อุทยานแหงชาติหมูเกาะสุรินทร
สถานภาพแนวปะการัง ปี พ.ศ.2554
คณะที่ปรึกษา นายธำ�รงค เจริญกุล ผูวาราชการจังหวัดพังงา นายสมาน สะแต ผูอำ�นวยการส�ำ นักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดพังงา นายพุทธพจน คูประสิทธิ์ หัวหนาอุทยานแหงชาติหมูเกาะสุรินทร นายมรกต จันทรไทย ผูชวยหัวหนาอุทยานแหงชาติหมูเกาะสุรินทร นายโสภณ เพ็งประพันธ อดีตหัวหนาอุทยานแหงชาติหมูเกาะสุรินทร นายวิสูตร ศรีสงวน อดีตผูชวยหัวหนาอุทยานแหงชาติหมูเกาะสุรินทร คณะผูจัดทำ� กรองแกว สูอำ�พัน เสาวภา อาศนศิลารัตน ภาพปกหน้า ณัฐพล พลบำ�รุงวงศ์ ภาพถ่าย เครือข่ายเฝ้าระวังทรัพยากรทางทะเล (อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์)
พิมพที่ โรงพิมพ อำ�นวยการพิมพ 73/12 ถนนเทศบาลบำ�รุง อำ�เภอเมือง จังหวัดพังงา โทร. 076-460655 ปที่พิมพ ตุลาคม พ.ศ.2554 จำ�นวน 120 เลม
โครงการพฒ ั นาเครือขายรว มระหวางชมุ ชนมอแกนและอทุ ยานแหงชาติหมูเ กาะสรุ นิ ทรเพือ่ ดแู ลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ทางทะเลในพน้ื ทีอ่ นุรกั ษ ภายใตแผนปฏิบตั ริ าชการ ประจำ�ปง บประมาณ พ.ศ.2554 จังหวัดพงั งา สำ�นักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดพังงา กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม อุทยานแหงชาติหมูเกาะสุรินทร กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช
PLIMO Protect Local Intelligence and Marine Organism email: kaewya@gmail.com
1
บทสรุปผูบริหาร
Executive Summary
การสำ�รวจสถานภาพแนวปะการังบริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ ปี พ.ศ. 2554 เป็นการดำ�เนินงานภายใต้โครงการ พัฒนาเครือขายรวมระหวางชุมชนมอแกนและอุทยานแหงชาติหมูเกาะสุรินทรเพื่อดูแลรักษาทรัพยากร ธรรมชาติทางทะเลในพื้นที่อนุรักษ (ภายใตแ ผนปฏิบัติราชการประจำ�ปงบประมาณ พ.ศ.2554 จังหวัดพังงา) มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเพิ่มศักยภาพผ่านกระบวนการเรียนรู้ในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติการสำ�รวจทรัพยากรทาง ทะเลเพือ่ การเฝ้าระวังและตรวจตราแนวปะการังในเขตพืน้ ทีอ่ นุรกั ษ์ให้แก่เครือข่ายร่วม ฯ และเพือ่ สำ�รวจข้อมูล สถานภาพของทรัพยากรในแนวปะการัง และบันทึกการเปลี่ยนแปลงเพื่อนำ�มาใช้วางแผนการจัดการที่เหมาะ สมผ่านกระบวนการดำ�เนินงานอย่างมีส่วนร่วม ตามแผนการปฏิบัติงานสำ�รวจและติดตามสถานภาพแนวปะการัง อุทยานฯ ได้ดำ�เนินการสำ�รวจสถานภาพ แนวปะการังทั้งหมด 2 ช่วงเวลา (เดือนกุมภาพันธ์ และเมษายน พ.ศ. 2554) จำ�นวน 17 สถานี ด้วยวิธี Reef Watch เพื่อติดตามการฟื้นตัวและเก็บข้อมูลรูปทรงของปะการังที่ยังพบอยู่หลังเหตุการณ์ปะการังฟอกขาว ในปี พ.ศ.2553 จากอุณหภูมิผิวน้ำ�ทะเลสูงขึ้นเป็นระยะเวลานาน โดยมีการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ภาย ใต้โครงการฯ เพื่อรับสมัคร “อาสาสมัครรักษ์ทะเล” เข้าร่วมทำ�งานกับอุทยานฯ ตลอดระยะเวลา 6 เดือน (เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ถึง เมษายน พ.ศ. 2554) การสำ�รวจด้วยวิธี Reef Watch ที่จัดขึ้นเพื่อให้ความรู้เรื่องปะการัง และกระตุ้นจิตสำ�นึกเรื่องการอนุรักษ์ให้ กับบุคคลทั่วไป ได้รับความสนใจจากมอแกน นักท่องเที่ยว และไกด์บริษัททัวร์ (รวมจำ�นวน 23 คน) โดยอาสา สมัครที่เข้าร่วมกิจกรรมทุกคนได้รับการอบรมให้ความรู้เรื่องชีววิทยาปะการัง การจำ�แนกปะการังเมีชีวิต ปะการังตาย รูปทรงปะการัง สัตว์อื่นๆ ที่เป็นตัวชี้วัดความสมบูรณ์ในแนวปะการัง และแนวทางการอนุร ักษ์ และเฝ้าระวังแนวปะการังก่อนการออกสำ�รวจร่วมกับอุทยานฯ ทุกครัง้ โดยผลการสำ�รวจสถานภาพปะการัง ที่ได้ถูกนำ�มาใช้วิเคราะห์ แลกเปลี่ยนกับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางดูแลปะการังที่เหมาะสม นอกจากนั้น อุทยานฯ ได้จัดแสดงผลการสำ�รวจสถานภาพแนวปะการังหลังเสร็จสิ้นการสำ�รวจทุกครั้ง รวม ถึงวิธีการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมของนักท่องเที่ยวขณะทำ�กิจกรรมในแนวปะการัง บริเวณอุทยานแห่งชาติหมู่ เกาะสุรินทร์ บริเวณอาคารนิทรรศการ อ่าวช่องขาด ให้แก่ผู้ที่สนใจหาความรู้อีกด้วย จากการสำ�รวจสถานภาพแนวปะการัง ระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนเมษายน พ.ศ.2554 พบว่าสถานภาพ แนวปะการังส่วนใหญ่ยังคงเสื่อมโทรมถึงเสื่อมโทรมมาก กล่าวคือมีอัตราส่วนของปะการังตายมากกว่าปะการัง มีชวี ติ มากกว่าสองเท่า ถึง สามเท่าตามลำ�ดับ องค์ประกอบหลักของแนวปะการังในแนวสำ�รวจ ส่วนใหญ่ประกอบ ด้วย ปะการังแข็งตาย และเศษปะการัง กลุ่มรูปทรงปะการังแข็งหลักที่พบทุกสถานี คือ ก้อน เคลือบ และเห็ด อย่างไรก็ตามระหว่างการสำ�รวจสามารถพบปะการังแข็งที่เกิดใหม่หลังเหตุการณ์ปะการังฟอกขาวที่ผ่านมา โดย ส่วนใหญ่พบปะการังกลุ่มเขากวางโคโลนีขนาดเล็ก (เส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 10 เซนติเมตร) ขึ้นกระจายทั่วไป บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ ในขณะที่อุณหภูมิผิวน้ำ�ทะเลเฉลี่ยอยู่ที่ 28.5 องศาเซลเซียส คุณภาพน้ำ�ทะเลเบื้องต้นไม่ พบสิ่งผิดปกติใดๆ ยกเว้นมีวัตถุลอยน้ำ�ที่มักพบในบริเวณที่อยู่ใกล้แหล่งชุมชน
2
ข้อเสนอแนะ
แนวทางการจัดการแนวปะการังสำ�หรับการท่องเที่ยวบริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ 1. เปิดให้มีการใช้ประโยชน์ในแนวปะการังบริเวณที่เหมาะสมกับแต่ละกิจกรรมที่ไม่สร้างความเสียหายเพิ่มเติม กับปะการัง โดยไม่เข้าไปดำ�น้ำ� จอดเรือ รับส่งนักท่องเที่ยว หรือ ทำ�กิจกรรมใดๆ บริเวณที่มีพบว่ามีการฟื้นตัว ของปะการัง โดยเฉพาะในกลุม่ ทีไ่ ม่ทนทานต่อการฟอกขาวและตายไปมาก เช่น ปะการังรูปทรงกิง่ ก้าน แผ่นโต๊ะ และบริเวณที่น้ำ�ตื้น น้อยกว่า 2 เมตร 2. จำ�กัดและควบคุมจำ�นวนนักท่องเที่ยวที่เหมาะสมในแต่ละจุดที่เปิดให้มีกิจกรรมท่องเที่ยว ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ ให้เกิดการใช้ประโยชน์ด้านนันทการที่เกินขีดความสามารถในการรองรับได้ของแต่ละพื้นที่ 3. ไม่เปิดใหม้ กี ารใชป้ ระโยชน์ใดๆ ในช่วง 6 เดือน (พฤศจิกายน ถึง เมษายน) ในบริเวณทีม่ กี ารฟืน้ ตัวของปะการัง และไม่ไดก้ �ำ หนดเป็นจุดดำ�น�้ำ เพือ่ ควบคุมปัจจัยแวดลอ้ มทีม่ ผี ลต่อการเจริญเติบโตของปะการังและเปิดโอกาสให้ ปะการังเจริญเติบโตได้อย่างเต็มที่ สมบูรณ์แข็งแรงพร้อมที่จะสืบพันธุ์เพื่อรักษาไว้เป็นแหล่งพันธุ์สำ�หรับแนว ปะการังที่เสียหายบริเวณอื่นๆ 4. จัดทำ�แนวทุน่ ร่องน�้ำ ลึกบริเวณร่องน�้ำ ช่องขาดสำ�หรับเรือสัญจร เพือ่ ป้องกันความเสียหายจากการกวนตะกอน และการกระแทกของใบพัดเรือและตัวเรือกับปะการังที่กำ�ลังฟื้นตัวและตัวอ่อนปะการังที่เพิ่งลงเกาะ เนื่องจาก เป็นบริเวณที่มีการฟื้นตัวของปะการังสูง มีการลงเกาะของตัวอ่อนปะการังเขากวางซึ่งมีความเปราะบางต่อสิ่ง รบกวนต่างๆ 5. เจ้าหน้าที่อุทยานฯ และบริษัทท่องเที่ยวต้องให้ความรู้เกี่ยวกับระบบนิเวศแนวปะการังและผลกระทบ รวมถึง ให้ค�ำ แนะนำ�และบอกวิธปี ฏิบตั ติ วั ทีถ่ กู ตอ้ งกับนักท่องเทีย่ วก่อนดำ�น�้ำ ทุกครัง้ และดูแลให้นกั ท่องเทีย่ วปฏิบตั ติ าม วิธีการดำ�น้ำ�อย่างอนุรักษ์ คือ สวมใส่เสื้อชูชีพ ไม่เหยียบ ยืน เตะหัก จับ เก็บปะการัง หรือ ให้อาหาร ไล่ต้อนสัตว์ อืน่ รวมทัง้ ไม่กวนตะกอนทีพ่ นื้ ทะเลขึน้ มาปกคลุมปะการังทุกครัง้ ทีท่ อ่ งเทีย่ วดำ�น�้ำ ในหมูเ่ กาะสุรนิ ทร์ โดยเฉพาะ จุดดำ�น้ำ� เกาะมังกร อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาดที่มีการฟื้นตัวของปะการังต่ำ�กว่าจุดอื่น 6. เจ้าหน้าที่อุทยานฯ และบริษัทท่องเที่ยวควรบอกเล่าสถานการณ์ ณ ปัจจุบันที่เกิดขึ้นจริงกับแนวปะการังกับ นักท่องเทีย่ วใหร้ บั ทราบก่อนตัดสินใจ เพือ่ นักท่องเทีย่ วจะไดร้ บั ทราบขอ้ มูลทีถ่ กู ตอ้ งและเตรียมความพรอ้ มก่อน มาท่องเที่ยว 7. แนวทางการประชาสัมพันธ์เพื่อการท่องเที่ยวดำ�น้ำ�ควรมุ่งเน้นให้ความรู้และปลูกฝังจิตสำ�นึกให้กับนักท่อง เทีย่ ว โดยการนำ�เทีย่ วทีใ่ หน้ กั ท่องเทีย่ วเห็นผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศต่อทรัพยากรในแนว ปะการังว่าเป็นอย่างไร และนักท่องเที่ยวจะมีส่วนร่วมได้อย่างไรที่จะช่วยแก้หรือบรรเทาปัญหาให้รุนแรงน้อยลง 8. จัดกิจกรรมสำ�รวจแนวปะการังด้วยวิธี Reef Watch ให้กับเจ้าหน้าที่บริษัทท่องเที่ยวและนักท่องเที่ยวที่ สนใจเพื่อให้เกิดบทบาทร่วมในการดูแลรักษาและเปิดโอกาสให้ได้รับทราบสถานการณ์ที่เกิดขึ้นต่อสถานภาพ ปะการังหมู่เกาะสุรินทร์ เป็นประจำ�อย่างต่อเนื่องโดยเจ้าที่อุทยานฯ เป็นผู้ให้ความรู้และอบรมนักท่องเที่ยว ก่อนปฏิบัติจริง 9. จัดหากิจกรรมสรา้ งสรรค์บนบกเพือ่ ทดแทนกิจกรรมดำ�น�้ำ ดูปะการังในกรณีทคี่ ลืน่ ลมแรง เรือไม่สามารถสัญจร ไปยังจุดดำ�น้ำ�ตื้นที่กำ�หนดไว้ได้ เช่น เดินเส้นทางศึกษาธรรมชาติ ชมนิทรรศการพระราชกรณียกิจสมเด็จพระ เทพรัตนราชสุดาฯ ชมวีดีทัศน์ สาธิตวิธีการจำ�แนกเต่าทะเล วิธีการฟื้นฟูแนวปะการัง จัดกิจกรรมทางน้ำ�ที่ไม่ รบกวนแนวปะการัง 10. ควบคุมปริมาณของเสียจากกิจกรรมต่างๆ และทำ�การบำ�บัดก่อนปล่อยลงสู่ธรรมชาติ
3
สารบัญ
Contents
บทสรุปผู้บริหาร 1
บทที่ 1 | สถานภาพแนวปะการัง 4 บทที่ 2 | ความหลากหลายของรูปทรงปะการัง 48 บทที่ 3 | เครือข่ายเฝ้าระวังแนวปะการัง 108 เอกสารอ้างอิง 112 ภาคผนวก 118
4
บทที่
1
สถานภาพแนวปะการัง
5
1.1ส ถานภาพแนวปะการัง การสำ�รวจสถานภาพแนวปะการังหมู่เกาะสุรินทร์ ในปี พ.ศ.2554 หลัง ปรากฏการณ์ฟอกขาว (เริ่มเมื่อปลายเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายน ปี พ.ศ.2553) ผ่ า นไป 8 เดื อ น โดยอุ ท ยานแห่ ง ชาติ ห มู่ เ กาะสุ ริ น ทร์ เริ่ ม ดำ � เนิ น การติ ด ตามการฟื้ น ตั ว ของปะการั ง และสิ่ ง มี ชี วิ ต อื่ น ๆ ในแนว ปะการังอีกครั้ง ด้วยวิธี Reef Watch ครั้งที่ 1 ในเดือนกุมภาพันธ์ และ ครั้งที่ 2 ในเดือนเมษายนบริเวณแนวปะการังเดิมที่เคยมีการสำ�รวจในปี พ.ศ.2552-2553 และแนวปะการั ง ใหม่ ที่ เ ปิ ด ให้ มี ก ารใช้ ป ระโยชน์ ใ น กิจกรรมท่องเที่ยวเพื่อวิเคราะห์สถานภาพของแนวปะการัง องค์ประกอบ ของแนวปะการัง ความหลากหลายของรูปทรงต่างๆ ของปะการังแข็ง และ ผลกระทบจากการใช้ประโยชน์ต่างๆ ในแนวปะการัง สถานภาพแนวปะการังล่าสุดเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ.2554 บริเวณหมู่ เกาะสุรินทร์ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก ที่ระดับความลึก ตั้งแต่ 2-9 เมตร อยู่ในสภาพเสื่อมโทรมมาก (เฉพาะอ่าวสับปะรด แนวปะการังอยู่ ในสภาพเสื่อมโทรม) องค์ประกอบหลักของแนวปะการังในแนวสำ�รวจ ประกอบด้วย ปะการังตาย ปะการังแข็ง และเศษปะการัง
ความเสี ย หายที่ พ บในแนว ปะการั ง สาเหตุ ห ลั ก เป็ น ผลก ร ะ ท บ จ า ก ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ ปะการังฟอกขาว ขยะในทะเล การเหยี ย บยื น และเตะหั ก ปะการั ง จากกิ จ กรรมท่ อ ง เที่ยว
t
หมู่เกาะสุรินทร์
6
แผนที่จุดสำ�รวจสถานภาพแนว ปะการัง บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ ด้วย วิธี Reef Watch p
7
1 เกาะสตอร์ค
แผนที่จุดสำ�รวจสถานภาพแนว ปะการัง บริเวณเกาะสตอร์ค ด้วย วิธี Reef Watch t
เกาะสตอร์ ค ตั ้ ง อยู ่ ท างด้ า นทิ ศ เหนื อ ของเกาะสุ ร ิ น ทร์ เ หนื อ มี แ นว ปะการั ง ขึ ้ น หนาแน่ น ทางทิ ศ ตะวั น ออกของเกาะ ความกว ้ า งประมาณ 100 เมตร ลั ก ษณะพื ้ น หน ้ า ตั ด ของแนวปะการั ง เป็ น แนวปะการั ง ที ่ ขึ ้ น กระจายเป็ น หย่ อ มๆ บนพื ้ น ราบที ่ ป ระกอบด้ ว ยทราย เริ ่ ม ต้ น ที ่ ความลึ ก ของน้ำ�ประมาณ 1.5 เมตร จากนั ้ น จึ ง เป็ น แนวปะการั ง ขึ ้ น หนาแน่ น จนค่ อ ยๆ ลาดชั น ถึ ง แนวทราย แนวปะการั ง สิ ้ น สุ ด ที ่ ค วาม ลึ ก ประมาณ 20 เมตร (คณะวนศาสตร์ , 2548)
8
สถานภาพแนวปะการังในแนวสำ�รวจ บริเวณพื้นราบและบริเวณลาดชัน ของแนวปะการัง (Reef flat, Reef slope) ที ่ ร ะดั บความลึ ก 3-5 เมตร มี อ ั ต ราส่ ว นปะการั ง มี ชี ว ิ ต และปะการั ง ตาย เท่ า กั บ 1 : 4 ในเดื อ น เมษายน จั ด อยู่ในสถานภาพเสื่อมโทรมมาก องค์ประกอบของแนวปะการังในแนวสำ�รวจประกอบด้วย ปะการังตาย ปะการั ง แข็ ง เศษปะการั ง ดอกไม้ ท ะเล ดอกไม ้ ท ะเลเล็ ก พรมทะเล ทราย หิ น สาหร่ า ย ปะการั ง อ่ อ น และกั ล ปั ง หา (สั ด ส่ ว นดั ง แสดงใน กราฟด้า นล่ าง)
แนวปะการังเกาะสตอร์คถูกใช้ประโยชน์ในกิจกรรมท่องเที่ยว และเป็น แหล่งวางไข่และอาหารที ่ส ำ�คัญของเต่าทะเล ความเสียหายของแนวปะ การังเกาะสตอร์คเป็นผลกระทบจากปรากฎการณ์ปะการังฟอกขาว การ กระแทกจากเรื อ จมเมื่ อ ปี พ .ศ.2553 และขยะทะเลจากการทำ � ประมง เช่ น อวน ซั ้ ง
9
2 อ่าวจาก
แผนที่จุดสำ�รวจสถานภาพแนว ปะการัง บริเวณอ่าวจาก ด้วยวิธี Reef Watch t
อ่ า วจากอยู ่ ท างด้ า นทิ ศ ตะวั น ออกของเกาะสุ ร ิ น ทร์ เ หนื อ มี แ นว ปะการั ง ขึ ้ น หนาแน่ น ความกว ้ า งประมาณ 200 เมตร ลั ก ษณะพื ้ น หน้ า ตั ด ของแนวปะการั ง เป็ น แนวปะการั ง บนพื ้ น ราบ เริ ่ ม ต ้ น ที ่ เ มตร ที ่ 40 ที ่ ค วามลึ ก ของน ้ ำ � ประมาณ 3 เมตร และค่ อ ยๆ ลาดชั น ลง แนว ปะการั ง สิ ้ น สุ ด ที ่ ค วามลึ ก ประมาณ 15 เมตร (คณะวนศาสตร์ , 2548)
10
สถานภาพแนวปะการังในแนวสำ�รวจ บริเวณพื ้ นราบของแนวปะการั ง (Reef flat) ที่ร ะดับความลึก 3-5 เมตร มีอ ั ต ราส่ วนปะการั ง มี ช ี วิ ต และ ปะการั ง ตาย เท่ า กั บ 1 : 3 ในเดื อ นเมษายน จั ด อยู ่ ใ นสถานภาพ เสื ่ อมโทรมมาก องค์ประกอบของแนวปะการังในแนวสำ�รวจ ประกอบด้วย ปะการังตาย ปะการั ง แข็ ง เศษปะการัง ดอกไม้ท ะเล ฟองน้ำ� ทราย หิ น และสาหร่ า ย (สั ด ส่ ว นดั ง แสดงในกราฟด้านล่าง)
แนวปะการั ง อ่ า วจากถู ก ปิ ด เป็ น เขตฟื้ น ฟู ส ภาพหลั ง ปรากฏการณ์ ปะการั ง ฟอกขาว ความเสี ย หายของแนวปะการั ง ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ผลกระ ทบจากปรากฎการณ์ ป ะการั ง ฟอกขาว ขยะทะเลทั ่ ว ไป จากการทำ � ประมง เช่ น เชือก ตะกร้ า และการลัก ลอบจั บสั ตว์ น้ำ�
11
3 อ่าวไทรเอน
แผนที่จุดสำ�รวจสถานภาพแนว ปะการัง บริเวณอ่าวไทรเอน ด้วย วิธี Reef Watch t
อ่ า วไทรเอนอยู ่ ท างด้ า นทิ ศ ตะวั น ออกของเกาะสุ ร ิ น ทร์ เ หนื อ มี แ นว ปะการั ง ขึ ้ น หนาแน่ น ลั ก ษณะพื ้ น หน้ า ตั ด ของแนวปะการั ง ค่ อ ยๆ ลาด เอี ย งจากฝั ่ ง ออกมา
12
สถานภาพแนวปะการั ง ในแนวสำ � รวจ บริ เ วณไหล่ ข องแนวปะการั ง (Reef edge) ที่ร ะดับความลึก 3-5 เมตร มี อ ั ต ราส่ วนปะการั ง มี ช ี วิ ต และปะการั ง ตาย เท่ากับ 1 : 4 ในเดือนเมษายน จั ดอยู ่ ในสถานภาพ เสื ่ อมโทรมมาก องค์ประกอบของแนวปะการังในแนวสำ�รวจ ประกอบด้วย ปะการังตาย ปะการั ง แข็ ง เศษปะการัง และดอกไม้ ท ะเล (สั ด ส่ วนดั ง แสดงในกราฟ ด้ า นล่ า ง)
แนวปะการังอ่าวไทรเอนถูกใช้ประโยชน์เป็นจุดจอดพักเรือประมง และ เป็นแหล่งวางไข่และอาหารที่สำ�คัญของเต่าทะเล ความเสียหายของแนว ปะการั ง อ่ า วไทรเอนเป็ น ผลกระทบจากปรากฎการณ์ ป ะการั ง ฟอกขาว การกระแทกจากทุ ่นซีเมนต์ขนาดใหญ่สำ�หรับถ่วงซั ้งของเรือประมงเมื ่อ มี ค ลื ่ น รุ น แรง ขยะทะเลทั่วไปและจากเรือ ประมง เช่ น อวน
13
4 อ่าวแม่ยายเหนือด้านใน
แผนที่จุดสำ�รวจสถานภาพแนว ปะการัง บริเวณแหลมแม่ยายเหนือ ด้านใน ด้วยวิธี Reef Watch t
อ่ า วแม่ ย ายเหนื อ ด ้ า นในอยู ่ ท างด ้ า นทิ ศ ตะวั น ออกของเกาะสุ ร ิ น ทร์ เหนื อ มี แ นวปะการั ง ขึ ้ น หนาแน่ น ความกว้ า งประมาณ 100 เมตร ลั ก ษณะพื ้ น หน้ า ตั ด ของแนวปะการั ง บริ เวณริ ม ฝั ่ ง มี ล ั ก ษณะเป็ น แนว ปะการั ง บนพื ้ น ราบขึ ้ น กระจายอยู ่ บ นทราย เริ ่ ม ที ่ ค วามลึ ก ของน้ำ� ประมาณ 2 เมตร และหั ก ชั น ลงเมื ่ อ ห่ า งจากฝั ่ ง ออกมาประมาณ 50 เมตร แนวปะการั ง สิ ้ น สุ ด ที ่ ค วามลึ ก ประมาณ 20 เมตร (คณะ วนศาสตร์ , 2548)
14
สถานภาพแนวปะการั ง ในแนวสำ � รวจ บริ เวณพื้ น ราบและบริ เวณไหล่ ของแนวปะการัง (Reef flat and Reef edge) ที ่ ร ะดั บความลึ ก 3-5 เมตร มี อ ั ต ราส่วนปะการังมีชีวิตและปะการั ง ตาย เท่ า กั บ 1 : 3 ใน เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ และ 1 : 4 ในเดื อ นเมษายน จั ด อยู่ ใ นสถานภาพ เสื ่ อมโทรมมาก องค์ประกอบของแนวปะการังในแนวสำ�รวจ ประกอบด้วย ปะการังตาย ปะการั ง แข็ ง ดอกไม้ท ะเล พรมทะเล ฟองน้ำ� เศษปะการั ง ทราย และ สาหร่าย โดยในเดือนกุมภาพันธ์พบสาหร่ายในปริมาณที่มากกว่าเดือน เมษายน (สั ดส่วนดังแสดงในกราฟด้ านล่ า ง)
แนวปะการั ง อ่ า วแม่ ย ายเหนื อ ด้ า นในถู ก ใช้ ป ระโยชน์ เ ป็ น จุ ด จอดพั ก เรื อ ประมง แนวปะการังอ่าวแม่ยายด ้ านในถูกปิ ด เป็ นเขตฟื ้ นฟู ส ภาพ ในการ สำ � รวจไม่ พ บความเสี ย หายใดๆ ที ่ เ ป็ น ผลกระทบจากกิ จ กรรมท่ อ งเที่ ย ว ความเสี ย หายของแนวปะการังอ่าวแม่ยายเหนื อ ด้ า นในส่ วนใหญ่ เ ป็ นผล กระทบจากปรากฎการณ์ ป ะการั ง ฟอกขาว และขยะทะเลจากการทำ � ประมง
15
5 อ่าวแม่ยายใต้ด้านนอก
แผนที่จุดสำ�รวจสถานภาพแนว ปะการัง บริเวณอ่าวแม่ยายใต้ด้าน นอก ด้วยวิธี Reef Watch t
อ่ า วแม่ ย ายใต ้ ด ้ า นนอกอยู ่ ท างด ้ า นทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ข องเกาะ สุ ร ิ น ทร์ เ หนื อ มี แ นวปะการั ง ขึ ้ น หนาแน่ น บริ เวณพื ้ น ลาดชั น ลั ก ษณะ พื ้ น หน้ า ตั ด ของแนวปะการั ง บริ เวณริ ม ฝั ่ ง มี ล ั ก ษณะเป็ น แนวปะการั ง บนพื ้ น ราบ ขึ ้ น กระจายอยู ่ บ นทราย และค่ อ ยๆ ลาดชั น ก่ อ นจะหั ก ชั น ลงสู ่ พ ื ้ น ทรายที ่ ม ี แ นวปะการั ง ขึ ้ น กระจายเป็ น หย่ อ มๆ
16
สถานภาพแนวปะการังในแนวสำ�รวจ บริเวณพื ้ นราบ และบริ เวณไหล่ ของแนวปะการัง (Reef flat, Reef edge) ที ่ ร ะดั บความลึ ก 2-5 เมตร มี อ ั ต ราส่ ว นปะการั ง มี ชี ว ิ ต และปะการั ง ตาย เท่ า กั บ 1 : 1 ในเดื อ น กุ มภาพั น ธ์ และ 1 : 3 ในเดือนเมษายน สถานภาพเปลี ่ ย นจากสมบู ร ณ์ ปานกลางเป็ นเสื่อมโทรมมาก องค์ประกอบของแนวปะการังในแนวสำ�รวจ ประกอบด้วย ปะการังตาย ปะการั ง แข็ ง ดอกไม้ ท ะเล กัลปังหา เศษปะการั ง ทราย สาหร่ า ย และ หิ น (สั ด ส่ ว นดังแสดงในกราฟด้านล่าง)
แนวปะการังอ่าวแม่ยายใต ้ด ้านนอกถูกใช ้ประโยชน์ในกิจกรรมท่องเที ่ยว และเป็นจุดจอดพักเรือประมง แต่เนื่องจากผลการสำ�รวจเมื ่อปี พ.ศ.2553 ระบุว่าปะการังได ้รับผลกระทบจากการฟอกขาวน ้อยเมื ่อเทียบกับบริเวณ ใกล้ เ คี ย งจึ ง มี แ นวโน้ ม สามารถเป็ น แหล่ ง พั น ธุ ์ ใ ห้ ก ั บ แนวปะการั ง ที ่ เ สี ย หายจากการฟอกขาวในบริเวณอื่นๆ แนวปะการังอ่าวแม่ยายใต้ด้านนอก จึ ง ถู ก ปิ ด เป็ นเขตฟื้นฟูสภาพชั่วคราว คือ จะเปิ ดให้ ม ี ก ารใช้ ประโยชน์ ใน กิ จ กรรมท่ อ งเที่ยวเฉพาะเมื่อคลื่นลมทะเลแรง ในการสำ�รวจพบความเสียหายส่วนใหญ่เป็นผลกระทบจากปรากฏการณ์ ปะการั ง ฟอกขาว และจากกิจกรรมท่องเที ่ ย ว เช่ น การเหยี ย บยื น หรื อ เตะหั ก ปะการัง
17
6 อ่าวกระทิง
แผนที่จุดสำ�รวจสถานภาพแนว ปะการัง บริเวณอ่าวกระทิง ด้วยวิธี Reef Watch t
อ่ า วกระทิ ง อยู ่ ท างด ้ า นทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งใต ้ ข องเกาะสุ ร ิ น ทร์ เ หนื อ มี แนวปะการั ง ขึ ้นหนาแน่น ลัก ษณะพื ้นหน ้า ตั ดของแนวปะการั ง บริ เวณ ริ ม ฝั ่ ง มี ล ั ก ษณะเป็ น แนวปะการั ง บนพื ้ น ราบออกมาจากฝั ่ ง และค่ อ ยๆ ลาดชั น ลง
18
สถานภาพแนวปะการังในแนวสำ�รวจ บริเวณพื ้ นราบของแนวปะการั ง (Reef flat) ที่ร ะดับความลึก 3-5 เมตร มีอ ั ต ราส่ วนปะการั ง มี ช ี วิ ต และ ปะการั ง ตาย เท่ากับ 1 : 6 ในเดือนกุมภาพั นธ์ และ 1 : 9 ในเดื อ น เมษายน จั ด อยู่ในสถานภาพเสื่อมโทรมมาก โดยองค์ ประกอบของแนว ปะการังในแนวสำ�รวจ ประกอบด้วย ปะการังตาย เศษปะการัง ปะการังแข็ ง สาหร่ า ย ดอกไม้ท ะเล ดอกไม ้ท ะเลเล็ ก ฟองน้ำ� ทราย ปะการั ง อ่ อ น และกั ล ปั ง หา โดยเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ พ บปะการั ง อ่ อ นในปริ ม าณที ่ มากกว่ า เดื อนเมษายน (สัดส่วนดังแสดงในกราฟด้ า นล่ า ง)
แนวปะการังอ่าวกระทิงถูกใช้ประโยชน์ในกิจกรรมท่องเที่ยว และเป็นจุด จอดพั ก เรื อประมง ในการสำ�รวจไม่พ บความเสี ย หายใดๆ ที ่ เ ป็ นผลกระทบจากกิจกรรมท่องเที่ยว ความเสียหายของแนวปะการังอ่าวกระทิงส่วน ใหญ่ เ ป็ น ผลกระทบจากปรากฎการณ์ ป ะการั ง ฟอกขาว ขยะทะเลทั่ ว ไป และจากเรื อประมง เช่น อวน
19
7 อ่าวไม้งาม
แผนที่จุดสำ�รวจสถานภาพแนว ปะการัง บริเวณอ่าวไม้งาม ด้วยวิธี Reef Watch t
อ่ า วไม ้ ง ามตั ้ ง อยู ่ ท างทิ ศ ตะวั น ตกของเกาะสุ ร ิ น ทร์ เ หนื อ มี ค วามกว ้ า ง ของแนวปะการั ง ประมาณ 120 เมตร เริ ่ ม ตั ้ ง แต่ บ ริ เวณชายฝั ่ ง ซึ ่ ง เป็ น พื ้ น ทราย ที ่ ค วามลึ ก ของน้ำ� ประมาณ 1 เมตร และค่ อ ยๆ ลาด ชั น ลง ปะการั ง ริ ม ฝั ่ ง ขึ ้ น กระจายเป็ น หย่ อ มๆ บนพื ้ น ทราย ปะการั ง ขึ ้ น หนาแน่ น บริ เวณพื ้ น ราบและลาดชั น แนวทรายด ้ า นนอกมี ป ะการั ง ขึ ้ น กระจายเป็ น หย่ อ มๆ แนวปะการั ง สิ ้ น สุ ด ที ่ ค วามลึ ก ประมาณ 14 เมตร (คณะวนศาสร์ , 2548)
20
สถานภาพแนวปะการังในแนวสำ�รวจ บริเวณพื ้ นราบของแนวปะการั ง (Reef flat) ที่ร ะดับความลึก 3-5 เมตร มีอ ั ต ราส่ วนปะการั ง มี ช ี วิ ต และ ปะการั ง ตาย เท่ า กั บ 1 : 7 ในเดื อ นเมษายน จั ด อยู ่ ใ นสถานภาพ เสื ่ อมโทรมมาก องค์ประกอบของแนวปะการังในแนวสำ�รวจ ประกอบด้วยปะการังตาย ปะการั ง แข็ ง เศษปะการั ง ดอกไม้ ท ะเล ฟองน้ำ� ทราย และสาหร่ า ย (สั ด ส่ ว นดั ง แสดงในกราฟด้านล่าง)
แนวปะการั ง อ่ า วไม ้ ง ามถู ก ใช้ ป ระโยชน์ ใ นกิ จ กรรมท่ อ งเที ่ ย ว ความเสี ย หายของแนวปะการังอ่าวไม ้งามเป็นผลกระทบจากปรากฎการณ์ปะการัง ฟอกขาว กิ จ กรรมท่องเที่ยว เช่น เหยียบยื นบนปะการั ง และขยะทะเล เช่ น ขวดแก้ว ถุงพลาสติก จากการทำ�ประมง เช่ น อวน เชื อ ก
21
8 อ่าวปอ
แผนที่จุดสำ�รวจสถานภาพแนว ปะการัง บริเวณอ่าวปอ ด้วยวิธี Reef Watch t
อ่ า วปออยู ่ ท างด้ า นทิ ศ ตะวั น ตกของเกาะสุ ร ิ น ทร์ เ หนื อ มี แ นวปะการั ง ขึ ้ น กระจายเป็ น หย่ อ มๆ บนพื ้ น ทราย ลั ก ษณะพื ้ น หน ้ า ตั ด ของแนว ปะการั ง บริ เวณริ ม ฝั ่ ง มี ล ั ก ษณะเป็ น แนวปะการั ง บนพื ้ น ราบออกมา จากฝั ่ ง และค่ อ ยๆ ลาดชั น ลง
22
สถานภาพแนวปะการั ง ในแนวสำ � รวจ บริ เวณพื้ น ราบและบริ เวณไหล่ ของแนวปะการัง (Reef flat, Reef slope) ที ่ระดับความลึก 4-10 เมตร มี อ ั ต ราส่ ว นปะการั ง มี ชี วิ ต และปะการั ง ตาย เท่ า กั บ 1 : 13 ในเดื อ น กุมภาพันธ์ และ 1 : 11 ในเดือนเมษายน จัดอยู่ในสถานภาพเสื่อมโทรม มาก องค์ประกอบของแนวปะการังในแนวสำ�รวจ ประกอบด้วย ปะการังตาย เศษปะการั ง ปะการังแข็ง ทราย ดอกไม ้ ทะเล ดอกไม้ ท ะเลเล็ ก พรมทะเล และฟองน้ำ� โดยเดือนกุมภาพันธ์พ บปะการั ง อ่ อ น และสาหร่ า ย ในปริ มาณที ่ ม ากกว่าเดือนเมษายน (สัดส่ว นดั ง แสดงในกราฟด้ า นล่ า ง)
แนวปะการังอ่าวปออยู ่ในเขตฟื ้นฟูสภาพแนวปะการัง ความเสียหายของ แนวปะการั ง อ่ า วปอเป็ น ผลกระทบจากปรากฎการณ์ ป ะการั ง ฟอกขาว คลื ่ น ใต้น้ำ� และขยะทะเลจากการทำ�ประมง เช่ น อวน ตาข่ า ย สายเบ็ ด
23
9 อ่าวทรายแดง
แผนที่จุดสำ�รวจสถานภาพแนว ปะการัง บริเวณอ่าวทรายแดง ด้วย วิธี Reef Watch t
อ่ า วทรายแดงอยู ่ ท างด ้ า นทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งเหนื อ ของเกาะสุ ร ิ น ทร์ เหนื อ มี แ นวปะการั ง ขึ ้ น กระจายเป็ น หย่ อ มๆ บนพื ้ น ทราย ลั ก ษณะ พื ้ น หน ้ า ตั ด ของแนวปะการั ง ริ ม ฝั ่ ง มี ล ั ก ษณะเป็ น แนวปะการั ง บนพื ้ น ราบออกมาจากฝั ่ ง และค่ อ ยๆ ลาดชั น ลง
24
สถานภาพแนวปะการังในแนวสำ�รวจ บริเวณพื ้ นราบของแนวปะการั ง (Reef flat) ที่ร ะดับความลึก 7 เมตร มีอ ั ต ราส่ วนปะการั ง มี ช ี วิ ต และ ปะการั ง ตาย เท่ า กั บ 1 : 17 ในเดื อ นเมษายน จั ด อยู ่ ใ นสถานภาพ เสื ่ อมโทรมมาก องค์ประกอบของแนวปะการังในแนวสำ�รวจ ประกอบด้วย ปะการังตาย ้ำ และปะการังอ่อน เศษปะการัง ทราย ปะการังแข็ง ดอกไม้ทะเล ฟองน� (สั ด ส่ ว นดั ง แสดงในกราฟด้านล่าง)
แนวปะการั ง อ่ า วทรายแดงอยู่ ใ นเขตฟื้ น ฟู ส ภาพแนวปะการั ง ความเสี ย หายของแนวปะการั ง อ่ า วทรายแดงเป็ น ผลกระทบจากปรากฎการณ์ ปะการั ง ฟอกขาว ขยะทะเลทั่วไป และจากเรื อ ประมง เช่ น กระป๋ อ ง ถุ ง กระสอบ
25
10 อ่าวสุเทพน้อย
แผนที่จุดสำ�รวจสถานภาพแนว ปะการัง บริเวณอ่าวสุเทพนอ้ ย ด้วย วิธี Reef Watch t
อ่ า วสุ เ ทพน้ อ ยอยู ่ ท างด้ า นทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งเหนื อ ของเกาะสุ ร ิ น ทร์ ใ ต้ มี แ นวปะการั ง ขึ ้ น หนาแน่ น ลั ก ษณะพื ้ น หน ้ า ตั ด ของแนวปะการั ง ขึ ้ น กระจายเป็ น หย่ อ มๆ อยู ่ บ นพื ้ น ราบ ประกอบด ้ ว ย ทราย และค่ อ ยๆ ลาดเอี ย ง ก่ อ นจะชั น ลง แนวปะการั ง ขึ ้ น หนาแน่ น โดยเฉพาะบริ เวณ ลาดชั น
26
สถานภาพแนวปะการังในแนวสำ�รวจบริเวณพื้นราบ และบริเวณลาดชัน ของแนวปะการัง (Reef flat, Reef slope) ที ่ ร ะดั บความลึ ก 3-5 เมตร มี อ ั ต ราส่ ว นปะการั ง มี ชี ว ิ ต และปะการั ง ตาย เท่ า กั บ 1 : 3 ในเดื อ น กุมภาพันธ์ และ 1 : 15 ในเดือนเมษายน จัดอยู่ในสถานภาพเสื่อมโทรม มาก องค์ประกอบของแนวปะการังในแนวสำ�รวจ ประกอบด้วย ปะการังตาย ทราย เศษปะการัง ปะการังแข็ง ดอกไม ้ท ะเล ฟองน้ำ� สาหร่ า ย และ ปะการั ง อ่ อ น โดยเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ พ บสาหร่ า ยในปริ ม าณที ่ ม ากกว่ า เดื อ นเมษายน (สัดส่วนดังแสดงในกราฟด้ า นล่ า ง)
แนวปะการั ง อ่ า วสุ เ ทพน้ อ ยถู ก ใช้ ป ระโยชน์ ใ นกิ จ กรรมท่ อ งเที่ ย ว ในการ สำ � รวจไม่ พ บความเสี ย หายใดๆ ที ่ เ ป็ น ผลกระทบจากกิ จ กรรมท่ อ งเที่ ย ว ความเสียหายของแนวปะการังเกาะมังกรเป็นผลกระทบจากปรากฎการณ์ ปะการั ง ฟอกขาว และขยะทะเลจากการทำ� ประมง เช่ น อวนขนาดใหญ่ เชื อ ก ตาข่ า ย
27
11 อ่าวบอน
แผนที่จุดสำ�รวจสถานภาพแนว ปะการัง บริเวณอ่าวบอน ด้วยวิธี Reef Watch t
อ่ า วบอนอยู ่ ท างด้ า นทิ ศ ตะวั น ออกของเกาะสุ ร ิ น ทร์ ใ ต้ ม ี แ นวปะการั ง เดี ย วกั บ แนวปะการั ง ของอ่ า วเต่ า แนวปะการั ง ขึ ้ น หนาแน่ น บริ เวณ ด ้ า นนอกอ่ า ว เมื ่ อ เข ้ า มาด ้ า นในอ่ า วแนวปะการั ง จะขึ ้ น กระจายเป็ น หย่ อ มๆ บนพื ้ น ทราย ลั ก ษณะพื ้ น หน้ า ตั ด ของแนวปะการั ง เป็ น พื ้ น ราบก่ อ นจะค่ อ ยๆลาดเอี ย งเล็ ก น ้ อ ย และหั ก ชั น ลง
28
สถานภาพแนวปะการังในแนวสำ�รวจ บริเวณพื ้ นราบ บริ เวณไหล่ และ บริ เวณลาดชันของแนวปะการัง (Reef flat, Reef edge and Reef edge) ที่ ร ะดั บ ความลึ ก 3-6 เมตร มี อ ั ต ราส่ ว นปะการั ง มี ช ี ว ิ ต และ ปะการั ง ตาย เท่ากับ 1 : 2 ในเดือนกุมภาพั นธ์ และ 1 : 3 ในเดื อ น เมษายน สถานภาพเปลี่ยนจากเสื่อมโทรมเป็ นเสื ่ อ มโทรมมาก องค์ประกอบของแนวปะการังในแนวสำ�รวจ ประกอบด้วย ปะการังตาย ปะการั ง แข็ ง ทราย เศษปะการั ง ดอกไม ้ ท ะเล ฟองน้ำ� พรมทะเล สาหร่ า ย หิ น กั ล ปั ง หา โดยเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ พ บสาหร่ า ยในปริ ม าณที ่ มากกว่ า เดื อนเมษายน (สัดส่วนดังแสดงในกราฟด้ า นล่ า ง)
แนวปะการังอ่าวบอนอยู ่ใกล้แหล่งชุมชนมอแกน ความเสียหายของแนว ปะการังส่วนใหญ่เป็นผลกระทบจากปรากฎการณ์ปะการังฟอกขาว การ กระแทกจากเรื อ และขยะทะเลจากชุ ม ชนและการทำ � ประมง เช่ น ถุ ง พลาสติ ก สายเบ็ด เชือก อวน
29
12 อ่าวสับปะรด
แผนที่จุดสำ�รวจสถานภาพแนว ปะการัง บริเวณอ่าวสับปะรด ด้วย วิธี Reef Watch t
อ่ า วสั บ ปะรดตั ้ ง อยู ่ ด ้ า นทิ ศ ตะวั น ออกของเกาะสุ ร ิ น ทร์ ใ ต้ มี แ นว ปะการั ง เดี ย วกั บ แนวปะการั ง ของอ่ า วเต่ า แนวปะการั ง หนาแน่ น ขึ ้ น กระจายเป็ น หย่ อ มๆ บนพื ้ น ทราย ลั ก ษณะพื ้ น หน้ า ตั ด ของ แนวปะการั ง เป็ น พื ้ น ราบก่ อ นจะค่ อ ยๆ ลาดเอี ย งเล็ ก น้ อ ย และ หั ก ลาดชั น ลง
30
สถานภาพแนวปะการังในแนวสำ�รวจ บริเวณพื ้ นราบ และบริ เวณไหล่ (Reef flat, Reef edge) ที่ ร ะดั บ ความลึ ก 3-5 เมตร มี อั ต ราส่ ว น ปะการั ง มี ช ี วิตและปะการังตาย เท่ากับ 1 : 2 ในเดื อ นเมษายน จั ด อยู ่ ในสถานภาพเสื่อมโทรม องค์ประกอบของแนวปะการังในแนวสำ�รวจ ประกอบด้วย ปะการังตาย ปะการั ง แข็ ง ทราย เศษปะการัง หิน ปะการั ง อ่ อ น กั ล ปั ง หา ดอกไม้ ทะเล ฟองน้ำ� (สัดส่วนดังแสดงในกราฟด้านล่ า ง)
แนวปะการั ง อ่ า วสั บ ปะรดถู ก ใช ้ ป ระโยชน์ ใ นกิ จ กรรมท่ อ งเที ่ ย ว ความ เสี ย หายของแนวปะการั ง ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ผลกระทบจากปรากฎการณ์ ปะการั ง ฟอกขาว และขยะทะเลจากการทำ� ประมง เช่ น อวน
31
13 อ่าวเต่าใต้
แผนที่จุดสำ�รวจสถานภาพแนว ปะการัง บริเวณอ่าวเต่าใต้ ด้วยวิธี Reef Watch t
อ่ า วเต่ า ใต้ อ ยู ่ ท างด ้ า นทิ ศ ตะวั น ออกของเกาะสุ ร ิ น ทร์ ใ ต้ มี แ นว ปะการั ง ขึ ้ น หนาแน่ น โดยเฉพาะบริ เวณลาดชั น ความกว ้ า ง ประมาณ 80 เมตร ลั ก ษณะพื ้ น หน ้ า ตั ด ของแนวปะการั ง เป็ น พื ้ น ราบ มี แ นว ปะการั ง ริ ม ฝั ่ ง ขึ ้ น กระจายอยู ่ บ นพื ้ น ทราย และขึ ้ น หนาแน่ น บริ เวณ ลาดชั น แนวปะการั ง เริ ่ ม ต ้ น ที ่ ค วามลึ ก ของน้ำ� ประมาณ 1 เมตร สิ ้ น สุ ด ที ่ ค วามลึ ก ประมาณ 18 เมตร (คณะวนศาสร์ , 2548)
32
สถานภาพแนวปะการังในแนวสำ�รวจ บริเวณพื ้ นราบ บริ เวณไหล่ และ บริ เวณลาดชันของแนวปะการัง (Reef flat, Reef edge and Reef slope) ที่ ร ะดั บ ความลึ ก 3-6 เมตร มี อั ต ราส่ ว นปะการั ง มี ช ี วิ ต และ ปะการั ง ตาย เท่ากับ 1 : 3 ในเดือนกุมภาพั นธ์ และ 1 : 6 ในเดื อ น เมษายน จั ด อยู่ในสถานภาพเสื่อมโทรมมาก องค์ประกอบของแนวปะการังในแนวสำ�รวจ ประกอบด้วย ปะการังตาย เศษปะการั ง ปะการั ง แข็ ง ดอกไม้ ท ะเล ฟองน้ำ� สาหร่ า ย และทราย (สั ด ส่ ว นดั ง แสดงในกราฟด้านล่าง)
แนวปะการั ง อ่ า วเต่ า ใต้ ถ ู ก ปิ ด เป็ น เขตฟื ้ น ฟู ส ภาพหลั ง ปรากฏการณ์ ปะการังฟอกขาว ความเสียหายของแนวปะการังอ่าวเต่าใต้เป็นผลกระทบจากปรากฎการณ์ปะการังฟอกขาว และขยะทะเล เช่ น กระป๋ อ ง ถุ ง พลาสติ ก จากการทำ�ประมง เช่น สายเอ็น ลอบ แผ่ นไม้ จากซากเรื อ จม
33
14 แหลมอ่าวผักกาด
แผนที่จุดสำ�รวจสถานภาพแนว ปะการัง บริเวณแหลมอ่าวผักกาด ด้วยวิธี Reef Watch t
อ่ า วผั ก กาดอยู ่ ท างด ้ า นทิ ศ ใต ้ ข องเกาะสุ ร ิ น ทร์ ใ ต้ มี แ นวปะการั ง ขึ ้ น หนาแน่ น ความกว ้ า ง ประมาณ 80 เมตร ลั ก ษณะพื ้ น หน้ า ตั ด ของแนว ปะการั ง ริ ม ฝั ่ ง ขึ ้ น อยู ่ บ นพื ้ น ทรายถั ด ออกมาจากแนวโขดหิ น เริ ่ ม ต้ น ที ่ ค วามลึ ก ของน้ำ�ประมาณ 1 เมตร และค่ อ ยๆ ลาดเอี ย งก่ อ นจะชั น ลงเป็ น หน้ า ผาสู ง แนวปะการั ง สิ ้ น สุ ด ที ่ ค วามลึ ก ประมาณ 16 เมตร (คณะวนศาสตร์ , 2548)
34
สถานภาพแนวปะการังในแนวสำ�รวจ บริเวณพื ้ นราบ และบริ เวณไหล่ ของแนวปะการัง (Reef flat, Reef edge) ที ่ ร ะดั บความลึ ก 5-9 เมตร มี อ ั ต ราส่ ว นปะการั ง มี ชี ว ิ ต และปะการั ง ตาย เท่ า กั บ 1 : 4 ในเดื อ น กุมภาพันธ์ และ 1 : 17 ในเดือนเมษายน จัดอยู่ในสถานภาพเสื่อมโทรม มาก องค์ประกอบของแนวปะการังในแนวสำ�รวจ ประกอบด้วยปะการังตาย เศษปะการั ง ปะการังแข็ง สาหร่าย ดอกไม้ ท ะเลฟองน้ำ� และทราย โดย เดือนกุมภาพันธ์พบสาหร่ายในปริมาณที ่มากกว่าเดือนเมษายน (สัดส่วน ดั ง แสดงในกราฟด้านล่าง)
แนวปะการังแหลมอ่าวผักกาดถูกใช้ประโยชน์ในกิจกรรมท่องเที ่ยว ใน การสำ � รวจไม่ พ บความเสี ย หายใดๆ ที ่ เ ป็ น ผลกระทบจากกิ จ กรรมท่ อ ง เที่ ย ว ความเสี ย หายของแนวปะการั ง แหลมอ่ า วผั ก กาดเป็ น ผลกระทบ จากปรากฎการณ์ ป ะการั ง ฟอกขาว และขยะทะเลจากการทำ � ประมง เช่ น อวน เชื อ ก
35
15 หินกอง
แผนที่จุดสำ�รวจสถานภาพแนว ปะการัง บริเวณหินกอง ด้วยวิธี Reef Watch t
หิ น กองตั ้ ง อยู ่ ท างด้ า นทิ ศ ตะวั น ออกของเกาะสุ ร ิ น ทร์ ใ ต้ มี แ นว ปะการั ง ขึ ้ น หนาแน่ น แนวปะการั ง ทิ ศ เหนื อ มี ค วามกว้ า ง ประมาณ 100 เมตร ลั ก ษณะพื ้ น หน ้ า ตั ด ของแนวปะการั ง ชายฝั ่ ง ขึ ้ น อยู ่ บ นโขด หิ น เริ ่ ม ที ่ ค วามลึ ก ของน้ำ� ประมาณ 50 เซนติ เ มตร จากนั ้ น จึ ง เป็ น แนวปะการั ง ขึ ้ น หนาแน่ น และค่ อ ยๆ ลาดชั น ถึ ง แนวทราย มี ป ะการั ง ขึ ้ น กระจายเป็ น หย่ อ มๆ แนวปะการั ง สิ ้ น สุ ด ที ่ ค วามลึ ก ประมาณ 12 เมตร (คณะวนศาสร์ , 2548) แนวปะการั ง ทิ ศ ใต้ ม ี ป ะการั ง ขึ ้ น กระจายเป็ น หย่ อ มๆ บนพื ้ น ราบ ประกอบด้ ว ย ทราย และกองหิ น และค่ อ ยๆ ลาดชั น ถึ ง ที ่ ล ึ ก
36
สถานภาพแนวปะการังในแนวสำ�รวจ บริเวณพื ้ นราบของแนวปะการั ง (Reef flat) ที่ร ะดับความลึก 3-6 เมตร มีอ ั ต ราส่ วนปะการั ง มี ช ี วิ ต และ ปะการั ง ตาย เท่ากับ 1 : 7 ในเดือนกุมภาพั นธ์ และ 1 : 8 ในเดื อ น เมษายน จั ด อยู่ในสถานภาพเสื่อมโทรมมาก องค์ประกอบของแนวปะการังในแนวสำ�รวจ ประกอบด้วย ปะการังตาย ปะการั ง แข็ ง เศษปะการัง ทราย ดอกไม้ท ะเลเล็ ก ดอกไม้ ท ะเล ฟองน้ำ� สาหร่ า ย หิ น ปะการั ง อ่ อ น และกั ล ปั ง หา โดยเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ พ บ สาหร่ า ยในปริ ม าณที่ ม ากกว่ า เดื อ นเมษายน (สั ด ส่ ว นดั ง แสดงในกราฟ ด้ า นล่ า ง)
หินกองถูกใช้ประโยชน์ในกิจกรรมท่องเที่ยว ในการสำ�รวจพบความเสีย หายที่เป็นผลกระทบจากกิจกรรมท่องเที่ยว เช่น การเหยียบย ่ ำ�ปะการัง ในช่ ว งน้ำ�ลงบริ เวณน้ำ�ตื ้ น ความเสี ย หายของแนวปะการั ง หิ น กองเป็ น ผลกระทบจากปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว และขยะทะเล เช่ น ขวด แก้ว ถุ ง พลาสติก จากการทำ�ประมง เช่น อวน
37
16 เกาะมังกร
แผนที่จุดสำ�รวจสถานภาพแนว ปะการัง บริเวณเกาะมังกร ด้วยวิธี Reef Watch t
เกาะมั ง กรตั ้ ง อยู ่ ท างด ้ า นทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งเหนื อ ของเกาะสุ ร ิ น ทร์ ใ ต้ มี แ นวปะการั ง ขึ ้ น หนาแน่ น ทางทิ ศ ตะวั น ออกของเกาะ ความกว ้ า ง ประมาณ 170 เมตร ลั ก ษณะพื ้ น หน ้ า ตั ด ของแนวปะการั ง ค่ อ ยๆ ลาด เอี ย งจากฝั ่ ง ออกมา เริ ่ ม ที ่ ค วามลึ ก ของน้ำ�ประมาณ 1 เมตร สิ ้ น สุ ด ที ่ ความลึ ก ประมาณ 15 เมตร (คณะวนศาสร์ , 2548)
38
สถานภาพแนวปะการังในแนวสำ�รวจ บริเวณพื ้ นราบ และบริ เวณไหล่ ของแนวปะการั ง (Reef flat and Reef edge) ที ่ ร ะดั บ ความลึ ก 4 เมตร มี อ ั ต ราส่วนปะการังมีชีวิตและปะการั ง ตาย เท่ า กั บ 1 : 14 ใน เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ และ 1 : 10 ในเดื อ นเมษายน จั ด อยู ่ ใ นสถานภาพ เสื ่ อมโทรมมาก องค์ประกอบของแนวปะการังในแนวสำ�รวจประกอบด้วย ปะการังตาย เศษปะการั ง ทราย ดอกไม้ ท ะเล พรมทะเล ดอกไม้ ท ะเลเล็ ก ปะการั ง แข็ง สาหร่าย หิน และปะการังอ่อน โดยในเดือนกุมภาพันธ์พบสาหร่าย ในปริ มาณที ่ ม ากกว่าเดือนเมษายน (สัดส่ว นดั ง แสดงในกราฟด้ า นล่ า ง)
แนวปะการั ง เกาะมั ง กรถู ก ใช้ ป ระโยชน์ เ ป็ น แหล่ ง วางไข่ และอาหารที่ สำ �คั ญ ของเต่าทะเล แนวปะการังเกาะมังกรถู ก ปิ ด เป็ นเขตฟื ้ นฟู ส ภาพ หลั ง ปรากฏการณ์ ป ะการั ง ฟอกขาว ในการสำ � รวจไม่ พ บความเสี ย หาย ใดๆ ที ่ เ ป็ น ผลกระทบจากกิ จ กรรมท่ อ งเที ่ ย ว ความเสี ย หายของแนว ปะการั ง เกาะมั ง กรเป็ น ผลกระทบจากปรากฎการณ์ ป ะการั ง ฟอกขาว การกระแทกจากเรือจมในแนวปะการังน�้ำ ตื ้น และขยะทะเลจากการทำ� ประมง เช่ น อวน สายเบ็ด เชือก ตาข่าย ถุ ง กระสอบ
39
17 เกาะตอรินลา
แผนที่จุดสำ�รวจสถานภาพแนว ปะการัง บริเวณเกาะตอรินลา ด้วย วิธี Reef Watch t
เกาะตอริ น ลาอยู ่ ท างด ้ า นทิ ศ ใต ้ ข องเกาะสุ ร ิ น ทร์ ใ ต้ แนวปะการั ง ทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ มี ป ะการั ง ขึ ้ น หนาแน่ น ความกว ้ า ง ประมาณ 100 เมตร ลั ก ษณะพื ้ น หน ้ า ตั ด ของแนวปะการั ง ริ ม ฝั ่ ง ขึ ้ น อยู ่ บ นพื ้ น ราบ เริ ่ ม ที ่ ค วามลึ ก ของน้ำ� ประมาณ 1 เมตร และค่ อ ยๆ ลาดเอี ย ง ้ำ ประมาณ 16 เมตร ก่ อ นจะชั น ลง แนวปะการังสิ ้นสุดที ่ความลึ ก ของน� (คณะวนศาสร์ , 2548) แนวปะการั ง ทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ลั ก ษณะพื ้ น หน ้ า ตั ด ของแนว ปะการั ง ริ มฝั ่งขึ ้นกระจายเป็นหย่อมๆ บนพื ้ นราบ ประกอบด้ วย ทราย และแผ่ น หิ น และค่ อ ยๆ ลาดเอี ย งก่ อ นจะชั น ลงเป็ น หน ้ า ผาสู ง
40
สถานภาพแนวปะการั ง ในแนวสำ � รวจ ฝั่ ง ทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ บริเวณพื ้นราบของแนวปะการัง (Reef flat) ที ่ระดับความลึก 2-8 เมตร มี อ ั ต ราส่ ว นปะการั ง มี ชี วิ ต และปะการั ง ตาย เท่ า กั บ 1 : 12 ในเดื อ น กุ มภาพั น ธ์ และ 1 : 6 ในเดือนเมษายน จัด อยู ่ ในสถานภาพเสื ่ อ มโทรม มาก องค์ประกอบของแนวปะการังในแนวสำ�รวจ ประกอบด้วยปะการังตาย ปะการั ง อ่ อ น ปะการั ง แข็ ง เศษปะการั ง สาหร่ า ย พรมทะเล ฟองน้ำ� ดอกไม้ ท ะเล ดอกไม้ ท ะเลเล็ ก และทราย โดยเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ พ บ สาหร่ า ยในปริ ม าณที่ ม ากกว่ า เดื อ นเมษายน (สั ด ส่ ว นดั ง แสดงในกราฟ ด้ า นล่ า ง)
41
สถานภาพแนวปะการังในแนวสำ�รวจ ฝั่งทิ ศ ตะวั นออกเฉี ย งใต้ บริ เวณ พื ้ น ราบของแนวปะการัง (Reef flat) ที่ร ะดั บความลึ ก 5-7 เมตร มี อั ต ราส่ ว นปะการั ง มี ชี วิ ต และปะการั ง ตาย เท่ า กั บ 1 : 6 ในเดื อ น กุมภาพันธ์ และ 1 : 13 ในเดือนเมษายน จัดอยู่ในสถานภาพเสื่อมโทรม มาก องค์ประกอบของแนวปะการังในแนวสำ�รวจ ประกอบด้วยปะการังตาย เศษปะการัง ปะการังแข็ง ทราย ดอกไม้ทะเล ฟองน ้ำ� สาหร่าย กัลปังหา และปะการังอ่อน โดยเดือนกุมภาพันธ์พบสาหร่ายในปริมาณที ่มากกว่า เดื อ นเมษายน (สัดส่วนดังแสดงในกราฟด้ า นล่ า ง)
แนวปะการังเกาะตอรินลาเป็นแหล่งวางไข่และอาหารที ่ส ำ �คัญของเต่า ทะเล แนวปะการั ง เกาะตอริ น ลาถู ก ปิ ด เป็ น เขตฟื ้ น ฟู ส ภาพหลั ง ปรากฏการณ์ ป ะการั ง ฟอกขาว ความเสี ย หายของแนวปะการั ง เกาะ ตอริ น ลาเป็ น ผลกระทบจากปรากฎการณ์ ป ะการั ง ฟอกขาว และขยะ ทะเล เช่ น กระป๋อง ถุงพลาสติก จากการทำ� ประมง เช่ น อวน เชื อ ก
42
สถานภาพแนวปะการั ง บริ เ วณหมู่ เ กาะสุ ริ น ทร์ ส่ ว นใหญ่ ม ี ส ภาพ เสื ่ อมโทรมมาก ยกเว้นบริเวณอ่าวสับปะรดที ่ ม ี ส ภาพเสื ่ อ มโทรม
แผนที่ แ สดงสถานภาพ แนวปะการัง บริเวณหมู่เกาะ สุรินทร์ สำ�รวจด้วยวิธี Reef Watch เดือนเมษายน ปีพ.ศ. 2554 p
43
ตารางจุดสำ�รวจและสถานภาพแนวปะการังบริเวณหมูเ่ กาะสุรนิ ทร์เดือนกุมภาพันธ์ และเมษายน ปี พ.ศ. 2554 q
สถานที่
เกาะสตอร์ค อ่าวจาก อ่าวไทรเอน แหลมแม่ยาย (เหนือด้านใน) แหลมแม่ยาย (ใต้ด้านนอก) อ่าวกระทิง อ่าวไม้งาม อ่าวปอ อ่าวทรายแดง อ่าวสุเทพน้อย อ่าวบอน อ่าวสับปะรด
อัตราส่วน ปะการังมีชวี ติ ต่อ ปะการังตาย พื้นที่ สำ�รวจ เขตสำ�รวจ (สถานภาพแนวปะการัง) วิธีการสำ�รวจ (ตร.ม.) ละติจดู (°N) ลองติจดู (°E) ก.พ. 2554 เม.ย. 2554 องศาพิกัดสำ�รวจ (WGS1984)
9.476340 97.906150 9.475290 9.454892 9.453810 9.439110 9.440030 9.424280 9.425100 9.414290 9.412980 9.430355 9.429731 9.438238 9.438066 9.444330 9.443590 9.454250 9.454540 9.421640 9.422420 9.406740 9.406420 9.402297 9.401333
97.906250 97.896625 97.897750 97.902470 97.90216 97.897670 97.896450 97.877980 97.880230 97.856994 97.858422 97.853833 97.855197 97.857090 97.857690 97.861530 97.860370 97.854320 97.854710 97.873050 97.873340 97.875542 97.876370
580
RF, RS
-
1:4
Reef Watch
850
RF
-
1:3
Reef Watch
535
RE
-
1:4
Reef Watch
800
RF, RE
1:3
1:4
Reef Watch
1,450
RF, RE
1:1
1:3
Reef Watch
855
RF
1:6
1:9
Reef Watch
755
RF
-
1:7
Reef Watch
525
RF
1 : 13
1 : 11
Reef Watch
655
RF
-
1 : 17
Reef Watch
475
RF
1:3
1 : 15
Reef Watch
250
RF, RE, RS
1:2
1:3
Reef Watch
700
RF, RE
-
1:2
Reef Watch
หมายเหตุ : เขตสำ�รวจ - RE คือ Reef Edge (ไหล่ปะการัง) - RF คือ Reef Flat (แนวราบ) - RS คือ Reef Slpe (แนวลาดชัน) - SR คือ Submerge Rock (กองหินใต้น้ำ�) เกณฑ์การจัดสถานภาพแนวปะการัง ขึ้นกับ อัตราส่วนปริมาณปกคลุมพื้นที่ของ ปะการังมีชีวิต ต่อ ปะการังตาย ดังนี้ ¢ สมบูรณ์ดีมาก คือ ≥ 3 : 1 ¢ สมบูรณ์ดี คือ ≥ 2 : 1 ¢ สมบูรณ์ปานกลาง คือ 1 : 1 ¢ เสื่อมโทรม คือ 1 : ≥ 2 ¢ เสื่อมโทรมมาก คือ 1 : ≥ 3
44 q
ตารางจุดสำ�รวจและสถานภาพแนวปะการังบริเวณหมูเ่ กาะสุรนิ ทร์เดือนกุมภาพันธ์ และเมษายน พ.ศ.2554 (ต่อ)
สถานที่
อ่าวเต่าใต้ แหลมอ่าวผักกาด หินกอง (เหนือ) หินกอง (ใต้) เกาะมังกร เกาะตอรินลา (ตะวันออกเฉียงเหนือ) เกาะตอรินลา (ตะวันออกเฉียงใต้)
อัตราส่วน ปะการังมีชวี ติ ต่อ ปะการังตาย พื้นที่ สำ�รวจ เขตสำ�รวจ (สถานภาพแนวปะการัง) วิธีการสำ�รวจ (ตร.ม.) ละติจดู (°N) ลองติจดู (°E) ก.พ. 2554 เม.ย. 2554 องศาพิกัดสำ�รวจ (WGS1984)
9.387590 9.386800 9.378450 9.378410 9.396090 9.395900 9.395583 9.394737 9.421090 9.422920 9.371670 9.372930 9.367300 9.366990
97.882480 97.882680 97.873740 97.875240 97.895960 97.894860 97.894734 97.896000 97.834430 97.835610 97.870270 97.870410 97.868317 97.86885
450
RF, RE
1:3
1:6
Reef Watch
825
RF, RE
1:4
1 : 17
Reef Watch
RF, SR
1:7
1:8
Reef Watch
1,210
RF, RS
1 : 14
1 : 10
Reef Watch
700
RF
1 : 12
1:6
Reef Watch
340
RF
1:6
1 : 13
Reef Watch
995 1,025
หมายเหตุ : เขตสำ�รวจ - RE คือ Reef Edge (ไหล่ปะการัง) - RF คือ Reef Flat (แนวราบ) - RS คือ Reef Slpe (แนวลาดชัน) - SR คือ Submerge Rock (กองหินใต้น้ำ�) เกณฑ์การจัดสถานภาพแนวปะการัง ขึ้นกับ อัตราส่วนปริมาณปกคลุมพื้นที่ของ ปะการังมีชีวิต ต่อ ปะการังตาย ดังนี้ ¢ สมบูรณ์ดีมาก คือ ≥ 3 : 1 ¢ สมบูรณ์ดี คือ ≥ 2 : 1 ¢ สมบูรณ์ปานกลาง คือ 1 : 1 ¢ เสื่อมโทรม คือ 1 : ≥ 2 ¢ เสื่อมโทรมมาก คือ 1 : ≥ 3
45
ร้อยละการปกคลุมพื้นที่
เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
ร้อยละการปกคลุมพื้นที่
เดือนเมษายน พ.ศ. 2554
กราฟเปรี ย บเที ย บร้ อ ยละการ ปกคลุ ม พื ้ น ที ่ แ นวปะการั ง แต่ ล ะ จุ ด สำ � รวจช่ ว งเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ และเดื อ นเมษายน พ.ศ. 2554 p
องค์ ป ระกอบที ่ ป กคลุ ม พื ้ น ที ่ แ นวปะการั ง บริ เ วณหมู ่ เ กาะ สุ ร ิ น ทร์ ส่ ว นใหญ่ คื อ ปะการั ง ตาย และเศษปะการั ง ซึ ่ ง มี ร ้ อ ยละการปกคลุ ม โดยประมาณรวมกั น มากกว่ า ร ้ อ ยละ 50 ของพื ้ น ที ่
46
กราฟเปรียบเทียบปริมาณ น้ำ�ฝนและอุณหภูมิผิวน้ำ�ทะ ลบริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ ปี พ.ศ.2554 p
1.2 ปริ ม าณน้ำ� ฝนและคุณภาพน้ำ � ทะเลเบื ้ อ งต้ น ปริมาณน้ำ�ฝนรวมบริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ ปี พ.ศ.2554 เท่ากับ 2,700 มิลลิเมตร (เก็บข้อมูล ตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน 2553 ถึง วันที่ 1 กันยายน 2554) เพิม่ มากขึน้ กว่าเมือ่ ปี พ.ศ.2553 ทีม่ ปี ริมาณน�้ำ ฝนรวม เพียงแค่ 1,700 มิลลิเมตร อุณหภูมิผิวนำ�้ ทะเลระหว่างเดือนมีนาคมถึงเมษายน ปี พ.ศ. 2554 เฉลี่ยตำ�่ กว่า 30.1 องศาเซลเซียส (จุดวิกฤตของปะการัง) มีช่วงเวลาที่อุณหภูมิผิวน้ำ� ทะเลมากกว่า 30.1 องศาเซลเซียส ไม่เกิน 1 เดือน และฤดูมรสุมตะวันตกเฉียง ใต้เริ่มต้นเร็วตั้งแต่ช่วงต้นเดือนพฤษภาคมทำ�ให้ปะการังหมู่เกาะสุรินทร์ไม่ได้ รับความเสียหายเพิ่มเติม คุณภาพน้ำ�ทะเลเบื้องต้นอื่น ได้แก่ ความเป็นกรดเป็นด่าง ความเค็ม ความ โปร่งใส และสภาพผิวน้ำ�ทะเล มีค่าอยู่ในช่วง “เกณฑ์มาตรฐานของคุณภาพ น้ำ�ทะเลเพื่อการอนุรักษ์แหล่งปะการัง โดยคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่ง ชาติ พ.ศ.2549” ยกเว้นบางสถานีที่พบวัตถุลอยอยู่ที่ผิวน้ำ� โดยเฉพาะ บริเวณที่เป็นแหล่งชุมชน เช่น อ่าวบอน (รายละเอียดดังตาราง u)
-
-
-
พ.ค.54
-
-
8.2
-
-
-
8.0
8.3
29.5
-
-
-
>5.0
-
-
28.0
28.0
>5.0 >5.0 >5.0
-
-
8.1
-
-
-
-
-
8.1
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
36.0 38.0 37.0
-
-
8.1
-
29.5
-
35.5
35.0
35.0
8.0
8.1
8.2
29.5
29.5
-
-
35.0
8.0
-
8.2
29.5
30.0
30.0
28.0
28.0
35.0
-
35.0
-
-
8.2
29.5
-
29.8
29.0
28.0
แหลมอ่าวผักกาด
>4.0 >6.0
>6.0
หินกอง
เกาะมังกร 28.0
-
เกาะตอรินลา NE -
-
-
-
-
-
-
-
-
>6.5
-
36.0
35.0
-
8.2
8.2
29.5 29.5
-
29.5 28.5
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
30.5
28.0 28.0 28.0 28.0
-
เกาะตอรินลา SE
>9.0 >6.0 >4.0 >8.0 >8.0
10.0 >6.0 >5.0* >6.0*
-
-
35.0
-
-
8.2
-
-
28.8
28.0
29.0
-
3.0*
-
-
35.0
-
-
8.2
29.5
-
-
-
28.0
อ่าวช่องขาด (หน้าหาด)
-
-
-
-
8.0
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
35.0 36.0
-
-
-
-
-
-
27.5 27.0
-
-
อ่าวไม้งาม (หน้าหาด)
เม.ย.54 ทุกสถานีทท่ ี �ำ การวัดคุณภาพน� ำ ้ มีน�ำ ้ ใส ไม่มกี ลิน่ วัตถุลอยน�ำ้ และคราบน�ำ ้ มัน ยกเวน้ ทีอ่ า่ วช่องขาด แหลมแม่ยายเหนือดา้ นใน เกาะสตอร์ค เกาะมังกร และเกาะตอรินลาตะวันออกเฉียงใต้ พบขยะลอยอยูท่ ผ่ ี วิ น�ำ้ บา้ ง พ.ค.54 ทุกสถานีที่ทำ�การวัดคุณภาพน้ำ� มีน้ำ�ใส ไม่มีกลิ่น วัตถุลอยน�ำ ้ และคราบน�ำ ้ มัน ยกเว้นที่แหลมแม่ยายใต้ด้านนอก และอ่าวบอนใหญ่ (หน้าหาด) พบขยะลอยอยู่ที่ผิวน�ำ ้ บ้าง
-
-
-
หาดทรายขาวเล็ก -
ร่องนำ�้ ช่องขาด
- >6.0* - >5.0* >12.0 ้ มีน้ำ�ใส ไม่มีกลิ่น วัตถุลอยน�ำ ้ และคราบน�ำ ้ มัน ยกเว้นที่อ่าวเต่าใต้ และอ่าวบอน พบขยะลอยอยู่ที่ผิวน�ำ้ บ้าง พ.ย.53 ทุกสถานีที่ทำ�การวัดคุณภาพนำ� ก.พ.54 ทุกสถานีที่ทำ�การวัดคุณภาพน้ำ� มีน้ำ�ใส ไม่มีกลิ่น วัตถุลอยน�ำ ้ และคราบนน�ำ้ มัน ยกเว้นที่อ่าวเต่าใต้ อ่าวบอน และเกาะตอรินลาตะวันออกเฉียงใต้ พบขยะลอยอยู่ที่ผิวน�ำ ้ บ้าง
-
-
-
-
36.0
-
-
-
-
-
-
พ.ค.54
-
-
35.0 35.0
-
-
8.1
-
-
-
35.0
-
หาดทรายแดง -
หาดทรายขาว
30.3 28.3 28.5 28.9 28.0 27.5 28.5
28.0 28.0
-
-
-
-
35.0
8.0
-
8.2
29.8
30.0
29.5
29.0
28.0 28.0
ก.พ.54
-
-
35.0
-
-
8.1
29.5
29.5
29.8
28.0
แหลมแม่ยายใต้ด้านนอก 29.0
อ่าวกระทิง
-
-
-
35.0
-
-
8.4
29.5
-
29.0
-
แหลมแม่ยายเหนือด้านใน 29.0
อ่าวปอ
พ.ย.53 >5.0 >6.0* >6.0* 10.0* >16.0 >5.0 >4.0
-
-
อ่าวไทรเอน
29.0
อ่าวไม้งาม
หมายเหตุ : ความโปร่งใสนำ�้ ภายใต้สภาพภูมิอากาศ * แดดเล็กน้อยหรือฟ้าครึ้ม , ไม่มี * แดดจัด
สภาพผิวน้ำ�
ความโปร่งใสน้ำ�
พ.ค.54
ลึก 1 เมตร (ppt) เม.ย.54 36.0
ความเค็ม ผิวน้ำ� พ.ย.53 35.0 35.0
8.2
เม.ย.54
ลึก 1 เมตร
8.2
พ.ย.53
pH ผิวน้ำ�
ส.ค.54 29.5
พ.ค.54
เม.ย.54 28.5 29.0
-
ก.พ.54
(องศาเซลเซียส)
เกาะสตอร์ค
พ.ย.53 28.0 28.0
ช่วง เวลา
อ่าวจาก
อุณหภูมิผิวน้ำ�
พารามิเตอร์ อ่าวสุเทพน้อย
สถานที่
อ่าวบอน
ตารางแสดงคุณภาพน้ำ�บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ ระหว่างเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2553 ถึง สิงหาคม พ.ศ.2554
อ่าวเต่าใต้
q
อ่าวบอนใหญ่ (หน้าหาด) -
-
-
35.5
-
-
7.9
-
-
-
30.0
-
-
-
47
48
บทที่
2
ความหลากหลาย ของรู ป ทรงปะการั ง
49
การสำ�รวจสถานภาพแนวปะการังบริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ด้วยวิธี Reef Watch เพื่อประเมินร้อยละการปกคลุมพื้นที่ และสำ�รวจความหลากหลาย ของรูปทรงปะการังแข็งมีชีวิ ตในแต่ละจุดสำ�รวจ โดยแบ่งประเภทรูปทรง ปะการังเป็น 7 รูปทรง ดังนี้ 1) ปะการังรูปทรงก้อน (Massive Coral) มีลักษณะเป็นก้อนตันแข็ง เช่น ปะการังโขด 2) ปะการังรูปทรงกิ่งก้อน (Submassive Coral) มีลักษณะเป็นกิ่งหนา แท่งหนา เช่น ปะการังลายกลีบดอกไม้ 3) ปะการังรูปทรงกิ่งสั้นกิ่งยาว (Branching Coral) มีลักษณะแตกแขนง เป็นกิ่งก้าน เช่น ปะการังเขากวาง 4) ปะการังรูปทรงแผ่นโต๊ะ (Tabulate Coral) มีลักษณะเป็นกิ่งสั้นสาน กันแผ่ขยายออกในแนวราบคล้ายโต๊ะ เช่น ปะการังเขากวางโต๊ะ 5) ปะการังรูปทรงแผ่น (Folise Coral) แบ่งย่อยได้เป็น รูปทรงแผ่นตั้ง เช่น ปะการังไฟ ปะการังสีน้ำ�เงิน และรูปทรงแผ่นใบไม้ มีลักษณะแผ่น แบน เช่น ปะการังจาน 6) ปะการังรูปทรงเคลือบ (Encrusting Coral) มีลักษณะขึ้นเคลือบเป็น ผิวบาง คลุมไปตามพื้นผิวที่ปกคลุมอยู่ เช่น ปะการังลายลูกฟูก 7) ปะการังรูปทรงเห็ด (Mushroom Coral) มีลักษณะคล้ายเห็ด เป็น ปะการังเดี่ยว เช่น ปะการังเห็ด ปะการังบูมเมอแรง
รูปทรงปะการังที่หายไป ส่วน วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ติ ด ตามการเปลี่ ย นแปลงองค์ ป ระกอบของรู ป ทรง ใหญ่ อ ยู่ ใ นกลุ่ ม ที่ เ ป็ น องค์ ปะการังในแต่ละพื้นที่ ประจำ�ปี พ.ศ. 2554 ประกอบหลัก หรือ กลุ่มที่พบ ผลการสำ�รวจพบว่าความหลากหลายของรูปทรงปะการังแข็งมีชีวิตมีความ ไม่ง่ายในแต่ละพื้นที่ คล้ายคลึงกันระหว่างสองเดือน โดยกลุ่มรูปทรงปะการังแข็งที่พบทั่วไป คือ ก้อน เคลือบ เห็ด แต่เมื ่อนำ�ผลการสำ�รวจเปรียบเทียบกับผลการสำ�รวจเมื ่อปี พ.ศ. 2553 (ก่ อ นปรากฏการณ์ ป ะการั ง ฟอกขาวจากอุ ณ หภู ม ิ น ้ำ � ทะเลที ่ ส ู ง ขึ ้ น และ ยาวนานกว่ า ปกติ ) เพื่ อ ติ ด ตามการเปลี่ ย นแปลงพบว่ า รู ป ทรงปะการั ง ที ่ พ บมี ค วามหลากหลายลดลง หรื อ บางรู ป ทรงหายไปจากพื ้ น ที ่ โดย เฉพาะกลุ ่ ม รู ป ทรงปะการั ง ที่ มี ค วามอ่ อ นไหวและเปราะบางต่ อ การ เปลี่ยนแปลง เช่น กิ่งสั้นกิ่งยาวที่ส่วนใหญ่พบแต่โคโลนีขนาดเล็ก (3-10 เซนติ เมตร) กิ่งก ้ อน หรือ กลุ่มรูปทรงปะการั ง ที ่ ม ี ความสามารถในการ ฟื ้ น ตั ว ช้า เช่ น แผ่นโต๊ะ
สภาพแนวปะการั ง อดี ต ประกอบด้วยปะการังหลายรูป ทรง แต่ ปั จ จุ บั น ความหลาก หลายลดลง p
50
1 เกาะสตอร์ค กลุ่มรูปทรงปะการังแข็งที่พบ คือ ก้อน กิ่งสั้นกิ่งยาว (ขนาดโคโลนี น้อย กว่า10 เซนติเมตร) แผ่นตั้ง แผ่นใบไม้ เคลือบ และเห็ด กลุ่มที่หายไป จากแนวปะการังเมื่อเปรียบเทียบกับปี พ.ศ.2553 คือ กลุ่มที่เคยพบทั่วไป เช่น กิ่งก้อน และแผ่นโต๊ะ รูปทรงก้อน
Diploastrea heliopora
Goniopora sp.
Porites sp.
Porites sp.
Physogyra lichtensteini
51
รูปทรงกิ่งสั้นกิ่งยาว
Acropora sp. รูปทรงแผ่นตั้ง
Heliopora coerulea รูปทรงแผ่นใบไม้
Millepora tenella
52
รูปทรงเคลือบ
Pachyseris rugosa
Goniopora sp.
อื่นๆ : สาหร่าย
อื่นๆ : กัลปังหา, ฟองนำ�้
กัลปังหา
ฟองน้ำ�
53
อื่นๆ : พรมทะเล
54
2 อ่าวจาก กลุ่มรูปทรงปะการังแข็งที่พบ คือ ก้อน กิ่งสั้นกิ่งยาว (ขนาดโคโลนี น้อย กว่า10 เซนติเมตร) แผ่นตั้ง แผ่นใบไม้ เคลือบ และเห็ด กลุ่มที่หายไป จากแนวปะการังเมื่อเปรียบเทียบกับปี พ.ศ.2553 คือ กลุ่มที่เคยพบทั่วไป เช่น กิ่งก้อน และแผ่นโต๊ะ รูปทรงก้อน
Diploastrea heliopora
Goniopora sp.
Porites sp.
55
รูปทรงกิ่งสั้นกิ่งยาว
Acropora sp. รูปทรงแผ่นตั้ง
Heliopora coerulea รูปทรงเคลือบ
อื่นๆ : สาหร่าย
Acropora sp.
56
3 อ่าวไทรเอน กลุ่มรูปทรงปะการังแข็งที่พบ คือ ก้อน กิ่งก้อน กิ่งสั้นกิ่งยาว (ขนาดโคโลนี มากกว่า 3 เซนติเมตร) เคลือบ และเห็ด กลุ่มที่หายไปจากแนวปะการังเมื่อ เปรียบเทียบกับปี พ.ศ.2553 คือ กลุ่มที่เคยพบเด่นที่สุด เช่น กิ่งก้อน พบง่าย เช่น แผ่นโต๊ะ และพบไม่ง่าย เช่น แผ่นใบไม้ รูปทรงก้อน
Porites sp.
รูปทรงกิ่งก้อน
Porites sp.
57
รูปทรงกิ่งสั้นกิ่งยาว
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
รูปทรงเคลือบ
อื่นๆ : สาหร่าย
Acropora sp.
58
อื่นๆ : ฟองนำ�้
59
4 อ่าวแม่ยายเหนือด้านใน กลุ่มรูปทรงปะการังแข็งที่พบ คือ ก้อน กิ่งสั้นกิ่งยาว (ขนาดโคโลนี น้อย กว่า 10 เซนติเมตร) แผ่นตั้ง และเห็ด กลุ่มที่หายไปจากแนวปะการังเมื่อ เปรียบเทียบกับปี พ.ศ.2553 คือ กลุ่มที่เคยพบได้มาก เช่น กิ่งก้อน พบ ง่าย เช่น แผ่นโต๊ะ รูปทรงก้อน
Diploastrea heliopora
Porites sp.
Pavona sp.
Porites sp.
60
รูปทรงกิ่งก้อน
รูปทรงกิ่งสั้นกิ่งยาว
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora formosa
61
รูปทรงแผ่นตั้ง
Millepora sp. รูปทรงแผ่นใบไม้
รูปทรงเห็ด
อื่นๆ : ฟองนำ�้ , ปะการังอ่อน
ฟองน้ำ�
ปะการังอ่อน
62
อื่นๆ : สาหร่าย
63
5 อ่าวแม่ยายใต้ด้านนอก กลุ่มรูปทรงปะการังแข็งที่พบ คือ ก้อน กิ่งก้อน กิ่งสั้นกิ่งยาว (ขนาดโคโลนี มากกว่า 3 เซนติเมตร) แผ่นใบไม้ และเห็ด กลุ่มที่หายไปจากแนวปะการัง เมื่อเปรียบเทียบกับปี พ.ศ.2553 คือ กลุ่มที่เคยพบง่าย เช่น กิ่งก้อน แผ่น โต๊ะ และเคลือบ รูปทรงก้อน
Diploastrea heliopora
Porites sp.
64
รูปทรงกิ่งก้อน
Pocillopora sp. รูปทรงกิ่งสั้นกิ่งยาว
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora divaricata
Acropora divaricata
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
65
รูปทรงแผ่นใบไม้
ดอกไม้ทะเลเล็ก, ดอกไม้ทะเล
ดอกไม้ทะเลเล็ก
ดอกไม้ทะเล
66
6 อ่าวกระทิง กลุ่มรูปทรงปะการังแข็งที่พบ คือ ก้อน กิ่งก้อน กิ่งสั้นกิ่งยาว (ขนาดโคโลนี น้อยกว่า 10 เซนติเมตร) แผ่นใบไม้ เคลือบ และเห็ด กลุ่มที่หายไปจากแนว ปะการังเมื่อเปรียบเทียบกับปี พ.ศ.2553 คือ กลุ่มที่เคยพบง่าย เช่น แผ่นโต๊ะ รูปทรงก้อน
Goniopora sp.
Porites sp.
Porites sp.
67
รูปทรงกิ่งสั้นกิ่งยาว
Acropora sp. รูปทรงแผ่นตั้ง
Heliopora coerulea
Acropora sp.
68
รูปทรงเคลือบ
รูปทรงเห็ด
อื่นๆ : สาหร่าย
อื่นๆ : ปะการังอ่อน
69
7 อ่าวไม้งาม กลุ่มรูปทรงปะการังแข็งที่พบ คือ ก้อน กิ่งก้อน กิ่งสั้นกิ่งยาว (ขนาดโคโลนี มากกว่า 3 เซนติเมตร) แผ่นใบไม้ เคลือบ และเห็ด กลุ่มที่หายไปจากแนว ปะการัง คือ แผ่นโต๊ะ และแผ่นตั้ง รูปทรงก้อน
Goniopora sp.
Porites sp.
Porites sp.
70
รูปทรงกิ่งก้อน
Pocillopora sp.
Pocillopora eydouxi
รูปทรงกิ่งสั้นกิ่งยาว
Acropora sp.
Acropora sp. รูปทรงแผ่นใบไม้
Acropora sp.
Acropora sp.
71
8 อ่าวปอ กลุ่มรูปทรงปะการังแข็งที่พบ คือ ก้อน กิ่งก้อน กิ่งสั้นกิ่งยาว (ขนาดโค โลนี มากกว่า 3 เซนติเมตร) เคลือบ และเห็ด กลุ่มที่หายไปจากแนว ปะการัง เมื่อเปรียบเทียบกับปี พ.ศ.2553 คือ กลุ่มที่เคยพบง่าย เช่น แผ่นโต๊ะ และแผ่นใบไม้ รูปทรงก้อน
Diploastrea heliopora
Favia matthai
Porites sp.
Porites nigrescens
Goniopora sp.
72
รูปทรงกิ่งก้อน
Pocillopora sp.
Pocillopora eydouxi
รูปทรงกิ่งสั้นกิ่งยาว
Acropora sp. รูปทรงเคลือบ
อื่นๆ : ฟองนำ�้
Acropora sp.
Acropora sp.
73
9 อ่าวทรายแดง กลุม่ รูปทรงปะการังแข็งทีพ่ บ คือ กอ้ น กิง่ สัน้ กิง่ ยาว (ขนาดโคโลนี นอ้ ยกว่า10 เซนติเมตร) แผ่นใบไม้ เคลือบ และเห็ด กลุ่มที่หายไปจากแนวปะการังเมื่อ เปรียบเทียบกับปี พ.ศ.2553 คือ กลุ่มที่เคยพบทั่วไป เช่น กิ่งก้อน แผ่นโต๊ะ รูปทรงก้อน
Porites sp. รูปทรงกิ่งสั้นกิ่งยาว
Acropora sp. รูปทรงแผ่นใบไม้
74
10 อ่าวสุเทพน้อย กลุ่มรูปทรงปะการังแข็งที่พบ คือ ก้อน และกิ่งสั้นกิ่งยาว (ขนาดโคโลนี ไม่ เกิน10 เซนติเมตร) และเห็ด กลุ่มที่หายไปจากแนวปะการังเมื่อเปรียบเทียบ กับปี พ.ศ.2553 คือ กลุ่มที่เคยพบได้มาก เช่น แผ่นโต๊ะ เคลือบ พบง่าย เช่น กิ่งก้อน และพบไม่ง่าย เช่น แผ่นใบไม้ รูปทรงก้อน
Diploastrea heliopora
Porites sp.
Porites sp.
Porites sp.
Porites sp.
Porites sp.
75
Porites sp.
Porites sp.
Porites sp.
76
รูปทรงกิ่งก้อน
Pocillopora eydouxi รูปทรงกิ่งสั้นกิ่งยาว
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
77
Acropora sp. รูปทรงแผ่นตั้ง
Heliopora coerulea รูปทรงเคลือบ
Pachyseris rugosa รูปทรงเห็ด
78
อื่นๆ : สาหร่าย
อื่นๆ : กัลปังหา, ปะการังอ่อน, ดอกไม้ทะเลเล็ก, ฟองนำ�้
ดอกไม้ทะเลเล็ก
กัลปังหา
ปะการังอ่อน
ปะการังอ่อน
พรมทะเล
ฟองน้ำ�
ดอกไม้ทะเล
79
11 อ่าวบอน กลุ่มรูปทรงปะการังแข็งที่พบ คือ ก้อน กิ่งก้อน กิ่งสั้นกิ่งยาว (ขนาดโคโลนี มากกว่า3 เซนติเมตร) แผ่นใบไม้ เคลือบ และเห็ด กลุ่มที่หายไปจากแนว ปะการังเมื่อเปรียบเทียบกับปี พ.ศ.2553 คือ กลุ่มที่เคยพบเด่นที่สุด เช่น กิ่ง ก้อน และพบง่าย เช่น แผ่นโต๊ะ รูปทรงก้อน
Diploastrea heliopora
Favia matthai
Porites sp.
Porites sp.
Porites sp.
Porites sp.
Porites sp.
80
รูปทรงกิ่งก้อน
Pocillopora sp. รูปทรงกิ่งสั้นกิ่งยาว
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
81
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora secale
Acropora secale
82
รูปทรงแผ่นใบไม้
รูปทรงเคลือบ
Pachyseris rugosa รูปทรงเห็ด
อื่นๆ : สาหร่าย
83
อื่นๆ : กัลปังหา, ฟองนำ�้
กัลปังหา
ฟองน้ำ�
84
12 อ่าวสับปะรด กลุ่มรูปทรงปะการังแข็งที่พบ คือ ก้อน กิ่งก้อน กิ่งสั้นกิ่งยาว (ขนาดโคโลนี มากกว่า 10 เซนติเมตร) แผ่นตั้ง เคลือบ และเห็ด กลุ่มรูปทรงที่หายไปจาก แนวปะการัง คือ แผ่นโต๊ะ รูปทรงก้อน
Porites sp.
Porites sp.
Porites sp.
85
รูปทรงกิ่งสั้นกิ่งยาว
Acropora sp. รูปทรงแผ่นตั้ง
Heliopora sp. รูปทรงเห็ด
อื่นๆ : สาหร่าย
Acropora palifera
86
อื่นๆ : กัลปังหา, ฟองนำ�้
กัลปังหา
ฟองน้ำ�
87
13 อ่าวเต่าใต้ กลุ่มรูปทรงปะการังแข็งที่พบ คือ ก้อน กิ่งก้อน กิ่งสั้นกิ่งยาว (ขนาดโคโลนี ไม่ เกิน 10 เซนติเมตร) แผ่นใบไม้ เคลือบ และเห็ด กลุม่ ทีห่ ายไปจากแนวปะการัง เมื่อเปรียบเทียบกับปี พ.ศ.2553 คือ กลุ่มที่เคยพบได้ง่าย เช่น แผ่นโต๊ะ รูปทรงก้อน
Diploastrea heliopora
Diploastrea heliopora
Porites sp.
Porites sp.
Porites sp.
Porites sp.
Porites sp.
88
รูปทรงกิ่งก้อน
Pocillopora sp. รูปทรงกิ่งสั้นกิ่งยาว
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
89
Acropora sp. รูปทรงเคลือบ
รูปทรงเห็ด
อื่นๆ : กัลปังหา
Acropora secale
90
14 แหลมอ่าวผักกาด กลุ่มรูปทรงปะการังแข็งที่พบ คือ ก้อน กิ่งก้อน กิ่งสั้นกิ่งยาว (ขนาดโค โลนี ไม่เกิน 10 เซนติเมตร) แผ่นตั้ง เคลือบ และเห็ด กลุ่มที่หายไปจาก แนวปะการังเมื่อเปรียบเทียบกับปี พ.ศ.2553 คือ กลุ่มที่เคยพบได้ง่าย เช่น แผ่นโต๊ะ แผ่นใบไม้ รูปทรงก้อน
Diploastrea heliopora
Goniopora sp.
Porites sp.
Porites sp.
Porites sp.
Porites sp.
Porites sp.
91
รูปทรงกิ่งก้อน
Pocillopora eydouxi รูปทรงกิ่งสั้นกิ่งยาว
Acropora sp. รูปทรงแผ่นตั้ง
รูปทรงเคลือบ
Pachyseris rugosa
Acropora sp.
Acropora sp.
92
อื่นๆ : สาหร่าย
อื่นๆ : กัลปังหา, ปะการังอ่อน, ฟองนำ�้
กัลปังหา
ปะการังอ่อน
ฟองน้ำ�
93
15 หินกอง กลุ่มรูปทรงปะการังแข็งที่พบ คือ ก้อน กิ่งก้อน กิ่งสั้นกิ่งยาว (ขนาดโค โลนี ไม่เกิน 10 เซนติเมตร) แผ่นตั้ง เคลือบ และเห็ด กลุ่มที่หายไปจาก แนวปะการังเมื่อเปรียบเทียบกับปี พ.ศ.2553 คือ กลุ่มที่เคยพบทั่วไป เช่น แผ่นโต๊ะ แผ่นใบไม้ รูปทรงก้อน
Diploastrea heliopora
Porites nigrescens
Porites sp.
Porites sp.
94
รูปทรงกิ่งก้อน
Pocillopora eydouxi รูปทรงกิ่งสั้นกิ่งยาว
Acropora sp.
Acropora palifera รูปทรงแผ่นตั้ง
Heliopora coerule
Acropora sp.
Acropora sp.
95
รูปทรงเห็ด
อื่นๆ : สาหร่าย
อื่นๆ : กัลปังหา
อื่นๆ : พรมทะเล
96
16 เกาะมังกร กลุ่มรูปทรงปะการังแข็งที่พบ คือ ก้อน กิ่งสั้นกิ่งยาว (ขนาดโคโลนี ไม่เกิน 10 เซนติเมตร) แผ่นตัง้ แผ่นใบไม้ (เริม่ พบในเดือนเมษายน) เคลือบ และเห็ด กลุม่ ที่หายไปจากแนวปะการังเมื่อเปรียบเทียบกับปี พ.ศ.2553 คือ กลุ่มที่เคยพบ เด่นที่สุด เช่น กิ่งก้อน และพบไม่ง่าย เช่น แผ่นโต๊ะ รูปทรงก้อน
Goniopora sp.
Porites sp.
Porites sp.
Porites sp.
Porites sp.
Porites sp.
97
รูปทรงกิ่งสั้นกิ่งยาว
Acropora sp. รูปทรงแผ่นตั้ง
Heliopora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
98
รูปทรงแผ่นใบไม้
รูปทรงเห็ด
อื่นๆ : สาหร่าย
99
อื่นๆ : ดอกไม้ทะเลเล็ก, ดอกไม้ทะเล
ดอกไม้ทะเลเล็ก อื่นๆ : ไฮดรอยด์
ดอกไม้ทะเลเล็ก
ดอกไม้ทะเล
100
17 เกาะตอรินลา ในแนวสำ�รวจ ฝั่งทิศตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่มรูปทรงปะการังแข็งที่พบ คือ ก้อน กิ่งก้อน กิ่งสั้นกิ่งยาว (ขนาดโคโลนี ไม่เกิน 10 เซนติเมตร) เคลือบ และ เห็ด กลุ่มที่หายไปจากแนวปะการังเมื่อเปรียบเทียบกับปี พ.ศ.2553 คือ กลุ่ม ที่เคยพบได้ทั่วไป เช่น แผ่นโต๊ะ และแผ่นใบไม้ ในแนวสำ�รวจ ฝัง่ ทิศตะวันออกเฉียงใต้ กลุม่ รูปทรงปะการังแข็งทีพ่ บ คือ ก้อน กิ่งก้อน กิ่งสั้นกิ่งยาว (ขนาดโคโลนี ไม่เกิน 10 เซนติเมตร) แผ่นตั้ง เคลือบ และเห็ด กลุ่มที่หายไปจากแนวปะการังเมื่อเปรียบเทียบกับปี พ.ศ.2553 คือ กลุ่มที่เคยพบได้ทั่วไป เช่น แผ่นโต๊ะ และแผ่นใบไม้
รูปทรงก้อน
Diploastrea heliopora
Goniopora sp.
Platygyra sp.
Porites sp.
Porites sp.
Porites sp.
Porites sp.
Porites sp.
101
รูปทรงกิ่งก้อน
Pocillopora eydouxi
102
รูปทรงกิ่งสั้นกิ่งยาว
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora sp.
Acropora humilis
รูปทรงแผ่นตั้ง
Heliopora sp. รูปทรงเคลือบ
Pachyseris rugosa
103
อื่นๆ : สาหร่าย
อื่นๆ : กัลปังหา, แส้ทะเล, ปะการังอ่อน, ฟองนำ�้ , ดอกไม้ทะเล
กัลปังหา
กัลปังหา
แส้ทะเล
ปะการังอ่อน
ปะการังอ่อน
ฟองน้ำ�
104
ฟองน้ำ� อื่นๆ : พรมทะเล
ดอกไม้ทะเล
105
18 ร่องนำ�้ ช่องขาด กลุ่มรูปทรงปะการังแข็งที่พบ คือ ก้อน กิ่งก้อน กิ่งสั้นกิ่งยาว (ขนาดโคโลนี มากกว่า 10 เซนติเมตร) เคลือบ และเห็ด กลุ่มที่หายไปจากแนวปะการังเมื่อ เปรียบเทียบกับปี พ.ศ.2553 คือ กลุ่มที่เคยพบได้ง่าย เช่น แผ่นโต๊ะ รูปทรงก้อน
Galaxea sp.
Porites sp.
Porites nigrescens
Porites sp.
Porites sp.
106
รูปทรงกิ่งสั้นกิ่งยาว
Acropora sp.
รูปทรงเคลือบ
Acropora tenuis
107
รูปทรงเห็ด
อื่นๆ : ฟองนำ�้
108
บทที่
3
เครือข่ายเฝ้าระวังแนวปะการัง
109
การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ให้ความรูแ้ ก่นกั ท่องเทีย่ ว ชุมชนมอแกน และบุคคล ทั่วไปให้เข้าใจสถานการณ์ปัจจุบันในแนวปะการังเพื่อให้เกิดการท่องเที่ยว อย่างถูกต้องในแนวปะการัง พร้อมกับการสำ�รวจติดตามสถานภาพแนว ปะการังตามภารกิจหลักของเจา้ หนา้ ทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติหมูเ่ กาะสุรนิ ทร์ด�ำ เนิน ไปพร้อมกัน โดยเจ้าหน้าที่อุทยานฯ ทำ�หน้าที่ถ่ายทอดให้ความรู้แก่นักท่อง เทีย่ ว ชุมชนมอแกน และผูท้ สี่ นใจเพือ่ สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังทรัพยากรในแนว ปะการังหมู่เกาะสุรินทร์ (Marine Monitoring Network, MMN) การอบรมให้ความรู้เรื่องแนวปะการัง และการสำ�รวจติดตามด้วยวิธี Reef Watch จัดให้มีขึ้นทุกวันเพื่อให้ผู้ที่เข้ารับการอบรมได้ทำ�หน้าที่สำ�รวจร่วมไป กับเจ้าหน้าที่อุทยานฯ ระหว่างท่องเที่ยวดำ�น้ำ�ดูปะการัง เป็นการท่องเที่ยว เชิงทัศนศึกษา (Education Tourism) ทีส่ รา้ งความภาคภูมใิ จ และสรา้ งความ ตระหนักในการอนุรักษ์ทรัพยากรในแนวปะการัง สถานภาพและความหลากหลายของกลุ่มปะการังในแนวปะการังหมู่เกาะ สุรินทร์ ปี พ.ศ.2554 เป็นผลเกิดจากความร่วมมือของผู้ดูแลทรัพยากร คือ อุทยานฯ และผู้ใช้ประโยชน์จากทรัพยากร คือ การท่องเที่ยว และชุมชนที่ ทำ�งานร่วมกันเพื่อดูแลปกป้องทรัพยากรของประเทศไทย
110
โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์กิจกรรมอาสารักษ์ทะเล Reef Watch ณ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ p
111
ประกาศนียบัตรกิจกรรมอาสารักษ์ทะเล Reef Watch อุทยานแห่งชาติหมูเ่ กาะสุรนิ ทร์ p
112
ภาคผนวก
113
ภาคผนวก 1 การสำ�รวจสถานภาพแนวปะการังโดยวิธี Reef Watch โดย สมาคมกรีนฟินส www.greenfins-association.com Reef watch เป็นการบันทึกสถานภาพของปะการังในเวลาทีท่ า่ นดำ�น�้ำ แต่ละ ครั้งอย่างง่ายๆ ท่านสามารถที่จะเรียนรู้วิธีการและเข้าร่วมในการสำ�รวจได้ อย่างง่ายดาย ในขณะที่ท่านกำ�ลังดำ�น้ำ�ลึกหรือดำ�ผิวน้ำ�อย่างเพลิดเพลินนั้น ท่านยังสามารถบันทึกรวบรวมขอ้ มูลทีม่ คี ณ ุ ค่าเหล่านี้ อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ พวกเราในการช่วยกันรักษาแนวปะการังที่ท่านได้ไปเยี่ยมเยือนมา ขอ้ มูลทีท่ า่ นบันทึกไวใ้ นกระดานเขียนใตน้ �้ำ โดยใชว้ ธิ ขี อง Reef Watch จะช่วย ให้เราสามารถมองเห็นถึงแนวโน้มของสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับแนวปะการัง ความ ร่วมมือของท่านมีคณ ุ ค่าต่อเรามากในการให้ขอ้ มูลซึง่ จะเป็นประโยชน์ตอ่ การ ติดตามตรวจสอบสถานภาพของปะการัง ในการสำ�รวจ ให้จดบันทึกประเทศ จังหวัด (ชื่อเกาะ) ชื่อของแนวปะการัง และทิศทีต่ งั้ ของแนวปะการัง (เมือ่ ผูส้ �ำ รวจหันหลังใหป้ ะการังและหันหนา้ ออก ทะเล) รวมทั้งพิกัดทางภูมิศาสตร์บริเวณที่ท่านดำ�สำ�รวจ หากผู้สำ�รวจไม่ สามารถระบุพกิ ดั ทางภูมศิ าสตร์ได้ ใหว้ าดแผนทีอ่ ย่างคล่าวๆ เพือ่ ระบุต�ำ แหน่ง ของแนวปะการังที่ท่านจะสำ�รวจ นอกจากนั้น Dive Leader ของท่าน ยังสามารถช่วยท่านได้ในการให้ข้อมูล เกี่ยวกับพิกัดของบริเวณที่ท่านจะดำ� รวมทั้งข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการ สำ�รวจ ได้แก่ w ชื่อของแนวปะการัง : ชื่อของบริเวณที่ท่านจะดำ�น้ำ� w ทิศที่ตั้งของแนวปะการัง : ทิศที่แนวปะการังหันหน้าเข้าหา เมื่อผู้สำ�รวจ หันหลังให้แนวปะการังและหันหน้าออกทางทะเล w ความกว้างของแนวปะการัง (เมตร) : ระยะทางวัดจากขอบของแนว ปะการังด้านที่อยู่ติดชายฝั่งไปจนถึงขอบของแนวปะการังอีกด้านหนึ่ง w ระดับความลึกสูงสุดของแนวปะการังและเวลาที่บันทึก : ปัจจัยดังกล่าว มีความสำ�คัญเนือ่ งจากระดับความลึกของแนวปะการังจะแปรผันไปตามเวลา และการเปลี่ยนแปลงของน้ำ�ขึ้นน้ำ�ลง w ความลึกเฉลี่ยของการดำ�น้ำ� : ระบุความลึกเฉลี่ยในการดำ�น้ำ�แต่ละครั้ง ของผู้สำ�รวจ ข้อมูลนี้สามารถระบุความลึกโดยประมาณของแนวปะการังที่ผู้ สำ�รวจได้บันทึกข้อมูลไว้
การวั ด ระยะทางเพื่ อ หาความกว้ า งของแนว ปะการัง p
114
w ลักษณะของแนวปะการังบริเวณจุดดำ�น�้ำ : เลือกบริเวณทีผ่ สู้ �ำ รวจใชเ้ วลา มากที่สุดในการดำ�น้ำ�แต่ละครั้ง m พื้นที่มีความลาดเอียงเล็กน้อยจากชายฝั่ง m พื้นที่มีทั้งบริเวณที่เป็นพื้นราบและที่ลาดชัน m พื้นที่ลาดชันมากหรือมีลักษณะเป็นหน้าผา m กองหินใต้น้ำ� w ประเภทของแนวปะการัง : โปรดเลือกเพียงหนึ่งชนิด m ปะการังอยู่อย่างหนาแน่น บริเวณที่มีปะการังอยู่อย่างหนาแน่น ทั้งปะการังที่มีชีวิต อยู่และตายแล้ว (อาจมีบริเวณที่เป็นพื้นทรายหรือเป็นหิน อยู่เล็กน้อย) m ปะการังกระจายเป็นหย่อม ปะการังอยู่กันกระจัดกระจาย มักมีลักษณะเป็นรูปวงกลม หรือรูปไข่ กระจัดกระจายอยู่ตามพื้นทราย โดยมักพบอยู่ ในบริเวณที่เป็น Lagoon หรือ Embayment m ปะการังบนหิน ปะการังที่เจริญอยู่บนหินหรือพื้นหิน w ความลาดชันของพืน้ ทีบ่ ริเวณแนวปะการังทีท่ �ำ การสำ�รวจ : กรุณาเลือก ลักษณะของพื้นที่ที่จะสำ�รวจเพียงลักษณะเดียว m เป็นพื้นที่ราบ เมื่อน้ำ�ลงจะได้รับแสงอาทิตย์มาก m เป็นพื้นที่ลาดชัน m เป็นพื้นที่ราบสลับกับที่ลาดชัน m เป็นหน้าผาหรือมีลักษณะเหมือนกำ�แพง m ลักษณะพื้นที่ไม่มีรูปแบบที่แน่นอนหรือเป็นกองหินใต้น้ำ� w ร้อยละของพื้นที่ปกคลุมของปะการังโดยประมาณ : ใหป้ ระเมินดว้ ยสาย ดาและบันทึกขนาดของพืน้ ทีป่ กคลุมของปะการัง โดยบันทึกหลังจากทีผ่ สู้ �ำ รวจ ดำ�น�ำ้ เป็นเวลา 10, 20 และ 30 นาที จากนัน้ ใหห้ าค่าเฉลีย่ ของทัง้ สามค่า เพือ่ ได้ ผลเป็นร้อยละของพืน้ ทีป่ กคลุมของปะการังของบริเวณทัง้ หมดทีท่ า่ นไดส้ �ำ รวจ m ปะการังแข็งมีชีวิต เป็นผู้สร้างแนวปะการัง (Hermatypc Corals) m โครงสร้างแข็งของปะการังที่ตายแล้ว ซากที่ยังสมบูรณ์ของโครงสร้างแข็งของปะการังที่ตายแล้ว m เศษโครงสร้างแข็งของปะการังทีต ่ ายแล้วทีก่ ระจายอยูบ่ นพืน้ ทราย เศษโครงสร้างแข็งของปะการังที่แตกหักและกระจายอยู่ บนพื้นทรายหรือพื้นทะเล
115
m ปะการังอ่อน พบกระจายอยู่บนพื้นทรายสังเกตได้จากรูปร่างที่มีลักษณะ คล้ายพืชและมีสีสันสว่างสดใส m กัลปังหา มีลกั ษณะเป็นกิง่ คล้ายขนนก แผ่ออกไปทางด้านข้างเหมือนพัด m สาหร่ายทะเล โดยทั่ ว ไปมี สี เขี ย ว ลั ก ษณะเหมื อ นใบไม้ ห รื อ ใบหญ้ า สามารถ โตได้เร็วว่าปะการังมาก จึงมักขึ้นปกคลุมบนแนว ปะการังอย่างรวดเร็วและทำ�ให้ปะการังตายได้ m สิง ่ มีชวี ติ อืน่ ๆ (ฟองน� ำ้ ดอกไม้ทะเล หอยมือเสือ พรมทะเล ถ้วยทะเล) สิ่งมีชีวิตเหล่านี้จะแย่งที่ว่างซึ่งเป็นที่ลงเกาะของปะการัง และยึดเกาะอยู่แน่นบนพื้นผิวที่มันอาศัย หมายเหตุ : พรมทะเลและถ้วยทะเล จัดอยู่ในตระกูลเดียวกันกับปะการังแต่ไม่สร้าง โครงสร้างแข็งเหมือนการสร้างแนวปะการัง และสามารถแย่งทีอ่ ยูอ่ าศัยของปะการังหรือ ลงเกาะทับบนปะการังทำ�ให้ปะการังตายได้
m พื้นทราย บริเวณพื้นทะเลที่เป็นทราย m พื้นหิน ไม่รวมถึงหินปูนซึง่ เกิดจากซากปะการังตาย แต่หมายถึงหิน ชนิดอืน่ เช่น หินแกรนิต โดยอาจถูกปกคลุมด้วยสาหร่าย ซึง่ เป็นพืน้ ผิวทีเ่ หมาะสมต่อการลงเกาะของตัวอ่อนของปะการัง w ลักษณะของปะการังทีพ่ บโดยทัว่ ไป : ปะการังทีพ่ บโดยทัว่ ไป มักมีลกั ษณะ ดังต่อไปนี้ (ไม่จำ�เป็นที่ท่านจะต้องพบปะการังทุกแบบในการดำ�แต่ละครั้ง) m แบบก้อน : เป็นก้อนกลม ขนาดใหญ่หรือเล็กแตกต่างกันไป m แบบกึ่งก้อน : เป็นแท่งสั้นและหนา m แบบกิ่งสั้นหรือกิ่งยาว : มีลักษณะเหมือนนิ้วมือหรือเขากวาง m แบบโต๊ะ : มีลักษณะแผ่แบนออกในแนวระนาบ คล้ายโต๊ะ m แบบแผ่นใบไม้หรือแผ่นตั้ง : เป็นแผ่นม้วนหรือแผ่ขึ้นจากฐาน เดียวกัน คล้ายผักกาด m ปะการังเคลือบ : มีลักษณะเติบโตครอบคลุมไปตามพื้นผิวที่มัน ปกคลุมอยู่ m ปะการังเห็ด : มีลักษณะเป็นปะการังก้อนเดี่ยวๆ มีขนาดเส้น ผ่านศูนย์กลางหลายเซนติเมตร และมักพบกระจายอยู่ทั่วไปตาม พื้นของแนวปะการัง
116
w ความเสียหายของแนวปะการัง ตลอดการดำ�สำ�รวจ ท่านพบเห็นความเสียหายหรือร่องรอยของความ เสียหายที่เกิดกับแนวปะการัง ซึ่งอาจเนื่องมาจากกิจกรรมเหล่านี้หรือไม่ m อุปกรณ์ประมง อวน เบ็ด หรือ ลอบ ติดหรือพันอยูบ่ น หรืออยูร่ อบแนวปะการัง m การใช้ฉมวกแทงปลา ผู้สำ�รวจพบเห็นการจับปลาแบบนี้หรือไม่ m การใช้ระเบิดจับปลา ผู้สำ�รวจได้ยินเสียงระเบิดระหว่างการสำ�รวจหรือพบเห็น ผลกระทบที่เกิดจากการใช้ระเบิดจับปลาหรือไม่ m การดำ�น้� ำ อย่างขาดความระมัดระวัง ตีนกบหรืออุปกรณ์ด�ำ น�ำ้ กระแทกถูกปะการัง หรือมีการเตะให้ ตะกอนฟุง้ บนปะการัง m การเก็บเปลือกหอย พบเห็นคนเก็บเปลือกหอย m เหยียบไปบนหรือเกาะบนปะการัง พบเห็นคนเหยียบบนปะการัง หรือเกาะบนปะการังระหว่างที ่ ดำ�ผิวน�ำ้ หรือดำ�น�ำ้ ลึก m คราบน� ำ้ มัน สังเกตเห็นเป็นแผ่นฟิลม์ บางๆ บนผิวน�ำ้ m ทอดสมอเรือบนปะการัง มีการทอดสมอบนปะการังหรือลากสมอผ่านแนวปะการัง m ตะกอน ตะกอนถูกเตะหรือกวนให้ฟงุ้ บนแนวปะการัง หรือตะกอนที ่ เกิดจากกิจกรรมบนชายฝัง่ m น้ำ�เสีย น�ำ ้ เสียถูกปล่อยออกสูท่ ะเลจากเรือหรือจากชายฝัง่ ใกลๆ้ แนวปะการัง
117
w ผู้สำ�รวจพบเห็นสิ่งเหล่านี้หรือไม่ ตลอดระยะเวลาการดำ�น้ำ� m ปะการังฟอกขาว : ปะการังเปลี่ยนเป็นสีขาวหรือสีซีดจางมาก หรือมีสีเหลืองอ่อนซีดๆ (ยังมีโพลิปอยู่) m สาหร่ายทะเลขึน ้ ปกคลุมทับบนแนวปะการัง : โดยเฉพาะสาหร่าย ที่เป็นใบ ทั้งสาหร่ายสีเขียวและสีน้ำ�ตาล m ปะการังตายที่ยังมีโครงสร้างแข็งอยู่ : ปะการังที่ตายแล้ว แต่ โครงสร้างแข็งของปะการังยังมีสภาพสมบูรณ์ ไม่ถูกหักทำ�ลาย w การสำ�รวจทั้งหมดตลอดระยะเวลาในการดำ� วัดระยะทางทีด่ �ำ ทัง้ หมด และนับจำ�นวนสิง่ มีชวี ติ ทีเ่ ป็นดัชนีช้ วี้ ดั ความ สมบูรณ์ของปะการังไปเรื่อยๆ ตลอดช่วงการดำ� โดยในทุกช่วงเวลา 10, 20, และ 30 นาที ใหป้ ระมาณรอ้ ยละของพืน้ ทีป่ กคลุมของแนวปะการังโดยใชก้ าร มองเห็นในระยะ 10 เมตรเป็นแนวตรง หรือใช้การประมาณในพื้นที่ขนาด 10 x 10 ตารางเมตร w สำ�รวจชนิดสัตว์น�้ำ ทีเ่ ป็นดัชนีชวี้ ดั ความสมบูรณ์ของแนวปะการังภายใน พื้นที่ 10 x 10 ตารางเมตร ในทุกๆ ช่วงเวลา 10, 20, และ 30 นาที ให้หยุดและบันทึกร้อยละ ของพื้นที่ปกคลุมของปะการังในช่วง 10 นาทีที่ผ่านมา และจำ�นวนสิ่งมีชีวิตที่ เป็นดัชนีชี้วัดที่พบในพื้นที่ประมาณ 10 x 10 ตารางเมตร w ข้อคิดเห็นเพิ่มเติม กรุณาใช้ส่วนนี้ในการเพิ่มเติมข้อมูลอื่นๆ เช่น การ พบเห็นสิ่งมีชีวิตที่หายากหรือใกล้สูญพันธุ์ หรือพบเห็นดาวมงกุฏหนามเป็น จำ�นวนมากผิดปกติ เป็นตน้ รวมทัง้ ขอ้ มูลอืน่ ๆ ทีผ่ สู้ �ำ รวจไม่แน่ใจว่าอาจมีความ เกี่ยวข้องหรือไม่
118
เอกสารอ้างอิง
119
เอกสารอ้างอิง สถาบันวิจยั จุฬาภรณ์ และ กองทัพเรือภาค 3. 2538. คูม่ อื สัตว์และพืชในแนวปะการัง หมูเ่ กาะสุรนิ ทร์และสิมลิ นั . สถาบันวิจยั จุฬาภรณ์ และ กองเรือภาค 3, กองเรือยุทธการ, กองทัพเรือ. กรุงเทพฯ. 109 หน้า. หรรษา จันทร์แสง อุกฤต สตภูมินทร์ และ สมบัติ ภู่วชิรานนท์. 2542. แผนที่แนวปะการังในน่านนำ�้ ไทย เล่มที่ 2 อันดามัน. โครงการจัดการทรัพยากรปะการัง. กรมประมง. 198 หน้า. คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. 2548. รายงานฉบับสุดท้าย โครงการศึกษาขีดความสามารถใน การรองรับได้ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ จังหวัดพังงา เสนอ กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ ป่า และพันธ์ุพืช. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. ปัทมาภรณ์ หมาดนุ้ย และ ศักดิ์อนันต์ ปลาทอง. 2553. คู่มืออุทยานแห่งชาติลำ�ดับที่ 13 : การจัดการ สำ�รวจ ติดตามทรัพยากรทางบกและทางทะเล. สำ�นักอุทยานแห่งชาติ, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ ์ พืช, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม. สถานวิจยั ความเป็นเลิศความหลากหลายทางชีวภาพ แห่งคาบสมุทรไทย, คณะวิทยาศาสตร์, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 251 หน้า. สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝั่งทะเล และ ป่าชายเลน. 2553. แหล่งปะการัง จังหวัดพังงา. เข้าล่าสุด เมื่อ เดือนกันยายน 2554. เว็บไซต์: http://www.pmbc.go.th/webpmbc/Coral/new/ pungha.files/frame.htm อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ และส่วนศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติทางทะเล. 2553. ความหลากหลาย และสถานภาพแนวปะการัง อุทยานแห่งชาติหมูเ่ กาะสุรนิ ทร์. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพันธุพ์ ชื . กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม. 92 หน้า. สมาคมกรีนฟินส์ และ สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝั่งทะเล และป่าชายเลน จังหวัดภูเก็ต. ไม่ระบุปี. คู่มือกรีนฟินส์. โครงการกรีนฟินส์, กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 34 หน้า.
กิตติกรรมประกาศ
Acknowledgement
ขอบคุณ คุณนิพนธ์ พงศ์สุวรรณ คุณนลินี ทองแถม และ คุณลลิตา ปัจฉิม ผู้ เชี่ ย วชาญด้ า นปะการั ง ประจำ � สถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นาทรั พ ยากรทาง ทะเลชายฝั่งทะเล และป่าชายเลน จังหวัต ภูเก็ต และนายทนงศักดิ์ จันทร์ เมธากุล อาจารย์ประจำ�ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย ราชภั ฎ ภู เ ก็ ต ที่ ใ ห้ ค วามรู้ แ ละคำ � แนะนำ � ต่ า งๆ ในการทำ � งานด้ า นการ สำ�รวจอนุรักษ์และฟื้นฟูแนวปะการังมาโดยตลอด ขอบคุณ อาสาสมัครนักท่องเที่ยว ผู้ประกอบนำ�เที่ยว และชุมชนมอแกน ที่ให้ความร่วมมือในการร่วมสำ�รวจสถานภาพแนวปะการังบริเวณหมู ่เกาะ สุรินทร์เป็นอย่างดี ขอบคุ ณ บริ ษ ัท ซาบีน ่าทัวร์ บริษ ัท บาราคู ด ้ า ไดฟ์ว ิ ่ ง จำ � กั ด และบริ ษ ั ท คุ ร ะบุ ร ี ก รี น วิ ว จำ � กั ด ที ่ เ อื ่ อ เฟื ้ อ เรื อ โดยสารเดิ น ทางไปหมู ่ เ กาะ สุ ร ิ น ทร ์ แ ก ่ เจ้ า หน้ า ที ่ อ ุ ท ยานฯ และขอบคุ ณ บริ ษ ั ท บาราคู ด ้ า ไดฟ์ ว ิ ่ ง จำ � กั ด ที ่ เ อื ้ อ เฟื ้ อ เรื อ และกั ป ตั น สำ � หรั บ การสำ � รวจสถานภาพแนว ปะการั ง บริ เวณหมู ่ เ กาะสุ ร ิ น ทร ์
MU KO SURIN NATIONAL PARK
Save Coral Reef
โครงการพ ั ฒ นาเครื อ ข า ยร ว มร ะหว า งช ุ ม ชนมอแ กนแ ละอ ุ ท ยานแ ห ง ชาติ ห มู เ กาะส ุ ร ิ น ทร เพื ่ อ ด ู แ ลท รั พ ยากรธ รรมชาติ ท างทะเลในพ ื ้ น ที ่ อ นุ ร ั ก ษ