรวมองคความรูรูปแบบที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยของ คนไทย เพือ่ มาจัดการความรูแ ละประมวลเปนชุดองคความรูแ ลวผลิตเปนสือ่ ในรูปแบบ ตางๆ เผยแพรใหสาธารณชนไดเรียนรูและนําไปพัฒนาตอยอดเพื่อสืบสานภูมิปญญา ใหคงอยูคูกับประเทศไทยตลอดไป

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 83

82 83

9/6/2558 1:15:02


ในภูมิภาคภาคกลางเปนพื้นที่หนึ่งที่มีการพัฒนาสูความเปนเมืองอยางมาก ซึง่ สงผลกระทบตอบานเรือนพืน้ ถิน่ หรือทีอ่ ยูอ าศัยในรูปแบบเรือนไทยของหลายชุมชน มีจาํ นวนลดลงอยางมากตามไปดวย อยางไรก็ตามบานเรือนทีส่ ะทอนความสําคัญของ ทองถิ่นและสัมพันธไปกับวิถีชีวิตความเปนอยู และสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไปก็ ยังคงมีหลงเหลืออยูในหลายทองที่ ที่อยูอาศัยในรูปแบบเรือนไทยของชุมชนชาวบาน ที่ยังคงหลงเหลือในแถบภาคกลางเหลานี้จะมีลักษณะอยางไร บานเรือนที่เปนมรดก ทางวัฒนธรรมเหลานีม้ กี ารเปลีย่ นแปลงและสะทอนใหเห็นภูมปิ ญ  ญาของการปรับตัว ของทองถิ่นอยางไรบาง แมวาในปจจุบันมีการศึกษาเรือนไทยพื้นถิ่นในภูมิภาคภาค กลางอยางกวางขวาง แตก็ยังคงมีเรือนไทยพื้นถิ่นในอีกหลายทองถิ่นของภูมิภาคนี้ที่ สมควรไดรับการศึกษาคนควา ตลอดจนการประมวลขอมูล จัดทําเปนชุดความรู และ ขอมูลสารสนเทศ ภายใต “โครงการศึกษาวิจัยเพื่อจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัย และ วิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น” การเคหะแหงชาติ โดยฝายวิชาการพัฒนา ที่อยูอาศัย จึงมอบใหคณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ได ดําเนินการวิจัยในภูมิภาคภาคกลางนี้ โครงการศึกษาวิจัยฯนี้สามารถแบงการดําเนินการไดเปน 2 สวนหลัก สวน แรกเปนการศึกษาและรวบรวมองคความรู และภูมปิ ญ  ญาของเรือนไทยพืน้ ถิน่ ในพืน้ ที่ เปาหมายของการศึกษาที่ครอบคลุมทั้งมิติทางกายภาพ และมิติทางวัฒนธรรม และ สวนที่สองเปนการจัดทําสื่อชุดองคความรูในรูปแบบตางๆ รวมทั้งการจัดเก็บขอมูล เปนชั้นขอมูลภูมิสารสนเทศของที่อยูอาศัยและองคประกอบที่เกี่ยวของ บทความนี้ มุงเนนนําเสนอผลการศึกษาตอภูมิปญญาในการปรับเปลี่ยนสภาพแวดลอมในการ อยูอาศัยที่สัมพันธกับวิถีในการอยูอาศัยของชาวบานในพื้นที่ศึกษา นอกจากนี้ ยังมี การกลาวถึงผลการจัดทําชุดสื่อความรูโดยสังเขปดวย การศึกษานี้เปนงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเนนการศึกษาภาคสนามในพื้นที่ เลือกสรรเพื่อการศึกษา ซึ่งจะมีการอธิบายในรายละเอียดตอไป วิธีการเก็บขอมูลใช การสังเกต การสัมภาษณ และการศึกษาภาคเอกสารที่เกี่ยวของ ขอมูลที่ไดรับทั้งหมด ถูกวิเคราะหดวยวิธีการวิเคราะหขามกรณีศึกษา (Cross-case analysis) และการ จัดกลุม (Classification) เพื่อใหเกิดความเขาใจถึงลักษณะและการเปลี่ยนแปลงของ บานเรือนที่สัมพันธกับปจจัยทางสังคมวัฒนธรรมและสภาพแวดลอมของทองถิ่น จากนัน้ จึงนําขอมูลจากการศึกษาทัง้ หมดมาประมวล และจัดทําเปนชุดสือ่ ความรู และ สื่อสารสนเทศเพื่อการเผยแพรสูสาธารณะตอไป โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 84

9/6/2558 1:15:02


พื้นที่เลือกสรรเพื่อการศึกษา

บานเรือนพืน้ ถิน่ ในรูปแบบเรือนไทยทีย่ งั คงสะทอนคุณคาทางศิลปวัฒนธรรม เอกลักษณ และภูมิปญญาทองถิ่นนั้น ยังคงมีหลงเหลืออยูในหลายทองที่ของภูมิภาค ภาคกลาง อยางไรก็ตาม บานเรือนทีม่ คี ณ ุ คาเหลานีต้ า งมีลกั ษณะและการเปลีย่ นแปลง ที่แตกตางกันออกไปตามเงื่อนไขของสภาพแวดลอมและความซับซอนของสังคม และ วัฒนธรรมของแตละทองถิ่น (วันดี พินิจวรสิน 2547) ประกอบกับการศึกษานี้มี เปาหมายในการเก็บขอมูลทั้งลักษณะสถาปตยกรรมและวิถีชีวิตที่สัมพันธกับบริบท สภาพแวดลอมโดยละเอียด พืน้ ทีศ่ กึ ษาสําหรับงานวิจยั นีจ้ งึ ควรมีบริบททางสังคมและ สภาพแวดลอมทีใ่ กลเคียงกัน คณะผูว จิ ยั พิจารณาเห็นวาบานเรือนทีย่ งั คงลักษณะไทย ในจังหวัดเพชรบุรี มีเอกลักษณที่มีความโดดเดน มีคุณคาที่จะทําการศึกษา เก็บขอมูล และจัดทําเปนสื่อชุดความรูในอันดับแรกของภูมิภาคนี้ จังหวัดเพชรบุรีนับเปนเมืองที่มีประวัติศาสตรความเปนมาที่ยาวนาน จาก หลักฐานทางประวัตศิ าสตรชใี้ หเห็นวาบริเวณเมืองโบราณของจังหวัดมีอายุตงั้ แตสมัย ทวารวดี (พุทธศตวรรษที่ 11-16) ขอบเขตธรณีสัณฐานของจังหวัดมีการเปลี่ยนแปลง อยางตอเนือ่ งโดยเฉพาะการกัดเซาะและการทับถมของดินตะกอนบริเวณชายฝง ทะเล ที่เดนชัดที่สุดคือพื้นที่ในเขตอําเภอบานแหลม ซึ่งคาดวานาจะเกิดขึ้น และมีการตั้ง ถิ่นฐานชุมชนตั้งแตในสมัยรัตนโกสินทรเปนตนมา (นิพัทธพร เพ็งแกว 2550) จังหวัด เพชรบุรีนอกจากจะเปนเมืองที่เคยรุงเรืองและมีความสําคัญมาในกลุมหัวเมือง ตะวันตกตั้งแตสมัยอดีต ยังเปนจังหวัดที่มีแมนํ้าเพชรบุรี ซึ่งเปนสายนํ้าที่ผานจังหวัด เพชรบุรีเพียงจังหวัดเดียว และมีความหลากหลายของระบบนิเวศตั้งแตภูเขาจนถึง ทะเล แมนํ้าเพชรบุรีจึงทําใหพื้นที่ของจังหวัดนอกจากจะมีความหลากหลาย และ อุดมสมบูรณดวยทรัพยากรธรรมชาติแลว ยังเปนแหลงในการตั้งถิ่นฐานที่สําคัญของ ผูคนมาอยางตอเนื่องและมีความหลากหลายทางชาติพันธุ บานเรือนสวนใหญมกั ตัง้ อยูส องฟากของลํานํา้ เพชรบุรี โดยเฉพาะในบริเวณ เขตลุม นํา้ ตอนลาง จากอําเภอทายางไปจนถึงอําเภอบานแหลม ในปจจุบนั ทีอ่ ยูอ าศัย ในรูปแบบเรือนไทยที่ยังแสดงศักยภาพที่สัมพันธกับการดํารงชีวิตของทองถิ่นยัง ปรากฏใหเห็นอยูใ นหลายทองทีข่ องจังหวัด และไดถกู ทําการศึกษาในเชิงสถาปตยกรรม ไปแลวในหลายสวน การศึกษาที่สําคัญ ไดแก โครงการวิจัย เรื่อง “ภูมิปญญาและ พัฒนาการของเรือนพื้นถิ่นลุมนํ้าเพชรบุร”ี โดย อรศิริ ปาณินท และคณะฯ (2551)

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 85

84 85

9/6/2558 1:15:02


ในชุดโครงการวิจัย เรื่อง “การศึกษาเพื่ออนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอมสรรคสรางลุม นํ้าเพชรบุรี” โครงการวิจัยนี้ไดมุงเนนและศึกษาความสัมพันธของเรือนพื้นถิ่นบริเวณ ลุมนํ้าเพชรบุรีกับภูมิปญญาในการดํารงชีพตามประเภทของสภาพแวดลอมที่มีความ หลากหลาย อันไดแก ชาวสวน (กรณีศึกษาในตําบลบานกุม อําเมืองจังหวัดเพชรบุรี) ชาวไร (ในตําบลไรมะขาม อําเภอบานลาด) ชาวนาหรือการทํานาขาว (ในตําบลยาง หยอง อําเภอทายาง) การทํานาเกลือ (ในตําบลบานแหลม อําเภอบานแหลม) และ ชาวประมง (ตําบลบางขุนไทร อําเภอบานแหลม) งานวิจัยนี้มิไดเจาะจงเฉพาะที่อยู อาศัยในรูปแบบเรือนไทยเพียงอยางเดียว แตมีการศึกษาเรือนที่มีลักษณะพื้นถิ่นและ องคประกอบสถาปตยกรรมอื่นๆที่สัมพันธกับสภาพแวดลอม และวิถีในการดํารงชีวิต อีกดวย นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยเรื่อง “ความหลากหลายทางวัฒนธรรมการปลูกสราง เรือนไทยแหงลุมนํ้าเพชรบุรี” โดย วีระ อินพันทัง (2553) ซึ่งแสดงใหเห็นถึงความเปน ทวิลกั ษณของทีอ่ ยูอ าศัยในรูปแบบเรือนไทย อันมีลกั ษณะทีส่ อดคลองกับวัฒนธรรม ความเชื่อของกลุมชน สําหรับการศึกษานี้ มุงเนนกรณีศึกษาในกลุมชาติพันธุไทย (ในบริเวณตําบลทาชาง อําเภอบานลาด) จีน (ในบริเวณตําบลบานแหลม อําเภอ บานแหลม) และมุสลิม (ในบริเวณตําบลทาแรง อําเภอบานแหลม)

ภาพที่ 1: แผนที่แสดงเขตลุมนํ้าของจังหวัดเพชรบุรี ที่มา: กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 86

9/6/2558 1:15:02


จากการศึกษาตอชุมชนพื้นถิ่นของจังหวัดทําใหพบวายังมีอีกหลายพื้นที่ ของจังหวัดเพชรบุรีที่ยังคงมีที่อยูอาศัยในรูปแบบเรือนไทยที่เกาะกลุมในลักษณะ ชุมชนมีความสัมพันธไปกับวิถชี วี ติ ในการทํากินภายใตระบบนิเวศของตนเองอีกหลาย พืน้ ที่ และมีความเหมาะสมในการศึกษาสําหรับงานวิจยั นี้ คณะผูว จิ ยั จึงนําเสนอพืน้ ที่ ศึกษาในบริเวณอําเภอบานลาดใน 2 พื้นที่ คือ บานละหานใหญ (หมู 5) ตําบลตําหรุ อําเภอบานลาด จังหวัดเพชรบุรี และบานไรสะทอน (หมู 4) ตําบลถํ้ารงค อําเภอบาน ลาด จังหวัดเพชรบุรี

ภาพที่ 2: พื้นที่ศึกษาในตําบลถํ้ารงคและตําบลตําหรุ ในอําเภอบานลาด จังหวัดเพชรบุรี ที่มา: ปรับปรุงจากแผนที่ภูมิศาสตรจังหวัดเพชรบุรี กรมแผนที่ทหาร

บานและเรือนไทยพื้นถิ่นในชุมชนบานละหานใหญ ตําบลตําหรุ และบาน ไรสะทอน ตําบลถํ้ารงค หรือเรียกวาเรือนไทยเมืองเพชร จัดเปนลักษณะหนึ่งของ เรือนไทยภาคกลาง ซึ่งมีลักษณะตามแบบแผนเฉพาะของจังหวัดเพชรบุรี เนื่องจากมี สกุลชางเปนของตนเอง หรือที่เรียกวาสกุลชางเมืองเพชร เรือนไทยเมืองเพชรเหลานี้ ไดรับการยกยองวาเปนเรือนที่มีรูปทรงที่งดงามและมีความประณีตทางฝมือชาง

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 87

86 87

9/6/2558 1:15:03


(ฤทัย ใจจงรัก 2518; สมภพ ภิรมย 2531; วีระ อินพันทัง 2553) แมวาในภาพรวม เรือนไทยเมืองเพชรมีลักษณะคลายเรือนไทยภาคกลาง คือ มีลักษณะเปนเรือนไม ชั้นเดียว ยกพื้นสูง ทรงเรือนสอบเขา มีหลังคาทรงสูงจอมแหที่มีปนลมปดหัวและทาย และมีรายละเอียดองคประกอบทางโครงสรางพื้นฐานที่คลายคลึงกัน แตมีลักษณะ บางสวนที่แตกตางออกไป (ฤทัย ใจจงรัก 2518; วีระ อินพันทัง 2553) บริบทสภาพแวดลอมของพื้นที่ศึกษา

จังหวัดเพชรบุรีมีหลักฐานการอยูอาศัยของผูคนมาอยางตอเนื่อง และมี ความหลากหลายทางชาติพันธุ โดยเฉพาะในเขตพื้นที่เขตลุมนํ้าตอนกลาง และเขต ลุมนํ้าตอนลางของแมนํ้าเพชรบุรี ในบริเวณพื้นที่อําเภอทายาง และอําเภอบานลาด ซึ่งเคยเปนปาสมบรูณและถูกทําใหเปนพื้นที่ปาเปด จึงทําใหมีประชาชนเขาไปจัดตั้ง บานเรือนและสรางพื้นที่ทํากินจํานวนมาก และสวนใหญมักตั้งอยูสองฟากของลํานํ้า เพชรบุรี (กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2546) โดยเฉพาะอําเภอบานลาด ซึ่งใน ปจจุบันมีพื้นที่ทั้งหมด 298,138 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวย 18 ตําบล 95 หมูบาน นับเปนพืน้ ทีท่ มี่ คี วามสําคัญทีม่ แี หลงโบราณคดีอยูม าก และในปจจุบนั ยังคงมีบา นเรือน ที่อยูอาศัยในรูปแบบเรือนไทยและยังแสดงศักยภาพที่สัมพันธกับการดํารงชีวิตของ ทองถิ่นปรากฏใหเห็นอยูมากมาย

บานละหานใหญ ตําบลตําหรุ

ตําบลตําหรุ เปน 1 ใน 18 ตําบลที่ตั้งอยูในเขตการปกครองของอําเภอ บานลาด ครอบคลุมพื้นที่ 5,768 ไร ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปของตําบลตําหรุ เปนที่ราบลุมเหมาะสมกับการทําเกษตรกรรม โดยมีแมนํ้าเพชรบุรีไหลผานจากตอน เหนือลงสูตอนใต ตลอดแนวทางทิศตะวันออกของตําบลและเปนเสนเขตติดตอกับ ตําบลถํ้ารงค สวนทางตะวันตกของตําบลมีหวยมะกอกไหลผานตลอดแนวเปนเสน เขตติดตอกับตําบลไรสะทอน ภายในตําบลมีหวยละหานใหญไหลผานบริเวณทาง ตอนบนลงมาบรรจบกับหวยมะกอก นอกจากนี้ ภายในตําบลยังมีทางหลวงจังหวัด หมายเลข 3179 ตัดเลียบขนานกับคลองชลประทานสายใหญฝงซาย 1 สาย ซึ่งถนน สายนี้ตัดผานกลางตําบล เดิมตําบลตําหรุ ประกอบดวย 12 หมูบาน ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ ตําบลถํ้ารงคดวย แตภายหลังไดแยกออกไป ในปจจุบันตําบลตําหรุ ประกอบดวย

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 88

9/6/2558 1:15:03


6 หมูบาน มีจํานวนประชากร 2,866 คน 812 ครัวเรือน ประชากรของตําบล สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม และแตละครัวเรือนมักประกอบอาชีพมากกวา หนึง่ อาชีพขึน้ ไป หรือทําควบคูก นั ไป เชน ทํานา ทําไร ทําสวน เลีย้ งสัตว และรับจางทัว่ ไป สวนบานละหานใหญ (หมูที่ 5) ที่ถูกเลือกเพื่อทําการศึกษานั้น ชื่อของหมูบานมีการ สะกดในลักษณะอื่นๆ ดวย เชน บานละหานใหญ บานหานใหญ และบานระหารใหญ เปนตน โดยถูกเรียกมาจากลักษณะสภาพภูมปิ ระเทศทีต่ งั้ อยูร มิ แองนํา้ หรือลําละหาน ซึ่งมีหลักฐานทางประวัติศาสตรวาละหานนี้เคยเปนสายนํ้าเกาของแมนํ้าเพชรบุรี (แสนประเสริฐ ปานเนียม 2550) ลําละหานนี้เปนแหลงนํ้าจืดที่มีความอุดมสมบูรณ และมีความสําคัญตอการดํารงชีวิตของชาวบานเปนอยางมาก

ภาพที่ 3: ขอบเขตและสภาพแวดลอมบริเวณตําบลตําหรุ ที่มา: ปรับปรุงจาก http://www.earth.google.com

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 89

88 89

9/6/2558 1:15:03


การตั้งถิ่นฐานของชุมชนบานละหานใหญมีมาตั้งแตสมัยอยุธยาตอนกลาง (ประมาณพุทธศตวรรษที่ 19-21) สภาพแวดลอมของชุมชนเปนที่ราบลุม มีกลุมบาน ที่ถูกโอบลอมดวยพื้นที่ในการทําการเกษตรกรรม โดยมีแองนํ้าหรือลําละหานซึ่งเปน แหลงนํ้าที่สําคัญสําหรับชุมชนอยูทางดานทิศตะวันออก ควบคูไปกับการมีระบบ ชลประทานไหลผานดานทิศตะวันตกของชุมชน ซึง่ เปนพืน้ ทีท่ าํ การเกษตรกรรมหลัก ของชาวบาน การตั้งบานเรือนมีลักษณะเกาะกลุมของเครือญาติ กระจายตัวบริเวณ โดยรอบแองนํ้า และถนนที่ตัดเขาพื้นที่ชุมชน ภายในชุมชนมีศาลากลางบาน (ชื่อวา “ศาลาประกาศวชิรธรรม”) ไวเปนที่ประกอบพิธีกรรมประเพณีที่สําคัญของชุมชน และมีโรงสีชุมชนอยูดวย ในปจจุบันบานละหานใหญมีจํานวนประชากรทั้งสิ้น 471 คน 128 ครัวเรือน ชาวบานสวนใหญประกอบอาชีพที่เกี่ยวเนื่องกับการเกษตร เชน การทํานาและการขึ้นตาล การทําพืชสวน และพืชไร และการทําการเกษตรแปรรูป อื่นๆ

ภาพที่ 4: สภาพแวดลอมและวิถีชีวิตของชาวบานในชุมชนบานละหานใหญ ตําบลตําหรุ

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 90

9/6/2558 1:15:03


บานไรสะทอน ตําบลถํ้ารงค

ตําบลถํ้ารงค อําเภอบานลาด มีพื้นที่ครอบคลุมทั้งหมดประมาณ 6,438 ไร (10.3 ตารางกิโลเมตร) พื้นที่สวนใหญของตําบลเปนที่ราบลุมนํ้าทวมถึง มีภูเขา ขนาดเล็ก 5 แหง มีแมนํ้าเพชรบุรีไหลผานทางทิศตะวันตก และมีลําหวยไหลผาน ทุกหมูบาน ทําใหเปนพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณเหมาะแกการทําการเกษตรกรรม พื้นที่ของตําบลมีถนนสายบานลาด–พุกาม เปนสายหลักภายในตําบล และมีถนน เพชรเกษม และถนนเรียบคลองชลประทานตัดผาน เสนทางสัญจรเหลานี้ทําใหตําบล มีการคมนาคมที่สะดวก ซึ่งทําใหเกิดการขนสงสินคาพืชผลออกสูภายนอกไดรวดเร็ว จากความเกาแกของหลวงพอดํา ซึ่งเปนพระพุทธภาพที่ชุมชนชาวบานเคารพศรัทธา มาชานาน ทําใหคาดวาชุมชนในบริเวณตําบลถํ้ารงคนาจะมีอายุหลายรอยป หรือ เกือบพันป ในอดีตสภาพแวดลอมของตําบลถํ้ารงคนั้นมีสภาพเปนปา และมีบาน เรือนตั้งอยูประปราย ตําบลถํ้ารงค ซึ่งแยกออกมาเขตพื้นที่ของตําบลตําหรุในป พ.ศ. 2522 ปจจุบันแบงเขตการปกครองออกเปน 6 หมูบาน มีจํานวนประชากรทั้งสิ้น 3,427 คน 951 ครัวเรือน ประชากรของตําบลสวนใหญประกอบอาชีพที่หลากหลาย เชน เกษตรกรรม คาขาย รับจางทั่วไป และรับราชการ ชาวบานจะมีการจัดกิจกรรม การละเลนตามประเพณีทกี่ ระจายไปตามหมูต า งๆของตําบลในทุกๆป และมีการจัดตัง้ กลุมพิพิธภัณฑพื้นบานที่เปนการรวบรวมมรดกทางวัฒนธรรมและการจัดแสดง ความเปนมาทางประวัติศาสตรของทองถิ่นของตําบลอีกดวย สวนบานไรสะทอน (หมู 4) ในปจจุบันประกอบดวย 163 ครัวเรือน และ มีประชากร 469 คน สภาพแวดลอมชุมชนมีทั้งที่เปนภูเขาสูงและที่ราบ โดยมีแมนํ้า เพชรบุรีไหลผานบริเวณที่ราบเปนที่ตั้งของบานเรือนที่อยูอาศัยในลักษณะของเกาะ กลุมกันของเครือญาติและถูกโอบลอมดวยพื้นที่ในการทําการเกษตร ในละแวกชุมชน ที่อยูอาศัยนอกจากจะมีบานเรือนเรียงตัวไปตามถนนของชุมชนที่สามารถเชื่อมตอ กับถนนเพชรเกษม (ถนนหลวงสาย 35) ยังมีองคประกอบอื่นๆ เชน วัด โรงเรียน และ ที่ทําการองคบริหารสวนตําบลถํ้ารงคซึ่งตั้งอยูนอกเขตพื้นที่ตั้งของกลุมบานเรือน อีกดวย ในบริเวณชุมชนที่อยูอาศัยประกอบดวย เรือนคาขาย โรงสีชุมชน และบาน เรือนที่สวนใหญยังคงมีลักษณะไทยที่สอดคลองไปกับวิถชี ีวิต และแสดงศักยภาพของ ความเปนพื้นถิ่น โดยเฉพาะบานเรือนที่อยูริมถนนจะมีกฎเกณฑในการจัดระบบ ภูมิทัศนรวมกันของชุมชนจึงทําใหเกิดบรรยากาศในการอยูอาศัยที่มีลักษณะเฉพาะ ที่รมรื่นและเปนระเบียบ สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 91

90 91

9/6/2558 1:15:03


ภาพที่ 5: ขอบเขตและสภาพแวดลอมบริเวณตําบลถํ้ารงค ที่มา: ปรับปรุงจาก Google earth

ภาพที่ 6: สภาพแวดลอมและวิถีชีวิตของชาวบานในชุมชนบานไรสะทอน ตําบลถํ้ารงค โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 92

9/6/2558 1:15:04


การเลือกสรรบานเรือนในการศึกษา

การศึกษานี้เนนการศึกษาและสํารวจลักษณะเรือนไทยพื้นถิ่นและวิถีชีวิต การอยูอาศัยในชุมชนบานละหานใหญ ตําบลตําหรุ และบานไรสะทอน ตําบลถํ้ารงค ซึ่งมีการดําเนินการเก็บขอมูลตั้งแตเดือนเมษายน 2555 จนถึงมกราคม 2556 ทั้งนี้ มีการศึกษา และสํารวจเรือนไทยเมืองเพชรของทั้งสองชุมชนในเบื้องตนจํานวน 30 หลัง จากนั้นทําการคัดเลือกบานจํานวน 15 หลัง (10 หลัง ในบานละหานใหญ ตําบล ตําหรุ และ 5 หลัง ในบานไรสะทอน ตําบลถํ้ารงค) เพื่อจัดทําแบบทางสถาปตยกรรม 2 มิติ และคัดเลือกใหเหลือ 5 หลัง เพื่อจัดทําแบบ 3 มิติ บานจํานวน 15 หลังที่ถูก คัดเลือกเพื่อทําการศึกษาโดยละเอียด ถูกนํามาวิเคราะหและประมวลขอมูล เพื่อการ จัดเก็บและนําเขาระบบฐานขอมูล และจัดทําชุดองคความรูสื่อสารสนเทศเพื่อการ เผยแพรตอไป ทั้งนี้ มีเกณฑในการคัดเลือกเรือนจํานวน 15 หลัง ดังนี้ - เรือนที่ศึกษามีการกระจายตัวทั่วถึงครอบคลุมพื้นที่เปาหมายโครงการ - เปนเรือนที่มีลักษณะรูปแบบตามแบบแผนภูมิปญญาทองถิ่น - เปนเรือนที่ไมถูกตอเติมหรือดัดแปลงจนเสียรูปเมื่อพิจารณาในองครวม - ประวัติความเปนมาของเรือน และความสําคัญตอพื้นที่ - เปนเรือนที่แสดงใหเห็นความสัมพันธของวิถีชีวิตและอาชีพในทองถิ่น จากการศึกษาในเบื้องตนพบวา เรือนสวนใหญมีการปรับปรุงตอเติมเพื่อ สนองตอบความตองการในการใชสอยเรือนที่เปลี่ยนแปลงไป มีเพียงสวนนอยที่ยังคง แบบแผนของเรือนในรูปแบบดั้งเดิมของชุมชน และบางหลังมีการเปลี่ยนแปลง โครงสรางเรือนโดยใชโครงสรางสมัยใหม ดังนั้นเกณฑในการพิจารณาเลือกเรือน จํานวน 5 หลัง นอกจากจะคํานึงถึงลักษณะเรือนที่มีความโดดเดนและเปนไปตาม แบบแผนประเพณีของชุมชนแลว ยังคํานึงถึงลักษณะการเปลี่ยนแปลงของเรือน การ เลือกเรือนจํานวน 5 หลัง จึงครอบคลุมทั้งเรือนที่มีอายุเกาแกและยังคงลักษณะตาม แบบแผนดั้งเดิม และเรือนที่สรางขึ้นใหม โดยมีการประยุกตใชวัสดุและอุปกรณสมัย ใหมในการปลูกสรางเรือนอีกดวย ทั้งนี้ตําแหนงเรือนที่ถูกคัดเลือกเพื่อการศึกษาใน จํานวน 30, 15 และ 5 หลัง ดังแสดงในภาพ

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 93

92 93

9/6/2558 1:15:05


ภาพที่ 7: ตําแหนงเรือนที่การศึกษาจํานวน 30 หลัง (ซาย) เรือนที่ศึกษาจํานวน 17 หลัง ในบานละหานใหญ ตําบลตําหรุ (ขวา) เรือนที่ศึกษาจํานวน 13 หลัง ในบานไรสะทอน ตําบลถํ้ารงค

นอกจากนี้เนื่องจากโครงการวิจัยฯนี้มีการดําเนินการคูขนานใน 4 ภูมิภาค และเพือ่ ใหเกิดมาตรฐานในการดําเนินงานจึงมีการกําหนดรหัสตอเรือนทีท่ าํ การศึกษา โดยมีความหมาย คือ จังหวัด – แหลงเรียนรู – เรือน ตัวอยางรหัสบาน PBI-Tar-001 มีความหมาย ดังนี้ PBI หมายถึง จังหวัดเพชรบุรี Tar หมายถึง แหลงเรียนรูในตําบลตําหรุ และ Thr หมายถึง แหลงเรียนรู ในตําบลถํ้ารงค 001 หมายถึง เรือนหลังที่ 1

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 94

9/6/2558 1:15:05


เรือนหลังที่ 1 รหัสเรือน PBI-Tar-001

เรือนหลังที่ 2 รหัสเรือน PBI-Tar-002

เรือนหลังที่ 3 รหัสเรือน PBI-Tar-004

เรือนหลังที่ 4 รหัสเรือน PBI-Tar-005

เรือนหลังที่ 5 รหัสเรือน PBI-Tar-006

เรือนหลังที่ 7 รหัสเรือน PBI-Tar-013

เรือนหลังที่ 8 รหัสเรือน PBI-Tar-014

เรือนหลังที่ 9 รหัสเรือน PBI-Tar-015

เรือนหลังที่ 10 รหัสเรือน PBI-Tar-016

เรือนหลังที่ 10 รหัสเรือน PBI-Tar-016

เรือนหลังที่ 11 รหัสเรือน PBI-Thr-018

เรือนหลังที่ 12 รหัสเรือน PBI-Thr-020่​่

เรือนหลังที่ 13 รหัสเรือน PBI-Thr-026

เรือนหลังที่ 14 รหัสเรือน PBI-Thr-027

เรือนหลังที่ 15 รหัสเรือน PBI-Thr-030

ภาพที่ 8: เรือนที่พิจารณาเลือกเพื่อศึกษาในรายละเอียดจํานวน 15 หลัง

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 95

94 95

9/6/2558 1:15:05


วัฒนธรรมความเปนอยูและการปรับเปลี่ยนในบานละหานใหญและ บานไรสะทอน

ทุงนาและตนตาลนับเปนภูมิทัศนที่สําคัญของบริเวณที่ราบลุมนํ้าเพชรบุรี โดยเฉพาะในพื้นที่อําเภอบานลาด ในอดีตอาชีพหลักของชาวบานในบานละหานใหญ ตําบลตําหรุ และบานไรสะทอน ตําบลถํ้ารงค คือ การทํานา การขึ้นตาล การทํา ผลผลิตจากตนตาลโตนด โดยเฉพาะนํ้าตาล และบางสวนมีการทําเครื่องจักสาน การ ทํานาในอดีตเปนการทํานาปและจะใชวัวเปนหลักในการทํานา และใชเกวียนในการ ขนขาว เมื่อถึงฤดูเก็บเกี่ยวชาวบานก็จะขนขาวเพื่อมาทําขาวโดยการใชวัวยํ่าและ เดิน วนรอบเสาเปนวงกลม ในการยํา่ ขาวนีช้ าวบานมักมีการลงแรงวัวเอามาชวยกันอีกดวย เมือ่ ไดขา วแลวก็นาํ มาตากบริเวณปาละเมาะหลังบาน โดยแตละบานจะมีลานตากขาว เปนของตนเองจากนัน้ จึงนําขาวมาเก็บในยุง ขาว (ชาวบานเรียก ฉางขาว) หรือโรงเรือน กะลอมขาวในบานของตนเอง เพื่อเอาไวใชกิน ใชปลูก และที่เหลือจึงนําไปจําหนาย ในบางบานหากไมใชใตถุนเรือนเปนที่อยูอาศัยของวัว ก็จะมีการปลูกสรางโรงเรือน สําหรับเปนที่อยูอาศัยของวัวในเขตบาน นอกจากนี้ บางบานจะมีโรงเรือนในการเคี่ยว นํ้าตาลโตนด ทําขนม และมีเตาเผาถานเพื่อเอาไวใชและเพื่อจําหนายในละแวกบาน อีกดวย

ภาพที่ 9: โรงเรือนเคี่ยวนํ้าตาลโตนดในอดีตในบริเวณบานของเรือนรหัส PBI-Tar-001

อยางไรก็ตามในอดีตชาวบานในจังหวัดประสบปญหาทัง้ สภาวะความแหงแลง และนํา้ ทวมหนักในบางป และบอยครัง้ แตในชวงหลายสิบปทผี่ า นมาจังหวัดเพชรบุรี มีการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงในหลายๆ ดานทั้งทางสภาพแวดลอม สังคม และ เศรษฐกิจ โดยเฉพาะจากการพัฒนาระบบสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ ระบบ

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 96

9/6/2558 1:15:07


เขื่อนและการชลประทาน และการสงเสริมการเกษตรในโครงการพระราชดําริในการ ปรับโครงสรางระบบการผลิตทางการเกษตร รวมถึงการจัดตั้งและการดําเนินการ ของกลุมคนรักเมืองเพชร ปจจัยเหลานี้ในดานหนึ่งสงผลใหชาวบานในจังหวัดมีการ ปรับวิถีในการทําการเกษตรที่มีความหลากหลายมากขึ้น ในชุมชนบานละหานใหญ ตําบลตําหรุ และบานไรสะทอน ตําบลถํ้ารงค นอกจากจะยังคงมีการแปรรูปผลผลิตตาลโตนด ทําขนมแบบดั้งเดิม และการทํานา ซึ่งมีการเปลี่ยนจากการทํานาปมาเปนนาปรังแลว ยังมีการทําการเกษตรในรูปแบบ ไรนาสวนผสม บางสวนมีการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรที่มีความทันสมัยมากขึ้น ในชุมชนบานละหานใหญ ตําบลตําหรุ ในปจจุบันมีชื่อเสียงเรื่องการทํานํ้าพริกแกง ตางๆ โดยกลุมแมบานเกษตรกรละหานใหญสามัคคี ซึ่งมีโรงเรือนผลิตตั้งอยูบริเวณ ริมละหานใหญ สวนชุมชนบานไรสะทอน ตําบลถํ้ารงค มีสวนตาลของกํานันถนอม ภูเงิน ซึ่งเปนการทําการเกษตรแบบพอเพียงที่เกิดจากสั่งสมประสบการณเกี่ยวกับ ทรัพยากรของทองถิ่น และความมุงหมายที่นอกจากจะสรางใหเปนแหลงทรัพยากร ตนตาลที่สําคัญในเชิงเศรษฐกิจแลว ยังเปนแหลงในการรวบรวมองคความรู และ เปนสถานที่ศึกษาที่สําคัญเกี่ยวกับระบบนิเวศตนตาล ทั้งนี้มิใชเพียงแคเพื่อครอบครัว ตนเอง แตยังเพื่อทองถิ่นและสังคมในภาพกวางอีกดวย

ภาพที่ 10: การแปรรูปผลผลิตทางเกษตรและการเกษตรพอเพียง (ซาย) อาคารทํานํ้าพริกของกลุมแมบานเกษตรกรละหานใหญสามัคคี ในบานละหานใหญ (ขวา) สวนตาลกํานันถนอม ในบานไรสะทอน

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 97

96 97

9/6/2558 1:15:07


นอกจากการประกอบอาชีพแลว ชาวบานของทั้งสองชุมชนยังมีการทํา กิจกรรมทางประเพณีวัฒนธรรมตางๆ รวมกันเปนประจํา งานประเพณีวัฒนธรรมของ ทั้งชุมชนบานละหานใหญและบานไรสะทอนแบงไดเปน 2 ระดับ คือ ระดับครัวเรือน และระดับชุมชน ประเพณีในระดับครัวเรือนทีม่ กี ารทําพิธกี รรมในบานเรือนมักเปนไป ตามความเชื่อของบรรพบุรุษที่ตนเองสืบเชื้อสาย ซึ่งพบทั้งไทย ลาว จีน และมุสลิม โดยชาวบานสวนใหญเปนคนไทย สวนผูสืบเชื้อสายชาติพันธุอื่นๆ พบในจํานวน ไมมากนัก ชาวบานมักมีประเพณีที่จัดขึ้นที่บานตามเทศกาลของตนที่แตกตางกันตาม การปฏิบัติของบรรพบุรุษ เชน การไหวเจาจีน การไหวผีลาว เปนตน นอกจากนี้ ยังพบการประกอบพิธีกรรมในบานเรือนตามความเชื่อสวนบุคคลอื่นๆ ดวย เชน การ รับขันธ 5 และการตั้งหิ้งแมตะเคียนในเรือน เปนตน สวนประเพณีในระดับชุมชน จะพบเพียงงานทายกรานต ในบานละหาน ใหญ ตําบลตําหรุ ซึ่งเปนงานทําบุญสงทายเทศกาลสงกรานต ซึ่งจะมีการทําพิธีสงฆ ตอนชวงเชา มีพิธีกรรมสงวัวควายที่ทายบานตอนชวงบาย แลวจึงกลับมาทําบุญที่ ศาลากลางบาน งานทายกรานตเปนประเพณีทมี่ คี วามเฉพาะและยึดโยงกับคติความเชือ่ ของสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ ยี่ งั คงยึดถือปฏิบตั มิ าอยางยาวนาน สวนงานประเพณีอนื่ ๆ โดยเฉพาะ งานบุญในวันสําคัญทางพุทธศาสนา ชาวบานมักจัดขึน้ ทีว่ ดั ในละแวกชุมชนของตนเอง นอกจากนี้ ยังพบการสรางประเพณีหรือกิจกรรมขึน้ ใหมเพือ่ เปนการรวมใจ ของชาวบาน อาทิ การแขงเรือในละหานใหญ ของทุกวันที่ 5 ธันวาคม ในตําบลตําหรุ ซึ่งมีชุมชนบานละหานใหญรวมดวย และงานรดนํ้าดําหัวผูใหญ ในชวงวันสงกรานต ของบานไรสะทอน เปนตน

ภาพที่ 11: งานทายกรานต ในบานละหานใหญ ที่มา: อนุเคราะหโดย อ.แสนประเสริฐ ปานเนียม โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 98

9/6/2558 1:15:07


บานและเรือนในอดีต

บานและเรือนในอดีตของทั้งชุมชนบานละหานใหญ ตําบลตําหรุ และบาน ไรสะทอน ตําบลถํ้ารงค ซึ่งโดยมากมีอายุมามากกวา 100 ป เปนเรือนไทยยกเสาสูง ที่มีการเกาะกลุมกันของเครือญาติ และกระจายตัวตามแนวเสนทางสัญจรของชุมชน โดยมีแหลงนํ้าเปนศูนยกลางของการอยูอาศัย มีพื้นที่ปาละเมาะและพื้นที่ในการทํา นาลอมรอบ ชาวบานกลาววาในอดีตชุมชนจะมีกลุมบานหลักๆ ในชุมชนไมมากนัก เมื่อมีสมาชิกในครอบครัวแตงงานมักมีการออกเรือนและปลูกสรางเรือนขึ้นใหม ยกเวนลูกคนสุดทองซึง่ จะเปนผูท รี่ บั ทอดเรือนของพอ-แมเปนมรดกตอไป เรือนทีป่ ลูก สรางขึ้นใหมมักอยูในละแวกบานของพอแม และเนื่องจากในอดีตบริเวณพื้นที่มักมี นํ้าหลากเปนประจําเกือบทุกป จึงมักมีการเชื่อมกันดวยนอกชานหรือทําทางเชื่อมกับ เรือนของพอ-แมในระดับชั้นบนของเรือน ในอดีตลักษณะของเรือนเปนเรือนไมชั้นเดียวยกพื้นสูง ใตถุนเรือนเปดโลง เอาไวเปนสวนอาศัยของวัว บริเวณบานอาจมีโรงเรือนขนาดเล็กในการทํานํา้ ตาลโตนด รวมถึงเตาเผาถานมักไมมีตนไมในบริเวณบาน แตอาจมีการปลูกพืชผักสวนครัวที่ สามารถเก็บเกี่ยวในระยะสั้น ตนไมสวนใหญมักเปนตนไมที่ทนสภาวะนํ้าทวมได และ มักขึ้นอยูในบริเวณปาละเมาะทายบาน ในชั้นบนเปนเรือนหลังคาทรงสูง ซึ่งมีตั้งแตหลังคาจั่วเดียวไปจนถึงหลังคา สามหนาจั่ว เรือนหลังคาจั่วเดียวจะมีลักษณะคลายเรือนไทยภาคกลางทั่วไปที่มีสวน ตัวเรือนประธานและระเบียง อาจมีและไมมีนอกชาน เรือนหลังคาจั่วคูนับเปนเรือน ที่เปนแบบแผนประเพณีโดยทั่วไปของชุมชน สวนเรือนที่มีหลังคาสามหนาจั่วมักเกิด จากการนําเรือนอีกหนึ่งหลังมาตอเขากับเรือนจั่วคู เรือนหลังคาจั่วคูมักประกอบดวยองคประกอบพื้นฐาน 3 สวน คือ เรือน ประธาน หอหนา และพื้นที่ครัว โดยมีชานหนาเรือนและมีบันไดขึ้นลงจากภายนอก เรือนประธานมีทั้งขนาด 2 และ 3 หองเสา วางตามยาวในแนวทิศตะวันออก และ ตะวันตก และมักหันดานสกัดใหกับเสนทางสัญจรของชุมชน ภายในตัวเรือนแบงพื้นที่ ออกเปน 2 สวนหลักๆ คือ หองในเรือน และหองโถงดานหนา หรือหองเปด หองใน เรือนมักมีขนาด 1 หองเสา เปนหองที่มีการปดลอมมิดชิด โดยมากเปนฝาสําหรวด หรือฝาปะกน ในอดีตหองในเรือนมักไวเปนที่นอนของลูกสาวและเปนหองทําคลอด และอยูไฟหลังคลอดบุตร หองในเรือนนี้จะมีหนาตาง 2 ดานที่ตอเนื่องกับภายนอก

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 99

98 99

9/6/2558 1:15:07


สวนดานที่ติดกับหองโถงดานหนาจะมีประตูสําหรับเขา-ออกที่อยูดานขางที่ติดกับ หอหนา ฝาของหองในเรือนที่ติดกับหอหนามักเปนฝาทึบที่ไมมีหนาตาง และจะมีการ ยื่นฝาออกมาเล็กนอย (โดยมากเปนฝาปะกน 2 ชอง) เพื่อบังสายตาบริเวณประตูทาง เขา-ออกจากหองในเรือน ฝาบริเวณนี้เรียกวา ฝาบังเคียน หรือฝาบังเชี่ยน ชาวบาน กลาววาฝาบังเคียนนี้เปนพื้นที่เตรียมตัวของลูกสาวที่ออกมาจากหองในเรือนกอน ออกสูหอหนา ซึ่งอาจมีผูคนมองมาเห็นไดจากภายนอก นอกจากนี้ พื้นที่ถูกเรียกวา “บังเชี่ยน” อาจเปนเหตุผลเนื่องมาจากในอดีตชาวบานมักจะมีการกินหมากและจะ มีเชี่ยนหมากประจําตัว แตพอมาในสมัยจอมพลแปลก พิบูลสงคราม เปนนายก รัฐมนตรี (16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 – 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487) มีนโยบายการสราง ชาติดวยวัฒนธรรมใหม โดยมุงเนนการจัดระเบียบการดําเนินชีวิตของคนไทยให เปนแบบอารยประเทศ จึงไดมีนโยบายในการหามกินหมากแตชาวบานสวนใหญไม สามารถปฏิบัติตามได จึงไดใชพื้นที่บริเวณฝาที่ยื่นออกมานี้เปนที่วางหรือที่ซอนเชี่ยน หมากของผูเฒาผูแกไปดวย จากเรือนประธานจะมีการลดระดับสูพื้นหอหนา ซึ่งมีความตางระดับมาก โดยบริเวณรอยตอระหวางเรือนประธานและหอหนาจะมีโครงสรางที่ชาวบานเรียก วา “กระดานเรียบ” ซึ่งมีลักษณะคลายขั้นบันได วางขนานไปตลอดแนวของเรือน ประธาน ขนาดของกระดานเรียบมีความกวางในชวง 17 – 44 เซนติเมตร ชาวบาน กลาววากระดานเรียบนอกจากจะเปนพื้นที่นั่งสําหรับผูอาวุโสในครอบครัว โดยผูที่มี อายุนอยกวาก็จะนั่งในระดับที่ตํ่ากวาเพื่อเปนการแสดงความเคารพแลว ยังทําหนาที่ ชวยอํานวยความสะดวกตอการกาวออกจากเรือนประธาน เพราะเนื่องจากบริเวณ รอยตอของเรือนประธานและหอหนาจะมีพรึงสูงขึ้นจากระดับพื้นเรือนประธาน และ พื้นเรือนประธานและหอหนามักมีความตางระดับ ซึ่งในบางเรือนมีความตางระดับกัน ประมาณ 37.5 เซนติเมตร กระดานเรียบจะเปนเสมือนพื้นที่เปลี่ยนถายและทําให การกาวเทาออกจากเรือนประธานสูหอหนาไดอยางสะดวกและไมสะดุด หอหนามีลักษณะเปนหองโถงโลงและในบางเรือนจะมีนอกชานเปดโลงตอ ออกจากหอหนาอีกสวนหนึ่ง หอหนาจะมีหลังคาคลุมเฉพาะ แตโครงสรางสวนหลังคา จะตอเนือ่ งและฝากนํา้ หนักไวทเี่ สาของเรือนประธานทีอ่ ยูต ดิ กับหอหนา โดยโครงสราง เสาบริเวณเรือนประธานและหอหนามีลักษณะเปนเรือน 2 หลัง 9 เสา (ในกรณีเรือน ประธานเปนเรือน 2 หองเสา) หรือเรือน 2 หลัง 12 เสา (ในกรณีเรือนประธานเปน

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 100

9/6/2558 1:15:07


เรือน 3 หองเสา) หลังคาหนาจั่วของเรือนประธานและหอหนาเปนจั่วทรงสูง ซึ่งมีทั้ง ที่มีและไมมีตัวเหงา การคลุมหลังคาของเรือนประธาน และหอหนาทําใหเกิดเปน ลักษณะหลังคาคู โดยที่หลังคาบริเวณหอหนาจะมีขนาดเล็กกวาเรือนประธานเสมอ และมีรางนํ้าอยูระหวางกลาง วัสดุมุงหลังคาในอดีตมักเปนหลังคาจากและกระเบื้อง ดินเผา รางนํ้าทําดวยไมหรือสังกะสี สวนวัสดุและโครงสรางในสวนเรือนประธาน และ หอหนาจะเปนการใชไมและการเขาไมดวยสลักเดือยไม

ภาพที่ 12 ลักษณะภายในของเรือนไทยเมืองเพชรในพื้นที่ศึกษา (ก) และ(ข) เรือนประธาน หอหนา และกระดานเรียบ (ค) ฝาบังเคียนที่ยื่นออกมาจากฝาเรือนประธานที่ตอเชื่อมกับหอหนา

พื้นที่ครัวเปนอีกองคประกอบของเรือนชั้นบน โดยมากมักตั้งอยูดานสกัด ของเรือนประธานทางทิศตะวันตก พื้นที่ครัวมักมีการสรางผนังปดลอมและมีการคลุม หลังคาลาดเอียงที่ตอออกจากตัวเรือน เนื่องจากในอดีตการปลูกเรือนสําหรับชาวบานมักเริ่มตนดวยเรือนประธาน จากนั้นจึงปลูกสรางหอหนา และองคประกอบอื่นๆ เพิ่มเติมขึ้นมา แตละสวนของเรือน มักมีระบบโครงสรางเสาทีแ่ ยกจากกัน และมักใชเปนระบบเสาหลักและเสาคํา้ เสาหลัก จะเปนเสาทีย่ าวตรงจากพืน้ ชัน้ ลางจนถึงหลังคาของเรือน และเสาคํา้ จะอยูเ พียงเฉพาะ ในพืน้ ทีใ่ ตถนุ เรือน โดยไมปรากฏขึน้ มาในพืน้ ทีใ่ ชสอยบนเรือน ทัง้ นีเ้ ปนการเสริมความ แข็งแรงใหกับโครงสรางของเรือนในแตละสวน ลักษณะโครงสรางในระบบเสาหลัก และเสาคํ้านี้ทําใหบริเวณใตถุนบานมีจํานวนเสามาก นอกจากนี้พื้นเรือนนิยมปูขวาง กับตัวเรือนบนตงที่ทับบนหลังรอดอีกทีหนึ่ง จํานวนตงมักเปนเลขคี่ โดยเฉพาะ 7 หรือ 9 ซึง่ ถือเปนมงคลตอการอยูอ าศัยเชนเดียวกับคติความเชือ่ ทีม่ ตี อ จํานวนขัน้ บันได สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 101

100 101

9/6/2558 1:15:07


ภาพที่ 13: ลักษณะเสาหลักและเสาคํ้าในบริเวณใตถุนเรือนของเรือนรหัส PBI-Tar-006

ในอดีตการปลูกเรือนจะเริ่มดวยการเตรียมไมที่จะใชในการปลูกเรือนเอา ไวกอน ไมที่ใชก็มักมาจากในบริเวณพื้นที่ปาที่อยูใกลเคียงของชุมชน โดยเฉพาะปา มะขามโพง บริเวณแกงกระจาน และปาบริเวณทายาง โดยสวนใหญชาวบานมักชัก ลากกันมาเอง หรือบางสวนอาจซื้อหามา ไมที่ใชเปนไมเนื้อแข็งและมีหลายชนิด เชน ไมมะคา ไมเต็ง ไมสัก เปนตน นอกจากนี้ จะมีการใชไมยาง และไมตาล หรือไมจาก ตนตาลโตนดรวมดวย แตการใชไมทั้งสองชนิดนี้มักมีการใชเฉพาะบางบริเวณเทานั้น กลาวคือ ไมยางมักนํามาทําเปนไมพื้น ในขณะที่ไมตาลจะนํามาใชเปนไมโครงสราง สําหรับรับพื้น เชน ตง คาน เปนตน โดยเฉพาะไมตาลแมวาจะมีความแข็งแกรงมาก แตไมนิยมนํามาทําเปนพื้น หรือเครื่องบนของหลังคา เนื่องจากในอดีตชาวบานมัก แปรรูปไมกันเอง ไมมีอุปกรณที่จะทําใหไมตาลมีผิวที่เรียบไดและมักเต็มไปดวยเสี้ยน ไม การปลูกสรางเรือนมักมีชา งของชุมชนเปนผูน าํ และสอน โดยเจาของบานจะ ทําหนาที่เปนชางรวมดวย ซึ่งทําใหเกิดการถายทอดความรูดานฝมือชางในการปลูก เรือนไปดวย และในอดีตมักมีการลงแขกลงแรงของชาวบานในการปลูกสรางบานอีก ดวย การปลูกเรือนจะเริ่มดวยการเตรียมไมและองคประกอบเรือนใหพรอมกอนการ ปรุงเรือน การปลูกเรือนมักเริ่มดวยการสรางเรือนประธาน ซึ่งในชวงเริ่มตนของการ ปลูกสรางเรือนประธานนี้จะตองมีผาสีขาวและสีแดงที่มีการลงอาคมวางเอาไวบนหัว เสาและทับดวยขื่อ ผาหัวเสานี้เปนองคประกอบที่สําคัญที่จําเปนตองมีในทุกเรือน ซึ่งเปนที่เชื่อวาจะทําใหเกิดการอยูอาศัยอยางรมเย็นเปนสุขและสามารถปองกัน อันตรายตางๆที่จะเกิดขึ้นกับเรือน เชน วาตภัย อัคคีภัย และอุทกภัย เปนตน

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 102

9/6/2558 1:15:08


ภาพที่ 14: ผาหัวเสา (ผาสีขาวและสี แดง) บนหัวเสาของเรือนประธาน

การปรับเปลี่ยนของบานและเรือน

จากการศึกษาเรือนไทยเมืองเพชรในชุมชนบานละหานใหญ ตําบลตําหรุ และ บานไรสะทอน ตําบลถํ้ารงค ในเบื้องตนจํานวน 30 หลัง และที่พิจารณาเลือกเพื่อ ทําการศึกษาในรายละเอียดจํานวน 15 หลัง จะพบวาบานและเรือนเหลานี้มีการ เปลี่ยนแปลงมาอยางตอเนื่อง ซึ่งสามารถกลาวไดเปน 2 สวน คือ การวางผังและ องคประกอบบริเวณบาน และลักษณะเรือนและองคประกอบ การปรับเปลี่ยนการวางผังและองคประกอบบริเวณบาน ในปจจุบันเรือนที่ถูกศึกษาของทั้งสองชุมชนสวนใหญมีลักษณะรวมกลุม ของเครือญาติ การกระจายตัวไปตามแนวของเสนทางสัญจรของชุมชน ซึง่ ถูกพัฒนามา โดยลําดับจากทางเดินของคนและเกวียนมาสูถนนคอนกรีต เรือนที่ถูกศึกษาทั้งหมด ยังคงเปนเรือนไมยกพื้นสูง โดยวางตัวตามยาวของเรือนประธานไปในแนวทิศทาง ตะวันออกและตะวันตก และสวนใหญหันดานสกัดหรือดานหนาจั่วของเรือนประธาน เขาสูเสนทางสัญจร จากการศึกษาพบเพียงเรือน 2 หลังที่ยังคงมีทางเชื่อมที่ไปมาหา สูก นั ไดในระดับพืน้ ชัน้ บน ในปจจุบนั บานเรือนโดยสวนใหญมลี กั ษณะทีแ่ ยกเปนหลังๆ เปนปจเจกของแตละครัวเรือน และมีอาณาเขตแบงกั้นอยางชัดเจนดวยการลอมรั้ว รอบบริเวณบาน ภายในบริเวณบานสวนใหญจะมีพื้นที่สวนที่เปนพืชผักสวนครัวและ บางสวนเปนสวนผลไมที่ปลูกเพื่อขาย ตัวเรือนของบานสวนใหญมักตั้งหางจากทาง สัญจรหลัก และการเขาถึงมักตองผานลานโลงหนาบาน หรือเปนลักษณะทางเดิน โลงที่นําเขาสูทางเขาของตัวเรือน มีเพียงบางบานเทานั้นที่จะพบบริเวณบานที่มีพื้นที่

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 103

102 103

9/6/2558 1:15:08


โดยรอบตัวเรือนที่จํากัด อยางไรก็ตาม ในบริเวณบานสวนใหญจะพบการตอเติมของ ใตถุนบาน และพบองคประกอบอื่นๆในบริเวณบานดวย เชน ฉางขาวหรือเรือนกะลอม ขาว ศาลหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตางๆ หองนํ้า และโรงเรือนและองคประกอบอื่นๆ ซึ่งมีดังนี้

ภาพที่ 15: เรือนที่ยังคงมีทางเชื่อมระหวางกันในระดับพื้นชั้นบน

• รั้วบาน ในอดีตชุมชนบานละหานใหญและบานไรสะทอนจะไมปรากฏรั้วบาน ใน ปจจุบันบริเวณบานที่ทําการศึกษาสวนใหญจะปรากฏรั้วเพื่อแสดงขอบเขตของแต ละบาน รั้วบานเหลานี้จะพบการใชวัสดุและมีลักษณะที่หลากหลาย ไดแก รั้วตนไม รั้วเหล็กลวดหนามที่มีการปลูกตนไมแซม รั้วทําจากไม และรั้วคอนกรีต อยางไรก็ตาม การใชรั้วเหลานี้ในบานละหานใหญและบานไรสะทอนมีความแตกตางกันและสงผล ตอภาพรวมของบรรยากาศการอยูอาศัยของชุมชนที่แตกตางกันตามไปดวย ในบาน ละหานใหญจะพบการลอมการลอมรั้วบานที่เปนไปตามความตองการของแตละ ครัวเรือนที่เปนปจเจก มีผลทําใหเกิดภาพลักษณของชุมชนบางสวนมีความรมรื่น บางสวนแข็งกราว และบางสวนขาดความตอเนื่อง ในขณะที่การลอมรั้วบานในชุมชน บานไรสะทอน โดยเฉพาะบริเวณถนนของชุมชนที่มีความตอเนื่อง และสรางใหเกิด สุนทรียภาพความรมรืน่ ตอผูผ า นไปมา อันเนือ่ งมากจากการสรางกฎเกณฑในการจัดการ รวมกันของชุมชน โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 104

9/6/2558 1:15:08


ภาพที่ 16: การใชรั้วบานบริเวณถนน ในบานละหานใหญ ตําบลตําหรุ

ภาพที่ 17: การใชรั้วบานบริเวณถนน ในบานไรสะทอน ตําบลถํ้ารงค

• สวน ชาวบานกลาววาภูมทิ ศั นบริเวณบานในอดีตมีลกั ษณะแตกตางจากในปจจุบนั ในอดีตแตละกลุม บานมักมีเพียงกลุม เรือนของแตละครัวเรือนทีเ่ ชือ่ มกันดวยทางเชือ่ ม และรอบบริเวณบานและกลุมบานจะมีลักษณะโลง ไมคอยมีตนไม ทั้งนี้เนื่องจากใน อดีตชุมชนมักมีนํ้าทวมบอยครั้ง โดยเฉพาะในบริเวณบานละหานใหญ ตําบลตําหรุ การปลูกพืชในบริเวณบานกระทําไดยาก โดยมากเปนการปลูกพืชผักสําหรับใชใน ครัวเรือนที่สามารถปลูกและเก็บเกี่ยวในชวงเวลาสั้น ตนไมในบริเวณบานสวนใหญ ตองเปนพืชทีส่ ามารถทนตอสภาวะนํา้ ทวมได และโดยมากเปนตนไมทขี่ นึ้ อยูท า ยบาน และเปนปาละเมาะถัดออกไปจึงเปนทุงนาที่มีตนตาลขึ้นสลับไปดวย อยางไรก็ตาม ภายหลังจากการสรางเขื่อนแกงกระจานและเขื่อนเพชรบุรี รวมถึงการพัฒนาระบบ ชลประทานมีผลทําใหไมเกิดนํ้าทวมบริเวณชุมชนเปนประจําอีก (ยกเวนในป พ.ศ. 2539 ป พ.ศ. 2540 และป พ.ศ. 2546 ที่ชุมชนประสบสภาวะนํ้าทวมอยางรุนแรง) ชาวบานจึงสามารถปลูกพืชอื่นๆในบริเวณบาน นอกจากนี้ เนื่องจากการพัฒนาชุมชน โดยเฉพาะการมีถนนทําใหเกิดการขยับขยายเรือน และมีการแบงแปลงที่ดินแยกออก จากกันและเกิดการกัน้ รัว้ บาน รวมถึงผลจากการพัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตร การ สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 105

104 105

9/6/2558 1:15:08


สนับสนุนทางการเกษตรโดยกรมสงเสริมการเกษตรของจังหวัดเพชรบุรี และโครงการ ปรับโครงสรางระบบการผลิตทางการเกษตร (คปร.) ในโครงการพระราชดําริ ใน ละแวกชุมชนจึงมีการปลูกพืชสวนและพืชไรขึ้นตั้งแตชวงประมาณ 40 กวาปที่ผานมา การปลูกพืชสวนและพืชไรในบริเวณบานและชุมชนจึงมีมากขึ้น สวนในบริเวณบานที่ ถูกทําการศึกษามักมีขนาดและลักษณะที่แตกตางกัน ทั้งนี้ขึ้นกับขนาดที่ดิน และการ ประกอบอาชีพของแตละบาน ซึ่งจะพบสวนใน 2 ลักษณะหลักๆ คือ สวนที่ปลูกพืช ผักสวนครัวเพื่อใชบริโภคในครัวเรือน และสวนที่ปลูกผักและผลไมเพื่อจําหนาย

ภาพที่ 18: การปลูกพืชสวน-พืชไรในบริเวณบานเรือนที่อยูอาศัย

• ฉางขาว หรือเรือนกะลอมขาว เนื่องจากในอดีตทุกบานมีการทํานา โรงเรือนในการเก็บขาวจึงเปนองค ประกอบสําคัญในบริเวณบาน โรงเรือนในการเก็บขาวของชุมชนนี้มี 2 ลักษณะ คือ ยุงขาวหรือฉางขาว และเรือนกะลอม เรือนทั้ง 2 ลักษณะนี้มีความคลายคลึงกัน คือ ตําแหนงที่ตั้งของเรือนเหลานี้จะอยูไมไกลจากตัวเรือนและมีโครงสรางแยกออกจาก ตัวเรือนที่อยูอาศัย ลักษณะของเรือนเปนเรือนไมชั้นเดียวยกพื้นสูง มีลักษณะผังพื้น อาคารเปนรูปสี่เหลี่ยมพื้นผาและมีหลังคาทรงจั่ว แตจะมีการปดลอมของพื้นชั้นบนที่ แตกตางกัน ในปจจุบันยังคงมีฉางขาวและเรือนกะลอมอยูในบานหลายหลังที่ทําการ ศึกษา ซึ่งสวนใหญเปนฉางขาว อยางไรก็ตามฉางขาวและเรือนกะลอมมักไมไดใชใน การบรรจุขาวแลว พบเพียงสวนนอยที่ยังมีการใชงานในการเก็บขาว นอกจากนี้ยังพบ โครงสรางฉางขาวที่ถูกปรับเปลี่ยนเพื่อใชเปนหองนอน เปนที่จอดรถและสวนพักผอน เอนกประสงค และเพื่อใชเปนสวนคาขาย โดยมีการปรับปรุงใหตอเชื่อมกับตัวเรือน โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 106

9/6/2558 1:15:10


ภาพที่ 19: เรือนกะลอมขาว (แถวบน) และฉางขาว (แถวลาง) ในบริเวณบานที่ยังคง หลงเหลือในชุมชน

• หองนํ้าในบริเวณบาน ในอดีตแตละบานจะไมมหี อ งนํา้ แตจะไปในปาละเมาะหรือทุง นา ในปจจุบนั ในทุกบานจะพบหองนํ้า แตหองนํ้าสวนใหญหรือเกือบทั้งหมดจะอยูในบริเวณบาน ชั้นลาง มักไมปรากฏในเรือนชั้นบน เนื่องจากชาวบานเชื่อวาหองนํ้าถือเปนของตํ่า ที่ไมควรนําขึ้นมาไวในเรือนชั้นบน นอกจากนี้ หองนํ้าในชั้นลางของบานสวนใหญมัก ถูกสรางดวยการกออิฐถือปูนและมีคลุมหลังคา และเปนสวนแยกออกจากขอบเขต โครงสรางของเรือนชั้นบน มีเพียงบางบานที่หองนํ้าถูกรวมเขาไปในสวนของหองหรือ พื้นที่ใชสอยที่ถูกตอเติมในพื้นที่ใตถุนเรือน แตในบานเหลานี้หองนํ้าจะไมอยูตรงแนว หรืออยูในขอบเขตของโครงสรางเรือนชั้นบน โดยเฉพาะบริเวณโครงสรางของเรือน ประธานและหอหนา ซึ่งถือเปนสวนสําคัญของบานที่ตองใหความเคารพ • ศาล/สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ศาลหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์เปนองคประกอบที่สําคัญในบริเวณบานที่มีปรากฏ ในทุกบาน ศาลพระภูมิและศาลเจาที่จะพบไดในทุกบาน สวนใหญบานหนึ่งๆ จะมี ศาลพระภูมิและศาลเจาที่ในบริเวณบานของตนเอง มีเพียงสวนนอยที่มีการตั้งศาล พระภูมิ และศาลเจาที่รวมกัน ในกรณีนี้มักพบในบริเวณบานของกลุมเครือญาติ แต สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 107

106 107

9/6/2558 1:15:10


ก็มีแนวโนมที่จะตั้งศาลพระภูมิและศาลเจาที่แยกจากกัน นอกจากนี้ ยังพบศาล สักการะอื่นๆ ตามความเชื่อของการสืบเชื้อสายของแตละครัวเรือน เชน ศาลแม ทองคํา-ทองดี ซึ่งเปนศาลที่ตั้งขึ้นตามความเชื่อของบรรพบุรุษซึ่งมีเชื้อสายชาติพันธุ ลาว

(ข) (ก) ภาพที่ 20: ศาลหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในบริเวณบาน (ก) ศาลพระภูมิในบริเวณบานทั่วไป (ข) ศาลแมทองคํา-ทองดีในบริเวณบานของเรือนรหัส PBI-Tar-002

• โรงเรือนและองคประกอบอื่นๆ ในอดีตบริเวณบานมักมีเพียงตัวเรือน และฉางขาวหรือเรือนกะลอม ใตถุน บานที่ยกพื้นสูงใชเปนที่เก็บอุปกรณในการทํานาและเปนที่อยูของวัวเพื่อชวยในการ ทํานา ซึง่ ในบางบานมีการเลีย้ งวัวเพือ่ วิง่ วัวลานอีกดวย อยางไรก็ตาม ในบางครัวเรือน อาจมีการสรางโรงเรือนสําหรับเปนที่อยูอาศัยของวัวแยกออกไป แตก็ยังคงอยูใน บริเวณบานนอกจากนี้ชาวบานยังมีอาชีพที่สําคัญอีกประการ คือ การขึ้นตนตาลโตนด เพื่อนําผลผลิตตาลมาขายสดหรือแปรรูปทําเปนนํ้าตาล ขนมหวาน และอาหาร โดย เฉพาะในการแปรรูปเปนนํ้าตาล ดังนั้นหากบานใดที่มีการทํานํ้าตาลก็มักมีโรงเรือนที่ มีเตาสําหรับเคี่ยวนํ้าตาลอยูดวย ในปจจุบันวิถีชีวิตของชาวบานไดเปลี่ยนแปลงไป หลายบานที่ยังคงมีการ ทํานาก็จะไมไดใชวัวในการทํานาแลว แตเปลี่ยนไปใชเทคโนโลยีที่ทันสมัยมากขึ้น ทดแทน การเลี้ยงวัวจึงมีจํานวนนอยลง ในปจจุบันบานที่ยังคงมีการเลี้ยงวัวสวนใหญ เลี้ยงไวเพื่อการวิ่งวัวลานและเพื่อขายทั้งตัวหรือขายเนื้อ การเลี้ยงวัวในบานเหลา นี้มักแยกโรงเรือนสําหรับการเลี้ยงวัวออกมาเปนโรงเรือนเฉพาะ ซึ่งมีทั้งที่อยูภายใน และที่อยูภายนอกขอบเขตรั้วบาน โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 108

9/6/2558 1:15:11


ภาพที่ 21: โรงเรือนในการเลี้ยงวัวในบริเวณบาน

สวนโรงเรือนในการเคี่ยวนํ้าตาลโตนดในบริเวณบานในปจจุบันมีจํานวน ลดลงเชนกัน ทั้งนี้เนื่องจากชาวบานที่สามารถขึ้นตนตาลโตนด เพื่อนํานํ้าตาลโตนด ลงมาไดมีอายุมากขึ้นและมีจํานวนลดนอยลง ในบางบานที่ยังคงมีการทํานํ้าตาลก็จะ มีเพียงเตาเคีย่ วตาล โดยไมปรากฏในลักษณะโรงเรือน นอกจากนีเ้ นือ่ งจากวิถชี วี ติ ของ ชาวบานมีการเปลี่ยนแปลงไป ตามการเปลี่ยนแปลงทางสังคม สภาพแวดลอมและ เศรษฐกิจ ชาวบานมีการประกอบอาชีพที่หลากหลายมากขึ้น โรงเรือนในบริเวณบาน จึงมีหลายลักษณะตามแตวัตถุประสงคของการใชสอย แตสวนที่เพิ่มขึ้นมาในปจจุบัน ในบานหลายหลังสวนใหญ คือ โรงเรือนสําหรับเก็บของ และจอดรถ การปรับเปลี่ยนลักษณะเรือนและองคประกอบ

จากการศึกษาพบวาเรือนสวนใหญหรือประมาณรอยละ 80 ในชุมชนบาน ละหานใหญ ตําบลตําหรุ และบานไรสะทอน ตําบลถํ้ารงค มีอายุมากกวารอยป สวน ที่เหลือมีอายุในชวงประมาณ 40-60 ป เรือนที่มีอายุมากกวา 100 ป พบเปน จํานวนมากในพืน้ ทีข่ องทัง้ สองชุมชนนี้ เรือนเหลานีส้ ว นใหญยงั คงมีลกั ษณะในรูปแบบ ประเพณีโดยเฉพาะบริเวณเรือนประธานและหอหนา แตมกั มีการปรับปรุงเปลีย่ นแปลง ในหลายสวน เพื่อตอบสนองวิถีชีวิตและความตองการที่เปลี่ยนแปลงไป จึงทําใหเรือน แตละหลังมีลกั ษณะทีแ่ ตกตางกันออกไปในรายละเอียด การเปลีย่ นแปลงมีทงั้ ทีม่ กี าร ลดขนาดเรือนใหเล็กลง การปรับพื้นที่ใชสอยภายใน การตอเติมเพิ่มสวนใชสอยอื่นๆ โดยเฉพาะการตอเติมหองบริเวณใตถุนบาน นอกจากนี้ ยังมีบางเรือนที่มีการโยกยาย ที่ตั้งของเรือนจากบริเวณที่ตั้งเดิมมาอยูตําแหนงที่ตั้งในปจจุบัน โดยมีการลดจํานวน เรือนลง และมีการปรับเปลี่ยนลักษณะพื้นที่ใชสอยของเรือนทั้งชั้นบนและชั้นลางไป พรอมๆกัน สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 109

108 109

9/6/2558 1:15:11


สวนเรือนที่มีอายุในชวง 40-60 ป เรือนเหลานี้มีทั้งที่ปลูกสรางขึ้นใหม โดยใชลักษณะแบบแผนดั้งเดิมของชุมชน หรือใชรูปแบบประเพณีผสมกับแบบแผนที่ ตอบสนองตอวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป และใชทั้งเทคโนโลยีการปลูกสรางในรูปแบบ ดัง้ เดิมและสมัยใหมรว มกัน และทีม่ กี ารนําเอาเรือนไทยเกาดัง้ เดิมมาปลูกสรางรวมกับ โครงสรางใหมแตยังคงรักษาลักษณะรูปแบบที่เปนประเพณีของชุมชน เรือนในกลุมนี้ แมวาจะมีการปรับเปลี่ยนเรือนบางสวน แตในภาพรวมของเรือนยังคงสะทอนใหเห็น ถึงภูมิปญญาของบานเรือนในชุมชนไดเปนอยางดี ลักษณะของเรือนที่ถูกศึกษาสวนใหญเปนเรือนไมยกพื้นสูง และหลังคาทรง สูง ซึ่งยังคงพบใน 3 รูปแบบ โดยจําแนกจากลักษณะของหลังคา คือ เรือนจั่วเดี่ยว เรือนจั่วคู และเรือนสามหนาจั่ว เรือนจั่วเดี่ยวพบเพียง 1 หลัง ซึ่งมีเปนลักษณะของ เรือนทรงไทยที่พบเห็นไดโดยทั่วไปในภาคกลาง แตจากการศึกษาจะพบวาเปนเรือน ที่มีอายุเกาแกมากกวา 100 ป และเคยมีลักษณะเปนเรือนคู แตถูกทําการปรับลด จํานวนเรือนลง เรือนจั่วคูของเรือนประธานและหอหนายังคงพบไดโดยทั่วไปในพื้นที่ ศึกษา สวนเรือนสามหนาจั่วโดยมากเปนเรือนจั่วคูที่มีการตอเรือนเพิ่มขึ้นอีก 1 หลัง ซึ่งเรือนที่ตอเพิ่มขึ้นนี้โดยมากเปนเรือนที่เรียกวา “หอพระ” การตอหอพระสามารถ แบงออกไดเปน 2 ลักษณะ คือ 1) การตอแบบเรียงตอเนื่อง ทําใหเกิดเปนเรือนที่ มีหนาจั่วดานสกัดเรียงตอกัน 3 หนาจั่ว และ 2) การตอแบบขวางกับเรือนประธาน และหอหนา แมวาเรือนทั้ง 3 รูปแบบนี้จะมีลักษณะของหลังคาและรายละเอียดบาง สวนที่แตกตางกันออกไป แตในภาพรวมจะมีลักษณะของการวางผังพื้นชั้นบน และมี องคประกอบหลักที่คลายคลึงกัน คือ มีเรือนประธาน หอหนา และพื้นที่ระเบียง ขาง (หรือเฉลียงขาง) ยกเวนในเรือนสามหนาจัว่ จึงมีหอพระดวย จากการศึกษาจะพบ เพียงเรือนหลังเดียวที่ยังมีลักษณะที่ยังคงมีครัวไฟอยูบนเรือน และยังคงแบบแผน ดั้งเดิมทางสถาปตยกรรมของชุมชนไวไดมากที่สุด อยางไรก็ตาม ในเรือนสวนใหญจะ พบการปรับเปลี่ยนในหลายองคประกอบซึ่งสามารถประมวลไดดังนี้ • เรือนประธาน เรือนประธานของเรือนทีศ่ กึ ษาทัง้ หมดยังคงวางตามยาวในแนวทิศตะวันออกตะวันตก และหันดานสกัดใหกับทางสัญจรของชุมชน สวนใหญรอยละ 80 เปนเรือน ขนาด 2 หองเสา และบางสวนเปนเรือนขนาด 3 หองเสา ตัวเรือนยังคงแบงออกเปน

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 110

9/6/2558 1:15:12


หองในเรือน 1 หองเสา และหนาหอง ในปจจุบันพบเพียง 2 เรือน ที่ยังคงมีการ ใชงานหองในเรือนเปนหองนอนของลูกสาวตามแบบประเพณี เรือนที่ทําการศึกษา สวนใหญจะพบวาหองในเรือนจะถูกทิ้งวางเอาไวโดยไมมีการใชงาน และพบเพียง จํานวน 2 เรือน ที่มีการใชเปนหองเก็บของ รูปทรงของเรือนประธานของเรือนทีศ่ กึ ษาสวนใหญยงั คงมีลกั ษณะตามแบบ ประเพณี โดยเฉพาะรูปทรงและโครงสรางหลังคา ฝาเรือน การใชประตู-หนาตาง และการเขาไม หลังคาของเรือนประธานเปนจั่วทรงสูงซึ่งพบทั้งจั่วพรหมพักตรและ จั่วใบปรือ จั่วพรหมพักตรมักพบรวมกับการใชปนลมตัวเหงา สวนจั่วใบปรือมักพบ รวมกับการใชปน ลมหางปลา สวนวัสดุมงุ หลังคาในอดีตมีความหลากหลาย เชน หลังคา ใบจาก สังกะสี กระเบื้องดินเผา และกระเบื้องซีเมนต หรือกระเบื้องวาว ในปจจุบัน จะพบเพียงบางเรือนที่ยังคงมีการใชกระเบื้องวาว แตสวนใหญจะมีการเปลี่ยนแปลง การใชวสั ดุมุง ซึ่งโดยมากพบการใชกระเบื้องลูกฟูกลอนเล็ก ผลจากการเปลี่ยนแปลง วัสดุมงุ หลังคา มีผลทําใหโครงสรางหลังคารับนํา้ หนักนอยลง และเปนผลทําใหสามารถ ลดโครงสรางและองคประกอบหลังคาของกลอนและระแนง โดยเปลี่ยนมาใชแป และ การยึดดวยสกรูแทนได ฝาเรือนประธานของเรือนที่ศึกษาเกือบทั้งหมดยังคงมีรูปแบบ และราย ละเอียดตามแบบแผนประเพณีของชุมชน โดยเฉพาะการมีฝาบังเคียนบริเวณประตู หองในเรือน การใชประตู-หนาตาง และการยึดและการเขาไม ฝาเรือนที่พบไดแก ฝาสําหรวด ฝาปะกน และฝาสายบัว การใชฝาสําหรวดและฝาปะกนพบไดโดยทั่วไป สวนฝาสายบัวพบในเรือนหลังเดียว และปจจุบันถูกปรับลดเหลือเพียงการใชที่ฝา ประจันหนาหอง การใชฝาสําหรวดจะพบวามักละเวนสําหรับบริเวณฝาประจันหนา หอง โดยมักใชเปนฝาปะกน จากการศึกษาพบวา การใชฝาเรือนมีความสัมพันธกับ ลักษณะหนาจั่วของหลังคา โดยเฉพาะหลังคาจั่วใบปรือมักนิยมใชกับเรือนประธาน ที่มีฝาสําหรวด แตเรือนที่มีฝาสําหรวดอาจมีการใชกับหลังคาจั่วพรหมพักตรดวย

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 111

110 111

9/6/2558 1:15:12


(ก) (ข) (ค) (ง) ภาพที่ 22: ฝาบริเวณเรือนประธาน (ก) ฝาปะกน (ข) ฝาสายบัว (ค) ฝาสําหรวดมุม มองจากภายในเรือน (ง) ฝาสําหรวดมุมมองจากภายนอก หมายเหตุ: ภาพ (ก) และ (ข) แสดงใหเห็นฝาบังเคียนที่ยื่นออกมาจากฝาเรือนประธาน ที่ตอเชื่อมกับหอหนา

สวนของการปรับเปลี่ยนที่พบในเรือนประธานที่สําคัญ คือ การปรับระบบ โครงสรางพื้นไปสูระบบคาน ตง และพื้นในรูปแบบใหม ในอดีตพื้นของเรือนประธาน จะปูขวางกับตัวเรือน ขนาดไมที่ใชอยูในชวงประมาณ 1” x 10” – 13” บนตงไมที่มี ขนาดโดยประมาณ 2 1/2”x 3” - 3”x 4” การศึกษาจะพบวา มีเรือนบางสวน หรือประมาณรอยละ 30 มีการปรับเปลี่ยนระบบโครงสรางพื้น เจาของเรือนเหลานี้ กลาววาเดิมเรือนประธานเคยมีระบบโครงสรางพื้นตามแบบแผนดั้งเดิมของชุมชน แตเนือ่ งจากโครงสรางสวนนีม้ กี ารผุพงั จึงไดมกี ารซอมแซมและเปลีย่ นระบบโครงสราง พื้นใหม โดยมีการลดคานตามขวางใหเหลือเฉพาะคานตามยาว เปลี่ยนการวางตงไม มาเปนวางตามแนวขวางของเรือน และเปลี่ยนการปูพื้นของเรือนประธานจะเปลี่ยน มาวางตามแนวยาวของเรือน ระบบพื้นในรูปแบบใหมนี้จะพบการใชขนาดกวางของ พื้นไมท่ีเล็กลง 1” x 5”-8” รวมถึงขนาดตงไมและคานไม ซึ่งสวนมากมีขนาดโดย ประมาณ 1” หรือ 1 1/2” x 6” นอกจากนี้ ในเรือนที่ปลูกสรางขึ้นใหมซึ่งมีอายุในชวงประมาณ 40 ป จะ พบวาในภาพรวมมีการรักษาลักษณะรูปทรงโครงสรางและการใชฝาเรือนของเรือน ประธาน รวมถึงการเขาไมในรูปแบบประเพณี แตจะพบการประยุกตใชประตู-หนาตาง ในรูปแบบใหม รวมถึงมีการใชวัสดุและอุปกรณในการติดตั้งสมัยใหม โดยเฉพาะ บานพับเหล็กรวมดวย

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 112

9/6/2558 1:15:12


ภาพที่ 23: การประยุกตใชประตู-หนาตางในรูปแบบใหม และบานพับเหล็กในเรือนประธาน ของเรือนรหัส PBI-Tar-013

• หอหนา หอหนาซึ่งมีลักษณะเปนโถงโลงมีขนาดชวงเสาจากเรือนประธานโดย ประมาณ 2.85 – 3.90 เมตร และมีการคลุมหลังคาเฉพาะ โดยที่โครงสรางหลังคา หอหนามักมีการใชขื่อกวาน (ขื่อคัด) และตั้งเสาตุกตารับโครงสรางหลังคา และถาย นํ้าหนักสวนหนึ่งลงเสาดานในของเรือนประธาน หลังคาของหอหนาสวนใหญเปนจั่ว ทรงสูง แตมีขนาดเล็กกวาเรือนประธานเสมอ และมักพบการใชจั่วพรหมพักตรรวม กับปนลมตัวเหงา มีเพียงบางเรือนที่หอหนาเปนหนาจั่วหลังคาลาดเอียงตํ่า อยางไร ก็ตามเนื่องจากหอหนามีลักษณะเปนโถงโลง การปรับเปลี่ยนบริเวณหอหนาพบมาก ทีบ่ ริเวณโครงสรางหลังคาของเกือบทุกเรือนทีท่ าํ การศึกษา ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากมีการเปลีย่ น การใชวัสดุมุงมาเปนกระเบื้องลูกฟูกลอนเล็ง จึงพบการปรับลดโครงสรางและการใช องคประกอบหลังคาของกลอนและระแนง และเปลี่ยนมาใชแป และการยึดดวยสกรู แทนเชนเดียวกับที่พบในหลังคาเรือนประธานในบางหลัง • ระเบียงขาง ระเบียงขาง หรือที่ชาวบานเรียกวา พื้นที่โถง หรือเฉลียงขาง เปนองค ประกอบของเรือนในชั้นบนที่ถูกเพิ่มเติมขึ้นมา ระเบียงขางนี้เกิดขึ้นในชวงใด และ เพราะสาเหตุใดนั้นชาวบานไมสามารถระบุได หากแตเพียงเปนรูปแบบที่ไดรับความ นิยมสําหรับการปรับปรุงเรือนที่มีมากกวา 40 ป ระเบียงขางมีลักษณะเปดโลงโดยมี ผนังปดลอมที่เชื่อมตอกับภายนอก และมีการปกคลุมดวยหลังคาลาดเอียงตํ่า ระดับ พื้นของระเบียงขางจะมีความแตกตางกันไปในแตละเรือน บางเรือนอยูในระดับเดียว กันกับพื้นหอหนา บางเรือนอยูสูงกวา หรือบางเรือนอยูระดับตํ่ากวา ระเบียงขางมัก สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 113

112 113

9/6/2558 1:15:12


ถูกวางใหโอบลอมหอหนาและบางสวนของเรือนประธาน ซึ่งมีทั้งที่โอบลอม 2 ดานใน ลักษณะตัว L ซึ่งพบเปนสวนใหญ บางสวนมีการโอบลอม 3 ดานในลักษณะตัว U และ มีนอยหลังที่มีการโอบลอมทั้ง 4 ดาน โดยที่เรือนประธานและหอหนาอยูตรงกลาง ระเบียงขางจะถูกปดลอมดวยผนังและหลังคา ผนังบริเวณระเบียงขางเปนผนังใน รูปแบบใหม เชน ผนังเกล็ดไมตีตามนอนหรือตามตั้ง ตีทแยงใหเปนชองลม เปนตน สวนการคลุมหลังคามักมีลักษณะที่กดลงและผนังของพื้นที่นี้มักมีขนาดไมสูงมากนัก ประมาณ 1.60 - 2.10 เมตร รวมถึงการทําชองเปดหรือหนาตางที่อยูสูงจากพื้น ประมาณ 30 - 45 เชนติเมตร หรืออยูในระดับการนั่งกับพื้น จึงทําใหเรือนไทยเมือง เพชรในพื้นที่ศึกษามีลักษณะของรูปทรงในภาพรวมไมสูงมากนัก และเกิดสุนทรีภาพ ของสัดสวนที่มีความเฉพาะและลดหลั่นไปกับสภาพแวดลอม

เรือนประธาน

หอหนา

หอพระ

ภาพที่ 24: ลักษณะระเบียงขาง (ซาย) โอบลอม 2 ดาน-รูปตัว L (กลาง) โอบลอม 3 ดาน-รูปตัว U (ขวา) โอบลอม 4 ดาน โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 114

9/6/2558 1:15:12


• หอพระ หอพระเปนอีกองคประกอบหนึ่งที่ถูกเพิ่มเติมเขามา แตพบเพียงบางหลัง เทานั้น ซึ่งมีการสรางตั้งแตในชวง 60 กวาปที่ผานมา เรือนที่พบหอพระมักเปนเรือน สามหนาจั่ว และโดยมากหอพระเปนเรือนที่วางขวางกับเรือนประธานและหอหนา หอพระที่พบมักถูกสรางขึ้นเมื่อจะมีการบวชลูกชาย และใชเปนที่นั่งของพระสงฆใน ชวงเวลาทีม่ กี ารทําพิธกี รรมในบาน หอพระมักมีลกั ษณะเปนเรือนไมยกพืน้ สูงแยกออก จากเรือนประธานและหอหนา เชื่อมกันโดยระเบียงขาง หอพระมักคลุมหลังคาจั่ว ทรงสูง และมักเปนจั่วพรหมพักตรที่มีปนลมตัวเหงา บางเรือนเปนจั่วพระอาทิตย หรือ หลังคาลาดเอียงตํ่า วัสดุมุงหลังคาพบทั้งที่เปนกระเบื้องวาวและกระเบื้องลูกฟูกลอน เล็ก หอพระมักมีการปดลอมดวยผนัง 3 ดาน สวนดานที่เปดโลงจะหันเขาหา และเชื่อมตอกับพื้นที่เปดโลงภายในเรือน ผนังของหอพระมีทั้งที่เปนฝาเฟยม และ เปนผนังในรูปแบบใหม เชน ผนังเกล็ดไมตีตามนอนผสมการตีตามตั้ง บางเรือนมีการ ทําชองลมระบายอากาศบริเวณปลายผนังใตหลังคา และมีการใชประตู-หนาตางใน รูปแบบใหม รวมถึงมีการใชวัสดุและอุปกรณในการติดตั้งสมัยใหม ระบบโครงสราง พื้นของหอพระมักเปนระบบคาน ตง และพื้นในรูปแบบใหม โดยที่แผนกระดานพื้น ของหอพระจะปูวางตามแนวยาวของเรือน • ชานและบันได ในอดีตจากภายในเรือนชั้นบนจะมีชานรองรับบันไดกอนลงสูชั้นลาง ชานนี้ มักเปดโลงไมมหี ลังคาคลุมและไมมรี าวกันตก สวนบันไดจะมีลกั ษณะโปรง โดยมีเพียง ลูกตั้งตามแนวนอนตอกับแมบันไดตามแนวตั้ง 2 ดานดวยระบบการเขาไมโดยไมใช ตะปู บันไดจะวางพาดกับพืน้ และยึดโยงกับโครงสรางพืน้ ของชาน โดยทางลงของบันได จะพบในเกือบทุกทิศทาง ยกเวนทางดานทิศตะวันตก ในปจจุบันทางขึ้นลงเรือนโดยบันได ซึ่งพบใน 2 รูปแบบ คือ บันไดภายนอก และบันไดภายใน ในเรือนที่ทําการศึกษาสวนใหญ หรือประมาณรอยละ 85 ยังคงมี ชานและบันไดอยูภายนอก แตบริเวณชานมักมีการปรับเปลี่ยนดวยการสรางหลังคา คลุม โดยมากเปนการยื่นหลังคาตอออกมาจากโครงสรางหลังคาของเรือน บางเรือนมี การใชไมคาํ้ ยันหลังคากับโครงสรางเสาทีร่ บั พืน้ ชาน และบางสวนมีการทําเสาตอเนือ่ ง

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 115

114 115

9/6/2558 1:15:13


จากพื้นชั้นลางขึ้นไปรับหลังคา ชานในเรือนที่ไดทําการศึกษาโดยสวนใหญยังคงมี ลักษณะโลง บางเรือนมีการสรางดานหนึ่งของชานเปนที่นั่ง ซึ่งเปนสวนที่ใชในการ กันตกไปดวย และบางเรือนมีการกัน้ ดวยราวกันตกโดยรอบและอาจมีหรือไมทนี่ งั่ อยูด ว ย โดยเฉพาะเรือนทีม่ กี ารกัน้ ราวกันตกนีม้ กั พบในเรือนทีม่ เี สาขึน้ ไปรองรับหลังคาบริเวณ ชานนี้ ซึ่งทําใหมีลักษณะเปนระเบียง นอกจากนี้ บริเวณทางขึ้นบันไดในพื้นชั้นลาง ยังพบที่ลางเทาในบางเรือน ซึ่งมีทั้งที่เปนบอนํ้าขนาดเล็กสําหรับลางเทาและที่เปน พื้นที่ลางเทาที่มีการระบายนํ้าที่พื้น โดยการตักนํ้าราด ทั้งนี้จะตองมีภาชนะบรรจุนํ้า ตั้งอยูดวย สวนบันไดภายในพบจํานวน 5 หลัง หรือประมาณรอยละ 30 ในจํานวนนี้ มีบางเรือนที่ยังบันไดภายนอกเอาไวดวย แตมักไมไดถูกใชในชีวิตประจําวัน บันได ภายในสวนใหญเกิดจากการปรับปรุงเรือนและเปลี่ยนการสัญจรขึ้นลงจากภายนอก ใหมอยูภายในเรือน ตําแหนงของบันไดภายในนี้มักอยูในพื้นที่บริเวณระเบียงขาง บันไดเหลานี้โดยทั้งหมดเปนบันไดไม และมีจํานวนเปนเลขคี่ ซึ่งโดยมากมี 7 หรือ 9 ขั้น ทางลงของบันไดยังคงหลีกเลี่ยงทิศตะวันตก

ภาพที่ 25: ลักษณะชานหรือระเบียงและบันไดภายนอก (แถวบน) ลักษณะบันไดภายใน เรือน (แถวลาง)

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 116

9/6/2558 1:15:13


• หองนํ้าในชั้นบนเรือน หองนํ้าในชั้นบนเรือนซึ่งเปนโครงสรางคอนกรีตพบเปนจํานวนนอยหลังใน บานละหานใหญ หองนํ้าในชั้นบนพบในเรือนที่ไดรับการตอเติมในชวงประมาณ 25 ปที่แลว ซึ่งเปนเรือนของชางที่ปลูกสรางเรือนที่สําคัญของในอดีตชุมชน (ชางเชื่อมปจจุบนั ถึงแกกรรม) และเรือนของเครือญาติ ตําแหนงของหองนํา้ ในชัน้ บนอยูต อ เนือ่ ง จากระเบียงขางทางทิศใตของเรือน และหางจากเรือนประธานและหอหนา • การตอเติมบริเวณใตถุนเรือน ในอดีตระบบเสาโครงสรางในชุมชนพืน้ ทีศ่ กึ ษา โดยเฉพาะในบานละหานใหญ ตําบลตําหรุ มักเปนระบบเสาหลักและเสาคํ้า อยางไรก็ตาม ในปจจุบันจะพบวาเรือน ตางๆ ในชุมชนที่ทําการศึกษามีการปรับปรุงระบบโครงสรางเสาเรือน การปรับปรุง โครงสรางในสวนนี้เกิดเนื่องจากเรือนสวนใหญมีอายุมาก เสาไมเดิมจึงผุกรอน และ ในอดีตมีนํ้าทวมทุกป ซึ่งไดพัดพาดินตะกอนมาทับถมในบริเวณใตถุนบานเพิ่มขึ้นเมื่อ เวลาผานไปในหลายป จึงมีผลทําใหความสูงของใตถุนเรือนเตี้ยลงไปดวย นอกจากนี้ เนื่องจากการสรางถนนภายในชุมชนที่จากเดิมเคยอยูในระดับตํ่ากวาระดับพื้นดิน ของบาน แตภายหลังถนนไดรับการพัฒนาดวยการถมดินใหมีระดับสูงขึ้นเรื่อยๆ จึงมี ผลทําใหบา นทีเ่ คยอยูส งู กวาถนนกลายมาเปนอยูใ นระดับทีต่ าํ่ กวาพอถึงในชวงฤดูฝน นํ้าฝนก็มักไหลลงมาในเขตบานของชาวบาน จึงเปนเหตุผลใหตองมีการดีดบานและ ถมดินใหสูงกวาระดับถนน ชาวบานกลาววา ในชวงของการปรับปรุงเรือนมักมีการ ปรับลดจํานวนเสา โดยการเอาเสาคํ้าออกและปรับระบบโครงสรางพื้น ซึ่งมีผลทําให ใตถุนเรือนมีความโลงมากขึ้น บางสวนมีการตัดเสาเรือนสวนที่ผุออกและทําการตอ เสาเรือนใหมไปในคราวเดียวกันดวย ในบางเรือนหลังจากปรับปรุงโครงสรางเสาเรือน ก็จะมีการตอเติมใตถุนเรือนเพื่อกั้นเปนหองไปในคราวเดียวกัน จากการศึกษาจะพบวาในปจจุบนั เรือนเกือบทัง้ หมด มีการตอเติมใตถนุ เรือน ทั้งนี้เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงความตองการในการอยูอาศัย โดยเฉพาะหองที่ปด เปนสวนตัว ประกอบกับในบางครัวเรือนมีผูสูงอายุและสุขภาพไมแข็งแรง การขึ้นลง เรือนจึงกระทําไดไมสะดวก จึงสรางเปนพื้นที่ใชสอยบริเวณใตถุนเรือน การตอเติม ใตถุนเรือน โดยมากเปนการสรางหองที่มีการปดลอม และมักเปนผนังกออิฐฉาบปูน บนโครงสรางเสาไม โดยอาจมีบางสวนเปนเสาคอนกรีต การตอเติมพื้นที่ใตถุนเรือน

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 117

116 117

9/6/2558 1:15:13


มีลักษณะที่แตกตางกันออกไปในแตละครัวเรือน ซึ่งมีทั้งที่อยูภายใตโครงสรางเสา เรือนที่ตอเนื่องมาจากชั้นบน และสวนที่อยูนอกเขตเสาเรือน รูปแบบของการปดลอม ของการใชงานของบริเวณใตถุนบานจะมีการเวนวางพื้นใตถุนบานไวบางสวน หรือ เปนสวนใหญในบางเรือน โดยสัดสวนการตอเติมพื้นที่อยูภายใตโครงสรางเสาเรือนที่ ตอเนื่องมาจากชั้นบนมีตั้งแตรอยละ 13 จนถึงรอยละ 95 หรือเกือบเต็มพื้นที่ และ มีสวนที่ตอเติมออกไปนอกเขตโครงสรางเสาเรือน ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ตั้งแตประมาณ 5 – 100 ตารางเมตร โดยมีการสรางหลังคาคลุมเชื่อมตอกับตัวเรือน สวนที่ปดลอม หรือหองที่ถูกสรางขึ้นมักใชเปนสวนนอน/หองนอน สวนพักผอนเอนกประสงค สวน ครัว และหองนํ้า นอกจากนี้ บางเรือนมีการใชพื้นที่ใตถุนบานโดยการกั้นพื้นที่แบง สัดสวนการใชสอยที่ชัดเจนเพื่อประกอบอาชีพ เชน รานทําผม เปนตน อีกดวย

ภาพที่ 26: ลักษณะการตอเติมหองบริเวณใตถุนเรือน (ซาย) การตอเติมหองนอกเขต เรือนชั้นบน (กลาง) การตอเติมหองที่โอบลอมพื้นที่เอนกประสงค (ขวา) การตอเติมหอง ที่แบงระหวางพื้นที่ภายนอกและภายใน

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 118

9/6/2558 1:15:13


ภาพที่ 27: การตอเติมหองบริเวณใตถุนบานและการสรางหองนํ้าในบริเวณบาน

การตอเติมพื้นที่ใตถุนบานในบางครัวเรือน มีองคประกอบที่สามารถตอบ สนองการอยูอาศัยในชีวิตประจําวันไดโดยไมตองขึ้นไปใชพื้นที่ชั้นบนเรือน ดังนั้น ในชั้นบนเรือนของครัวเรือนเหลานี้มักไมมีการใชงานในชีวิตประจําวัน แตจะมีเพียง การขึน้ ไปไหวเคารพสิง่ สักการะบนเรือน โดยผูส งู อายุในครัวเรือนเปนครัง้ คราวเทานัน้ องคประกอบทางความเชื่อในเรือน

จากการศึกษาพบวานอกจากศาลพระภูมิ และศาลเจาทีท่ พี่ บในบริเวณบาน ของเกือบทุกบานดังทีก่ ลาวไปแลว ยังพบองคประกอบทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับความเชือ่ ภายใน เรือน โดยเฉพาะในชั้นบนที่สัมพันธกับวิถีในการอยูอาศัยซึ่งมีทั้งที่มีลักษณะรวมเดียว กันและที่แตกตางกันไปตามความเชื่อและความเปนมาของแตละครัวเรือน ในเกือบ ทุกครัวเรือนจะพบโตะหมูบูชาพระ ยกเวนในบางเรือนที่เจาของเรือนมีเชื้อสายมุสลิม โตะหมูบ ชู าพระในเรือนสวนใหญจะอยูใ นบริเวณหองโถงหนาหองในเรือน บางสวนอยู บริเวณระเบียงขาง และบางสวนอยูในหอพระ (สําหรับเรือนที่มีหอพระ) นอกจากนี้ มีเพียงบางเรือนที่มีหิ้งผีบรรพบุรุษ ซึ่งสวนใหญจะอยูในหองในเรือนซึ่งมีตําแหนงที่ตั้ง ที่ฝาเรือนโดยหันหนาหิ้งไปทางหอหนา และอยูที่เสาเรือนบริเวณประตูทางเขาของ สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 119

118 119

9/6/2558 1:15:13


หองในเรือน เรือนที่มีหิ้งผีบรรพบุรุษในหองในเรือนเหลานี้ โดยมากเจาของบานเปน ผูที่มีเชื้อสายชาติพันธุลาว นอกจากนี้ ในบางเรือนจะพบหิ้งผีบรรพบุรุษในหอง โถงหนาหอง ซึ่งตั้งอยูบริเวณเสาหนาประตูของหองในเรือนหรือที่บริเวณมุมเสาของ ฝาบังเคียนอีกดวยในหลายเรือนจะพบสิ่งเคารพสักการอื่นๆ ตามความเชื่อของ เจาของเรือน ไดแก ตี่จูเอี๋ย ศาลเจา โตะหมูบูชาแมตะเคียน และรูปเคารพรัชกาลที่ 5 สวนใหญหิ้งเคารพสักการะเหลานี้ซึ่งพบในเพียงบางเรือนเทานั้น และมักพบอยูใน บริเวณหองโถงดานหนาหองในเรือน โดยหันหนาออกสูหอหนา นอกจากนี้ ยังพบ ตีจ่ เู อีย๋ ในพืน้ ชัน้ ลางดวย ซึง่ พบในเรือนทีเ่ จาของเรือนทําการคา ชาวบานมีการไหวบชู า และทําพิธีกรรมเพื่อเคารพสักการะตอองคประกอบตางๆ ตามความเชื่อของตนอยาง สมํ่าเสมอตามชวงเวลาที่สําคัญที่แตกตางกันไปในแตละครัวเรือน นอกจากนี้ ที่ฝาของ เรือนประธาน โดยเฉพาะดานที่ติดกับหอหนาและบริเวณหนาหองเปดดานที่หันออก สูหอหนา มักพบพระบรมฉายาลักษณของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และพระบาทสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ รูปพระ รวมถึงภาพบุคคลสําคัญ หรือ สมาชิกของครอบครัวติดเอาไวดวย องคประกอบเหลานี้เปนสวนหนึ่งที่แสดงให เห็นถึงวิถีและคติความเชื่อในการอยูอาศัยของชาวบานในชุมชน

ภาพที่ 28: หิ้งผีบรรพบุรุษในหองในเรือน (ซาย) และหองเปด (ขวา)

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 120

9/6/2558 1:15:13


ภาพที่ 29: สิ่งเคารพสักการะอื่นๆในหองเปดหนาหองในเรือน

ภาพที่ 30 รูปภาพตางๆ บริเวณฝาเรือนประธาน

การจัดทําชุดความรูสื่อสารสนเทศและสารสนเทศภูมิศาสตร

การจัดทําชุดความรูสื่อสารสนเทศและสารสนเทศภูมิศาสตรเปนสวนของ การจัดการความรูท ไี่ ดจากการศึกษา เพือ่ การเผยแพรสสู าธารณะทัง้ นีโ้ ครงการวิจยั ฯนี้ ไดมีการจัดทําชุดความรูสื่อสารสนเทศ อันประกอบดวยสื่อทั้งหมด 5 รูปแบบ ดังนี้ 1. สื่อสิ่งพิมพประเภทโปสเตอร นําเสนอในขนาด 24 x 36 นิ้ว จํานวน 18 แผน ที่เลาเรื่องราวภาพรวมของพื้นที่ศึกษา (จํานวน 3 แผน) และขอมูลและลักษณะ บานและเรือนที่ทําการสํารวจจํานวน 15 หลัง (จํานวน 15 แผน)

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 121

120 121

9/6/2558 1:15:14


2. สื่อวีดิทัศน นําเสนอจํานวน 3 เรื่อง ประกอบดวย เรื่องที่หนึ่ง “ชุมชนแหงลุมนํ้าเพชรบุรี-บานละหานใหญ และ บานไรสะทอน อําเภอบานลาด” เรื่องที่สอง “วิถีชีวิตและวัฒนธรรมในบานละหานใหญ และบาน ไรสะทอน ลุมนํ้าเพชรบุรี” เรือ่ งทีส่ าม “บานและเรือนในบานละหานใหญและบานไรสะทอน ลุมนํ้าเพชรบุรี” 3. สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส ซึ่งเปนรายะเอียดของการศึกษาของโครงการ วิจัยโดยทั้งหมด 4. สื่อเว็บไซต จํานวน 1 เว็บไซต เชื่อมตอเขากับระบบฐานขอมูลสารสนเทศ ของการเคหะแหงชาติ สื่อเว็บไซตนี้นําเสนอองคความรู และขอมูลรายละเอียด ทั้งหมดของการศึกษาผานการบรรยายดวยตัวหนังสือ ภาพถาย ภาพกราฟฟก แบบ ทางสถาปตยกรรม ภาพเคลื่อนไหว 3 มิติ ภาพเคลื่อนไหวและสื่อวีดิทัศน 5. สื่อบริการบนเครือขายสังคม โดยเฉพาะการสราง Facebook Page ซึ่ง จะสามารถชวยใหการเผยแพรองคความรูและสรางเครือขายของนักวิชาการและผู สนใจมีความกวางขวางมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ขอมูลที่ไดจากการศึกษาทั้งหมดไดถูกนําเขาสูระบบฐานขอมูล สารสนเทศภูมิศาสตรที่พัฒนา และดําเนินการโดยการเคหะแหงชาติ รวมกับคณะ ศิลปกรรม และสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เพื่อ ใหเกิดการตอยอด และสืบสานภูมิปญญาดานที่อยูอาศัยในพื้นที่ศึกษาใหคงอยูคูกับ ประเทศไทยตลอดไป

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 122

9/6/2558 1:15:14


สรุปผลการศึกษา

การดําเนินงานโครงการวิจยั นีม้ วี ตั ถุประสงคเพือ่ ศึกษา สํารวจ และรวบรวม ภูมิปญญาของเรือนไทยพื้นถิ่นในหลายมิติ ในพื้นที่เปาหมายของการศึกษา และนํา ความรูที่ไดรับมาจัดทําเปนสื่อชุดองคความรูสารสนเทศเพื่อการเผยแพร การศึกษานี้ ไดเลือกศึกษาเรือนไทยพื้นถิ่นหรือเรือนไทยเมืองเพชร ในชุมชนบานละหานใหญ ตําบลตําหรุ และบานไรสะทอน ตําบลถํ้ารงค อําเภอบานลาด จังหวัดเพชรบุรี เปน พื้นที่ศึกษานํารองในภูมิภาคภาคกลางนี้ จากการศึกษาพบวา ที่อยูอาศัยในรูปแบบ เรือนไทยเมืองเพชรของทั้งสองชุมชนนี้มีการเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่อง โดยสัมพันธ ไปกับความตองการและวิถีชีวิตของชาวบานที่ปรับตัวไปตามการเปลี่ยนแปลงของ เงื่อนไขทางสภาพแวดลอม เศรษฐกิจ และสังคม การดําเนินวิถีชีวิตการอยูอาศัยของ ชาวบานทําใหเห็นถึงการปฏิบัติตนที่เปนไปในแนวทางทั้งแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง และการพัฒนาในเชิงอนุรักษ ซึ่งสะทอนตอทั้งลักษณะสภาพแวดลอมของชุมชนและ บานเรือนที่เปนที่อยูอาศัย ในดานสภาพแวดลอมบริเวณบานและชุมชนจะพบภูมิปญญาที่สําคัญใน หลายสวนซึ่งกลาวอยางนอยใน 3 ประการดังนี้ ประการแรก คือ การธํารงไวซึ่ง ประเพณีที่สําคัญของชุมชนและการสรางประเพณีใหมเพื่อเปนการยึดโยงชาวบาน ในชุมชนใหเกิดความรวมใจกัน ประการที่สอง คือ การสรางกฎเกณฑในการจัดการ ชุมชนรวมกันของชาวบาน โดยเฉพาะการจัดทํารั้วบานบริเวณถนนหลักของชุมชน ในบานไรสะทอนทําใหภูมิทัศนของชุมชนที่มีความตอเนื่องและเกิดสุนทรียภาพตอ ผูคนที่ผานไปมา ประการที่สาม คือ การปรับตัวของการทํากิน โดยเฉพาะการปลูก พืชไรและสวนผสมที่สอดแทรกไปกับสภาพแวดลอมในการอยูอาศัยอันสงผลให ภาพลักษณของชุมชนมีความรมรื่น ในดานบานเรือนที่เปนที่อยูอาศัยจะพบวาในปจจุบันวิถีในการอยูอาศัย ของชาวบานโดยเฉพาะในชั้นบนเรือนนั้นลดนอยลง ซึ่งในบางเรือนไมไดถูกใชในชีวิต ประจําวัน แตสําหรับชาวบานเรือนในชั้นบนก็ยังคงจะถูกเก็บรักษาเอาไว นอกจากนี้ จะพบการเปลี่ยนแปลงของบานเรือนในลักษณะที่เปนปจเจกของแตละครัวเรือน ซึ่ง ภาพรวมการเปลี่ยนแปลงของเรือนไทยของทั้งชุมชนบานละหานใหญ ตําบลตําหรุ และบานไรสะทอน ตําบลถํ้ารงค สามารถแบงไดเปน 3 สวน

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 123

122 123

9/6/2558 1:15:14


สวนแรกเปนสวนของการอนุรักษ และสงวนไวในลักษณะที่เปนแบบแผน ประเพณี ซึ่งจะพบที่บริเวณเรือนประธาน และหอหนา โดยจะพบจากการคงไวของ ลักษณะผังเรือนประธานที่แบงออกเปนหองในเรือน และหองโถงหนาหอง ลักษณะ รูปทรงเรือนและหลังคา และการใชไมเปนวัสดุหลัก และวิธีการเขาไมแบบสลักเดือย ในบริเวณเรือนประธานและหอหนา สวนที่สองเปนสวนยอมใหปรับเปลี่ยนแตสามารถสรางความสอดคลองกับ ลักษณะที่เปนแบบแผนประเพณี ในสวนที่ปรับเปลี่ยนนี้พบไดจากหลายสวนในเรือน ชั้นบน ไดแก - บริเวณเรือนประธาน เชน การใชวัสดุมุงหลังคา ระบบโครงสรางคาน-ตงพื้น และรูปแบบและวัสดุอุปกรณในการติดตั้งประตู-หนาตาง - องคประกอบการปดลอมอื่นๆ บริเวณหอพระ ระเบียงขาง และระเบียง หรือชานหนาเรือน เชน การใชวัสดุมุงหลังคา รูปแบบผนังและประตู-หนาตาง รวมถึง การใชวัสดุและอุปกรณในการติดตั้ง สวนที่สามเปนสวนที่พัฒนา และเปลี่ยนแปลงได โดยเฉพาะบริเวณใตถุน เรือนที่จะพบจากการตอเติมหองหรือสวนตางๆที่สรางดวยการกออิฐฉาบปูนและมี การใชวัสดุ-อุปกรณสมัยใหม การเปลี่ยนแปลงของเรือนในพื้นที่ศึกษาทั้งสองชุมชนนี้สะทอนใหเห็นทั้ง การอนุรกั ษสว นทีเ่ ปนประเพณี และการปรับตัวตามวัสดุและเทคโนโลยีทเี่ ปลีย่ นแปลง ไป แมวาในภาพรวมความประณีตของฝมือชางดูประหนึ่งจะลดลงไป โดยเฉพาะใน สวนที่มีพัฒนาและเปลี่ยนแปลงของเรือน แตในภาพรวมขององคประกอบตางๆ ใน เรือนเหลานีม้ กี ารประสานกันอยางกลมกลืนและสรางสุนทรียภาพทางสถาปตยกรรม วิถีชีวิต และสภาพแวดลอมไดอยางลงตัว

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 124

9/6/2558 1:15:14


กิตติกรรมประกาศ

คณะผูวิจัยใครขอขอบพระคุณการเคหะแหงชาติที่ใหการสนับสนุนทุนใน การศึกษา โดยมีคณะกรรมการตรวจการจางจากการเคหะแหงชาติเปนผูใหมุมมอง และขอคิดเห็นที่เปนประโยชนตอการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ขอขอบพระคุณ ชาวบานในบานละหานใหญ ตําบลตําหรุ และในบานไรสะทอน ตําบลถํา้ รงค และอาจารยแสนประเสริฐ ปานเนียม ผูใ หความชวยเหลือและอนุเคราะห ขอมูลที่มีสวนสําคัญอยางมากตอการศึกษาในครั้งนี้ ขอขอบพระคุณ คณะที่ปรึกษาทุกทาน อาจารยอนันต ทับเกิด และนาย นเรศ ปณทะศรีวิชัย ผูเชี่ยวชาญดานสื่อสารสนเทศ นายกิติศักดิ์ ชาวไรเงิน และ ทีมงานผูใหคําแนะนําดานเทคนิค และเขียนโปรแกรมเว็บไซต นางสุนิสา จุลไพบูลย ที่ปรึกษาเทคนิคการผลิตสื่อวีดิทัศน นายปรีชา ยงคเจริญ และทีมงาน ผูตัดตอวีดิทัศน คุณอนุสรณ อุทัยพงษ และทีมงานจาก บริษัทไวส เอ็นจิเนียริ่ง เซอรวิส จํากัด ที่ชวยเก็บขอมูลภาคสนามโดยใชระบบ 3D Scan ขอขอบพระคุณ คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ผูรวมวิจัย และผูชวยวิจัยทุกๆ ทาน ในการดําเนินงานโครงการวิจัยนี้ใหสําเร็จลุลวง เปนอยางดี เอกสารอางอิง กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม. 2546. แมนํ้าเพชรบุรี แมนํ้า 1 สาย ใน 1 เมือง. กรุงเทพฯ: กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. ฤทัย ใจจงรัก. เรือนไทยเดิม. กรุงเทพฯ: คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2518. ทิพยสดุ า ปทุมานนท. กําเนิดสถาปตยกรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย. 2539. นิพัทธพร เพ็งแกว. เลาเรื่องเมืองเพชร. กรุงเทพฯ: พิมพคํา. 2550. วันดี พินิจวรสิน. “ความภูมิใจในตน: ความธํารงของบานและเรือนไทยพื้นถิ่น”. ใน รายงานการ ประชุมทางวิชาการสถาปตยกรรมศาสตร ครั้งที่ 3: สถาปตยปาฐะ’ ๔๖–กระแส ทรรศน: สถาปตยสะทอนสังคม. คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร. 18-19 มีนาคม 2547. วีระ อินพันทัง. ความหลากหลายทางวัฒนธรรมการปลูกสรางเรือนไทยแหงลุมแมนํ้าเพชรบุร,ี วิทยานิพนธ ปริญญาดุษฎีบัณฑิต (สิ่งแวดลอมสรางสรรค) คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 2553.

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 125

124 125

9/6/2558 1:15:14


สมภพ ภิรมย. บานไทยภาคกลาง. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: องคการคาของคุรุสภา. 2531. แสนประเสริฐ ปานเนียม. “ทายกรานต: งานบุญสงทายสงกรานตของชาวเพชรบุรี”. ใน วารสาร เมืองโบราณ. ปที่ 33 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน 2550). อรศิริ ปาณินท มนทัต เหมพัฒน จรูญพันธ บรรจงภาค และจตุพล อังศุเวช. 2551. ภูมิปญญา และพัฒนาการของเรือนพื้นถิ่นลุมแมนํ้าเพชรบุรี. โครงการวิจยั ในกลุมวิจัย โครงการ การศึกษาเพื่ออนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอมสรรคสรางลุมนํ้าเพชรบุรี. ทุนอุดหนุนวิจัย จากคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ 2550.

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 126

9/6/2558 1:15:14


A Study on the Explicit Knowledge and Local Wisdom in the Field of Housing for Knowledge Management in the Northeast of Thailand: the Settlement in Loei Watershed Assistance Professor Dr. Wandee Pinijvarasin Jatuphon Angsuved Supangkorn Phanomridh

Faculty of Architecture Kasetsart University

Abstract

The National Housing Authority (NHA) through the works of Department of Housing Development Studies has realized the values of local wisdom in vernacular houses, which have been disappearing, changing and losing local identity in a particular place. Thus, “a Study on the Explicit Knowledge and Local Wisdom in the Field of Housing for Knowledge Management” was inaugurated with aiming to compile knowledge of vernacular houses and people’s ways of life, and to manage all data gained to express in various types of communication media that can be disseminated to the public realms for learning, and thus making all precious local wisdoms to remain and to continue with the development of Thailand. Vernacular houses exist in many local places of the country, and thus this study emphasizes mainly on vernacular houses in the central region. Because the study can be divided into 2 main procedures: understanding vernacular houses in various dimensions, and managing all knowledge to be in various communication media types. Thus, this paper aims to illustrate the study results in the first part. 2 main locations at Ban La-Han-Yai

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 127

9/6/2558 1:15:14


(Moo 5) of Tambon Tamru and Ban Rai-Sathon (Moo 4) of Tambon Thamrong, Ban Lat district, Phetchaburi province were selected because they still express a wonderful array of vernacular houses, maintaining craftsmanship, culture and wisdom of the locality and their environment. 30 households were selected and surveyed in preliminary. Then, 15 houses and 5 houses remained in traditional patterns of the communities were selected, and further examined in details using methods of observation and interviews. This study found two important aspects. First, characteristics and elements of landscape around the houses in the studied areas always reflect their relationship with ecological system, resources and ways of life of the locality. They not only reflect social relation that has resulted in the images of the community, but also express the adaptation of the local residents towards changing environment. This has manifested with their agricultural occupations emphasizing self-sufficient economy. Second, most vernacular houses (or Reun Thai Meung Phetch) of the studied villages have remained in traditional patterns of the community. These houses are wooden, built on stilts with high-pitched roofs, which usually appear with a pair roof of a main house and a front hall (or Hor Nha), surrounded by a space resembling verandah (or Rabeng Khang). These studied traditional houses also consist of the elements reflecting a specific identity in accordance with local people’s ways of living and beliefs of a particular family. Though mostly remaining in traditional patterns, these vernacular houses have constantly changed, which can be mentioned into 2 parts. The first part is the changes on the upper floor of the houses, which usually express in both of conservation and modification in harmony with local tradition of architecture. This,

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 128

9/6/2558 1:15:14


to some extent, has resulted in the appearance of the houses with modest proportion, and thus generating a peculiar aesthetic quality of the relationship between the house and environment. The second part is the modification around the space underneath the houses, which is generally found within the communities. Although this modification has resulted in changing living atmosphere of the locality, it still expresses some respectfulness to the valuable elements of the past. This study found that even though the residents’ ways of living the house in the studied area have changed, these houses have expressed both conservative and flexible parts. The flexible part of those houses has been evolved with the changes of materials and technology available in the society. This, however, has expressed appropriate blending between architectural aesthetics, lives, and local environment.

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 129

9/6/2558 1:15:14


โปสเตอร: สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัยภาคใต

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 130

9/6/2558 1:15:14


การจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัย ผานภูมิปญญาทองถิ่น

พื้นที่ภาคใต

1

กรณีศึกษา เรือนแตแรกเมืิองพัทลุง อาจารย ดร. เกรียงไกร เกิดศิริ อาจารย อิสรชัย บูรณะอรรจน อาจารย สกนธ มวงสุน

มหาวิทยาลัยศิลปากร บทคัดยอ

“โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัย และวิถีการ อยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น พื้นที่ภาคใต” เปนสวนหนึ่งของชุดโครงการวิจัยที่ มุง หมายเพือ่ ทําการศึกษาขอมูลภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ และวิถชี วี ติ ของผูค นในทองถิน่ ตางๆ ที่มีตอสถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนที่อยูอาศัย ตลอดจนปฏิสัมพันธระหวางวิถีชีวิต และ นิเวศวิทยาสิ่งแวดลอมซึ่งหลอหลอมใหแตละพื้นที่มีการสรางสรรคสถาปตยกรรม พื้นถิ่นเรือนที่อยูอาศัยที่มีความแตกตางกันไปตามบริบทแวดลอม กอตัวเปนภูมิทัศน วัฒนธรรมเฉพาะทองถิน่ ทีม่ เี อกลักษณ และทรงคุณคาตอการเรียนรูเ พือ่ นําองคความรู มาประยุกตสูการพัฒนาอยางยั่งยืน และการธํารงรักษาอัตลักษณของทองถิ่นไวเปน ตนทุนทางวัฒนธรรมในการพัฒนาในมิติตางๆ ตอไป

บทความวิจัยสรุปผลโครงการวิจัย เกรียงไกร เกิดศิริ และคณะ. โครงการศึกษาวิจัยเพื่อ จัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัย และวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น พื้นที่ภาคใต. สนับสนุนทุนวิจัยโดย การเคหะแหงชาติ ประจําป พ.ศ. 2556. ขอขอบพระคุณ ฝายวิชาการ พัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ ที่เล็งเห็นความสําคัญกับมรดกทางสถาปตยกรรม พื้นถิ่นที่อยูอาศัย และผลักดันใหเกิดการศึกษาวิจัยที่เปนรูปธรรมมาอยางตอเนื่อง 1

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 131

130 131

9/6/2558 1:15:14


การศึกษาวิจัยนี้เนนกระบวนการวิจัยภาคสนามในพื้นที่ศึกษา ใน 9 ตําบล คือ ต.ทะเลนอย ต.พนางตุง อ.ควนขนุน, ต.ลําปา อ.เมืองฯ, ต.หานโพธิ์ ต.จองถนน อ.เขาชัยสน, ต.นาปะขอ อ.บางแกว, ต.ปากพะยูน ต.ฝาละมี ต.เกาะนางคํา อ.ปากพะยูน ครอบคลุมทุกอําเภอในลุมนํ้าทะเลสาบสงขลาในเขตการปกครอง ของจังหวัดพัทลุง ทั้งนี้ เนื่องจากวัตถุประสงคในการวิจัยที่ตองการทราบขอมูลในลักษณะ ของภาพรวมอันเปนเอกลักษณทางสถาปตยกรรมของพื้นที่จึงจําเปนตองใชเรือน กรณีศึกษามากที่สุดเทาที่เปนไปได เพื่อใหเกิดความหลากหลายของกรณีศึกษา และ รูปแบบทางสถาปตยกรรมกอนที่จะนํามาสูขั้นตอนการอภิปราย วิเคราะหผล และ สรุปเปนองคความรูว า ดวยพัฒนาการ และรูปแบบของสถาปตยกรรมพืน้ ถิน่ ทีอ่ ยูอ าศัย ทรงคุณคาในจังหวัดพัทลุง โดยมีเรือนทีท่ าํ การศึกษา สํารวจรังวัด บันทึกภาพ ตลอดจน การสัมภาษณเจาของเรือน รวมทั้งสิ้น 58 หลัง โดยจําแนกเปนกรณีศึกษาใน อ.ควนขนุน คือ ต.พนางตุง 9 หลัง, ต.ทะเลนอย 3 หลัง, อ.เมือง คือ เทศบาลลําปา 19 หลัง, ต.ลําปา 3 หลัง, อ.เขาชัยสน คือ ต.หานโพธิ์ 8 หลัง, ต.จองถนน 7 หลัง, อ.บางแกว คือ ต.นาปะขอ 3 หลัง, อ.ปากพะยูน คือ ต.ฝาละมี จํานวน 6 หลัง ในการวิจัยไดพบองคความรูใหมจํานวนมากที่เกี่ยวเนื่องกับสถาปตยกรรม พื้นถิ่นเรือนที่อยูอาศัย และสภาพแวดลอมสรรคสรางอันเปนเอกลักษณของพื้นที่ และ ไดสรุปผลการวิจัยเปนลักษณะของรายงานวิจัยฉบับสมบูรณตามธรรมเนียมปฏิบัติ แลว โครงการวิจัยยังไดจัดทําฐานขอมูลสารสนเทศ ซึ่งประกอบไปดวยขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับสถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนที่อยูอาศัยในพื้นที่ศึกษา ตลอดจนวิถีชีวิต การอยูอาศัย ระบบพิกัดทางภูมิศาสตร การสํารวจรังวัด สถาปตยกรรมโดยละเอียด เพื่อนํามาจัดทําแบบสถาปตยกรรม 2 มิติ และ 3 มิติ เพื่อจัดทําฐานขอมูลอันจะนํา ไปสูการพัฒนาตอยอดองคความรู นอกจากนี้ เพื่อใหงานวิจัยที่ดําเนินการนั้นเปน ประโยชนสูสาธารณะอยางแทจริง ทั้งในวงการวิชาการ วงการวิชาชีพ ตลอดจนผู ทีส่ นใจ ในการนี้ ผูว จิ ยั จึงไดผลักดันใหนาํ ไปสูก ารเผยแพรในลักษณะบทความวิจยั เพือ่ การเผยแพรความรูในวงวิชาการและวิชาชีพ และมีการจัดทําสื่อการเรียนรูประเภท ตางๆ อาทิ เว็บไซต สื่อผสม (Multimedia) ประเภทสื่อวีดิทัศน นิทรรศการ โปสเตอร หนังสือ และหนังสืออิเล็กทรอนิกส เพื่อการเผยแพรสูสังคมและสาธารณะ อยางแพรหลาย

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 132

9/6/2558 1:15:15


คําสําคัญ (keyword) ของงานวิจัย

- สถาปตยกรรมพื้นถิ่น (Vernacular Architecture) - สถาปตยกรรมพอเพียง และยั่งยืน (Sufficiency and Sustainable Architecture) - วัสดุกอสรางพื้นถิ่น (Local Materials) - เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับสถาปตยกรรม (Appropriate Technology) - เทคนิคการกอสรางพื้นถิ่น (Vernacular Construction Technique)

ความสําคัญ และที่มาของการวิจัย

ในสถานการณปจ จุบนั ความเปลีย่ นแปลงสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ และ วัฒนธรรมเกิดขึน้ ตามกระแสโลกาภิวตั นในทุกหัวระแหงของพืน้ ที่ โดยเฉพาะในชุมชน ชนบทที่เคยดําเนชีวิตใกลชิด และสัมพันธกับสภาพแวดลอมอยางแนบแนนความ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนั้นเปนไปอยางรวดเร็ว และสงผลกระทบโดยตรงกับวิถีชีวิต และสถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัยอันเปนหนึ่งในปจจัยสี่ที่มีความจําเปนตอการ ดํารงชีวิตของมนุษย นอกจากนี้ สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัยในแตละทองถิ่นยัง เปนภาพสะทอนถึงความเปนเอกลักษณเฉพาะของแตละชุมชนที่มีพัมนาการขึ้นมา อยางสอดคลองกับสภาพแวดลอมอันเปนเอกลักษณเฉพาะตัว เต็มเปย มไปดวยคุณคา ของภูมปิ ญ  ญาในการอยูอ าศัย และภูมปิ ญ  ญาเชิงชางในการปลูกสราง ตลอดจนบงบอก ถึงวิวัฒนาการของรูปแบบที่อยูอาศัย และวัสดุที่ใชกอสรางเรือนที่พักอาศัยที่แตกตาง กันไปตามยุคสมัย ตามสภาพเศรษฐกิจ ตามระดับฐานะและตามอิทธิพลตางๆ ที่สงผล ตอการสรางที่อยูอาศัยรูปแบบตางๆ รวมถึงแนวคิดในการดําเนินวิถชี ีวิตของคนไทย ในแตละภูมิภาค จากความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี สภาพเศรษฐกิจ และสังคมที่ เปลี่ยนแปลงไป การกอสรางที่อยูอาศัยมีการพัฒนา และใชวัสดุกอสรางในระบบ อุตสาหกรรมเพื่อใชกอสรางขึ้นทดแทน ทําใหสามารถกอสรางที่อยูอาศัยในรูปแบบ เดียวกันจํานวนมากในระยะเวลาที่รวดเร็วปญหาที่เกิดขึ้นคือรูปแบบและเอกลักษณ ของที่อยูอาศัยในปจจุบันเปลี่ยนแปลงไป จึงสงผลใหความรูภูมิปญญาการกอสราง บานเรือนไทยในอดีตนับวันก็จะสูญหายไป

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 133

132 133

9/6/2558 1:15:15


การเคหะแหงชาติ จึงเปนหนวยงานที่มีหนาที่โดยตรงในการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของประชาชนดวยการจัดการที่อยูอาศัย จึงเปนหนวยงานที่มีความเกี่ยวของ และ ตองสงเสริมใหผูคนตระหนักถึงคุณคาของภูมิปญญาทองถิ่นที่บรรพบุรุษใชในการ สรางที่อยูอาศัยตลอดจนการดํารงชีวิตใหมีความสอดคลองกลมกลืนกับธรรมชาติ สถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนที่อยูอาศัยจึงเกิดขึ้นจากองคความรูของบรรพชนในอดีตที่ มีการตั้งคําถาม และการแกปญหาเพื่อใหสามารถสรางสรรคที่อยูอาศัยที่มีทําใหเกิด คุณภาพชีวิตที่ดี ทวาสะทอนถึงการบริหารจัดการไดดวยความสามารถของเจาของ เรือน (Self Sufficiciency) การผลิตซํ้ารูปแบบของสถาปตยกรรมพื้นถิ่นดังกลาว กลายมาเปนแบบแผน และเอกลักษณของสถาปตยกรรมพื้นถิ่นเฉพาะพื้นที่ที่มีคุณคา ทั้งดานศิลปวัฒนธรรม และเปนตัวแทนของรูปแบบทางสถาปตยกรรมของพื้นที่ ซึ่ง หากไมมีการจัดการองคความรูในเรื่องรูปแบบที่อยูอาศัย และวิถีชีวิตของคนไทยแลว อาจทําใหภูมิปญญาที่มีคาตองสูญหายประเทศไทยจะขาดศิลปวัฒนธรรมของที่อยู อาศัยที่มีเอกลักษณเหลานั้นไป ซึ่งนานาอารยประเทศใหความสําคัญกับเรื่องการ อนุรักษภูมิปญญาเปนอยางมาก จากปญหาที่กลาวขางตน และจากยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนาของชาติ ใน ประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกับการพัฒนาที่อยูอาศัยในยุทธศาสตรที่ 5 วาดวยการสรางองค ความรูเ รือ่ งทีอ่ ยูอ าศัยตอทุกภาคสวนของสังคม ทางการเคหะแหงชาติซงึ่ เปนหนวยงาน หลักของรัฐทีม่ ภี ารกิจดานการพัฒนาทีอ่ ยูอ าศัยจึงเห็นความสําคัญวา ในการแกปญ  หา ดานที่อยูอาศัยจําเปนตองนําวิถีชาวบาน ภูมิปญญาทองถิ่น ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ คานิยมที่ดี ลักษณะพิเศษที่ดีของแตละชุมชนทองถิ่น ความสามารถของ ชาวบานมาประยุกตใชรวมกับเทคโนโลยีสมัยใหม และการรวบรวมองคความรูทั้ง ดานวัสดุกอสรางพื้นถิ่นและวิธีการกอสรางพื้นถิ่น รวมทั้งการจัดการองคความรูที่ ตอบสนองโดยตรงทางดานทีอ่ ยูอ าศัย ใหแกชาวชนบทอยางเปนระบบ มีความเหมาะสม ในมิติตางๆ เกิดกระบวนการเรียนรูและความรวมมือจากภาคสวนตางๆ ของสังคม ในการนี้ จะเห็นไดวา จําเปนตองทําการศึกษาสถาปตยกรรมในทองถิน่ เชิงลึก โดยศึกษาจากตัวแทนของกรณีศึกษาชุมชนชนบทตางๆ ที่ตั้งถิ่นฐานอยูในลุมนํ้า ทะเลสาบสงขลาในเขตพื้นที่จังหวัดพัทลุง เพื่อศึกษาลักษณะดั้งเดิมของรูปแบบทาง สถาปตยกรรม และวัสดุกอสรางพื้นถิ่น รวมไปถึงความสัมพันธกับบริบทแวดลอม เพือ่ การวางแนวทางในการปรับปรุงบานเรือนทีอ่ ยูอ าศัยทีเ่ หมาะสมทัง้ ในประเด็นของ

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 134

9/6/2558 1:15:15


การใชสอยพื้นที่ และวัสดุกอสราง และแนวทางในการพัฒนาที่แตกตางกันของที่อยู อาศัยของชุมชนชนบทซึ่งตั้งถิ่นฐานในภาคใต ในชุมชนที่ตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ลุมนํ้า ทะเลสาบสงขลา ซึ่งเปนมีการตั้งถิ่นฐานมาอยางยาวนาน อีกทั้งมีสภาพแวดลอมทาง ธรรมชาติที่มีเอกลักษณเฉพาะตัว และมีความเปราะบางสูง การตั้งถิ่นฐาน และการ กอรูปขึ้นของสถาปตยกรรมพื้นถิ่นในพื้นที่ดังกลาวจึงมีความนาสนใจอยางยิ่ง ดังนั้น จึงมีความสําคัญ และความจําเปนอยางเรงดวนที่ตองดําเนินการ ศึกษาวิจัยเพื่อรวบรวมองคความรูเรื่องรูปแบบที่อยูอาศัยของคนไทยในภาคใต กรณี ศึกษา ชุมชนละแวกทะเลนอย และละแวกทะเลสาบสงขลาในพื้นที่เขตจังหวัดพัทลุง อยางเปนระบบเพื่อนําไปสูการเก็บรักษาองคความรู นําไปสูการสืบสาน และนําไปสู กระบวนการตอยอด ตลอดจนเปนการผลิตเปนสื่อในรูปแบบตางๆ เพื่อเผยแพรใน สาธารณชนไดเรียนรู และนําไปพัฒนาการตอยอดเพื่อสืบสานภูมิปญญาใหคงอยูคู กับประเทศไทยตลอดไป วัตถุประสงคของการศึกษา

1. เพื่อสํารวจเก็บขอมูลที่อยูอาศัยและวิถีชีวิตการอยูอาศัยในมิติตางๆ เพื่อ จัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัย และวิถีชีวิตการอยูอาศัยดานมรดกภูมิปญญาทองถิ่น อยางเปนรูปธรรมในมิติของชาติพันธุ การตั้งถิ่นฐาน สถาปตยกรรม ศิลปวัฒนธรรม ดวยสื่อรูปแบบตางๆ 2. เพื่อสํารวจและจัดเก็บขอมูลที่อยูอาศัยตําแหนงตางๆ ในทางแผนที่สง เปนชั้นขอมูลภูมิสารสนเทศของครัวเรือนหรือที่อยูอาศัย เพื่อการเคหะแหงชาติ สามารถนํามาจัดการเพือ่ เผยแพรในระบบสารสนเทศทีอ่ ยูอ าศัยของการเคหะแหงชาติ 3. เพื่อศึกษาแนวทางสรางเครือขายโดยการมีสวนรวมของชุมชน หนวย งานทองถิ่น และสถาบัน การศึกษา เพื่อเปนเครือขายการเชื่อมโยงขอมูลสําหรับ เผยแพรความรูที่ครบวงจรอยางบูรณาการ

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 135

134 135

9/6/2558 1:15:15


ขอบเขตการศึกษา

1. ขอบเขตดานพื้นที่ “ภาคใต” เปนคาบสมุทรทีท่ อดตัวยาวในแนวเหนือใต และขนาบดวยทะเล อาวไทย และทะเลอันดามัน โดยมีแนวเทือกเขาทอดตัวเปนแนวยาวอยูตรงกลาง นอกจากสภาพแวดลอมที่มีความหลากหลายสูง ทําเลที่ตั้งทําใหภาคใตเปนศูนยกลาง การติดตอคาขาย และการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมมาตั้งแตโบราณจึงเปนมูลเหตุให ภาคใตเปนพืน้ ทีท่ มี่ คี วามหลากหลายทางวัฒนธรรม และศาสนามากกวาพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ จาก ขอมูลตางๆ ที่กลาวมาขางตนจึงทําใหสถาปตยกรรมพื้นถิ่นภาคใต มีความโดดเดนทั้ง ในแงตางๆ ที่เปนผลมาจากปจจัยแวดลอมที่หลากหลาย การเลือกกรณีศึกษาในการวิจัยชิ้นนี้ ไดคัดสรรพื้นที่มีสถาปตยกรรมเรือน พื้นถิ่นที่พักอาศัย ตลอดจนองคความรูที่เกี่ยวเนื่องกับการอยูอาศัย ทั้งในประเด็นของ การใชวัสดุกอสราง เทคโนโลยีในการกอสราง รวมไปถึงภูมิปญญาในการสรางสรรค ที่อยูอาศัยที่เกื้อกูลกับสภาพแวดลอมจนกลายเปนภูมิทัศนวัฒนธรรมของภาคใตที่มี เอกลักษณโดดเดน โดยมีเกณฑเบื้องตน ดังตอไปนี้คือ “เปนชุมชนที่ตั้งถิ่นฐานอยู ในลุมนํ้าทะเลสาบสงขลาในเขตจ.พัทลุง” ในที่นี้ จึงกําหนดพื้นที่สําหรับการสํารวจได 9 ตําบล คือ ต.ทะเลนอย ต.พนางตุง อ.ควนขนุน, ต.ลําปา อ.เมืองฯ, ต.หานโพธิ์ ต.จองถนน อ.เขาชัยสน, ต.นาปะขอ อ.บางแกว, ต.ปากพะยูน ต.ฝาละมี ต.เกาะนางคํา อ.ปากพะยูน ครอบคลุ ม ทุ ก อํ า เภอที่ สั ม พั น ธ กั บ ทะเลสาบสงขลาในเขตจั ง หวั ด พั ท ลุ ง

อาวไทย

เหนือ ภาพที่ 1: แผนที่แสดงพื้นลุมนํ้าทะเลสาบสงขลา โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 136

9/6/2558 1:15:15


เหนือ

อาวไทย

ภาพที่ 2: แผนที่แสดงพื้นลุมนํ้าทะเลสาบสงขลา และพื้นที่กรณีศึกษาที่มีที่ตั้งสัมพันธอยู ติดกับทะเลสาบสงขลา

2. ขอบเขตดานเนื้อหา - ดานสถาปตยกรรม ทําการศึกษา สํารวจ เก็บขอมูลรูปแบบที่อยูอาศัย แบบประเพณี และวิถีการอยูอาศัยในทุกๆ มิติ นํามาวิเคราะห และประมวลขอมูลเปน องคชุดองคความรูเรื่องรูปแบบที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัย ซึ่งสะทอนคุณคาทาง ศิลปวัฒนธรรม เอกลักษณและภูมิปญญาทองถิ่น - คัดเลือกบานที่มีความสมบูรณโดดเดนในเอกลักษณที่เปนไปตามเกณฑ การคัดสรรเพื่อนํามาจัดทําเปนแบบสถาปตยกรรม 2 มิติ และ 3 มิติ - ดานสื่อสารสนเทศ สังเคราะหองคความรูที่ไดเพื่อพัฒนาสื่อสารสนเทศ สําหรับการเรียนรูเกี่ยวกับที่อยูอาศัย จัดทําเปนสื่อเพื่อการจัดแสดงในรูปแบบของ นิทรรศการทั้งสื่อสิ่งพิมพ สื่อวีดิทัศน และสื่อแบบออนไลนที่มีความสะดวกตอการ เผยแพร และสืบคน - ดานขอมูลสารสนเทศ ศึกษาสํารวจและจัดเก็บขอมูลทีอ่ ยูอ าศัยและขอมูล ภูมศิ าสตรสารสนเทศของครัวเรือนหรือทีอ่ ยูอ าศัยตําแหนงตางๆ ในทางแผนทีส่ ง เปน ชั้นขอมูลสารสนเทศของครัวเรือนที่อยูอาศัย สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 137

136 137

9/6/2558 1:15:15


ขั้นตอนการดําเนินงาน

การศึกษาเพื่อสรางองคความรูเกี่ยวกับรูปแบบของสถาปตยกรรมพื้นถิ่น ที่อยูอาศัยในจังหวัดพัทลุง เพื่อนําไปสูการพัฒนาและการออกแบบระบบสารสนเทศ และการนําเสนอสูสาธารณะ และชุมชนเพื่อสรางจิตสํานึกในการอนุรักษ และฟนฟู สถาปตยกรรมพืน้ ถิน่ ทีอ่ ยูอ าศัยทรงคุณคาทางวัฒนธรรมตอไป มีขนั้ ตอนการดําเนินการ 10 ขั้นตอนหลัก คือ 1. การทบทวนวรรณกรรม และสารสนเทศประเภทตางๆ ที่เกี่ยวของใน สวนที่วาดวยเรื่องสถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัยภาคใต และในจังหวัดพัทลุง เพื่อ ใหไดสถานภาพการศึกษา และความเขาใจเบื้องตนในสิ่งที่มีผูคนความากอนหนาแลว 2. สรุปคุณลักษณะสําคัญของสถาปตยกรรมพืน้ ถิน่ ทีอ่ ยูอ าศัยทีม่ คี ณ ุ คาทาง วัฒนธรรมภาคใต และนํามาสูการออกแบบกระบวนการดําเนินงาน 3. การศึกษาแผนที่ และภาพถายดาวเทียมเพือ่ วิเคราะหลกั ษณะภูมปิ ระเทศ ที่คาดวามีการตั้งถิ่นฐานยาวนานตามลักษณะของชุมชนภาคใตที่กลาวถึงจากการ ทบทวนวรรณกรรม และสารสนเทศในขอที่ 1 เพื่อกําหนดพื้นที่เปาหมายใหกระชับ ขึ้น 4. การสํารวจภาคสนามในพื้นที่ จ.พัทลุงโดยละเอียด โดยใชทําการสํารวจ ตามสมมติฐานตามประมวลไดจากการทบทวนสารสนเทศ และเอกสารตางๆ รวม กับการประมวลขอมูลจากการศึกษาแผนที่ และภาพถายดาวเทียม ตลอดจนการ ประสานงานกับหนวยงานสวนทองถิ่น ผูทรงคุณวุฒิทางวิชาการในทองถิ่น ปราชญ ทองถิ่น องคกรบริหารสวนทองถิ่น และเครือขายของผูสูงอายุที่ตั้งถิ่นฐานอยูในพื้นที่ ศึกษา 5. การออกแบบแบบฟอรมการเก็บขอมูล และการสํารวจเบื้องตน (Walk Through Survey) โดยคณะนักวิจัย ผูชวยวิจัย และผูชวยวิจัยภาคสนาม เพื่อศึกษา ภาพรวมของสถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัยทรงคุณคาทางวัฒนธรรม พรอมกับการ ทําฐานขอมูลระบบพิกัดทางภูมิศาสตรของเรือนกรณีศึกษาตางๆ ที่พิจารณาเห็นวา ควรคาแกการนํามาศึกษาเชิงลึก โดยทําการศึกษาในพื้นที่ตางๆ รอบลุมนํ้าทะเลสาบ สงขลาในขอบเขตจังหวัดพัทลุง จํานวน 4 ครั้ง 6. การประชุมรวมกับคณะกรรมการจากการเคหะแหงชาติ เพื่อนําเสนอ ขอมูลเบื้องตนจากการเก็บขอมูล และสํารวจเบื้องตนประกอบการพิจารณากําหนด เกณฑในการคัดเลือกกรณีศึกษา โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 138

9/6/2558 1:15:15


7. การสํารวจพื้นที่เพื่อการคัดเลือกบานกรณีศึกษามาเพื่อทําการสํารวจเชิง ลึกในดานสถาปตยกรรม และลักษณะการอยูอาศัย ตลอดจนประวัติความเปนมา และ สภาพแวดลอมของชุมชน รวมกับคณะกรรมการจากการเคหะแหงชาติ 8. การลงภาคสนามสํารวจรังวัด และเก็บขอมูลสถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยู อาศัยกรณีศึกษาที่ถูกคัดเลือกวาเปนเรือนที่ทรงคุณคาที่จะนํามาพัฒนาตอเปนแบบ สถาปตยกรรม และแบบคอมพิวเตอรสามมิติ 9. นําผลการศึกษา และขอคนพบเบื้องตนเสนอตอผูทรงคุณวุฒิทางวิชาการ ดานสถาปตยกรรมพื้นถิ่น และที่ประชุมวิชาการเพื่อรับฟงความคิดเห็น และขอเสนอ จากผูทรงคุณวุฒิ และผูฟง ในหัวขอ “เรือนแตแรกเมืองพัทลุง” ใน “งานสรรสาระ สถาปตยกรรมพืน้ ถิน่ และสภาพแวดลอมทางวัฒนธรรม” ทีค่ ณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2556 10. การวิเคราะห และสังเคราะหขอมูล เพื่อนํามาสูการถอดรหัส และ องคความรูที่แฝงอยูในสถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ตลอดจนขอมูลจากผูอยูอาศัย ในเรือน เพื่อนําเสนอรายงานสรุปผลการศึกษา และการพัฒนาและการออกแบบ ระบบสารสนเทศ และการนําเสนอสูสาธารณะ และชุมชนเพื่อสรางจิตสํานึกในการ อนุรักษ และฟนฟูสถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัยทรงคุณคาทางวัฒนธรรมตอไป

ภาพที่ 3: การลงสํารวจภาคสนามในพื้นที่ศึกษา รวมกับที่ปรึกษา และคณะกรรมการจาก การเคหะแหงชาติ สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 139

138 139

9/6/2558 1:15:15


การสํารวจสถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนที่อยูอาศัยกรณีศึกษาขั้นตน

ในการศึกษาวิจัยในลักษณะองครวม และการสรางบทสังเคราะหเพื่อให เห็นภาพรวมของลักษณะทีอ่ ยูอ าศัยภาคใต ในการนีจ้ งึ มีจาํ เปนตองใชเรือนกรณีศกึ ษา มากที่สุดเทาที่เปนไปได เพื่อใหเกิดความหลากหลายของกรณีศึกษา และรูปแบบ ทางสถาปตยกรรมกอนที่จะนํามาสูขั้นตอนการอภิปราย การวิเคราะหผล และสรุป เปนองคความรูวาดวยพัฒนาการและรูปแบบของสถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ทรงคุณคาในจังหวัดพัทลุง โดยมีเรือนที่ทําการศึกษา สํารวจรังวัด บันทึกภาพ ตลอด จนการสัมภาษณเจาของเรือน รวมทั้งสิ้น 58 หลัง โดยจําแนกเปนพื้นที่ศึกษาดังนี้ คือ อ.ควนขนุน คือ ต.พนางตุง 9 หลัง, ต.ทะเลนอย 3 หลัง, อ.เมือง คือ เทศบาลลําปา 19 หลัง, ต.ลําปา 3 หลัง, อ.เขาชัยสน คือ ต.หานโพธิ์ 8 หลัง, ต.จองถนน 7 หลัง, อ.บางแกว คือ ต.นาปะขอ 3 หลัง, อ.ปากพะยูน คือ ต.ฝาละมี จํานวน 6 หลัง

ภาพที่ 4: แผนที่แสดงที่ตั้งของสถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนที่อยูอาศัยกรณีศึกษา

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 140

9/6/2558 1:15:15


องคความรูจากการศึกษาสถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนที่อยูอาศัยใน เขตจังหวัดพัทลุง

จากผลการสํารวจพื้นที่ขั้นตนที่คัดเลือกสถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนที่อยู อาศัย กรณีศึกษาทั้งสิ้น 58 หลัง จากพื้นที่ศึกษาลุมนํ้าทะเลสาบสงขลาในเขตจังหวัด พัทลุง เพื่อทําการศึกษาภาพรวม และสังเคราะหความรูที่เกี่ยวเนื่องกับสถาปตยกรรม พื้นถิ่นที่อยูอาศัยเปนผลผลิตทางวัฒนธรรมที่สัมพันธกับการดําเนินชีวิตของผูคน ทั้งนี้ในแตละพื้นที่เมื่อผูวิจัยไดรับการบงชี้แหลงที่มีการตั้งถิ่นฐานเกาแก และตอเนื่อง ซึ่งไดรับขอมูลดังกลาวจากการทบทวนวรรณกรรม และสารสนเทศตางๆ ผสานกับ การศึกษาผานแผนที่ และภาพถายดาวเทียมเพือ่ วิเคราะหลกั ษณะภูมปิ ระเทศทีค่ าดวา มีการตั้งถิ่นฐานยาวนาน และประสานงานกับหนวยงานสวนทองถิ่น ผูทรงคุณวุฒิใน ทองถิ่น ปราชญทองถิ่น องคกรปกครองทองถิ่น และเครือขายของผูสูงอายุ จนไดมา ถึงแหลงที่มีการตั้งถิ่นฐานเกาแกและตอเนื่อง ซึ่งในการศึกษาดังกลาวจําเปนตองใช เรือนกรณีศึกษาในการทําวิจัยจํานวนมากที่สุดเทาที่จะทําได เพื่อใหครอบคลุมความ หลากหลายทางวัฒนธรรมตลอดจนรูปแบบทางสถาปตยกรรม เพื่อใหการวิเคราะห การสังเคราะห และสรุปผล คนพบองคความรูวาดวยพัฒนาการ และรูปแบบของ สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัยทรงคุณคาในจังหวัดพัทลุง ทั้งนี้ ในการวิจัยมีกระบวนการคัดสรรกรณีศึกษา “สถาปตยกรรมพื้นถิ่น เรือนที่อยูอาศัยทรงคุณคา” ตามเกณฑ 6 ขอ ซึ่งกรณีศึกษาที่ไดรับการคัดสรรเพื่อ ทําการศึกษาเชิงลึกนั้นก็คือ “เรือนเกา” ในภาษาถิ่นใตวา “เรินแตแรก” ซึ่งเต็มไป ดวยคุณคาในหลากมิติ ในการศึกษานี้ยังมุงศึกษา “ที่อยูอาศัย หรือบานที่แสดงออก ถึงความสัมพันธระหวางมนุษยดวยกันเอง มนุษยกับสังคม และมนุษยกับธรรมชาติ รวมไปถึงเปนภาพสะทอนใหเห็นสภาพแวดลอม เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม ของ ชุมชนนั้นๆ” การลงภาคสนามแตละชุมชนในพื้นที่ลุมนํ้าทะเลสาบสงขลาในเขตจังหวัด พัทลุง แมวาจะไมไดทําการศึกษาเชิงลึกดวยวิธีการสํารวจรังวัด และการสัมภาษณ เจาของเรือนทุกหลังในชุมชน แตผูวิจัยคัดสรรดวยการประเมินดวยเครื่องมือสํารวจ ขั้นพื้นฐาน (Basic Survey) กอนที่จะใชเกณฑ 6 ขอมาเปนตัวบงชี้เพื่อคัดเลือกกรณี ศึกษาสถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนที่อยูอาศัยทรงคุณคาเพื่อทําการศึกษาเชิงลึก ทั้งนี้ มีเรือนที่ไดรับการคัดเลือกทั้งสิ้น 58 หลัง ที่มีคุณคาตามเกณฑขอใดขอหนึ่ง หรือ

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 141

140 141

9/6/2558 1:15:16


หลายขอ จากเกณฑรวมทั้งสิ้น 6 ขอ ดังรายละเอียดตอไปนี้ คือ เรือนใน อ.ควนขนุน คือ ต.พนางตุง 9 หลัง, ต.ทะเลนอย 3 หลัง, อ.เมือง คือ เทศบาลลําปา 19 หลัง, ต.ลําปา 3 หลัง, อ.เขาชัยสน คือ ต.หานโพธิ์ 8 หลัง, ต.จองถนน 7 หลัง, อ.บางแกว คือ ต.นาปะขอ 3 หลัง, อ.ปากพะยูน คือ ต.ฝาละมี จํานวน 6 หลัง จากการวิจยั ยังมีขอ สังเกตวา อาชีพของเจาของเรือนกรณีศกึ ษามีทงั้ การทํานา การทําสวนผลไม การทําสวนยาง การประมง การคา ซึ่งในอดีตนั้นแตละครัวเรือนจะมี อาชีพหลักที่คอนขางชัดเจน โดยเฉพาะ “เรือนชาวนา” ซึ่งจากการศึกษาพบวาเปน อาชีพทีส่ มั พันธกบั เรือนทีม่ แี บบแผนทีช่ ดั เจน แตในสถานการณปจ จุบนั นัน้ ไมสามารถ จําแนกเรือนออกเปนอาชีพไดอยางตรงไปตรงมานัก เนื่องจากแตละครัวเรือนนั้นได ประกอบอาชีพที่หลากหลายแตกตางไปจากบริบทของอดีตโดยสิ้นเชิงและจากการ ศึกษาวิจยั ไดจาํ แนกเรือนตามบริบทแวดลอมทีส่ ง ผลตอพัฒนาการทางสถาปตยกรรม ไดดังตอไปนี้ คือ “สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัยที่แสดงความสัมพันธกับสถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนไทยภาคกลาง” และ “รูปแบบสถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนที่อยูอาศัย ที่มีพัฒนาการของรูปแบบภายใตบริบทแวดลอมของพื้นที่” ทั้งนี้ สามารถจําแนก พัฒนาการของรูปแบบทางสถาปตยกรรมโดยสังเขปไดดังตอไปนี้ คือ 1. เรือนอายุประมาณ 140 ป ดังตัวอยาง “เรือนเจาเมืองพัทลุงหลังเกา (เรือนหมายเลข 1 ภาพที่ 4)” ไดรับอิทธิพลจากเรือนไทยภาคกลางอยางชัดเจน ดังที่ปรากฏเปนรูปแบบทางสถาปตยกรรม 2. เรือนอายุประมาณ 120 ป ดังตัวอยาง “เรือนเจาเมืองหลังใหม (เรือน หมายเลข 2 ภาพที่ 4)” แมวาจะมีอายุในการกอสรางหลังจากเรือนเจาเมืองหลังเกา ไมนานนัก แตทวามีพัฒนาการปรับเปลี่ยนรูปทรง และวัสดุกอสรางใหเหมาะสมกับ ภูมิประเทศที่มีฝนชุกและลมแรง ดวยลดความสูงของหนาจั่วลง ใชฝาผนังไมไผสาน ฉาบปูน และทําชานเปนเครื่องกอเพื่อความทนทานกวาชานไมเคี่ยมที่เปนที่นิยม รูปแบบสถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนที่อยูอาศัยที่มีพัฒนาการของรูปแบบภายใตบริบท แวดลอมของพื้นที่ 3. เรือนอายุประมาณ 80-100 ป ดังตัวอยาง “เรือนคุณประภาส หัสนันท (เรือนหมายเลข 3 ภาพที่ 4)” เปนเรือนชาวนา ยังใหความสําคัญของทิศตะวันออก ตามคติความเชื่อ ทางขวามือหรือทางทิศใต คือ เรือนนอน หลังคาเรือนนอน และ เรือนรองเปนหลังคาทรงจั่ว แตลดความสูงของหนาจั่วลงมาก เพื่อลดการตานแรงลม

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 142

9/6/2558 1:15:16


ฝาผนังสวนเรือนนอนใชสงั กะสีทนี่ าํ เขามาจากเกาะปนงั และนํามาขายตอทีเ่ มืองสงขลา และเจาของเรือนในอดีตไดซื้อหามาใชเปนวัสดุผนังเรือนนอนมาตั้งแตแรกสราง 4. เรือนอายุประมาณ 60-80 ป ดังตัวอยาง “เรือนคุณสําราญ พุดคํา (เรือน หมายเลข 3 ภาพที่ 4)” เปนตัวอยางของเรือชาวประมง จะเห็นไดวายังใหความสําคัญ ของทิศตะวันออกตามคติความเชื่อ ทางซายมือหรือทางทิศใตเปนเรือนนอน ทางทิศ เหนือเปนเรือนรองซึ่งทั้งสองเรือนมีหลังคาทรงจั่ว แตทวาเรือนมีขนาดเล็กลงมาก เพราะไมไดเปนเรือนสําหรับครอบครัวขยายเชนครอบครัวชาวนา แตมีการตอเติม พื้นที่นั่งเปนชานที่มีหลังคาทรงเพิงคลุม 5. เรือนอายุประมาณ 50-60 ป ดังตัวอยาง “เรือนคุณแจง สังขทิพย (เรือน หมายเลข 5 ภาพที่ 4)” เปนตัวอยางเรือนที่แสดงใหเห็นถึงบริบทของการแสวงหาที่ ทํากินใหม เนื่องจากที่ราบลุมสําหรับการทํานา และที่ริมทะเลสาบสงขลาถูกจับจอง ไปจนหมดสิน้ จึงผลักดันใหมกี ารเขาไปตัง้ ถิน่ ฐานตรงทีล่ าดเชิงเขาเพือ่ ประกอบอาชีพ ทําสวนเพิ่มเติม นอกเหนือไปจากการทํานา ยังมีคอกโค-กระบืออยูดานขางเรือนนอน ซึ่งเปนพัฒนาการในชั้นหลังที่คํานึงถึงสุขลักษณะ ตลอดจนบานเมืองมีความสงบ เรียบรอยมากขึ้นโดยไมมีการลักวัวควายมากเชนในอดีต นอกจากนี้ จะเห็นวาสัดสวน ของเรือนจะดูแปลกตามากขึ้น เนื่องจากยกใตถุนสูงมากขึ้นไปตามสํานึกเรื่องความ ปลอดภัย 6. เรือนอายุประมาณ 40-50 ป จะมีความหลากหลายของตัวอยางเนื่อง จากระบบสังคมวัฒนธรรมในพื้นที่ศึกษามีความซับซอนมากขึ้น เนื่องจากการเพิ่ม จํานวนประชากรและการพัฒนาที่เปนไปอยางรวดเร็ว สงผลใหเกิดความหลากหลาย ของรูปแบบทางสถาปตยกรรมมากขึ้น ดังตัวอยางของ “เรือนคุณพวน กรกฎ (เรือน หมายเลข 6 ภาพที่ 4)” เปนตัวอยางของเรือนที่ผูอยูอาศัยที่แมวาจะมีการทํานาอยู บางแตไมมากนัก เนื่องจากมีเศรษฐกิจรูปแบบใหม คือ การทําสวนยางคูไปดวยจึง เปนเหตุใหมีการไปบุกเบิกพื้นที่เพื่อการตั้งถิ่นฐานหางไปจากทะเลสาบมากขึ้นโดย ขยับเขาไปยังที่ลาดเชิงเขาที่อยูตอนใน ทําใหเรือนกลุมนี้จะมีการยกใตถุนที่สูงมาก ดวยสํานึกเรื่องความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน และมีความนิยมในการสราง หลังคาเรือนนอนเปนหลังคาแบบปนหยามากขึ้น สําหรับ “เรือนของคุณสําลี ไผทอง (เรือนหมายเลข 6 ภาพที่ 4)” เปนเรือนที่สะทอนใหเห็นความนิยมในการใชหลังคา ปนหยาเปนหลังคาสวนเรือนนอน และมีชานนั่งเลนหนาบาน และ “เรือนของคุณลี่

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 143

142 143

9/6/2558 1:15:16


แดงปรด(เรือนหมายเลข 6 ภาพที่ 4)” มีประวัติวาเปนเรือนของผูนําชุมชน ทําใหมี การกอสรางเรือนมีลักษณะพิเศษ คือแมวาจะมีหลังคาแบบปนหยา แตยกมุขดาน หนาเพื่อแสดงใหเห็นถึงรูปลักษณของเรือนที่ซับซอนขึ้นตามศักดิ์ของเจาของเรือนใน ฐานะของผูนําชุมชนนั่นเอง 7. เรือนอายุประมาณ 30-40 ป ในชวงเวลาดังกลาวชุมชนทองถิ่นมีความ เปลี่ยนแปลงมากขึ้นตามบริบทแวดลอมทั้งภายใน และภายนอกชุมชนที่เชื่อมโยง สัมพันธกัน ในชวงเวลานี้เริ่มมีการยายถิ่นฐานขามพื้นที่ไปแสวงหาที่ทํากินใหมๆ ทําให มีเรือนเกาถูกขายดวยเจาของยายถิ่นฐานใหม หรือมีการฐานะทางเศรษฐกิจที่ดีขึ้นก็ จะปลูกเรือนใหมตามสมัยนิยม กรณีศึกษาที่นาสนใจดังตัวอยางของ “เรือนคุณสุนีย ขุนพล (เรือนหมายเลข 7 ภาพที่ 4)” ซึ่งเรือนที่นํามาปลูกสรางนั้นไปซื้อเรือนเกา มาจากแหลงอื่นๆ ซึ่งทั้งสองหลังตางเปนเรือนนอน เมื่อนํามาปลูกสรางเปนเรือนใหม จึงมีการกลับผังเรือนใหมใชชานรวมกันนับวาเปนกรณีศึกษาที่นาสนใจอยางยิ่ง นอกจากนี้ ในชวงเวลาดังกลาวมีการพัฒนาพื้นที่ดวยการตัดถนนเพื่อเชื่อมโยงชุมชน ตางๆ ที่ตั้งกระจายตัวอยูริมทะเลสาบเขาดวยกัน ทําใหเปนจุดเริ่มตนใหกลุมคนไทย เชื้อสายจีนเขามาจับจองพื้นที่ริมถนนเพื่อปลูกเรือนที่เปนทั้งที่อยูอาศัยและคาขาย ซึง่ เมือ่ มองรูปแบบทางสถาปตยกรรมเพียงภายนอกจะดูประหนึง่ วาเปนสถาปตยกรรม พื้นถิ่นเรือนที่อยูอาศัยที่พัฒนาการขึ้นจากบริบทดั้งเดิม หากแตเมื่อพิจารณาในผัง ของเรือนจะพบวาเปนเรือนในวัฒนธรรมจีน ดังตัวอยางของ “เรือนคุณแปลก แกว มรกต (เรือนหมายเลข 7 ภาพที่ 4)”

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 144

9/6/2558 1:15:16


ภาพที่ 4: ภาพสามมิติแสดงเรือนกรณีศึกษาที่ยกมาเปนตัวอยางในการ อธิบายเรื่องพัฒนาการทางสถาปตยกรรมของเรือนพื้นถิ่นในลุมนํ้าทะเล สาบสงจลา ในพื้นทื่จังหวัดพัทลุง สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 145

144 145

9/6/2558 1:15:16


ภาพที่ 5-1: แสดงเรือนที่มีอายุประมาณ 140 ป

ภาพที่ 5-2: แสดงเรือนที่มีอายุประมาณ 120 ป

ภาพที่ 5-3: แสดงเรือนที่มีอายุประมาณ 100 ป โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 146

9/6/2558 1:15:16


ภาพที่ 5-4: แสดงเรือนที่มีอายุประมาณ 80 ป

ภาพที่ 5-4: แสดงเรือนที่มีอายุประมาณ 60 ป

ภาพที่ 5-4: แสดงเรือนที่มีอายุประมาณ 40 ป สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 147

146 147

9/6/2558 1:15:16


ภาพที่ 5-4: แสดงเรือนที่มีอายุประมาณ 40 ป

ภาพที่ 5-4: แสดงเรือนที่มีอายุประมาณ 30 ป

ภาพที่ 5-4: แสดงเรือนที่มีอายุประมาณ 30 ป โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 148

9/6/2558 1:15:17


ภาพที่ 6: แผนภูมแิ สดงพัฒนาการของรูปแบบสถาปตยกรรม และลักษณะการใชสอยของสถาปตยกรรม พื้นถิ่นลุมนํ้าทะเลสาบสงขลา จ.พัทลุง

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 149

148 149

9/6/2558 1:15:17


การคัดเลือกกรณีศึกษาเพื่อทําการศึกษาละเอียดเพื่อจัดทําแบบ คอมพิวเตอร 2 มิติ และ 3 มิติ

หลังจากการประมวลผลการศึกษาสํารวจภาคสนามเพื่อทราบถึงขอมูล เบื้องตนของสถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนที่อยูอาศัยที่มีศักยภาพในการทําการวิจัย ตอเนื่อง จึงนําผลลัพธดังกลาวมาประชุมรวมกับผูทรงคุณวุฒิ และคณะกรรมการ จากการเคหะแหงชาติ เพื่อพิจารณากําหนดเกณฑในการคัดเลือกกรณีศึกษา ได กําหนดเกณฑเพือ่ ใชในการพิจารณาคัดสรรสถาปตยกรรมพืน้ ถิน่ ทีอ่ ยูอ าศัยทรงคุณคา ที่เหมาะแกการนํามาศึกษาเชิงลึก ทั้งการศึกษาบริบทแวดลอมตางๆ ที่เกี่ยวของกับ เรือนกรณีศึกษา ตลอดจนการสํารวจรังวัด เพื่อจัดทําแบบสถาปตยกรรม และแบบ คอมพิวเตอรสามมิติ ทั้งนี้สถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนที่พักอาศัยที่เลือกเปนกรณีศึกษา จะตองมีคุณสมบัติเขาเกณฑขอใดขอหนึ่ง หรือหลายขอ ตามหลักเกณฑการคัดเลือก ดังตอไปนี้ เกณฑขอที่ คําอธิบายเกณฑ 1 เปนสถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนที่พักอาศัยที่มีอายุการกอสรางเกาแก และเปนตัวอยางที่หาไดยากยิ่ง (Rarity) ซึ่งเปนตัวแทนของรูปแบบ และพัฒนาการของที่อยูอาศัยของภาคใต 2 เปนสถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนที่พักอาศัยที่เปนตัวอยางอันโดดเดน หรือมีเอกลักษณทางสถาปตยกรรมที่เปนตัวแทนของเรือนพื้นถิ่น ภาคใต 3 เปนสถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนที่พักอาศัยที่สะทอนถึงการปรับตัวให สอดคลองสัมพันธกับระบบนิเวศ และภูมิประเทศ ภูมิอากาศอันมี ลักษณะเฉพาะของภาคใต 4 เปนสถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนที่พักอาศัยที่สะทอนถึงความสัมพันธ กับวิถีทางวัฒนธรรมของภาคใต 5 เปนสถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนที่พักอาศัยที่สะทอนถึงความสัมพันธ กับอาชีพอันเปนเอกลักษณของภาคใต 6 เปนสถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่พักอาศัยที่สะทอนถึงภูมิปญญาในการ กอสราง และการใชวัสดุกอสรางพื้นถิ่น อันเปนลักษณะเฉพาะของ ภาคใต โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 150

9/6/2558 1:15:17


สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัยที่นาสนใจและเปนไปตามเกณฑ การคัดสรรกรณีศึกษา

จากเกณฑขางตนทั้ง 6 ขอ ทางผูวิจัยไดประชุมรวมกับคณะกรรมการจาก การเคหะแหงชาติ และที่ปรึกษาโครงการ ไดรวมการคัดสรรกรณีศึกษาเพื่อทําการ ศึกษาเชิงลึก โดยพิจารณาจากการเฉลี่ยคานํ้าหนักที่คิดจากเกณฑขอตางๆ ตามเกณฑ จํานวน 27 หลัง และคณะกรรมการจากการเคหะแหงชาติ และที่ปรึกษาโครงการได คัดสรรเรือนกรณีศึกษาเพื่อทําแบบสถาปตยกรรม 2 มิติ จํานวน 16 หลัง และแบบ สถาปตยกรรมคอมพิวเตอร 3 มิติ จํานวน 7 หลัง ดังตารางแสดงรายละเอียดดังตอไปนี้

ลําดับ ที่

เจาของเรือน กรณีศึกษา

ที่อยู

เกณฑขอที่ 1

2

3 X

X

4

แบบ แบบ 2 มิติ 3 มิติ

5

6

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

1

แจง เวชมงคล

เลขที่ 71 เทศบาลเมืองพัทลุง ต.ลําปา อ.เมืองฯ จ.พัทลุง

X

2

สมศรี กิ้มมวง

เลขที่ 79เทศบาลเมืองพัทลุง ต.ลําปา อ.เมืองฯ จ.พัทลุง

X

3

เมียน เดชเอี่ยม

เลขที่ 98 เทศบาลเมืองพัทลุง ต.ลําปา อ.เมืองฯ จ.พัทลุง

4

สนาน อินทฤทธิ์

เลขที่ 39 เทศบาลเมืองพัทลุง ต.ลําปา อ.เมืองฯ จ.พัทลุง

X

X

5

วังเจาเมือง

เทศบาลเมืองพัทลุง ต.ลําปา อ.เมืองฯ จ.พัทลุง

X

X

6

จันทรเพ็ญ หมวดจันทร เลขที่ 7 หมูที่ 5 ต.ลําปา อ.เมืองฯ

X

X

7

งามพิศ ทับทิม

เลขที่ 175 หมูที่ 6 ต.ลําปา อ.เมืองฯ จ.พัทลุง

X

X

X

X

X

8

ประภาส หัสนันท

เลขที่ 58 หมูที่ 6 ต.หานโพธิ์ อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง

X

X

X

X

X

X

9

สําราญ พุดคํา

เลขที่106 หมูที่ 6 ต.หานโพธิ์ อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง

X

X

X

10

แจง สังขทิพย

เลขที่26 หมูที่ 7 ต.หานโพธิ์ อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง

X

X

X

X

X

11

พวน กรกฏ

เลขที่93 หมูที่ 7 ต.หานโพธิ์ อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง

X

X

X

X

X

12

แคลว สะอาด

เลขที่32 /2 หมูที่ 3 ต.จองถนน อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง

X

X

X

X

X

X

X

X

จ.พัทลุง

X

X

X

X

X

X

X

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 151

150 151

9/6/2558 1:15:17


ลําดับ ที่

เจาของเรือน กรณีศึกษา

เกณฑขอที่

ที่อยู 1

2

5

6

แบบ แบบ 2 มิติ 3 มิติ

3

4

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

13

อารีย เปลงมาก

เลขที่ 64 หมูที่ 3 ต.จองถนน อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง

14

ลั่น ทระเกิด

เลขที่ 68 หมูที่ 3 ต.จองถนน อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง

15

เขียว เนียมฮะ

เลขที่ 86 หมูที่ 3 ต.จองถนน อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง

16

สุนีย ขุนพล

เลขที่ 76 หมูที่ 8 ต.หานโพธิ์ อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง

17

ลี่ แดงปรด

เลขที่ 40 หมูที่ 2 ต.นาปะขอ อ.บางแกว จ.พัทลุง

18

วิลาวรรณ คงอินทร

เลขที่ 41 หมูที่ 2 ต.นาปะขอ อ.บางแกว จ.พัทลุง

19

เสรี รักดํา

เลขที่ 52 หมูที่ 2 ต.นาปะขอ อ.บางแกว จ.พัทลุง

20

สมพิศ ทองพูลเอียด

เลขที่ 47 หมูที่ 2 ต.ทะเลนอย อ.ควนขนุน จ.พัทลุง

X

X

X

X

X

X

X

X

21

ลําดวน แกวเศส

เลขที่ 46 หมูที่ 2 ต.ทะเลนอย อ.ควนขนุน จ.พัทลุง

X

X

X

X

X

X

X

X

22

เปอน แกวบุญสง

เลขที่ 65/1 หมูที่ 1 ต.พนางตุง อ.ควนขนุน จ.พัทลุง

X

X

X

X

X

23

บัว ซุนเซง

เลขที่ 55 หมูที่ 2 ต.พนางตุง อ.ควนขนุน จ.พัทลุง

X

X

X

24

อุนจิต ฉางดํา

เลขที่ 57 หมูที่ 2 ต.พนางตุง อ.ควนขนุน จ.พัทลุง

X

X

X

25

หวง หนูขาว

เลขที่ 71 หมูที่ 1 ต.ฝาละมี อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง

X

X

X

X

26

เพรียงศักดิ์ ทองโอ

เลขที่ 347 หมูที่ 1 ต.ฝาละมี อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง

X

X

X

X

27

มูฮัมหมัด โยบ สมัด

เลขที่ 100 หมูที่ 3 ต.ฝาละมี อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 152

9/6/2558 1:15:17


ผลลัพธการดําเนินการของโครงการ

โครงการศึกษาวิจยั เพือ่ การจัดการความรูเ รือ่ งทีอ่ ยูอ าศัยและวิถกี ารอยูอ าศัย ผานภูมิปญญาทองถิ่น (พื้นที่ภาคใต) นอกจากจะผลิตรายงานวิจัยฉบับสมบูรณเพื่อ เผยแพรแลว ในโครงการยังดําเนินการผลิตสื่อประเภทตางๆ ดังนี้ 1) สื่อสิ่งพิมพ ประเภทโปสเตอร จํานวนอยางนอย 18 แผน เพื่อใชสําหรับ การนําเสนอขอมูลองคความรูเกี่ยวกับสถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย กรณีศึกษา ภาคใต เพื่อเปนสื่อประชาสัมพันธ และจัดแสดงนิทรรศการ ตลอดจนนําไปติดตั้งใน หนวยงานทองถิ่นตอไป โดยมีรายละเอียดพอสังเขป ดังตอไปนี้ - โปสเตอรแสดงขอมูลสรุปภาพรวมของโครงการ - โปสเตอรแสดงขอมูลลักษณะการตั้งถิ่นฐาน และองคประกอบของชุมชน ทองถิ่นภาคใต จังหวัดพัทลุง - โปสเตอรแสดงขอมูลพัฒนาการทางสถาปตยกรรมเรือนพักอาศัยพื้นถิ่น จังหวัดพัทลุง - โปสเตอรแสดงขอมูลเรือนกรณีศึกษาทั้ง 18 หลัง 2) สื่อวีดิทัศน จํานวน 3 เรื่อง เพื่อการนําเสนอขอมูลที่เปนภาพเคลื่อนไหว ประกอบของขอมูล องคความรูของเรือนในพื้นที่ศึกษา วิถีชีวิต ภูมิปญญาในการอยู อาศัย ประเพณีวัฒนธรรม และสภาพแวดลอมสรรคสราง ตลอดจนการสัมภาษณ เจาของบาน หรือคนในชุมชน เนื่องจากสื่อวีดิทัศนมีทั้งภาพเคลื่อนไหวประกอบกับ เสียงบรรยาย โดยมีรายการวีดิทัศน ดังตอไปนี้ - วีดิทัศนเรื่อง “องครวมภูมิทัศนวัฒนธรรมชุมชน และสถาปตยกรรมพื้น ถิ่นเรือนที่อยูอาศัยในลุมนํ้าทะเลสาบสงขลา” - วิีดิทัศนเรื่อง “เรือนแตแรกเมืองพัทลุง” - วีดิทัศนเรื่อง “เรือนแตแรกภาคใตกับวิถีชีวิตชาวสวนยาง” 3) สือ่ เว็บไซต จํานวน 1 เว็บไซต เพือ่ รวบรวมองคความรู ขอมูลรายละเอียด โครงการ และนําเสนอรายละเอียดขององคความรูโ ดยสามารถเชือ่ มโยงไดทงั้ ภาพถาย, ภาพกราฟฟก, ตัวหนังสือบรรยาย, ภาพเคลื่อนไหวพรอมเสียงบรรยาย รวมถึงภาพ เคลื่อนไหวที่เปนภาพ 3 มิติ สามารถเชื่อมโยงเขากับระบบฐานขอมูลสารสนเทศของ องคกร ซึ่งจะทําใหสะดวกตอการสืบคนขอมูลของผูที่สนใจ

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 153

152 153

9/6/2558 1:15:17


4) สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส จํานวน 2 เลม เพื่อนําเสนอขอมูลอยาง ละเอียดของขอมูลทั้งหมดที่ทําการสํารวจเก็บขอมูล และการวิเคราะห สําหรับผูที่ ตองการศึกษาขอมูลอยางละเอียด หรือขอมูลวิชาการสถาปตยกรรม เชน นักศึกษา นักวิชาการ นักออกแบบ และสถาปนิก เนือ่ งจากสือ่ ประเภทหนังสืออิเล็กทรอนิกสใช ตนทุนไมมากนัก และสามารถบรรจุเนือ้ หาหรือขอมูลและรูปภาพไดมากไมจํากัดคลาย สื่อเว็บไซต แตควบคุมรูปแบบรูปเลมไวเปนชุดไดดีกวา เปนสื่อที่รวบรวมขอมูลตางๆ ในการศึกษาวิจัยโครงการนี้ไวมากที่สุด ทั้งนี้ในโครงการวิจัยฯ จึงจะจัดทําสื่อหนังสือ อิเล็กทรอนิกส ดังตอไปนี้ - สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ - สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส แบบสถาปตยกรรมเรือนกรณีศึกษา

ภาพที่ 7: แผนภูมิแสดงแนวคิดในการผลิตสื่อเพื่อการเผยแพร

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 154

9/6/2558 1:15:17


ผลสรุปการศึกษาเรื่องสถานภาพของสถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือน ที่อยูอาศัยในพื้นที่ศึกษา

จากการศึกษาพบวา สถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนกรณีศึกษาเปนเรือนที่อยู อาศั ย ที่ ท รงคุ ณ ค า ที่ เ ต็ ม ไปด ว ยภู มิ ป  ญ ญาที่ ส ะท อ นให เ ห็ น ถึ ง วิ ถี ท างวั ฒ นธรรม ตลอดจนการสรางสรรคที่อยูอาศัยที่เหมาะสมกับบริบทแวดลอมของทองถิ่น อยางไร ก็ตาม ในสถานการณปจจุบันสถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนที่อยูอาศัยเหลานี้เริ่มประสบ ปญหาเนื่องจากมีระยะเวลาในการกอสรางมาอยางยาวนาน ตลอดจนในพื้นที่ศึกษา นั้นมีภัยพิบัติทางธรรมชาติที่สงผลกระทบตอสถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนที่อยูอาศัย ทรงคุณคา ทั้งปญหาอุทกภัย และวาตภัยอยูบอยครั้ง นอกจากนี้ จากสถานการณ ปจจุบันที่การพัฒนาไดไหลบาเขาไปยังทุกแหลงแหงที่ แตทวาการพัฒนาที่เกิดขึ้น กับทองถิ่นนั้นเปนการเปลี่ยนแปลงที่ไมไดเอาทองถิ่นเปนตัวตั้ง หากแตเปนการหา ประโยชนจากทองถิ่น ทําใหเกิดชองวางทางสังคม และเศรษฐกิจ และทําใหโครงสราง ทางสังคม และกฎเกณฑตางๆ ของทองถิ่นตองลมสลายลงมาดวยปรับตัวไมทัน จากการศึกษาพบวาในที่อยูอาศัยในชุมชนชนบทที่คัดสรรเปนกรณีศึกษา ประสบปญหาที่เกี่ยวเนื่องกับการอยูอาศัย ทั้งในระดับมหภาค และระดับครัวเรือน ซึ่งปญหาเหลานี้ลวนแตเกี่ยวพันกันไปมา เพราะฉะนั้นการแกปญหาเรื่องที่อยูอาศัย ในชุมชนชนบท จึงไมอาจแกที่ปญหาระดับใดระดับหนึ่งเพียงอยางเดียวได หากแต ในการแกปญหาตองพิจารณาปญหาและปจจัยแวดลอมทั้งหมดอยางเปนองครวม จึงจะสามารถแกปญหาเรื่องที่อยูอาศัยในชุมชนชนบทไดอยางสมบูรณ และจะไมเปน การกอปญหาใหมที่ซับซอนใหแกชุมชนทองถิ่น อยางไรก็ตาม จากการสืบคนขอมูลเชิงลึกดวยเทคนิควิธีในการเก็บขอมูล ภาคสนามเพื่อวิเคราะหถึงศักยภาพในแงมุมตางๆ โดยนักวิชาการ ผูเชี่ยวชาญ และที่ ปรึกษา ทําใหพบตนทุนแฝงของทองถิ่น และศักยภาพดานตางๆ ที่ยังคงหลงเหลืออยู ที่สามารถฟนฟู และนํามาสูกระบวนการประยุกต และสรางสรรคแนวทางเรื่องที่อยู อาศัยที่เหมาะสมกับทองถิ่นได ผานกระบวนการสานเสวนา และชวนคิดใหทองถิ่นที่ เคยมีอดีตอันดีงาม ไดรวมเสวนาหาปญหาที่แทจริง ศักยภาพที่มีอยู ความตองการที่ พอเพียง และขอมูลเรื่องตางๆ ที่เกี่ยวของกับแนวทางการพัฒนาที่อยูอาศัยที่เหมาะ สมกับทองถิ่น นอกจากนี้ ตนทุนทางสังคมวัฒนธรรมของพื้นที่ภาคใตยังทําใหเกิด

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 155

154 155

9/6/2558 1:15:17


ความผูกพันกับเรือนที่ตนอยูอาศัยสูงมาก ซึ่งนับวาเปนจุดแข็งที่สําคัญตอการพัฒนา สงเสริมใหเกิดการอนุรักษตัวเรือนสถาปตยกรรมทรงคุณคาเพื่อใหเปนแหลงการ เรียนรู ในขณะเดียวกันก็สามารถเปนที่อยูอาศัยที่เหมาะสม และทําใหผูอยูอาศัยมี คุณภาพชีวิตที่ดีไดดวย โดยในการศึกษานี้ มีแนวทางหลักของการพัฒนาเรื่องที่อยูอาศัยในทอง ถิ่นจากองคความรูจากการวิจัยดังนี้ กลาวคือ ในอดีตที่มีการบริหารและการจัดการ ในสังคมแบบสั่งการจากยอดสูฐาน (Top Down) และการหยิบยื่นสิ่งตางๆ เขาไป ในทองถิ่นที่มาจากภาครัฐโดยใชวาทกรรมการพัฒนาไดสงผลกระทบใหเห็นอยาง ชัดเจนวา แทนที่ชุมชนทองถิ่นจะเขมแข็ง ชุมชนทองถิ่นกลับมีความออนแอลง ทั้ง ที่แตเดิมเคยมีศักยภาพในการจัดการชีวิตความเปนอยูดวยตนเอง เนื่องมาจากการ หยิบยื่นใหจากรัฐโดยปราศจากการใหแสวงหาดวยตนเองตามแนวทางที่เหมาะสมที่ มีกระบวนการทางความคิด และการตัดสินใจที่รองรับอยูบนขอมูล และหลักฐานทาง วิชาการ หรือใหชุมชนเปนสวนหนึ่งของการไดมาซึ่งความตองการนั้นดวยตนเอง ในที่นี้ จึงมีความจําเปนเรงดวนที่ตองสงเสริมใหทองถิ่นมีกระบวนการวิจัย ดานที่อยูอาศัยเพื่อชุมชนโดยชุมชนเอง โดยที่มีหนวยงานรัฐ และหนวยงานวิชาการ เปนพี่เลี้ยง หรือเปนไปในลักษณะการดําเนินการรวมกัน เพื่อฝกฝนกระบวนการ ทางความคิด ตรรกะวิธีในการแกปญหา รวมทั้งเพิ่มมุมมองที่แตกตางหลากหลายให เพื่อที่วาเมื่อภาครัฐ และภาควิชาการถอนตัวออกไปจากพื้นที่ ชุมชนเหลานั้นก็จะ สามารถหยัดยืนไดดวยตนเอง ขอเสนอแนะ และความตองการของชุมชนทองถิ่น

จากการศึกษาพบวา ความตองการของทองถิ่นยังขาดในแงของขอมูลเพื่อ ประกอบการตัดสินใจในประเด็นตางๆ รวมทั้งขาดการสนับสนุนดานตางๆ ในขั้นตน เพื่อใหทองถิ่นสามารถวางแผนการดําเนินการระยะยาวของตนเองไดตอไป แตใน ขั้นตอนแรกนั้น การเคหะแหงชาติ ในฐานะหนวยงานภาครัฐที่ทําหนาที่เรื่องการสง เสริมใหประชาชนมีที่อยูอาศัยที่มีคุณภาพ ควรหาแนวทางการสนับสนุนในประเด็น ดานตางๆ ดังตอไปนี้ ดานวัสดุกอสราง - ทําหนาที่เปนสื่อกลางในการเจรจาระหวางผูประกอบการกับทองถิ่นใน การจัดหาวัสดุกอสรางที่มีราคาสมเหตุสมผลเพื่อใหชาวบานนําไปประยุกตใชกับ โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 156

9/6/2558 1:15:17


การสราง ซอมแซม ปรับปรุงที่อยูอาศัยใหไดมาตรฐาน แตเคารพตอบริบทของความ สัมพันธกับสภาพแวดลอม - ทําหนาที่สงเสริมใหเกิดกระบวนการทางความคิดเรื่องที่อยูอาศัยที่เหมาะ สม และใหความชวยเหลือในการกอตั้งสหกรณออมทรัพยเปนกองทุนเพื่อการพัฒนา ปรับปรุงที่อยูอาศัยที่เหมาะสมกับบริบทของทองถิ่น - สงเสริมใหมีการผลิต และการใชวัสดุกอสรางของทองถิ่นที่มีศักยภาพ สะทอนถึงภูมิปญญาทองถิ่น สามารถใชหมุนเวียนได ตลอดจนการสรางเอกลักษณ ทางสถาปตยกรรม และสือ่ ความหมายถึงวิถวี ฒ ั นธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ และสภาพ แวดลอมของทองถิ่น ซึ่งสําหรับในพื้นที่ศึกษา พบวา วัสดุมุงหลังคาประเภทกระเบื้อง ดินเผาเปนวัสดุที่มีคุณภาพ ทวาปจจุบันประสบปญหาการขาดแคลนเนื่องจากไมมี ผูผลิตทําใหมีราคาแพง นอกจากนี้ การมุงกระเบื้องดินเผายังสิ้นเปลืองไมระแนง สําหรับเกี่ยวกระเบื้อง ทั้งนี้ ควรสงเสริมใหเกิดการผลิตกระเบื้อง และการปลูกไม เนื้อแข็งสําหรับใชสอยควบคูกันไป - สงเสริมใหมกี ารเรียนรู และการพัฒนาทักษะการผลิตวัสดุกอ สรางทองถิน่ โดยประยุกตใชเทคโนโลยีทเี่ หมาะสม ไมตอ งซือ้ หาเครือ่ งไมเครือ่ งมือราคาสูง ใหเปนไป ในลักษณะที่ชาวบานสามารถดําเนินการไดดวยตนเอง - เปนสื่อกลางใหเกิดกระบวนการคาแบบแลกเปลี่ยนไมตองใชเงินเปนสื่อ กลางในการแลกเปลี่ยน ทําใหชุมชนที่สามารถผลิตวัสดุกอสรางที่แตกตางกันนํามา แลกเปลี่ยนกันไดโดยตรงโดยไมตองผานคนกลาง - การจัดทําฐานขอมูลแหลงวัสดุกอสราง และราคา เพื่อทําใหเกิดการกระ จายขอมูลอยางทั่วถึง ทําใหเกิดการคาที่เปนธรรม ไมมีการผูกขาดสินคา และทําให ทองถิ่นสามารถซื้อหาวัสดุกอสราง ตางๆไดดวยราคาที่สมเหตุสมผล - ประสานความรวมมือกับหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของในการสงเสริมการ ผลิตวัสดุกอสรางตางๆที่สามารถหมุนเวียนได เชน การปลูกตนไมเนื้อแข็งสําหรับการ กอสราง และปรับปรุงที่อยูอาศัย เปนตน - สนับสนุนใหเกิดการวิจัย และพัฒนา (Research and Development) วัสดุ โดยมีรากฐานจากวัสดุตั้งตนการผลิต (Raw Material) ที่หาไดในทองถิ่น รวม ทั้งเมื่อไดรับผลการวิจัยที่เปนรูปธรรมแลวจึงนําสูกระบวนการถายทอดเทคโนโลยี และองคความรู

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 157

156 157

9/6/2558 1:15:18


ดานการซอมแซม ตอเติม และปรับปรุงที่อยูอาศัยเกาใหมีคุณภาพ และการสราง ที่อยูอาศัยใหม - จัดทําคูมือการซอมแซม การปรับปรุงบานดวยตนเอง เพื่อเปนการฟนฟู ศักยภาพของทองถิ่นที่ภูมิปญญาเชิงชางเคยอยูคูกับคนทุกคน - สงเสริมใหเกิดผูประกอบการในทองถิ่นเพื่อรับงานซอมแซม ปรับปรุงที่อยู อาศัย เนื่องจากชางในทองถิ่นยอมเขาใจลักษณะตางๆที่เกี่ยวเนื่องกับทองถิ่นไดเปน อยางดี โดยสงเสริมใหมีหลักสูตรชางฝมือทองถิ่น โดยปฏิบัติงานรวมกับสถาบันการ ศึกษาทางดานวิชาชีพในแตละทองถิ่น เชน วิทยาลัยเทคนิค ซึ่งมีแผนกชางกอสราง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล และมหาวิทยาลัยราชภัฏ ที่มีการเรียนการสอน ดานสถาปตยกรรมศาสตร และวิศวกรรมศาสตร - สงเสริมใหเกิดการฝกอบรมพัฒนาฝมือแรงงาน และชางในทองถิ่น เพื่อ ใหบุคลากรเหลานี้ยังประโยชนสูงสุดในทองถิ่น โดยมีหัวขอในการฝกอบรมตามความ ตองการของทองถิ่น และตามความตองการของชางในประเด็นที่ตนเองขาด - การยกยองปราชญทองถิ่นดานการกอสรางใหเกิดความภาคภูมิใจในการ สืบทอดการทํางาน รวมทั้งการถายทอดใหแกเยาวชนรุนหลัง ตลอดจนสงเสริมให เกิดกระบวนการทํางานรวมกันของคนหลากวัยในหนาที่ที่แตละคนจะเปนสวนหนึ่ง ของการทํางานได เพื่อสรางกระบวนการถายทอดการทํางานผานการสาธิตโดย ผูเชี่ยวชาญ และการสังเกตจดจําเพื่อนําไปพัฒนายกระดับฝอของชางรุนเล็กตอไป ดานทุนทรัพย - การสนับสนุนใหเกิดสหกรณออมทรัพยเพื่อที่อยูอาศัย ทั้งที่เปนการสราง ที่อยูอาศัยใหม และการปรับปรุงที่อยูอาศัยใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น - การสนับสนุนใหเกิดระบบการคาแบบแลกเปลี่ยนที่ไมตองใชเงินเปนสื่อ การในการซื้อขายแลกเปลี่ยน หากแตนําวัสดุที่ผลิตไดของชุมชนมาแลกกันโดยตรง ในที่นี้ รวมถึงวัสดุกับแรงงานก็สามารถเปนสิ่งที่สามารถแลกเปลี่ยนกันได - สงเสริมใหเกิดผูป ระกอบการของทองถิน่ เพือ่ การซอมแซม บูรณปฏิสงั ขรณ สถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนที่อยูอาศัยทรงคุณคา ทั้งในแงของการผลิตวัสดุกอสราง และชางฝมือ

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 158

9/6/2558 1:15:18


ดานการบริหารจัดการ สงเสริมใหเกิดความเขมแข็งของชุมชนผานกระบวนการวิจัยโดยสถาบัน ทางวิชาการ รวมกับภาคสวนอื่นๆ ในทองถิ่น ที่มุงเปาประสงคของการพัฒนาพื้นที่ อยางยั่งยืนในทุกๆ ประเด็น ทั้งดานที่อยูอาศัย วิถีชีวิต อาชีพการงาน สภาพแวดลอม เนื่องจากเมื่อเรียนรูผานกระบวนการวิจัย จะทําใหทองถิ่นมีตรรกะวิธีคิดที่เหมาะสม และสามารถนําไปใชแกปญ  หาดานตางๆ ไดอยางเหมาะสมตอไป นอกจากนี้ ทีอ่ ยูอ าศัย เกาที่เปนมรดกทางวัฒนธรรมที่ตกทอดมาจากบรรพบุรุษ หากมีการบริหารและการ จัดการอยางเหมาะสม มีการอนุรักษ ซอมแซมใหคงสภาพดี และเหมาะสมกับการอยู อาศัย ที่อยูอาศัยเหลานี้มักมีขนาดใหญโต ซึ่งหากรัฐมีนโยบายในการสงเสริมใหเกิด การกลับถิ่นฐานดวยการสงเสริมใหเกิดอาชีพที่เหมาะสมในแตละทองถิ่นแลว ที่อยู อาศัยเหลานี้สามารถทําหนาที่เปนที่อยูอาศัยสํารอง (Housing Stock) ของสังคมได อยางเต็มภาคภูมิ เนื่องจากอุดมไปดวยบริบททางวัฒนธรรม อีกทั้งไมตองสรางที่อยู อาศัยใหมที่จะกอใหเกิดปญหาดานสภาพแวดลอมที่จะตามมาใหแกปญหาอีกมาก ข อ เสนอแนะด า นการจั ด การองค ค วามรู  เ กี่ ย วกั บ สถาป ต ยกรรม พืน ้ ถิน ่ เรือนที่อยูอาศัย

จากการศึกษาวิจัยในโครงการฯ พบวา ในสถานการณปจจุบันสถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนที่อยูอาศัยในพื้นที่ศึกษา อยูในสภาวะถูกคุกคามตอการดํารงอยู เพื่อเปนแหลงเรียนรูของคนไทยที่มีมาในอดีต ตลอดจนองคความรูที่แฝงฝงอยูใน สถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนที่อยูอาศัยเปนสิ่งที่ทรงคุณคาอยางยิ่ง เนื่องจากเปนตน ทุนทางวัฒนธรรมที่สําคัญของประเทศชาติ ตลอดจนเปนองคความรูที่สําคัญของ มนุษยชาติเพื่อทําความเขาใจตอลักษณะการอยูอาศัย วิถีวัฒนธรรม ตลอดจนทัศนคติของผูคนในอดีตที่มีความเคารพนบนอบตอสภาพแวดลอม ซึ่งสิ่งตางๆ เหลานี้ ไดฉายภาพผานสถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนที่อยูอาศัย ดวยคุณคาที่มีมากมายเหลานี้ จึงสามารถจัดสิ่งกอสรางเหลานี้วาเปน “มรดกทางวัฒนธรรมดานที่อยูอาศัย” นอกจากนี้ องคการวิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ ยังได ใหความสําคัญมรดกสถาปตยกรรมพื้นถิ่นนี้ท้ังในฐานะองคประกอบของ “ภูมิทัศน วัฒนธรรม (Cultural Landscape)” สําหรับชุมชนที่ตั้งถิ่นฐานอยูใกลชิดกับสภาพ แวดลอมทางธรรมชาติ และในฐานะองคประกอบของ “ภูมิทัศนยานประวัติศาสตร

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 159

158 159

9/6/2558 1:15:18


(Urban Historic Landsape)” และมีหลายๆแหงไดรับการประกาศยกยองใหเปน “แหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม (World Cultural Heritage)” ดวยมีเจตจํานงที่จะ ยกยอง และสงเสริมใหเกิดกระบวนทัศนดานการอนุรักษ และพัฒนาอยางยั่งยืนตอ สถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนที่อยูอาศัยของมนุษยชาติในภาวการณที่แหลงมรดกทาง วัฒนธรรมเหลานี้กําลังอยุในภาวะเสี่ยงตอการสูญสลาย ในที่นี้ การเคหะแหงชาติ ซึ่งเปนหนวยงานหลักของชาติที่มีหนาที่พัฒนา คุณภาพชีวิตของประชาชนดวยการจัดการที่อยูอาศัย จึงมีหนาที่สําคัญในการสงเสริม ใหเกิดการเรียนรูตอสถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนที่อยูอาศัย เพื่ออนุรักษและสงเสริมให เกิดการเรียนรู เพือ่ ความตระหนักถึงคุณคาของภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ ทีบ่ รรพบุรษุ ใชในการ สรางที่อยูอาศัย ตลอดจนการดํารงชีวิตใหมีความสอดคลองกลมกลืนกับธรรมชาติ มี ความเปนอยูที่พอเพียงใชทรัพยากรอยางประหยัด รูปแบบที่อยูอาศัยทั้งในเมือง และ ชนบทลวนเกิดจากองคความรูที่มีคุณคาทั้งดานศิลปวัฒนธรรม และเอกลักษณที่ หลากหลาย หากไมมีการจัดการองคความรูในเรื่องรูปแบบที่อยูอาศัย และวิถีชีวิตของ คนไทยแลว อาจทําใหภมู ปิ ญ  ญาทีม่ คี า ตองสูญหายประเทศไทยจะขาดศิลปวัฒนธรรม ของทีอ่ ยูอ าศัยทีม่ เี อกลักษณเหลานัน้ ไป ซึง่ นานาอารยประเทศใหความสําคัญกับเรือ่ ง การอนุรักษภูมิปญญาเปนอยางมาก โดยการรวบรวมองคความรูทั้งดานวัสดุกอสราง พื้นถิ่น และวิธีการกอสรางพื้นถิ่น รวมทั้งการจัดการองคความรูที่เกี่ยวเนื่องกับ สถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนที่อยูอาศัยใหแกประชาชน ผูสนใจ นักวิชาการ นักวิจัย นักเรียน นักศึกษา อยางเปนระบบดวยการสงเสริมการวิจัยอยางตอเนื่อง ตลอดจน ผลักดันใหมีการจัดการความรู และเผยแพรสูสาธารณะเพื่อเปนตนทุนในการเรียนรู อันเปนรากฐานที่สําคัญตอการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผูคนดานที่อยูอาศัยตอไป

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 160

9/6/2558 1:15:18


กิตติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณ ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ ผูสนับสนุนทุนในการวิจัย ขอขอบพระคุณ คุณสมดี เบ็ญจชัยพร, คุณราเชน ผินประดับ, คุณนภดล วองเวียงจันทร, คุณชลธร นนทิดุริยงค, คุณดุลมลชัย วิวัฒนขวรวงษ, คุณปนัดดา กิตติวรภูมิ, คุณธิดารัตน ศรีอรรคจันทร, คุณปรัชญ เดือนสวาง, คุณธีระ แกงทองหลาง, คุณอนุสรณ ชวนานนท, คุณมนัสสวี พรหมพุฒ, คุณสุทัศน อินทุราม, คุณจงจิตร วิทยประเสริฐกุล, คุณมงคล จันทษี, คุณวิมลรัตน ยิ้มสวัสดิ์, คุณสุรีวัลย ภูแจง ขอขอบพระคุณ เจาของ, ผูอยูอาศัย และบรรพชนผูสรางสรรคสถาปตยกรรมพื้นถิ่นเรือนที่อยูอาศัย ทรงคุณคาทางวัฒนธรรมทุกๆ ทาน ขอขอบพระคุณ “นักวิจัยโครงการศึกษาวิจัยเพื่อจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัย ผานภูมิปญญาทองถิ่น พื้นที่ภาคใต” สมชาย เชื้อชวยชู, ธนกฤต ธัญญากรณ, สิริรัตน เพชรรัตน, กุลพัชร เสนีวงศ ณ อยุธยา “นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรปริญญมหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา สถาปตยกรรมพื้นถิ่น บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร” : อ.อดิศร ศรีเสาวนันท, อ.เจนยุทธ ลอใจ, อ.กฤษฎา อานโพธิ์ทอง, อ.ธนวดี ละมอม, พรนิภา วงศพราวมาศ, ณัฐพล พวงมาลา, พัชรียา คําดี, ภูมิภัค บุญถนอม, อาทิตย จันทรเปลี่ยน, นิชนันท สุวรรณะ, ณัฐวดี สัตนันท “นักศึกษาฝกงานจากคณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร” : วิศษิ ย ศรีพรม สุรเชษฐ แกวสกุล “อาจารย และนักศึกษาฝกงานจากคณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสุภานุวงศ หลวงพระบาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว” อ.จันเพ็ง ถอ, อ.คําซาย พันทะวง, อ.นวลแสง โพนสาลี, กิมทอง สอบุนทอง, คัมภีรพัน คําชมพู, คําเลียน สีจันทะวีไซ, สาคอน จันทะวง, นิดถา บุนปานี, ทองคูน แสงมะนี

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 161

160 161

9/6/2558 1:15:18


บรรณานุกรม เอกสารภาษาตางประเทศ Magellan, Translated by Lord Stanley of Alderley. The First Voyage Round the World. (Translated from the accounts of Pigafetta and other contemporary writers.) 1874. Oliver, Paul. Built to meet needs: Cultural Issues in Vernacular Architecture. Amsterdam: Elsevier. 2006. Oliver, Paul. Dwelling: the Vernacular House World Wide. New York: Phaidon Press Limited. 2003. Rapoport, Amos. House Form and Culture. Englewood cliffs: Prentice-hall. 1969. Rudofsky, Bernard. Architecture without Architects. Garden City: Doubleday. 1964. Stuart Munro-Hay. Nakhon Sri Thammarat the Archeology, History and Legends of a Southern Thai Town. BKK: White Lotus. 2001. เอกสารภาษาไทย เกรียงไกร เกิดศิริ. รายงานวิจัยการจัดการองคความรูการใชวัสดุกอสรางพื้นถิ่น และเทคโนโลยี กอสรางในพื้นที่ภาคกลาง. กรุงเทพฯ: การเคหะแหงชาติ. 2554. เลิศชาย ศิริชัย และนฤทธิ์ ดวงสุวรรณ. ประมงพื้นบานลุมทะเลสาบวิถีและการเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 2552. เอกวิทย ณ ถลาง. "ภูมิปญญาทักษิณ" ใน หนังสือชุดภูมิปญญาชาวบานกับกระบวนการเรียนรู และการปรับตัวของชาวบานไทย. 2545. กชร. ร.5. ม.2/50/2 (ม47/19) รายงานราชการมณฑลนครศรีธรรมราชของพระยาสุขุมนัยวินิต ร.ศ.117. กิติ ตันไทย. หนึ่งศตวรรษเศรษฐกิจของคนลุมทะเลสาบสงขลา. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) 2552. ขมิ้นศรี. (นามปากกา). เรื่องเลารอบทะเลสาบ. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ. 2543. ชวลิต อังวิทยาธร. การแลกเปลี่ยนและการคาขาวบริเวณชุมชนรอบทะเลสาบสงขลา. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 2544. ทิวา ศุภจรรยา. "สภาพภูมิศาสตรและการตั้งถิ่นฐานชุมชนโบราณบริเวณลุมทะเลสาบสงขลา", สัมมนาทางวิชาการ พัทลุงศึกษา: พัฒนาการสังคมวัฒนธรรมบริเวณลุมทะเลสาบ สงขลา. 23-25 สิงหาคม 2536. ศูนยวัฒนธรรม จ.พัทลุง. นิพัทธพร เพ็งแกว. "เกาะยอ" ใน อนุทินทะเลสาบ บันทึกจากแผนดินของปู-ทะเลของยา. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพสุขภาพใจ. 2544.

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 162

9/6/2558 1:15:18


นิพัทธพร เพ็งแกว. "ขาว: หญามหัศจรรย ในหนึ่งเมล็ดมีทุกสิ่งที่ชีวิตตองการ" ใน อนุทินทะเลสาบ บันทึกจากแผนดินของปู-ทะเลของยา. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพสุขภาพใจ. 2544. นิพัทธพร เพ็งแกว. "บันทึกทะเลนอย" ใน อนุทินทะเลสาบ บันทึกจากแผนดินของปู-ทะเลของ ยา. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพสุขภาพใจ. 2544. นุกูล ชมภูนิช. บานไทยเอกลักษณของชาติ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร. 2530. ปนัญญา ธเนศวร และคณะ. แผนการใชที่ดินลุมนํ้าทะเลสาบสงขลา. (เอกสารทางวิชาการ เลข ที่ 02/07/41, กองวางแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ, 2541. ประทุม ชุมเพ็งพันธุ. ศิลปวัฒนธรรมภาคใต. กรุงเทพฯ: สุรีวิริยะสาสน. 2548. พระบาทสมเด็จ. "พระราชหัตเลขาฉบับที่ 2 วันที่ 29 กรกฎาคม รัตนโกสินทรศก 108". ใน พระราชหัตถเลขาในรัชกาลที่ 5 เรื่องเสด็จประพาสแหลมมาลายู รวม 4 คราว (รศ.108, 109, 117, 120). กรุงเทพฯ: สมาคมนิสิตเกาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยฯ. ภิญโญ สุวรรณคีรี. "เรือนภาคใต" ใน วารสารวิชาการคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. ฉบับที่ 1 (2537). มโน พิสุทธิรัตนานนท และครื่น มณีโชติ. เรือนไทยภาคใต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรนครินทรวิโรฒ. 2535. ยงยุทธ ชูแวน, ประมวล มณีโรจน, วินัย สุกใส และพิเชษฐ แสงทอง. บทสังเคราะหเศรษฐกิจ ชุมชนหมูบานบริเวณลุมทะเลสาบสงขลาในมิติประวัติศาสตร. กรุงเทพฯ สํานักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). 2546. ยงยุทธ ชูแวน. "ลักษณะทางดานสังคมและเศรษฐกิจของชุมชนชาวนาบริเวณรอบทะเลสาบสงขลา สมัยอยุธยาถึงรัตนโกสินทร" ใน ยงยุทธ ชูแวน บรรณาธิการ, โลกของลุมทะเลสาบ รวมบทความวาดวยประวัติศาสตร และวัฒนธรรมทองถิ่นลุมทะเลสาบสงขลา. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพนาคร, 2541. ศรีศักดิ์ วัลลิโภดม. เรือนไทยบานไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2549. สงบ สงเมือง. "ประวัติศาสตรภาคใต". ใน สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต เลมที่ 5. กรุงเทพฯ: อมรินทรการพิมพ. 2529. สุทธิวงศ พงศไพบูลย. โครงสรางและพลวัตวัฒนธรรมภาคใตกับการพัฒนา. กรุงเทพฯ: สํานักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย. 2544. สุธิวงศ พงศไพบูลย. "เรือนทรงไทยภาคใต" ใน หนังสืออนุสาวรียวิภาวดีรังสิต. กรุงเทพฯ: บูรพา ศิลปการพิมพ. 2522. สุนีย ทองไซร. สถานภาพและบทบาทหนังตะลุง จ.พัทลุง. พัทลุง: ศูนยวัฒนธรรมจังหวัดพัทลุง โรงเรียนสตรีพัทลุง. มปป.

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 163

162 163

9/6/2558 1:15:18


สุภาวดี เชื้อพราหมณ. พลวัตวิถีชีวิตของชุมชนและเรือนในลุมทะเลสาบสงขลา. ดุษฎีนิพนธสาขา สภาพแวดลอมสรรคสราง, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 2555. อมรา ศรีสุชาติ และธราพงษ ศรีสุชาติ, "ชุมชนสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตรและประวัติศาสตรรัฐ โบราณในภาคใต" , สารานุกรมภาคใต 5. อมรา ศรีสุชาติ. สายรากภาคใต: ภูมิลักษณ รูปลักษณ จิตลักษณ. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย, 2544. อมฤต หมวดทอง. รายงานวิจัยเรือนพื้นถิ่นรอบทะเลนอย จ.พัทลุง และนครศรีธรรมราช. มหา สารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (เอกสารอัดสําเนา). 2553. อรศิริ ปาณินท. "เรือนพื้นถิ่นไทย-ไท" ใน เรือนพื้นถิ่นไทย-ไท. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุน สนับสนุนงานวิจัย (สกว.) 2551.

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 164

9/6/2558 1:15:18


A Study on the Explicit Knowledge and Local Wisdom in the Field of Housing for Knowledge Management in the South of Thailand

พื ้นที่ภKirdsiri, าคใต Kreangkrai Ph.D.

Isarachai Buranaut, Ph.D. Candidate. Sakon Muangsun

Silpakorn University

Abstract

“A Study on the Explicit Knowledge and Local Wisdom in the Field of Housing for Knowledge Management in the South of Thailand” is a part of the research project aiming at studying the local wisdom and ways of life along with vernacular architecture, and relationship with ecology and surroundings. These factors lead to different types of valuable vernacular architecture which own its identity. The knowledge from the studies can be adapted for sustainable development and, moreover, is still the resource for cultural development in a long run. This is a holistic research, as a result, a large number of houses are selected so as to find out different forms which then lead to analysis and conclusion. The process includes taking photos, measurement, and interview. There are 58 houses: 9 houses in Phanang Toong Subdistrict, 3 houses in Talay Noi Subdistrict, 19 houses in Lumpum Municipality, 3 houses in Lumpum Subdistrict, 7 houses in Haan Pho Subdistrict, 1 house in Khlong Khud Subdistrict, 7 houses in Jong Thanon Subdistrict, 3 houses in Na Pa Kho Subdistrict, and 6 houses in Falamee Subdistrict.

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 165

165

9/6/2558 1:15:18


The deep investigation in the areas of the study brings about sources of knowledge in terms of vernacular architecture and built environment. The outcome of the study is the knowledge concluded in the final report, with the IT database about vernacular architecture, ways of life, GIS, architectural measurement which then leads to 2D and 3D architectural models. This research is also prepared in forms of a website and multimedia, including VDOs, posters, books, and e-book so that the knowledge can be spread and acquired by various groups of people.

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 166

9/6/2558 1:15:18


สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย ๔ ภาค 4

.indd 167

167

9/6/2558 1:15:18


การประชุมวิชาการ และนิทรรศการ ระดับชาติ การจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น

สถาปตยกรรมพื้นถิ่นที่อยูอาศัย

๔ ภาค

ในความรวมมืิอ

โครงการวิจัยการจัดการความรูเรื่องที่อยูอาศัยและวิถีการอยูอาศัยผานภูมิปญญาทองถิ่น 4 ภาค ฝายวิชาการพัฒนาที่อยูอาศัย การเคหะแหงชาติ 4

.indd 168

9/6/2558 1:15:19



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.