2555 (ร่าง) คู่มืออนุบาลเพื่อปล่อยและเพาะเลี้ยงเต่าทะเลเพื่อขยายพันธุ์

Page 1

คูมืออนุบาล

เพื่อปลอยและเพาะเลี้ยงเตาทะเลเพื่อขยายพันธุ

เอกสารเผยแพร สำนักอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ฉบับที่ xx สำนักอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

คูมืออนุบาล

เพื่อปลอยและเพาะเลี้ยงเตาทะเลเพื่อขยายพันธุ


คูมืออนุบาล

เพื่อปลอยและเพาะเลี้ยงเตาทะเล เพื่อขยายพันธุ


คูมืออนุบาลเพื่อปลอยและเพาะเลี้ยงเตาทะเลเพื่อขยายพันธุ เลขที่ ISBN xxx-xxx-xxxx-xx-x พิมพครั้งที่ x เดือน xx ป xx (xxxxเลม) จัดพิมพโดย สวนอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรทางทะเลและชายฝง สำนักอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง อาคารศูนยราชการ บี ศูนยราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวา 2550 ถนนแจงวัฒนะ แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท 0 2141 1341-2 โทรสาร 0 2143 9263-4 www.dmcr.go.th คณะที่ปรึกษา ดร.อัจฉรา วงศแสงจันทร | มิคมินทร จารุจินดา | สมชาย มั่นอนันตทรัพย | กองเกียรติ กิตติวัฒนาวงศ | ปนสักก สุรัสวดี | พัชราภรณ แกวโมง บรรณาธิการ กรองแกว สูอำพัน และ เสาวภา อาศนศิลารัตน เนื้อหา ดัดแปลงจาก: สนธยา มานะวัฒนา. 2549. การอนุบาลลูกเตาทะเล. เอกสารเผยแพรกลุมสัตวทะเลหายาก กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง. ออกแบบปกและรูปเลม วรวุฒิ ปรีชาปญญากุล| วิชุตร ลิมังกูร ภาพถายประกอบ สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝงทะเล และปาชายเลน จังหวัดภูเก็ต | Matthew Godfrey | Florida Cooperative Fish and Wildlife Research Unit พิสูจนอักษร xxxxxx ประสานงาน ชนกพร จันทรขันติ พิมพที่ โรงพิมพ xxx

คูมืออนุบาล

เพื่อปลอยและเพาะเลี้ยงเตาทะเล เพื่อขยายพันธุ

เอกสารเผยแพร สำนักอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ฉบับที่ xx สำนักอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


คำนำ เตาทะเลเปนสัตวดึกดำบรรพที่มีหลักฐานพบอาศัยอยูทั่วไปในสมัย 130 ลานปกอน แตในปจจุบนั เตาทะเลไดลดปริมาณลงเนือ่ งมาจากกิจกรรมของมนุษยทง้ั การกระทำโดยเจตนา และอุบัติเหตุ เชน การวางอวนประมง การลักลอบขุดไขเตาทะเล การลาเตาทะเลเพื่อการ บริโภคหรือทำเครือ่ งประดับ มลภาวะและการสูญเสียแหลงวางไขจากการพัฒนาสิง่ ปลูกสราง บนชายหาดจนเปนสาเหตุใหเตาทะเลอยูใ นสถานภาพทีก่ ำลังถูกคุกคามจนเสีย่ งตอการสูญพันธ ในประเทศไทยเตาทะเลทุกชนิดถูกจัดเปนสัตวปา คุม ครองตามพระราชบัญญัตสิ งวนคุม ครอง สัตวปาพ.ศ.2535 ในปจจุบนั ทัว่ โลกพยายามศึกษาถึงชีววิทยาและนิเวศวิทยาของเตาทะเลเพือ่ ใหเกิดความ เขาใจที่ถูกตองและมีประสิทธิภาพในการวางมาตรการอนุรักษและปองกันการลดจำนวนลง ทัง้ นีก้ ารอนุบาลลูกเตาทะเลเพือ่ ปลอย (Head-Starting) เปนแนวทางการอนุรกั ษวธิ หี นึง่ ซึง่ มี จุดประสงคหลักเพือ่ การอนุรกั ษเพิม่ จำนวนประชากรเตาทะเลในธรรมชาติ และมีบางสวนเพือ่ จัดแสดงใหความรูแ กประชาชน สำหรับประเทศไทยหนวยงานทีเ่ กีย่ วของโดยตรงกับการอนุบาล ลูกเตาทะเลไดแก กองทัพเรือ กรมประมง และกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ซึง่ หนวยงาน ดังกลาวก็มีโครงการอนุรักษเตาทะเลหลายโครงการที่ดำเนินการดวยความตั้งใจที่ดี แตทั้งนี้ ยังไมมีการกำหนดหลักเกณฑในการอนุบาลเตาทะเลใหเปนมาตรฐาน จนบางครั้งอาจทำให เกิดผลรายตอการอนุรกั ษเตาทะเลมากกวาผลดี โดยการเลีย้ งสวนใหญจะเปนองคความรูท ไ่ี ด มาจากการลองผิดลองถูกในอดีต ดังนั้นคูมือเลมนี้จะกลาวถึงรายละเอียดและปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของในการอนุบาลลูกเตาทะเล โดยเทียบเคียงกับมาตรฐานในตางประเทศ และนำมา ปรับใชใหเขากับสภาวะในประเทศไทย ทัง้ นี้ จุดประสงคหลักก็เพือ่ ใหเตาทะเลทีถ่ กู นำมาเลีย้ ง มีคณุ ภาพชีวติ ทีด่ ที ส่ี ดุ และเปนประโยชนในการอนุรกั ษสตั วทะเลทีใ่ กลสญู พันธุช นิดนีม้ ากทีส่ ดุ

สารบัญ บทที่ 1 การอนุบาลเตาทะเล

06

บทที่ 2 อุปกรณและขั้นตอนการอนุบาล

12

บทที่ 3 อาหารสำหรับลูกเตาทะเล

20

บทที่ 4 โรคในการอนุบาลเตาทะเลและแนวทางการรักษา

26

บทที่ 5 การทำเครื่องหมายเพื่อติดตามเตาทะเล

31

บทที่ 6 การเก็บขอมูลการอนุบาล

36

บทที่ 7 การปลอยเตาทะเล

39


บทที่1

การอนุบาลลูกเตาทะเล

06

07

การจดจำแหลงกำเนิด (Natal Beach)

การอนุบาลลูกเตาทะเล ความหมายและ จุดประสงค

สัตวเลือ้ ยคลานหลายชนิดสามารถจดจำ สภาพแวดลอมแรกเกิดได และสวนมากมีชว ง เวลาดังกลาวนี้อยางจำกัดเฉพาะในชวงแรก ของชีวิตเทานั้น แมในเตาทะเลยังไมมีการ พิสูจนที่ชัดเจนแตคาดกันวาเมื่อลูกเตาทะเล โผลจากหลุมฟกคลานไปตามหาดลงสูทะเล ก็จะจดจำรายละเอียดของหาดทราย และองค ประกอบทางเคมีของน้ำทะเลบริเวณนั้นเพื่อ กลับมาผสมพันธุและวางไขในวัยเจริญพันธุ

ซึ่งชวงเวลาดังกลาวมีความสำคัญยิ่งตอวงจร ชีวติ ดังนัน้ ลูกเตาทะเลทีถ่ กู นำมาเลีย้ งในบอ อนุบาลจึงไมมีโอกาสไดจดจำแหลงกำเนิด ของตัวเอง และยังไมมกี ารศึกษามากพอทีจ่ ะ บอกไดถึงผลกระทบดังกลาวตอพฤติกรรม การวางไขของลูกเตาที่นำมาเพาะฟกและนำ ไปปลอยตามหาดตาง ๆ ทีไ่ มใชแหลงกำเนิด ของตัวเอง

การอนุบาลลูกเตาทะเล หมายถึง การนำลูกเตาทะเล

ทีฟ่ ก ออกจากรังมาเลีย้ งในสภาพแวดลอมทีม่ นุษยสรางขึน้ เปน ระยะเวลาหนึ่งกอนปลอยคืนสูธรรมชาติ การอนุบาลลูกเตาทะเลเพือ่ ปลอยนีม้ จี ดุ ประสงคเพือ่ การ อนุรกั ษเพิม่ จำนวนประชากรเตาทะเลในธรรมชาติซง่ึ ปจจุบนั มีจำนวนลดลงอยางมาก โดยการเลี้ยงใหลูกเตาเจริญเติบโต มีขนาดตัวที่ใหญ และมีกระดองที่แข็งขึ้นทั้งนี้เพื่อชวยลด โอกาสของการถูกศัตรูตามธรรมชาติกินเปนอาหารในขณะที่ ลูกเตายังมีขนาดเล็กและกระดองออนอยู ในการปลอยควรมีการประชาสัมพันธใหความรูเ กีย่ วกับ เตาทะเลและปลูกฝงจิตสำนึกในการอนุรักษเตาทะเลใหแก คนที่มาเขารวมกิจกรรมดวย

ขอควรคำนึง การอนุบาลลูกเตาทะเลเพือ่ ปลอยกลับสูท ะเล ยังไมมหี ลักฐานทางวิทยาศาสตรทร่ี ะบุได แนชดั วาสามารถเพิม่ จำนวนการรอดชีวติ ไดมากกวาวิธตี ามธรรมชาติ และในปจจุบนั โครงการ อนุรกั ษเตาทะเลทัว่ โลกสวนใหญยงั คงสนับสนุนการปลอยลูกเตาทะเลทันทีทอ่ี อกจากรังโดยไม นำมาเพาะเลีย้ งวาเปนวิธกี ารทีด่ ที ส่ี ดุ (Proceedings of the First Asian symposium-workshop on marine turtle conservation, 1994) ดวยเหตุผลตอไปนี้

จนกวาจะมีผลการศึกษาทีช่ ดั เจนควรเนนในเรือ่ งของ การปกปองระบบนิเวศ และแหลงทีอ่ ยูข องเตาทะเล มากกวาการสนับสนุนการเลีย้ งในบอเพาะเลีย้ ง


บทที่1 การอนุบาลลูกเตาทะเล การวายน้ำอยางสุดชีวิต (Frenzy Swimming)

08

09

ภูมิตานทานโรคตามธรรมชาติ (Immune) เตาทะเลปนสัตวปาเมื่อบาดเจ็บหรือปวยรางกายจะมีระบบภูมิคุมกันที่สามารถเยียว ยารักษาโรคไดเองโดยไมตองรับการรักษา ตางจากเตาทะเลในบอเลี้ยงทีเ่ กิดการติดเชือ้ แลว ไดรับการรักษาหรือใหยาโดยเฉพาะยาปฏิชีวนะที่ไมเหมาะสม อาจทำใหเชื้อโรคเกิดการดื้อ ตอยานั้น จนเกิดการกลายพันธุและไมสามารถทำการรักษาไดในครั้งตอไป เตาทะเลในบอเลี้ยงที่มีการติดเชื้อโรคแฝงอยู เมื่อถูกปลอยสูธรรมชาติจะนำพาใหเกิด การแพรกระจายของโรคอุบัติใหม และสงผลตอสุขภาพเตาทะเลตัวอื่นๆ ในธรรมชาติ

หลังจากลูกเตาทะเลคลานถึงทะเลแลวจะวายน้ำออกไปอยางสุดชีวิตติดตอกันเปนเวลา หลายๆ วันโดยไมหยุดพักเพื่อใหพนจากบริเวณน้ำตื้นที่มีศัตรูผูลามากมาย เมื่อถึงกระแสน้ำ นอกชายฝงลูกเตาทะเลจะใชชีวิตสวนใหญในบริเวณนี้โดยการลองลอยไปกับสาหรายหรือ เศษวัตถุตามผิวน้ำ (Pelagic Period) เมือ่ อายุมากกวา 1-2 ป จึงจะกลับมาหากินใกลชายฝง จนกวาจะถึงวัยเจริญพันธุ ซึง่ อยูใ นชวงอายุ 20-25 ป แลวแตชนิดแลว จึงจะกลับมาผสมพันธุ ณ บริเวณอันเปนถิ่นกำเนิด ปจจุบันการนำลูกเตาทะเลไปปลอยมักจะปลอยจากหาด เปนลูกเตาอายุตั้งแต 3 ถึง 12 เดือน ซึง่ พนชวงชีวติ ของเตาทีจ่ ะวายออกทะเลเปดไปแลว จึงเปนสาเหตุทท่ี ำใหเตาไมวา ย ออกหางจากชายฝง และจะอาศัยอยูต ามบริเวณฝง ทีน่ ำไปปลอย แตอายุทป่ี ลอยดังกลาวยังไม ถึงชวงอายุที่เตาหากินใกลชายฝง ดังนั้นจึงเปนการปลอยเตาทะเลสูแหลงที่ไมใชที่อยูตาม ธรรมชาติ และอีกประการหนึ่ง เตาทะเลที่เพาะเลี้ยงในบออนุบาลจะเคยชินกับการถูกเลี้ยง ดูใหอาหารโดยมนุษย และเมื่อปลอยกลับลงทะเลอาจมีปญหาในการปองกันตัวเอง แมมีเรือ ประมงเขาใกลก็จะไมหลบหลีก การอนุบาลมีทั้งขอดีและขอเสีย ดังนั้นในการดำเนินงานควรมีหลักเกณฑในการปฏิบัติ ที่คำนึงถึงหลักธรรมชาติของเตาทะเลใหมาก เพื่อใหเกิดผลกระทบตอประชากรเตาทะเลใน ธรรมชาตินอยที่สุด และเพื่อประกันความเสี่ยงของผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการอนุบาล ลูกเตาทะเล ดังนั้นการนำลูกเตาทะเลมาอนุบาลจึงควรทำในประชากรบางสวนเทานั้นไมใช ทั้งหมด ซึ่งนาจะเปนทางออกที่ดีที่สุดของการอนุรักษเตาทะเลในปจจุบัน


บทที่1

การอนุบาลลูกเตาทะเล

10

ในการเลี้ยงลูกเตาทะเลใหมีคุณภาพชีวิตที่ดี สุขภาพแข็งแรง และมีขนาดที่เหมาะสม กอนปลอยสูธรรมชาติจำเปนอยางยิ่งที่จะตองมีบุคคลากรที่มีความรูหรือไดรับการฝกอบรม ใหเขาใจในเรื่องชีววิทยาและนิเวศวิทยาของเตาทะเลแตละชนิด และมีใจรักในการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติเพื่องายตอการจัดการ และจะตองปฏิบัติตามหลักเกณฑที่ถูกตอง ดังนี้

6

1 2 3

หลักเกณฑ ในการอนุบาลเตาทะเล สัดสวนจำนวนลูกเตา สัดสวนทีเ่ หมาะสมของจำนวนลูกเตาทีจ่ ะแบงนำมาอนุบาลไมควรเกิน 50 % ของลูกเตาที่ฟกออกมาจากหลุมฟกเนื่องจากยังไมมีขอมูลวิชาการที่ยืนยัน ไดชดั เจนวาลูกเตาทีอ่ นุบาลมีอตั ราการรอดตายในธรรมชาติมากกวาลูกเตา ที่ไมไดรับการอนุบาล ขนาดและน้ำหนักลูกเตา ลูกเตาทีอ่ นุบาลควรมีพฒั นาการเรือ่ งขนาดและน้ำหนักทีเ่ หมาะสมตามชวง อายุโดยขนาดลูกเตากอนปลอยสูธรรมชาติควรมีความยาวกระดองไมนอย กวา 30 เซนติเมตรและมีน้ำหนักประมาณ 1 กิโลกรัม ระยะเวลาอนุบาล ระยะเวลาขัน้ ต่ำทีเ่ หมาะสมสำหรับการอนุบาลลูกเตาทะเล (ยกเวนเตามะเฟอง ไมควรอนุบาล) คือ 1 ป เพราะในชวงนีล้ กู เตาทะเลจะมีกระดองทีแ่ ข็ง และ มีขนาดทีเ่ หมาะสม (ไมนอ ยกวา 30 ซม.) ตอการอยูอ าศัยในบริเวณชายฝง ทะเลทีท่ ำการปลอยลูกเตา จึงเปนชวงทีช่ ว ยใหลกู เตามีอตั ราการรอดทีด่ ี

4 5 6

11 ความหนาแนนของลูกเตา ความหนาแนนทีเ่ หมาะสมสำหรับอนุบาลลูกเตาแรกเกิด ประมาณ 50 ตัว ตอพืน้ ทีผ่ วิ น้ำ 1 ตร.ม. และลดลงตามสวนเมือ่ ลูกเตาโตขึน้ นัน้ หมายถึงการ เลีย้ งลูกเตาจนมีอายุครบ 1 ป กอนการปลอย จำเปนตองมีพน้ื ทีใ่ นการเลีย้ ง ประมาณ 10 ตัวตอพื้นที่ผิวน้ำ 1 ตร.ม. สุขภาพลูกเตา บออนุบาลควรอยูในสภาพแวดลอมที่เหมาะสมและลูกเตาควรไดรับอาหาร ทีม่ คี ณุ ภาพสดใหมและมีสารอาหารครบถวนเหมาะสมตามชวงอายุ เมือ่ ลูกเตา เกิดอาการเจ็บปวยตองไดรบั การรักษาพยาบาลอยางถูกวิธี และเพือ่ สุขภาพ ทีด่ ลี กู เตาควรไดรบั การตรวจสุขภาพเปนประจำอยางตอเนือ่ งโดยสัตวแพทย สัญชาตญาณตามธรรมชาติ ในแตละชวงอายุเตาทะเลจะมีพฤติกรรมทีเ่ ปลีย่ นไปตามความเหมาะสมเพือ่ ความอยูร อด เชน การเลือกทีอ่ ยูอ าศัย การดำน้ำ การวายน้ำ การหาอาหาร ระยะเวลาที่นำลูกเตามาอนุบาลจึงไมควรนานจนสัญชาตญาณตามธรรมชาติเหลานี้หายไปจนเตาทะเลไมสามารถดำรงชีวิตอยูไดเอง

ฉะนั้นเพื่อใหการอนุบาลลูกเตาทะเลเปนไปตามหลักเกณฑ หนวยงานที่จะดำเนินการ อนุบาลควรพิจารณาถึงความพรอมของบุคคลากรและความสามารถในการรองรับของหนวยงาน เชน งบประมาณ และสถานทีก่ อ นเปนลำดับแรก สิง่ ทีต่ อ งพิจารณาตอไป คือ เรือ่ งองคประกอบ และขัน้ ตอนการอนุบาล เชน สถานทีต่ ง้ั บอ อุปกรณตา งๆ ทีใ่ ชในการเลีย้ ง อาหาร โรคตางๆ และวิธีการรักษาโรคซึ่งถือเปนสิ่งจำเปนมากในการอนุบาลลูกเตาทะเลใหมีคุณภาพชีวิตและ สุขภาพทีด่ ี พรอมสำหรับกลับลงสูท ะเล และทำหนาทีเ่ ปนพอแมพนั ธุท ส่ี มบูรณในธรรมชาติตอ ไป วิธกี ารอนุบาลทีก่ ลาวถึงในหนังสือเลมนีส้ ำหรับลูกเตาทะเล 3 ชนิด คือ เตาตนุ เตากระ และเตาหญา ไมรวมถึงเตาหัวคอนซึง่ ไมมรี ายงานการวางไขในประเทศไทย และเตามะเฟอง ซึง่ การเพาะเลีย้ งนัน้ ทำไดยาก และยังไมมที ใ่ี ดในโลกทีท่ ำไดประสบผลสำเร็จเปนที่นาพอใจ


บทที่2

อุปกรณและขั้นตอนการอนุบาล

12

13 ควรมีตะแกรงปดกัน้ ทางน้ำออกเพือ่ ปองกันลูกเตาหลุด ออกจากบอเลีย้ ง ทีส่ ำคัญคือตองมีพน้ื ทีเ่ พียงพอสำหรับลูกเตา ในการวายน้ำไดตามปกติ ควรมีแผนปายระบุขอมูลของเตาทะเลในบอเพื่อใหงาย ตอการจัดการ การตกแตงบอควรมีการเลียนแบบระบบนิเวศ ทางทะเล เพื่อลดความเครียด เชน ใสหอยมือเสือ เศษหิน ปะการัง สาหรายทะเล ปลา (ชวยเก็บเศษอาหารเหลือกินได) แตทั้งนี้ตองคำนึงถึงความสะดวกในการจัดการดวย

โรงอนุบาล สถานที่ตั้งบอ

ควรอยูใกลกับแหลงวางไขเตาทะเล และอยูบริเวณ ชายฝงที่มีคุณภาพน้ำทะเลเหมาะสมไมมีการปนเปอนของ สารพิษ และตัง้ อยูภ ายใตโรงเรือนทีม่ หี ลังคายกสูง รอบดาน เปดโลงใหอากาศสามารถถายเทไดสะดวก อาจขึงตาขาย รอบดานเพื่อชวยปองกันไมใหใบไมปลิวหลนลงไปในบอ

บอ

บอที่ใชเลี้ยงเตาทะเลตองทำจากวัสดุพื้นผิวเรียบ เชน ถังไฟเบอรกลาส หรือ บอที่ปูกระเบื้องชนิดเรียบ และไมมี วัสดุตกแตงใดๆ ในบอที่อาจเกิดอันตรายกับเตาทั้งจากการ แทะกินและการกระแทก หรือ ชนกับวัสดุเหลานัน้ อาจมีการ ออกแบบใหมลี กั ษณะแตกตางกันไป แตจะตองมีระบบระบาย น้ำเขา-ออกเพื่อทำความสะอาด มีระบบหมุนเวียนน้ำในบอ (Flow system) เพื่อใหมีคุณภาพน้ำที่ดีที่สุด

ระบบน้ำวน

ควรมีการติดตัง้ ระบบน้ำวนภายในบอเพือ่ ชวยปรับสภาพ แวดลอมของบอใหเหมือนทะเลตามธรรมชาติซง่ึ เปนการชวย สรางความคุน เคยใหกบั ลูกเตาทะเลกอนปลอยกลับสูธ รรมชาติ โดยระบบน้ำวนนี้ควรเปดใชงานในชวง 6 เดือนกอนปลอย ลูกเตาทะเลกลับสูทะเล

ความหนาแนน

ลูกเตาจะใชเวลาสวนใหญอยูท ผ่ี วิ น้ำ ทัง้ ในการกินอาหาร และลอยอยูนิ่งๆ ดังนั้นพื้นที่ผิวน้ำจึงเปนปจจัยสำคัญที่ไม ควรมองขาม หากบออนุบาลมีความหนาแนนของลูกเตามาก เกินไปจะทำใหเกิดปญหากับลูกเตา เชน ความเครียด การ กัดกัน เกิดแผลติดเชือ้ การติดตอโรคถึงกัน รางกายออนแอ กลามเนือ้ ไมพฒั นาเพราะไมมพี น้ื ทีใ่ หวา ยน้ำออกกำลัง หรือ เกิดปญหากับคุณภาพน้ำจากของเสียที่ลูกเตาขับถาย และ อาหารที่เหลือโดยเฉพาะเมื่อมีการเปลี่ยนถายน้ำไมเพียงพอ


บทที่2

14

อุปกรณและขั้นตอนการอนุบาล

ความหนาแนนทีเ่ หมาะสมในการอนุบาลลูกเตาทะเล เตาอายุ 25-48 เดือน

1 ตัว

7.0 - 25.0

800

1.5 - 7.0

350

0.5 - 1.0

40

0.06 - 0.50

20

0.01 - 0.06

10

น้ำหนักเตา (กิโลกรัม)

ปริมาตรน้ำ/ตัว (ลิตร)

15

ความลึก ความลึกของน้ำควรสัมพันธกับชวงอายุเพื่อใหลูกเตา สามารถดำลงไปกินอาหารที่ใหไดอยางไมลำบาก ความลึก ของน้ำไมเกิน 60 เซนติเมตร สำหรับลูกเตาขนาดเล็ก

เตาอายุ 13-24 เดือน

2 ตัว เตาอายุ 7-12 เดือน

10 ตัว

ประเด็นสำคัญที่ไมควรมองขาม คือลูกเตาทะเลที่เลี้ยงหนาแนนเกินไปและกัดกันจนขาขาด หายไปบางสวนโดยเฉพาะขาหลังแมแผลจะหายดีแตขาสวนที่ขาดแหวงไปก็ไมสามารถ งอกขึ้นมาใหมไดอีก

เตาอายุ 4-6 เดือน

16 ตัว เตาอายุ 0-3 เดือน

50 ตัว

พื้นที่ผิวน้ำ 1 ตารางเมตร

ตลอดการเลีย้ งจะตองมีการคำนวณปริมาตรของน้ำในบอทีใ่ ชเลีย้ ง พืน้ ทีผ่ วิ ของน้ำในบอ และชัง่ น้ำหนักลูกเตาเปนประจำอยางนอยเดือนละครัง้ ความหนาแนนทีเ่ หมาะสมอาจตางกัน ไปในแตละชนิดของเตาทะเล และปจจัยแวดลอมอืน่ ๆ จึงตองหมัน่ สังเกตพฤติกรรม และอาการ ของลูกเตาเพื่อทำการปรับเปลี่ยนความหนาแนนใหเหมาะสมที่สุดอีกครั้ง

สำหรับเตาเพศเมียจะสงผลถึงการขุดหลุมวางไขในอนาคตเพราะเตาทะเลตองใชขาหลัง สวนที่แผคลายใบพายในการตักทรายออกจากหลุมวางไข การที่ขาหลังสวนปลายถูกกัดขาด ไปจะทำใหเตาขุดหลุมไดไมดี หลุมอาจตืน้ เกินไปจนอุณหภูมไิ มเหมาะสมสำหรับการฟกของไข ไขอาจไมฟกเปนตัวหรือมีสัดสวนเพศที่ไมเหมาะสม และหลุมที่ตื้นยังอาจถูกสัตวผูลา เชน สุนขั มด หรือแมแตมนุษยหาพบไดงา ยกวาหลุมทีม่ คี วามลึกปกติซง่ึ ทัง้ สองปจจัยนับวามีความ สำคัญมากในการเพิ่มประชากรเตาทะเล


บทที่2

อุปกรณและขั้นตอนการอนุบาล

16

17

การทำความสะอาดบอ คุณภาพน้ำสำคัญมากกับเตาทะเล การเปลี่ยนถายน้ำไมเพียงพอ และของเสียจาก เศษอาหารที่เหลือกอใหเกิดความเครียดและโรคติดเชื้อตางๆ ในลูกเตา ฉะนั้นจึงตองมีการ ทำความสะอาดบอ และเปลี่ยนถายน้ำออกทั้งหมดเพื่อกำจัดของเสียในน้ำทุกวัน และควรมี ระบบหมุนเวียนน้ำและระบบน้ำลน เพือ่ รักษามาตรฐานคุณภาพน้ำ หากไมสามารถเปลีย่ นถาย น้ำไดทุกวันก็ควรทำใหบอยที่สุดเทาที่จะทำไดโดยอาจใชจุลินทรียชวยในการยอยสลายเติม ลงบางตามความจำเปน

การเตรียมบอ กอนจะนำลูกเตาใสในบอเลี้ยงตองมีการลางทำความสะอาดและฆาเชื้อบอเลี้ยงกอน ทุกครั้งเพราะในเตาทะเลมีโรคหลายชนิดที่สามารถติดตอถึงกันไดผานทางสิ่งแวดลอม ขัน้ ตอนการเตรียมพักบอ 1. ปลอยน้ำเกาและนำเศษอาหารออกใหหมด 2. ขัดบอดวยน้ำจืดใหสะอาดโดยไมใหมีตะไครน้ำ และคราบสกปรกเหลือติดอยู 3. เติมน้ำจืด (หรือน้ำเค็ม) ใหเต็มบอ และใสฟอรมาลิน 40% (ความเขมขนมาตรฐาน) เพื่อฆาเชื้อโรค ในอัตราสวนฟอรมาลินตอน้ำเค็มคือ ฟอรมาลิน 1 ลิตรตอน้ำเค็ม 1,000 ลิตร หากใชน้ำจืดจะใชฟอรมาลิน 200 มิลลิลิตรในน้ำจืด 1,000 ลิตร 4. แชฟอรมาลินทิ้งไวประมาณ 24 ชั่วโมง 5. ระบายน้ำออก และเปดน้ำจืดจนเต็มบอทิ้งไวอีก 24 ชั่วโมง 6. ปลอยน้ำทิ้งและเติมน้ำเค็มในปริมาณที่ตองการสำหรับเลี้ยงเตารุนตอไป

ขั้นตอนการทำความสะอาดบอ 1. ปลอยน้ำออกทั้งหมด โดยขณะเปลี่ยนถายน้ำตองระวังอยาใหลูกเตาโดยเฉพาะลูกเตา ขนาดเล็กเขาใกลทางน้ำออกหรือใชตะแกรงปดกั้นทางน้ำออกเพื่อลดความบอบช้ำของ ลูกเตา 2. ลางบอดวยน้ำจืดเพื่อฆาเชื้อแบคทีเรียบางสวนที่ไวตอการเปลี่ยนแปลงความเค็ม 3. ระหวางฉีดน้ำจืดลางบอใหฉีดน้ำลางบนตัวลูกเตาดวยเพื่อฆาเชื้อแบคทีเรียและ ตะไครน้ำบางสวนบนกระดอง 4. เติมน้ำเค็มในปริมาณที่ตองการ หมายเหตุ: เวลาที่ใชในการลางบอจนเติมน้ำเค็มอีกครั้งไมควรเกิน 30 นาที เพราะถานานกวานี้กระดองลูกเตาจะแหงเกินไปและจะลอกหลุดบางสวนจนมีโอกาส นำไปสูการติดเชื้อแบคทีเรียไดในที่สุด


บทที่2

อุปกรณและขั้นตอนการอนุบาล

น้ำทีใ่ ชในการเลีย้ ง

18

น้ำที่เหมาะสมที่สุดในการเลี้ยงเตาทะเล คือ น้ำทะเลตามธรรมชาติ ซึ่งสวนมาก โรงเพาะเลี้ยงอนุบาลเตาทะเลมักจะอยูบริเวณชายทะเล แตตองพิจารณาถึงคุณภาพของน้ำ ทะเลบริเวณนั้นกอนวามีมลภาวะปนเปอนจากโรงงานอุตสาหกรรม หรือ โรงแรมหรือไม ซึ่ง ควรจะทำการตรวจสอบคุณภาพน้ำทะเลกอนทำการสรางโรงอนุบาลเตาทะเลในพื้นนั้น และ ทำการตรวจอยางสม่ำเสมอตลอดการเลี้ยง อุณหภูมิ คาทีเ่ หมาะสมสำหรับเตาทะเลคือ 26-30 oC อุณหภูมขิ องน้ำมีผลอยางมากตออัตราการ เจริญเติบโตและการเกิดโรคในลูกเตาทะเล เพราะเตาทะเลเปนสัตวเลือดเย็น (Exothermal) อุณหภูมิของรางกายจะเปลี่ยนแปลงไปตามสิ่งแวดลอม เมื่ออุณหภูมิต่ำ อัตราการเผาผลาญ พลังงาน (Metabolism) ก็จะต่ำไปดวย สงผลใหสตั วมกี จิ กรรมลดลง ไมกนิ อาหาร ทำใหไม เจริญเติบโต รวมทั้งระดับภูมิคุมกันก็จะลดต่ำลงไปดวย ทำใหเกิดโรคหรือติดเชื้อแทรกซอน ไดงายขึ้น ซึ่งถาอุณหภูมิต่ำกวา 22 oC การกินอาหารจะเริ่มลดลง สวนอุณหภูมิที่สูงเกินไป มากกวา 32 oC ก็จะมีผลทำใหแบคทีเรียในน้ำเจริญอยางรวดเร็วจนกอโรคในลูกเตาทะเลได ความเค็ม (Salinity) คาปกติทเ่ี หมาะสำหรับเตาทะเลคือ 20-35 ppt แตทง้ั นีใ้ นบางกรณีอาจเลีย้ งลูกเตาในคา ความเค็มทีต่ า งไปจากชวงปกติเพือ่ ผลในการรักษาทางการแพทย เชน เพือ่ กำจัดพยาธิภายนอก บางประเภท เชน เพรียง อาจตองเลีย้ งเตาทะเลไวในน้ำจืดประมาณ 2 อาทิตย ซึง่ เปนระยะ เวลาที่ไมกระทบกับสุขภาพของเตาทะเล

19

คาความเปนกรด-ดาง (pH) คาที่เหมาะสมสำหรับเตาทะเลคือ 7.5-8.5 ซึ่ง pH สามารถใชเปนดัชนีบงชี้ถึงคุณภาพ น้ำได เมือ่ ในน้ำมีการสะสมของของเสียจากเตา และเศษอาหารทีเ่ หลือ คา pH ก็จะลดต่ำลง ซึ่งตองทำการเปลี่ยนถายน้ำเพื่อกำจัดของเสียในน้ำออกไป

อุปกรณอื่นๆ อุปกรณอน่ื ๆ เชน สวิงสำหรับตักลูกเตา แปรงขัด ฯลฯ ถาเปนไปไดควรมีอปุ กรณแยก เฉพาะสำหรับแตละบอ ไมใชปนกัน เพือ่ ปองกันการติดตอของโรค แตหากมีอปุ กรณทใ่ี ชรว มกัน หลายบอ กอนจะนำไปใชกับบออื่นควรลางทำความสะอาดและจุมน้ำยาฆาเชื้อกอน เชน Sodium Hypochlorite2% หรือ Chlorhexidine 2% ทุกครั้ง


บทที่3

อาหารสำหรับลูกเตาทะเล

20

21 อาหารสำหรับลูกเตาทะเลสวนใหญจะใชปลาชนิดตางๆ เชน ปลาทูแขก และเสริมดวยพืช เชน แตงกวา ผักกาด ผักบุง แครอท หัวไชเทา หญาทะเล สาหรายทะเล หรือ สัตวทะเลอืน่ ๆ เชน หมึกทะเล แมงกระพรุน

อาหาร

การจัดการดานโภชนาการเปนอีกปจจัยหนึง่ ทีส่ ำคัญมากในการเลีย้ งลูกเตาทะเล เตาทะเล ทีโ่ ตเต็มวัยจะกินอาหารแตกตางกันไปตามชนิด เชน เตาตนุกนิ พืช เชน หญาทะเล สาหรายทะเล เปนอาหารหลัก เตามะเฟองกินแมงกระพรุน เตากระกินฟองน้ำและปะการัง เตาหญากินปลา หมึกทะเล หรือ ปู เปนตน และมักจะหากินตามพื้นทะเลแตเตาทะเลวัยเด็กจะกินอาหารไม แตกตางกันมากนัก คือ กินทัง้ พืชและสัตว (Omnivore) และมักจะลอยตัวหากินบนผิวน้ำ อายุ 6 เดือนแรก

มากกวา 6 เดือน

อาหาร ใหปริมาณอาหาร 5-18% ของน้ำหนักตัวลูกเตา ตอ วันโดยให เนื้อปลาสับละเอียดกอนประมาณ 2 สัปดาหแลวจึงใหปลาทั้งตัว ปรับเปน 1-5% ของน้ำหนักตัวตอวัน

ชวง 10 วันแรกหลังฟกจากไขไมควรใหอาหารลูกเตา เพราะวาเปนชวงที่ตามธรรมชาติ ลูกเตาจะวายออกทะเลลึกโดยไมหยุดพัก และจะใชสารอาหารจากถุงไขแดงในทองจนหมด การใหอาหารในชวงแรกนี้จะเกิดผลเสียคือทำใหการดูดซึมไขแดงไมหมด เกิดภาวะถุงไขแดงยังคางอยูในทองซึ่งจะไปขัดขวางการทำงานของลำไส ทำใหลูกเตาทองอืดตายในที่สุด

การใหอาหารมากเกินไปจะทำใหลกู เตาอวนผิดปกติ และนำไปสูค วามผิดปกติของไขมัน ในตับ (Fatty degeneration of liver) มนุษยไมสามารถใหอาหารลูกเตาไดหลากหลายและมีความสดเทากับอาหารในธรมชาติ ดังนั้น จึงจำเปนตองมีการเสริมวิตามินชนิดตางๆ ลงในอาหารดวย

แนวทางการเสริมวิตามินใหลูกเตาทะเล วิตามินรวมชนิดน้ำสำหรับเด็ก มีจำหนายทั่วไปตามรานขายยาซึ่งจะมีปริมาณวิตามินตางกันแลวแตยี่หอ โดยควร เลือกใชยห่ี อ ทีม่ มี าตรฐานในการผลิต และมีปริมาณวิตามินและสารอาหารหลากหลาย วิธใี ช : ปอนโดยการหยอดใสปาก ครั้งละประมาณ 3-4 หยด สัปดาหละ 1-2 ครั้ง


บทที่3

22

อาหารสำหรับลูกเตาทะเล

อาหารสำเร็จรูปชนิดเม็ด ควรมีปริมาณสารอาหารครบตามกำหนดและเหมาะสมสำหรับเตาทะเล โดยมักเปน อาหารสำหรับสัตวที่กินพืชและสัตว เชน อาหารเม็ดสำหรับปลาอยางดี อาหารสำหรับนก พอแมพันธุ การใชอาหารเม็ดมีขอดี คือ สะดวกในการใหและสามารถเก็บรักษาไวไดนาน

23 อาหารทีศ่ นู ยเพาะเลีย้ งเตาในตางประเทศแนะนำก็คอื อาหาร Aquamax® 500 Grower ของบริษทั PMI Nutrition International Inc. ทีส่ ามารถใชเลีย้ งลูกเตาตัง้ แตแรกเกิดไปจนถึง อายุ 2 ป แตไมมีการนำเขามาจำหนายในประเทศไทย นักวิจัยในประเทศไทยจึงยังตองทำ การศึกษาเพื่อผลิตอาหารสำหรับเตาทะเลที่มีสารอาหารเหมาะสมและใชวัตถุดิบในประเทศ วุน (Agar) สามารถผสมสารอาหารและวิตามินที่ตองการลงในวุนที่เปนเจลใหลูกเตาแทะกิน เพื่อ คงสภาพสารอาหารไมใหละลายไปกับน้ำ และยังสามารถกำหนดปริมาณสารอาหารไดดวย ขอดอย คือ ตองเตรียมทำวุนใหมทุกครั้ง เพราะเก็บไวไดไมนาน

ขอควรระวัง คือ อาหารเม็ดเมื่อแหงจะมีมวลนอย เมื่อลูกเตาทะเลกินเขาไปจะดูดน้ำและ พองขึ้นในทางเดินอาหาร ทำใหอาจเกิดปญหาทองอืด หรือแมกระทั่งกระเพาะแตกได จึงควรนำอาหารเม็ดแชน้ำไวซักครูใหพองตัวกอนจะนำไปใหเตากินเพื่อปองกันปญหานี้ ปริมาณสารอาหารในอาหารสำเร็จรูปที่เหมาะสมสำหรับลูกเตาทะเล สารอาหาร โปรตีน ไขมัน ใยอาหาร วิตามิน A วิตามิน D วิตามิน E ขนาดของเม็ดอาหาร

ปริมาณ 24-25% 3-12% 3-8.5% ไมนอยกวา 9000 IU/กก.อาหาร ไมนอยกวา 400 IU/กก.อาหาร ไมนอยกวา 100 IU/กก.อาหาร เสนผาศูนยกลางไมเกิน 4.7 มม.

เกร็ดความรู : งบประมาณในการอนุบาล คาใชจายในการอนุบาลลูกเตาทะเลใหมีอายุและขนาดที่เหมาะสมกอนปลอยลงทะเล (อายุ 1 ป หรือ มีขนาดกระดองยาว 30 ซม.) ตองมีงบประมาณ 200,000 - 300,000 บาท ตอ ลูกเตา 1 รัง (ประมาณ 100 ตัว) ถาตองการอนุบาลลูกเตาทีเ่ กิดในหนึง่ ฤดูกาลวาง ไข (ประมาณ 3 - 8 รัง) จะตองมีการจัดสรรงบประมาณอยางนอย หนึ่งลานบาท หมายเหตุ : ยังไมรวมคาใชจายในการกอสรางบออนุบาลใหไดตามหลักเกณฑ


บทที่3

24

อาหารสำหรับลูกเตาทะเล

Steatitis

ภาวะขาดวิตามินอี และภาวะไขมันอักเสบ

ตามธรรมชาติลกู เตาะทะเลจะไดกนิ แต อาหารสดซึ่งในการเลี้ยงลูกเตาทะเลการให อาหารสดจะดีที่สุดแตคอนขางสิ้นเปลืองและ ไมสะดวกในการจัดการที่ตองจัดซื้อทุกวัน ดังนั้น การแชเย็นจึงมักจะหลีกเลี่ยงไมไดซึ่ง การนำอาหารที่มีกรดไขมัน (ทั้งชนิดอิ่มตัว และไมอิ่มตัว) จำนวนมาก เชน ปลาทะเล หรือ อาหารอื่นๆ ไปแชเย็นจะมีผลทำให กรดไขมันไมอิ่มตัวเกิดการหืน (Rancid) ใน ระหวางการเก็บรักษา และเกิดอนุมูลอิสระ (Free radical) ขึ้นจากปฏิกิริยาออกซิเดชั่น (Oxidation) ซึ่งสารดังกลาวเปนพิษกับเซล รางกายสัตวจงึ ตองการวิตามิน อี (Vitamin E) จำนวนมากเพือ่ ไปทำหนาทีเ่ ปนสารตานอนุมลู อิสระ (Antioxidant) หากสัตวไดรับปริมาณ วิตามินอีไมเพียงพอ จะทำใหเกิดอาการทีเ่ รียกวา ภาวะไขมันอักเสบ (Steatitis) โดยไขมันจะ

อักเสบกลายเปนเนือ้ ตาย ลักษณะแข็งสีเหลือง ถึงน้ำตาล ภาวะนี้เปนอาการเรื้อรัง โดยดู อาการภายนอกไมสามารถบอกได สัตวจะ เจ็บปวดทรมานอยูตลอดเวลาแตสัตวจะไม ตายทันที แตจะทรมานอยูหลายปกอนตาย นอกจากนี้ วิตามิน อี ยังมีบทบาทสำคัญ ตอระบบสืบพันธุ การขาดวิตามินอีทำใหเกิด ความผิดปกติของระบบสืบพันธุจ นไมสามารถ สืบพันธุไ ดอกี และทำใหเกิดความผิดปกติของ กลามเนือ้ หัวใจและตับซึง่ เปนภาวะทีม่ รี ายงาน วาพบในเตาหญาที่เลี้ยงไวที่สถาบันวิจัยและ พัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝง ทะเล และ ปาชายเลน จังหวัดภูเก็ต โดยการจัดการทีผ่ ดิ วิธีใหเตาทะเลกินแตปลาแชแข็งและเสริมผัก ทุกสัปดาหโดยไมมีการเสริมวิตามินเปนเวลา หลายป

25 ภาวะไขมันอักเสบ เมือ่ เกิดขึน้ แลวเปน ภาวะทีไ่ มสามารถรักษาใหหายได เนือ้ เยือ่ ไขมัน ทีผ่ ดิ ปกติจะคงอยูเ ชนนัน้ ไปตลอดชีวติ ของสัตว การเสริมวิตามินจะชวยไดแคไมใหอาการลุกลาม ไปมากขึน้ เทานัน้ ซึง่ การปองกันสามารถทำได งายกวาและมีประสิทธิภาพดีกวามาก โดยการ เสริมวิตามิน อี ลงในอาหารปริมาณ 100 IU/กก. ของอาหาร ในปจจุบันวิตามิน อี มีจำหนาย ในรูปแบบเม็ดแคปซูลซึง่ สามารถหาซือ้ ไดตาม รานขายยาทัว่ ไป มีหลายขนาดบรรจุ ทัว่ ไป คือ

100-400 IU ตอ เม็ด เวลาใหเตาทะเลโตเต็มวัย สามารถยัดใสในทองปลากอนใหเตาทะเลกิน แตในลูกเตาขนาดเล็กที่แทะกินอาหารทีละ นอย ไมสามารถใหวิตามินแบบเม็ดได ตอง ใหแบบน้ำสำหรับเด็ก ปอนปากลูกเตาทุก สัปดาห ประมาณครั้งละ 3-4 หยด ขึ้นกับ ความเขมขนของวิตามิน

Steatitis ภาวะไขมันอักเสบ

ความผิดปกติของกลามเนื้อหัวใจ เกิดการแทรกของเซลไขมันในหัวใจหองบนขวา ไขมันอักเสบสีเหลืองน้ำตาล


บทที่4

โรคในการอนุบาลเตาทะเลและแนวทางการรักษา

26

27

เชื้อแบคทีเรีย

โรคในการอนุบาลเตาทะเล การวินิจฉัยโรคของเตาทะเลนั้นเปนการตรวจทางหอง ปฏิบัติการ เชน การตรวจทางโลหิตวิทยา การตรวจทางจุล พยาธิวิทยา หรือ การเพาะเชื้อแบคทีเรียเพื่อหาชนิดของเชื้อ กอโรคและตรวจความไวตอยาปฏิชีวนะเปนวิธีการที่มีความ สำคัญ แตการตรวจมักใชเวลาหลายวัน ดังนั้น การวินิจฉัย เบื้องตน และการรักษาพื้นฐานจึงควรจะเริ่มทำในทันทีที่พบ ปญหาเพื่อบรรเทาอาการและลดโอกาสที่โรคจะแพรระบาด ออกไป แลวจึงปรับเปลีย่ นแผนการรักษาเมือ่ ไดรบั ผลการตรวจ โดยละเอียดจากหองปฏิบตั กิ ารอีกทีหนึง่ ทัง้ นีห้ นวยงานทีท่ ำ การอนุบาลลูกเตาทะเลควรจะมีบุคลากรดานการแพทยที่มี ประสบการณในการทำงานกับเตาทะเล หรือมีความรูเ กีย่ วกับ สัตวเลื้อยคลาน และควรมีโปรแกรมการตรวจสุขภาพเตา อยางสม่ำเสมอ การใชยาสำหรับรักษาควรปรึกษาสัตวแพทยกอนทุก ครั้ง เพราะหากใชยาผิดชนิด ผิดขนาด หรือ ผิดวิธีอาจทำ ใหลูกเตาเสียชีวิตได ซึ่งอาจเสียชีวิตเปนจำนวนมากหาก เปนการรักษาทุกตัวในบออนุบาลอยางผิดวิธี

สาเหตุ/อาการ เชื้อแบคทีเรียกอโรคที่พบบอยในเตา ทะเล ไดแก Vibrio, Aeromonas, Pseudomonas, Cryptophaga-Flavobacterium, Streptococcus, Salmonella, Morexella และเชือ้ แบคทีเรียในกลุม Coliform ซึง่ สวน ใหญเปนเชือ้ ฉวยโอกาสทีจ่ ะกอโรค หรือ เปน อันตรายก็ตอเมื่อสุขภาพของสัตวแยลงจาก สาเหตุการจัดการดีไมเพียงพอ

วิธีการรักษา เอาใจใสกับการจัดการ เชน ความหนาแนนของลูกเตาทะเลในบอ คุณภาพน้ำ และ คุณภาพของอาหาร ควรหมั่นสังเกตอาการของลูกเตาวามีพฤติกรรมผิดไปจากปกติ เชน กินอาหารนอยลง ซึม ไมวายน้ำซึ่งเปนอาการแรกเริ่มของการติดเชื้อหรือไม ถาพบใหแยก เตาตัวที่ปวยออกตางหาก และรายงานใหสัตวแพทยทราบโดยเร็วเพื่อทำการใหยาปฏิชีวนะ การปฏิบัติเชนนี้จะทำใหลูกเตามีโอกาสหายจากโรคในเวลารวดเร็ว

ติดเชื้อที่ผิวหนัง สาเหตุ/อาการ เปนบาดแผลจากการกัดกันและเกิดการ ติดเชือ้ ตามมาภายหลัง (Traumatic ulcerative dermatitis) เปนปญหาทีพ่ บบอยในการอนุบาล ลูกเตาทะเล ตำแหนงที่พบไดแก ปลายและ ขอบของทัง้ ครีบหนาและหลัง คอ หาง และ กระดอง โดยจะสังเกตเห็นแผนสีเหลืองครีม ปกคลุมรอบแผล ซึ่งก็คือหนองของ


บทที่4

โรคในการอนุบาลเตาทะเลและแนวทางการรักษา

28

สัตวเลื้อยคลาน และหากมีการติดเชื้อเขาสูกระแสเลือดจะพบเตามีอาการลอยน้ำเพราะติด เชือ้ ทีป่ อด และจุดเลือดออกบนกระดอง ในระยะสุดทายของการติดเชือ้ จะพบหนองตามขอบ รอยตอของแผนกระดอง เตามีโอกาสตายมากกวา 30% วิธีการรักษา ไมควรเลีย้ งลูกเตาทะเลหนาแนนเกินไป อาจแยกเลีย้ งลูกเตาแตละตัวในทีเ่ ลีย้ งเดีย่ วทีม่ ี พืน้ ทีม่ ากพอ แตจะไมสะดวกในกรณีมลี กู เตาจำนวนมาก หากพบลูกเตามีแผลติดเชือ้ ทีผ่ วิ หนังควร 1. แยกเตาที่ปวยเปนแผลออกจากฝูง 2. ลางแผลทุกวันดวยน้ำจืด เพื่อกำจัดเชื้อที่ไวตอความเค็ม และลางดวยยาฆาเชื้อโพวิโดน ไอโอดีน 1% หรือ แชลูกเตาลงในภาชนะที่มีโพวิโดนไอโอดีนเลยก็ได 3. ทิ้งไวใหแหงประมาณ 15 นาที เพราะเชื้อบางชนิดไมทนตอความแหง 4. ทำแผลทุกวันในชวงแรก เมือ่ แผลดีขน้ึ อาจลดความถีใ่ นการทำลงเหลือวันเวนวัน หรือวันเวน 3 วัน จนแผลหายในที่สุด 5. การติดเชือ้ ทีผ่ วิ หนังตามปกติแลวหากลางแผลทุกวันก็ไมจำเปนตองใหยาปฏิชวี นะแตหาก มีการติดเชื้อแทรกซอน เชน ติดเชื้อในกระแสเลือด ควรพิจารณาใหยาปฏิชีวนะรวมดวย เชน เอนโรฟลอกซาซิน (Enrofloxacin) หรือ อามิคาซิน (Amikacin) ฯลฯ ควรเลือกชนิด ยาจากผลการเพาะเชือ้ และความไวตอยาปฏิชวี นะเปนหลักเพือ่ ใหไดผลดีทส่ี ดุ 6. จัดการปรับปรุงเรื่องคุณภาพน้ำ เพื่อปองกันการติดเชื้อแทรกซอน 7. จัดการระบบการฆาเชื้ออุปกรณที่ใชในโรงเพาะเลี้ยง และแยกอุปกรณสำหรับเตาที่ปวยไว ใชตางหาก เพื่อควบคุมการแพรกระจายของโรค

29

กระดองลูกเตาเปอยหรือมีตะไคร วิธีการรักษา 1. ใชน้ำยาฆาเชื้อ เชน เบตาดีนสครัป หรือ คลอเฮกซิดนี ขัดสวนของกระดอง โดยใช แปรงสีฟนแบบออน หรือ ฟองน้ำที่ไมทำ ใหกระดองเสียหาย 2. ลางน้ำออก 3. ในตัวที่กระดองเปอย หรือ มีแผลติดเชื้อ หลังลางน้ำใหปายยาเจนเชียลไวโอเลต

ตาอักเสบ (Keratoconjuntivitis-ulcerative blepharitis) ลูกเตาทีอ่ ยูด ว ยกันเปนจำนวนมากอาจ กัดกันจนเปนแผลบริเวณคอ หนังตา หรือ กระจกตา ซึง่ จะพบหนองสีเหลืองบนหนังตา หรือ หางตา ควรคีบหนองออกอยางระมัด ระวังเพราะถาคีมคีบไปสะกิดโดนกระจกตา เปนแผลจะทำใหตาบอดซึ่งไมมีทางรักษา ดังนั้น ใหคีบหนองออกเฉพาะที่มองเห็นได ชัดและงาย ไมควานเขาไปในตา หากคีบไม ออกใหปลอยเอาไว ผานไประยะหนึง่ หนองจะ สะสมมากขึ้น และจะนูนออกมาจนคีบไดงาย จากนั้นใหหยอดตาดวยยาปฏิชีวนะ เชน คลอเรมแฟนิคอล (Chloramphenical) เจนตามัยซิน (Gentamycin) ลีโมฟลอกซาซิน (Lemofloxacin) ฯลฯ


บทที่4

โรคในการอนุบาลเตาทะเลและแนวทางการรักษา

30

บทที่5

การทำเครื่องหมายเพื่อติดตามเตาทะเล

31

เชื้อไวรัส ในตางประเทศ มีรายงานการเกิดโรคติดเชือ้ ไวรัสชนิด Herpesvirus ซึง่ ทำใหเกิดโรค Grey patch disease โดยมีอตั ราการติดเชือ้ ประมาณ 65-95% และยังไมมยี ารักษา อาการ คือ เปนตุม น้ำ ทีผ่ วิ หนัง เตาบางตัวจะหายเองเมื่อมีอายุเกิน 1 ป แตบางตัวอาการอาจแยลง ตุมอาจเปลี่ยน เปนแผนสีเทาปกคลุมทัว่ ทัง้ ตัว ทำใหลกู เตาตายในทีส่ ดุ ซึง่ ในประเทศไทยปจจุบนั ยังไมมกี าร ตรวจวินจิ ฉัยโรคจากไวรัสอยางจริงจัง

การทำเครื ่ อ งหมายเพื ่ อ ติดตามเตาทะเล ในการอนุรักษเตาทะเลนั้น ขอมูลทางชีววิทยาและนิเวศวิทยาของเตาแตละชนิดมีความ สำคัญอยางยิง่ เชน ขอมูลการแพรกระจาย ชวงเวลาของปทว่ี างไข อายุทถ่ี งึ วัยเจริญพันธุ ฯลฯ ซึง่ ขอมูลเหลานีส้ ามารถไดมาโดยการทำเครือ่ งหมายทีต่ วั เตาทะเลกอนปลอยเพือ่ เก็บขอมูลเมือ่ เตากลับมาวางไข หรือ ไดรับบาดเจ็บเกยตื้น การทำเครื่องหมายในเตาทะเลสามารถทำได หลายวิธี และมักจะใชหลายวิธรี ว มกันในเตา 1 ตัวเพือ่ เพิม่ โอกาสในการไดขอ มูลใหมากที่สุด


บทที่5

การทำเครื่องหมายเพื่อติดตามเตาทะเล

32

แถบโลหะ (Inconeal Tag) เปนแถบทีท่ ำจากโลหะผสมประเภทนิกเกิล มีความทนทานและไมทำปฏิกริ ยิ ากับเนือ้ เยือ่ ของรางกายสัตว โดยใชเครือ่ งมือเฉพาะในการติดแถบโลหะทะลุเนือ้ เยือ่ ของขอบดานทายของ ครีบหนา หรือ หลังซึง่ การติดแถบโลหะทีค่ รีบหนามีขอ ดี คือ สามารถมองเห็นไดงา ยกวาครีบหลัง ทีถ่ กู กระดองบัง แตมโี อกาสหลุด หรือ สูญหายมากกวาครีบหลังเพราะเตาทะเลใชครีบหนาใน การวายน้ำเปนหลักทำใหเกิดแรงตานน้ำสูง การติดแถบโลหะจึงอาจติดทีค่ รีบทัง้ 2 ที่ เพือ่ เพิม่ โอกาสในการไดขอมูล และเมื่อเก็บขอมูลของแถบโลหะจากเตาในธรรมชาติไดมากจำนวน หนึ่งแลว สามารถที่จะนำขอมูลของเตาที่แถบโลหะหายไปที่หนึ่ง มาเปรียบเทียบและศึกษา หาอัตราการสูญหายของแถบโลหะ และเวลาที่แถบโลหะสามารถติดอยูกับตัวเตาทะเลได ซึ่ง เปนขอมูลที่นาสนใจ และเปนการวิจัยที่ยังไมมีการทำในประเทศไทยมากอน ซึ่งแถบโลหะ โดยทั่วไปสามารถติดอยูบนรางกายเตาไดประมาณ 2-3 ป กอนจะหลุดออก

33 การติดแถบโลหะควรทำในเตาที่มีขนาดไมเล็กเกินไป โดยควรมีอายุมากกวา 1 ป หรือ ความยาวกระดองหลังมากกวา 20 ซม. หรือ มีน้ำหนักมากกวา 1.5 กิโลกรัมขึ้นไป สาเหตุที่ ไมควรทำในเตาขนาดเล็กเพราะแถบโลหะมีขนาดใหญและมีน้ำหนักมากเกินเมื่อเทียบกับ ขนาดครีบซึ่งมีโอกาสเสี่ยงพลาดไปโดนเสนเลือดที่ครีบขณะทำการติด พื้นที่เนื้อเยื่อที่จะรั้ง แถบโลหะไวมีนอยทำใหมีโอกาสสูญหายมาก และรบกวนการวายน้ำหากินของลูกเตาทะเล จนอาจทำใหถูกผูลาจับกินเปนอาหารไดงาย

บริษัทที่รับสั่งทำแถบโลหะสำหรับเตาทะเล ไดแก บริษัท National Band and Tag Company (NBTC) of Newport, Kentucky, USA โทรสาร 001-606-261-8247

) 0486 TH(P

TH(P ) 0486

TH (P)

) 048 TH(P

86

04

6

บนแถบโลหะจะมีการใสขอความไว ประกอบไปดวยตัวอักษรระบุประเทศที่ทำการติด เครื่องหมาย ของประเทศไทยจะใชอักษร TH ตามดวยจังหวัด เชน สวพ.ภูเก็ต จะใช TH(P) และตามดวยหมายเลขประจำตัว 4 หลัก และอีกดานหนึง่ จะเปนขอมูลเพือ่ ติดตอกลับสำหรับ ผูที่พบเครื่องหมาย


บทที่5 การทำเครื่องหมายเพื่อติดตามเตาทะเล Passive integrated transponder (PIT tags)

34

หรือ เรียกวา ไมโครชิพ (Microchip) เปนไมโครโปรเซสเซอรขนาดเล็กทีเ่ คลือบดวย วัสดุทไ่ี มทำปฏิกริ ยิ ากับภูมคิ มุ กันของรางกายซึง่ จะสงสัญญาณหมายเลขเฉพาะตัวออกมาเมื่อ ไดรับสัญญาณวิทยุจากเครื่องอานหมายเลข ในระยะใกล ตัวไมโครชิพมีขนาดยาว 12 มม. เสนผานศูนยกลาง 2.1 มม. ในเตาทะเลจะฝง ไมโครชิพใตผิวหนัง (Subcutaneous) บริเวณไหล ซึ่งสวพ.ภูเก็ตจะฝงไวที่ไหลขางซาย แต บางหนวยงานอาจฝงไวทง้ั 2 ขางเพือ่ ปองกันการสูญหาย และเพิม่ โอกาสการไดขอมูล ไมโครชิพมีขอ ดี คือ มีอายุการใชงานยาวนาน (ขอมูลจากการใชในสัตวบกใชไดนานถึง 75 ป) และสามารถทำในเตาขนาดเล็กกวาการใชแถบโลหะ แตกม็ ขี อ ดอย คือ ราคาคอนขาง สูงเมื่อเทียบกับแถบโลหะ ราคาของเครื่องอานหมายเลขคอนขางแพง ซึ่งหากไมมีเครื่องอาน ก็จะไมสามารถตรวจหาหมายเลขได และบางครั้งไมโครชิพที่ฝงไวใตผิวหนังอาจเคลื่อนยาย ไปจากจุดเดิม ทำใหลำบากในการตรวจหา การฝงไมโครชิพควรทำในเตาทีม่ ขี นาดไมเล็กเกินไป โดยควรมีอายุมากกวา 6 เดือน หรือ ความยาวกระดองหลังมากกวา 10 ซม. หรือ มีน้ำหนักมากกวา 1 กิโลกรัมขึ้นไป สาเหตุที่ ไมควรทำในเตาขนาดเล็กเพราะบริเวณไหลมีเสนเลือดใหญอยู ในเตาขนาดเล็กจะมีโอกาส เสี่ยงที่จะพลาดไปโดนเสนเลือดที่ไหลในขณะทำการฝงไมโครชิพ

35

Living tag

Matthew Godfrey

Living Tag หรือ เรียกวา การปลูกถาย เนือ้ เยือ่ กระดอง เปนวิธกี ารทำเครือ่ งหมายที่ คอนขางใหม ยังไมเคยมีการทำมากอนใน ประเทศไทย โดยมีหลักการคือ การตัดเก็บ เนือ้ เยือ่ ผิวกระดอง (Epithelial tissue) สวนทอง (Plastron) ทีม่ สี ขี าวดวยมีดเจาะเก็บตัวอยาง ผิวหนัง (Keyes skin punch) แลวนำไปปลูก ถายลงบนกระดองสวนหลัง (Carapace) ทีม่ สี เี ขม และในทางกลับกันก็จะนำผิวกระดองหลัง ไปปลูกถายลงบนกระดองทองเพื่อใชเปนสัญลักษณ โดยจะมีการกำหนดแผน (Scute) ของ กระดองหลังวาสัญลักษณที่กระดองแผนใด หมายถึง ลูกเตาที่ปลอยในปอะไร เนื้อกระดอง ที่ปลูกถายนี้จะคงอยูและจะเจริญขยายขนาดเหมือนกระดองปกติไปตลอดชีวิตของเตา ทะเล การปลูกถายเนื้อเยื่อนี้จะไมมีการตอบสนองของระบบภูมิคุมกันเพราะเปนเนื้อเยื่อภาย ในตัวเตาทะเลเอง Florida Cooperative Fish and Wildlife Research Unit

การปลูกถายเนื้อเยื่อกระดองเพื่อทำเครื่องหมายมีขอดี คือ สามารถทำในลูกเตาขนาด เล็กอายุนอ ยกวา 6 เดือนได เปนวิธที ถ่ี กู ใชอปุ กรณไมซบั ซอน เครือ่ งหมายจะคงอยูไ ปตลอด ชีวติ และไมจำเปนตองใชเครือ่ งมือซับซอนในการอานผล แตกม็ ขี อ ดอย คือ จำเปนตองรูแ นว ทางการอานวาสัญลักษณบนแผนกระดองแตละแผน หมายถึง เตาทีป่ ลอยในปใด และขอมูล ที่จะแปลไดมกั ไมจำเพาะเจาะจงมาก จะจำกัดอยูแ คปท ป่ี ลอย และยังเปนวิธที ใ่ี หมสำหรับประเทศ ไทย จึงยังตองมีการทดลองศึกษาวิจัยกอนจะนำไปใชงานกับประชากรเตาทะเลจำนวนมาก


บอ-จำนวน วันที่ วันที่

รายละเอียด

ขอมูลลูกเตาเสียชีวิต ขอมูลการรักษา

วันที่ รายละเอียด

วันที่ บอ-จำนวน วันที่

ขอมูลการยายบอ

หมายเหตุ

บอ-จำนวน วันที่

บอ-จำนวน

วันที่

จำนวน-ผูปลอยสถานที่ปลอย วันที่ จำนวน-ผูปลอยสถานที่ปลอย วันที่ บอ-จำนวน

การจำหนายลูกเตา

วันที่รับ ชุดที่

ประวัติของลูกเตา ในการเลี้ยงตองมีการบันทึกประวัติ และที่มาของลูกเตาแตละชุดไว และเลี้ยงแยกไวไมใหปนกันเพื่อใหงายในการจัดการ น้ำหนักและขนาดกระดองหลัง มีความสำคัญเพราะสามารถใชคำนวนหาอัตราการเจริญ เติบโต การบันทึกน้ำหนักเปนระยะๆ ทำใหผเู ลีย้ งสามารถแกไขปญหาไดแตเนิน่ ๆ เชน เมือ่ น้ำหนักลูกเตาไมเพิ่มขึ้นตามที่ควรจะเปนจะบงบอกวาเกิดโรค หรือ เกิดความผิดปกติขึ้น เพราะในระยะเริม่ แรกทีป่ ว ยลูกเตาจะไมแสดงอาการของโรคแตจะกินอาหารลดลง การวัดขนาดกระดองควรจะวัดทั้งความยาวและความกวางในแนวตรง (Straight carapace length/width) และ ความยาวและความกวางในแนวโคง (Curved carapace length/width) อัตราการตายและอัตราการรอด ใชเปนดัชนีบงชี้ถึงประสิทธิภาพของโรงเพาะเลี้ยง ขอมูลการจัดการอืน่ ๆ เชน การรักษาทางการแพทยในแตละครัง้ การยายบอ หรือ การ จัดการอืน่ ๆ ควรทำการบันทึกไวอยางละเอียดทัง้ หมดเพือ่ เปนประโยชนในการศึกษาในอนาคต ขอมูลการปลอย เชน วัน เวลา สถานทีป่ ลอย จำนวนทีป่ ลอย ขอมูลการทำเครือ่ งหมาย หนวยงานทีท่ ำการปลอย ลวนแตมคี วามสำคัญในการศึกษาขอมูลการกระจายของเตาในอนาคต

ตัวอยาง แบบบันทึกขอมูลลูกเตาทะเล

ในการอนุบาลลูกเตาทะเลควรสนใจศึกษาสังเกตพฤติกรรม และเก็บขอมูลเกี่ยวกับการ เจริญเติบโต โดยขอมูลทุกอยางมีความสำคัญมากทัง้ ในการนำไปใชในการศึกษาหรือ เพือ่ การ สืบหาสาเหตุเมื่อเกิดความผิดปกติขึ้นในโรงเพาะเลี้ยง ฯลฯ ขอมูลที่สำคัญในการอนุบาลลูกเตาทะเล มีดังนี้

ลงชื่อ-ผูรับ

การเก็บขอมูล

ลงชื่อ-ผูนำมาให

37

จำนวนที่รับ

36

วันที่ฟก

การเก็บขอมูลการอนุบาล

ที่มา

บทที่6


บทที่6

38

การเก็บขอมูลการอนุบาล

บทที่7

การปลอยลูกเตาทะเล

39

ตัวอยาง แบบบันทึกขอมูลการปลอยเตาทะเล เตาปลอยสูธรรมชาติ

วันที่บันทึก

สถานที่ปลอย

วันที่ปลอย

ประวัติเตา

ลำดับ

ชนิด

เพศ

ยาว(ซม.)

หนัก(กก.)

ไมโครชิพ

Tag

หมายเหตุ

การปลอยลูกเตาทะเล หลักการปลอยที่ตองยึดปฏิบัติ คือ ลูกเตาทะเลทีน่ ำมาปลอยตองมีอายุ และพัฒนาการ เรื่องขนาดและน้ำหนักที่เหมาะสมสำหรับการปลอยสูธรรมชาติ คือ ควรมอายุอยางต่ำ 1 ป โดยตองมีความยาวกระดองไมนอ ยกวา 30 เซนติเมตร มีนำ้ หนักประมาณ 1 กิโลกรัม เพราะ ในชวงนีล้ กู เตาทะเลจะมีกระดองทีแ่ ข็ง และมีขนาดทีเ่ หมาะตอการอาศัยบริเวณชายฝง ทะเลที่ ทำการปลอยซึ่ีงจะชวยใหลูกเตามีอัตราการรอดที่ดี ลูกเตาทุกตัวตองไดรบั การตรวจประเมินสุขภาพวาแข็งแรง ปราศจากโรค และสามารถ หากินไดเองกอนนำไปปลอย ควรทำการปลอยในบริเวณทีม่ แี หลงหากินสำหรับเตาทะเลชนิดนัน้ หรือ มีรายงานพบเตา ทะเลชนิดนัน้ หากินอยู หรือ อาจอยูใกลเคียงหาดที่เปนแหลงกำเนิด ควรทำเครื่องหมายที่เหมาะสมกับขนาดของเตา และเก็บขอมูลเตาที่ปลอยใหมากที่สุด คนไทยสวนใหญมีความเชื่อตามขนบธรรมเนียมประเพณี จึงมีความตองการปลอยเตา ทะเลดวยตนเอง ดังนั้นการปลอยลูกเตาทะเลเปนโอกาสอันดีที่จะไดประชาสัมพันธและให ความรูก บั ประชาชนทีม่ าเขารวมพิธปี ลอยถึงสถานการณในปจจุบนั แนวทางและความสำคัญ ของการอนุรักษเตาทะเลในประเทศไทย หากมีการจัดกิจกรรมควรมีการใหความรูที่ถูกตอง รวมไปการปลอยเตาทะเลดวยทุกครั้ง


40

เอกสารอางอิง สนธยา มานะวัฒนา. 2549. การอนุบาลลูกเตาทะเล. เอกสารเผยแพรกลุม สัตวทะเลหายาก กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง. Ackerman L. 2003. The Biology, Husbandry and Health Care of Reptiles VIII. T.F.H. Publications: Neptune, New Jercy. Bluvias, J.E. 2008. Marine Turtle Trauma Response Procedure: AHusbandry Manual. (Eckert, K.L. adviser). Masters Project Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Master of Environmental Management Degree in the Nicholas School of the Environment and Earth Sciences of Duke University. 75 p. Douglas RM.1996. Reptile Medicine and Surgery. Philadelphia: W.B. Saunders, Philadelphia. Fowler EM. 1986. Zoo &Wild Animal Medicine. 2nd ed. W.B. Saunders, Philadelphia. Fowler EM. 1993. Zoo &Wild Animal Medicine : Current Therapy 3. W.B. Saunders, Philadelphia. Fowler, EM., 1999. Miller, RE. Zoo &Wild Animal Medicine : Current Therapy 4. W.B. Saunders, Philadelphia. Lutz PL, Musick JA, editors. 1997. The Bology of Sea Turtles. CRC press LLC, Florida. Lutz PL, MusickJA.,Wyneken J, editors. 2003. The Biology of Sea Turtles Volume II. CRC Press LLC, Florida. McCracken H. 2005. Husbandry &Disease of Reptiles. Melbourne zoo, Melbourne. Southeast Asian Fisheries Development Center. Marine Fishery Resource. Development and Management Department. 2004. A Guide to Set-Up and Manage Sea Turtles Hatcheries in the Southeast Asian Region. Norton, T.M. 2005. Chelonian Emergency and Critical Care. Seminars in Avian and Exotic Pet Medicine. 14(2): 106-130 p. Southeast Asian Fisheries Development Center. Marine Fishery Resources Development and Management Department. 2004. Conservation and Enhancement of Sea turtle in the Southeast Asian Region. Card Information Sdn. Bhd., Kuala Lumpur. Wyneken, J., Godfrey, M.H. and Bels, V. 2008. TheBiology of Turtles. CRC Press, Florida. 389 pp.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.