การขับเคลื่อนภาคการเกษตร สู่ประชาคมอาเซียน
โดย ดร. จิราวรรณ แย้มประยูร ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ วันที่ 18 กันยายน 2555
การขับเคลื่อนภาคการเกษตร สู่ประชาคมอาเซียน โดย ดร. จิราวรรณ แย้มประยูร ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วันที่ 18 กันยายน 2555
หัวข้อการบรรยาย นโยบายรัฐบาล ภาพรวมประชาคมอาเซียน การขับเคลื่อนภาคการเกษตร
นโยบายรัฐบาลด้านการพัฒนาความร่วมมือกับประเทศในอาเซียน นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ นโยบายเร่งด่วน เร่งฟื้นฟูความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือกับ ประเทศเพื่อนบ้านและนานาประเทศ เพื่อสนับสนุน การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในภูมิภาคร่วมกัน โดยเฉพาะการเร่งแก้ไขปัญหากระทบกระทั่ง ตามแนวพรมแดนผ่านกระบวนการทางการทูต บนพื้นฐานของสนธิสัญญาและกฏหมายที่เกี่ยวข้อง และเร่งดาเนินการตามข้อพูกพันในการรวมตัวเป็น ประชาคมอาเซียนในปี 2558 ทั้งในมิติเศรษฐกิจ สังคมและความมั่นคง ตลอดจนการเชื่อมโยง เส้นทางคมนาคมขนส่งภายในและภายนอกภูมิภาค (ข้อ 1.6)
•
•
สร้างความสามัคคีและส่งเสริมความร่วมมือระหว่าง ประเทศอาเซียนเพื่อให้บรรลุเปูาหมายในการจัดตั้ง ประชาคมอาเซียนและส่งเสริมความร่วมมือกับ ประเทศอื่นๆ ในอาเซียนใต้กรอบความร่วมมือต่างๆ และเตรียมความพร้อมของทุกภาคส่วนในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนในปี 2558 ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และความมั่นคง (ข้อ 7.2) ใช้ประโยชน์จากโครงข่ายคมนาคมขนส่งในภูมิภาค อาเซียนและอนุภูมิภาคให้เป็นประโยชน์ต่อการขยาย ฐานเศรษฐกิจทั้งการผลิตและการลงทุน โดยให้ ความสาคัญในการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ที่อยู่ตามแนวระเบียงเศรษฐกิจและเมืองชายแดน (ข้อ 7.8)
การก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 2558 2546 ผูน้ าอาเซียนลง นามใน ปฏิญญาบาหลี และแสดง เจตนารมณ์สู่ ASEAN Community ในปี 2563 (2020) ต่อมา ได้เร่งรัดให้เร็ว ขึน้ เป็นปี 2558 (2015)
2550-2551 ส.ค. 2550 รมต.เศรษฐกิจอาเซียน ลงนามรับรอง AEC Blueprint แผนการ จัดตั้ง “ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน”
2552 ก.พ. 2552 รับรองแผนการจัดตั้ง ประชาคมสังคมและ วัฒนธรรมอาเซียน (ASCC Blueprint) และแผนการจัดตั้ง ประชาคมการเมือง พ.ย. 2550 ผู้นาอาเซียนลงนามใน และความมั่นคง “ASEAN Charter” อาเซียน (ASPC และ “ปฏิญญาว่าด้วย Blueprint) แผนการจัดตั้ง AEC” ต.ค. 2552 ยืนยันให้การ ไทยเสนอแนวคิดการ ดาเนินการแล้วเสร็จ สร้างความเชื่อมโยง ตามกาหนดในปี ระหว่างกัน (ASEAN 2558 Connectivity) ธ.ค. 2551 Charter มีผลบังคับใช้
2553 เม.ย. 2553 จัดทา ASEAN Economic Community Scorecard เพื่อ ติดตามความ คืบหน้ามาตรการ ต่างๆ
2554 พ.ค. 2554 ผลักดัน ASEAN beyond 2015 initiatives โดย ภายในปี 2022 อาเซียนจะมีท่าที ร่วมในประเด็น ปัญหาของโลก
ต.ค. 2553 ผู้นาอาเซียนได้ให้ การรับรอง Master Plan on ASEAN Connectivity
พ.ย. 2554 จัดตั้งศูนย์จัดการ ภัยพิบัติของ อาเซียน (AHA Center)
2555 เม.ย. 2555 สนับสนุน ปฏิญญาอาเซียน ปลอด ยาเสพติดและ การจัดตั้ง เครือข่าย หน่วยงานด้าน การดูแล นิวเคลียร์ ในอาเซียน
สาระสาคัญของประชาคมอาเซียนและพันธะกรณี กฎบัตรอาเซียน : กรอบทางกฎหมายและทางสถาบันของอาเซียน The ASEAN Charter
ประชาคมอาเซียน (AC) ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC)
ประชาคมการเมือง และความมั่นคง อาเซียน (APSC)
ประชาคมสังคมและ วัฒนธรรมอาเซียน (ASCC)
Master Plan on ASEAN Connectivity การเชื่อมโยงทาง กายภาพ
การเชื่อมโยงด้าน กฏระเบียบ
การเชื่อมโยงระหว่าง กันของประชาชน
กฏบัตรอาเซียน (The ASEAN Charter) คือ ธรรมนูญอาเซียน จัดทาขึ้นเพื่อรับรอง การเป็นประชาคมอาเซียนภายในปี 2558 (ค.ศ. 2015) ข้อกาหนดที่สาคัญในกฎบัตรอาเซียน
วัตถุประสงค์ • เพื่อให้มีความน่าเชื่อถือ มีรูปแบบการทางานทีม่ ี ประสิทธิภาพ มีวัตถุประสงค์ในการทางานที่ชดั เจน • ทาให้อาเซียนเป็นนิติบุคคลแยกออกจากรัฐสมาชิก • เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรให้สอดคล้องกับ การเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน
• เป็นนิติบุคคล
ใช้ภาษาอังกฤษในการทางาน
• อยู่บนพืน้ ฐานของกฏหมายระหว่างประเทศ
• ให้ความสาคัญกับบทบาทประธานและเลขาธิการ อาเซียน
•
• มีการแต่งตั้งเอกอัครราชทูตประเทศสมาชิกหรือรัฐที่ไม่ใช่ สมาชิกเป็นผู้แทนประจาอาเซียน
สร้างประชาคมอาเซียนประกอบด้วย 3 เสาหลัก
• ประชุมระดับสุดยอดปีละ 2 ครั้ง และจัดตั้งคณะมนตรี เพื่อประสานความร่วมมือในแต่ละ 3 เสาหลัก
• มีสานักเลขาธิการอาเซียนแห่งชาติในทุกประเทศ
• มีองค์กรสิทธิมนุษยธรรมอาเซียน
• มีการจัดตั้งกลไกสาหรับระงับข้อพิพาทต่างๆ
ประชาคมอาเซียน (AC) ประชาคมเศรษฐกิจ ประชาคมการเมืองและ อาเซียน ( ASEAN ความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Economic Community : Security Community : AEC) : กระทรวงพาณิชย์ เป็นหน่วยงานรับผิดชอบ APSC) : กระทรวงการ ต่างประเทศเป็นหน่วยงาน หลักในการดาเนินงานตาม เป้าหมายและพันธะกรณี รับผิดชอบหลักในการ AEC Blueprints ดาเนินงานตามเป้าหมาย และพันธะกรณี APSC Blueprints
ประชาคมสังคมและ วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Culture Community : ASCC) : กระทรวงพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์เป็น หน่วยงานรับผิดชอบหลัก ในการดาเนินงานตาม เป้าหมายและพันธะกรณี ASCC Blueprints
ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน (APSC) เปูาหมาย: เพื่อให้อาเซียนเป็นสังคมที่สมาชิกมีความไว้เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกัน มีเสถียรภาพ มีสันติภาพ และมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
มีกฏเกณฑ์ บรรทัดฐาน และค่านิยมร่วมกัน มีเอกภาพ สงบสุข แข็งแกร่ง และรับผิดชอบ แก้ปัญหาความมั่นคง มีพลวัตร คงความเป็น ศูนย์กลางและบทบาทของ อาเซียน
ความร่วมมือด้านการพัฒนาทางการเมือง การสร้างและ แบ่งปันกฎเกณฑ์ ร่วมส่งเสริมบรรทัดฐานแนวปฎิบัติที่ดีระดับ ภูมิภาค ปูองกันความขัดแย้งและสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ แก้ไขข้อขัดแย้งและ ระงับข้อพิพาทโดยสันติ สร้างสันติภาพหลังความขัดแย้ง ตอบสนอง ภัยคุกคามทุกรูปแบบ ความร่วมมือด้านการจัดการภัยพิบัตแิ ละการ ตอบสนองต่อสถานการณ์ฉุกเฉิน การตอบสนองต่อประเด็นเร่งด่วน
ส่งเสริมให้อาเซียนเป็นศูนย์กลางในความร่วมมือระดับภูมิภาค และการสร้างประชาคม ส่งเสริมความสัมพันธ์กับประเทศ ภายนอก เสริมสร้างความร่วมมือในประเด็นพหุภาคีที่เป็นความ กังวลร่วมกัน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เปูาหมาย : เพื่อให้ประชาชนของประเทศสมาชิกมีการค้าขายระหว่างกันมากขึ้น มีการไปมาหาสูก่ ันได้อย่างสะดวก และมีศักยภาพในการแข่งขันกับโลกภายนอกได้ เป็นตลาดและฐานผลิต เดียวกัน มีขีดความสามารถ ในการแข่งขันสูง มีพัฒนาการทางเศรษฐกิจ ที่เท่าเทียมกัน บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจ โลกได้อย่างสมบูรณ์
เน้นการเคลื่อนย้ายสินค้าเสรี การบริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานมีฝีมือระหว่างกันอย่างเสรี เน้นการดาเนินนโยบายการแข่งขัน การพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐาน การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา การพัฒนา ICT และพลังงาน ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการขยายตัวของ SMEs ให้ความช่วยเหลือแก่สมาชิกใหม่ (CLMV) เพื่อลด ช่องว่างของระดับการพัฒนา เน้นการจัดทา FTA และ CEP กับประเทศคู่เจรจา
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาซียน (ASCC) เปูาหมาย : เพื่อให้อาเซียนเป็นสังคมเอกภาพ เอื้ออาทรต่อกัน มีความเป็นอยูท่ ี่ดี พัฒนา ทุกด้าน และมีความมั่นคงทางสังคม การพัฒนามนุษย์ การคุ้มครองและสวัสดิการ สังคม
เน้นการบูรณาการด้านการศึกษา สร้างสังคมความรู้ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ส่งเสริมการจ้างงานที่เหมาะสม ส่งเสริม ICT การเข้าถึงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี
ขจัดความยากจน สร้างเครือข่ายความปลอดภัยทางสังคม ส่งเสริม ความมัน่ คงและความปลอดภัยด้านอาหาร การควบคุมโรคติดต่อ
ความยุติธรรมและสิทธิ
คุ้มครองสิทธิผู้ด้อยโอกาส แรงงานย้ายถิน่ ฐาน ส่งเสริมความ รับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ
ส่งเสริมความยั่งยืน ด้านสิง่ แวดล้อม
การจัดการปัญาหาสิ่งแวดล้อมของโลก ปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อม ข้ามแดน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ส่งเสริมการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ
การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
สร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของ อนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ส่งเสริมสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรม ลดช่องว่างการพัฒนา
แนวทางการเตรียมความพร้อม ทาความเข้าใจในเรื่องการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
สนับสนุนการเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกันโดยเร่งพัฒนาทั้งด้านฮาร์ดแวร์ (เส้นทางคมนาคม) และซอฟท์แวร์(กฎระเบียบ) เพื่อส่งเสริมการเคลื่อนย้ายเสรี ของสินค้าและบริการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการดาเนินงานตามเปูาหมายของ ASEAN Connectivity และกรอบอนุภูมิภาคอื่นๆ สนับสนุนบทบาทการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนในการร่วมทุนหรือลงทุนใน โครงการต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านโครงสร้างพื้นฐาน เตรียมโครงการ PPP ตามมาตรฐานสากล และสร้างเครื่อข่ายความสัมพันธ์กับแหล่งทุนภาคเอกชน และองค์กรผู้ให้ความช่วยเหลือต่างๆ
ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม โดยดาเนินการสนับสนุนมาตรการด้าน การขนส่งที่ปลอดภัย เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อวิถี ชุมชนและเพื่อมุง่ สู่การพัฒนาที่ยงั่ ยืน (Sustainable Transportation)
แนวทางการเตรียมความพร้อม เตรียมความพร้อมสาหรับบุคลากรในสาขาต่างๆ อาทิ ภาษาอังกฤษและภาษา ท้องถิ่นเนื่องจากอาเซียนใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการประสานงาน ส่วนภาษาท้องถิ่นใช้สาหรับการติดต่อสื่อสาร และอานวยความสะดวกต่อ ประชาชนและนักท่องเที่ยวของสมาชิก ศึกษาข้อมูลต่างๆ โดยเฉพาะตัวบทกฎหมายของสมาชิกแต่ละประเทศ เนื่องจาก มีความแตกต่างกันเพื่อประโยชน์ในการเสริมสร้างความร่วมมือ และปูองกันความ ขัดแย้งระหว่างประเทศ ศึกษาวัฒนธรรมของสมาชิก โดยเฉพาะประเทศที่มีวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน อาทิ ชาวมุสลิมเพื่อสร้างความเข้าใจและการปฏิบัติต่อประชาชนเหล่านั้นได้อย่าง ถูกต้อง จัดตั้งสานักงาน/ส่วนงานเพื่อดูแลงานรับผิดชอบด้านอาเซียนโดยเฉพาะภายใต้ องค์กร
แนวทางการเตรียมความพร้อม สร้างค่านิยมและแนวปฏิบัติร่วมกันของอาเซียนในด้านต่างๆ เช่น ค่านิยมว่าด้วย การไม่ใช้กาลัง ยึดหลักสันติวิธี และการไม่ใช้อาวุธนิวเคลียร์ในการแก้ไขปัญหา ต่างๆ เพื่อสร้างความสงบ สันติภายในภูมิภาค
เสริมสร้างขีดความสามารถของอาเซียนในการเผชิญกับภัยคุกคามความมั่นคง บนพื้นฐานความมั่นคงของมนุษย์ ตลอดจนประสานการจัดทาข้อมูลกลางในเรื่อง อาชญกรรมข้ามชาติในอาเซียน เพื่อใช้แก้ปัญหาการก่อการร้าย การค้ายาเสพติด การประพฤติผิดกฎหมาย และอาชญกรรมข้ามชาติ เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางการทหาร เพื่อสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจและ ปูองกันความขัดแย้งที่รุนแรง
ผู้นาอาเซียนมีความร่วมมือในการแก้ปัญหาและปูองกันภัยพิบัติธรรมชาติ เช่น อุกภัยที่ประเทศไทยและหลายประเทศอาเซียนประสบอยู่ในขณะนี้
แนวโน้มการค้าของกลุ่มอาเซียน
ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจาก AEC
ความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจภายนอกอาเซียน
การขับเคลื่อนภาคการเกษตรสู่ประชาคมอาเซียน การดาเนินงานภายใต้กรอบแผนงาน แห่งชาติ
การดาเนินงานภายใต้กรอบแผนงาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การดาเนินงานภายใต้กรอบแผนงานแห่งชาติ AEC Blue print APSC Blueprint ASCC Blueprint
กลไกระดับอาเซียน ระดับรัฐมนตรีเกษตรอาเซียน ระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านอาหารและเกษตร
ด้านปุาไม้
คณะทางานเฉพาะสาขา พืช
ปศุสัตว์
ส่งเสริม การเกษตร
ประมง สหกรณ์ การเกษตร
การค้าผลิตผล ปุาไม้
มาตรฐาน อาหาร
อาหาร ฮาลาล
วิจัยพัฒนาการ เกษตร
การค้า สินค้า เกษตร
กลไกระดับประเทศ คณะกรรมการอาเซียนแห่งชาติ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศเป็นประธาน) คณะกรรมการดาเนินการ เพื่อจัดตั้งประชาคม การเมืองและความมั่นคง อาเซียน
คณะอนุกรรมการดาเนินการ ตามแผนงานไปสู่การเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
คณะกรรมการสาหรับ คณะมนตรีประชาสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน
คณะอนุกรรมการว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน
การติดตามความคืบหน้าระดับประเทศ แผนงานแห่งชาติสาหรับการก้าวสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ในปี 2558 ภายใต้การกากับดูแลของคณะกรรมการแห่งชาติ
แผนงานระดับกระทรวง
การดาเนินงานภายใต้กรอบ AEC BLUEPRINT การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน
1. การอานวยความสะดวกด้านศุลกากรด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์โดยดาเนินการบริการแบบเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว (National Single Window: NSW)
2. มาตรฐานและอุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า
A7 : อาหาร เกษตรและปุาไม้ (Food Agriculture and Forestry) 1. ดาเนินการตาม Hazard Analysis Critical Control Point (HACCP) และ ปรับปรุงห้องปฏิบัติการทดสอบ และปรับใช้ระบบบริหารจัดการด้านคุณภาพ และ ความปลอดภัยสินค้าประมงเพื่อให้สามารถประยุกต์ใช้ได้กับธุรกิจขนาดเล็ก ในอาเซียน 2. จัดตั้งระบบโดยใช้ Good Agriculture /Aquaculture Practice (GAP), Good Animal Husbandry Practices (GAHP), Good Hygiene Practice (GHP), Good Manufacturing Practice (GMP), และ Hazard Analysis Critical Control Point (HACCP) เป็นพื้นฐาน สาหรับผลิตภัณฑ์เกษตรและ อาหารที่มีความสาคัญทางการค้า
A7 : อาหาร เกษตรและปุาไม้ (Food Agriculture and Forestry) 3. ปรับประสานระบบการกักกันและวิธีการตรวจสอบการสุ่มตัวอย่างและจัดทา มาตรการด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชสาหรับผลิตภัณฑ์เกษตร อาหาร และ ปุาไม้ ที่มีความสาคัญและมีศักยภาพทางการค้า 4. ปรับประสานระดับปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุดในอาหารที่ยอมรับให้มีได้ของ ยาฆ่าแมลงในผลิตภัณฑ์ที่มกี ารค้าอย่างแพร่หลาย ให้สอดคล้องกับแนวทางหรือ มาตรฐานสากล 5. ปรับประสานมาตรฐานด้านความปลอดภัยและคุณภาพสาหรับผลิตภัณฑ์พืช สวนและผลิตภัณฑ์เกษตรที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ ในอาเซียนให้สอดคล้องกับแนวทางหรือมาตรฐานสากลที่สามารถทาได้
A7 : อาหาร เกษตรและปุาไม้ (Food Agriculture and Forestry) 6. ปรับประสานการควบคุมสุขภาพสัตว์ (ทั้งสัตว์บกและสัตว์น้า) เพื่อความ ปลอดภัยของอาหาร 7. พัฒนากลยุทธ์/ท่าทีร่วมในประเด็นที่อยู่ในความสนใจของอาเซียนกับองค์การระหว่างประเทศ เช่น องค์การการค้าโลก องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ องค์การโรคระบาดสัตว์ ระหว่างประเทศ อนุสัญญาอารักขาพืชระหว่างประเทศ CITES และประเทศคู่เจรจา
8. ส่งเสริมความร่วมมือด้านการวิจัยและการถ่ายโอนเทคโนโลยีสาหรับผลิตภัณฑ์ เกษตร อาหาร และปุาไม้ 9. เสริมสร้างพันธมิตรด้านยุทธศาสตร์ระหว่างสหกรณ์การเกษตรและวิสาหกิจ ชุมชนในอาเซียนผ่านความร่วมมือในระดับทวิภาคี ระดับภูมภิ าค และระดับพหุภาคี
A7 : อาหาร เกษตรและปุาไม้ (Food Agriculture and Forestry) 10. ส่งเสริมการลงทุนทางตรงและการเป็นหุ้นส่วนยุทธศาสตร์กับสหกรณ์ การเกษตรอาเซียน ผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ค้า 11. จัดตั้งการเชื่อมโยงระหว่างภาคธุรกิจกับสหกรณ์การเกษตรที่มีศักยภาพใน อาเซียน 12.จัดตั้งพันธมิตรและแนวทางร่วมกับภาคเอกชนในการส่งเสริมความปลอดภัย ทางอาหาร โอกาสการลงทุนและร่วมลงทุน สนับสนุนการค้าผลิตภัณฑ์เกษตรและ การเข้าสู่ตลาด สาหรับ SME และวิสาหกิจชุมชน 13.ส่งเสริมความพยายามในการต่อต้านการประมงผิดกฎหมาย
การดาเนินงานภายใต้กรอบ ASCC BLUEPRINT การคุ้มครองสวัสดิการแรงงานและสังคม ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม
B2 : เครือข่ายความปลอดภัยทางสังคมและการคุ้มกันจาก ผลกระทบด้านลบจากการรวมตัวอาเซียนและโลกาภิวัฒน์ จัดสัมมนา เสวนาให้ความรู้ความตระหนักถึงผลจากการรวมตัวแก่ ข้าราชการและกลุ่มเกษตรกร เช่น การเตรียมความพร้อมภาคเกษตร (พืช ประมงและปศุสัตว์) การเปิดเสรีการลงทุนและผลการศึกษาผลกระทบ ต่อภาคเกษตร โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเกษตรกร โครงการพัฒนาผู้นาองค์กรและ พัฒนาศักยภาพการผลิต
จัดทาสื่อเผยแพร่ความรู้
B3 : ส่งเสริมความมัน่ คงและความปลอดภัยด้านอาหาร กาหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร และพัฒนาระบบสารสนเทศ (ระบบ National Single Window, ระบบแจ้งเตือนความปลอดภัยด้านอาหารและอาหารสัตว์ของอาเซียน (ARASFF) เพื่อแจ้งเตือนสินค้าไม่ปลอดภัยให้ประเทศสมาชิก และระบบการตรวจสอบ ย้อนกลับ (Traceability) เพื่อส่งเสริมความปลอดภัยด้านอาหารภายในภูมิภาค โครงการระบบสารองข้าวฉุกเฉินของอาเซียน+3 (ASEAN Plus Three Emergency Rice Reserve - APTERR) และ ฐานข้อมูลอาหาร จัดทาแผนปฏิบัติการเรื่อง การประมงอย่างยั่งยืนเพื่อความมั่นคงทางอาหารในทศวรรษหน้า โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวปลอดสารพิษและข้าวอินทรีย์ จัดทาเขตการใช้ที่ดินตามความเหมาะสมของดินกับการปลูกพืชเศรษฐกิจ เป็นต้น
D8: ส่งเสริมความยั่งยืนสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการจัดการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและความ หลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน • วิจัยและพัฒนาด้านการคุ้มครองพันธุ์พืช การอนุรักษ์พันธุกรรมพืช • ควบคุมกฎระเบียบการคุ้มครองพันธุ์พืชตาม พ.ร.บ. คุ้มครองพันธุ์พืช และ พ.ร.บ. พันธุ์พืช • ปรับปรุงพันธุ์และอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพพืชอาหารสัตว์ เป็นต้น
ส่งเสริมความยั่งยืนของทรัพยากรน้าจืด • ความร่วมมือการบริหารจัดการน้าแม่น้าพรมแดนไทย-ประเทศเพื่อนบ้าน • คณะทางาน Mekong River Commission (MRC)
การดาเนินงานภายใต้กรอบ APSC BLUEPRINT
มีกฏเกณฑ์ บรรทัดฐานและค่านิยมร่วมกัน
ส่งเสริมความร่วมมือทางทะเล
การเสริมสร้างความมั่นคง และความปลอดภัยในการเดินเรือ
การฝึกฝนลูกเรือให้เตรียมพร้อมเผชิญภัย
การดาเนินงานภายใต้กรอบแผนงาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คณะอนุกรรมการเตรียมความพร้อมภาคการเกษตรสู่ประชาคมอาเซียน
การเตรียมความพร้อมสูป่ ระชาคมอาเซียน ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 1. การสร้างมาตรฐานและการตรวจสอบสินค้า 2. การผลิตทางการเกษตร 3. การวิจัยและพัฒนา 4. การจัดการศัตรูพืชและโรคระบาด 5. แรงงานเกษตร 6. การลงทุนภาคเกษตร 7. การจัดการดินและนา 8. การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันสินค้าเกษตรที่สาคัญ
1. การสร้างมาตรฐานและการตรวจสอบสินค้าเกษตร แนวทางการดาเนินงานเพื่อเตรียมความพร้อม 1. ปรับประสานมาตรฐานด้านความปลอดภัยและคุณภาพสาหรับผลิตภัณฑ์ พืช ปศุสัตว์ และประมงที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจในอาเซียนให้ สอดคล้องกับมาตรฐานสากล 2. กาหนดมาตรการ กฎระเบียบ เพื่อปูองกันสินค้าที่ไม่มีคุณภาพหรือไม่ได้ มาตรฐาน 3. พัฒนาระบบสารสนเทศสาหรับเสริมสร้างความมั่นคงและ ความ ปลอดภัยด้านอาหารในภูมิภาค รวมถึงแจ้งเตือนมาตรการ กฏระเบียบของประเทศสมาชิกอาเซียน
2. การผลิตทางการเกษตร แนวทางการดาเนินงานเพื่อเตรียมความพร้อม 1. ส่งเสริมให้มีการผลิตสินค้าเกษตรมูลค่าสูง เช่น สินค้าเกษตรอินทรีย์ และการสร้าง มูลค่าเพิ่มของสินค้า เช่น ผลิตภัณฑ์ข้าว ผลิตภัณฑ์ยาง 2. ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต ลดต้นทุนการผลิต พัฒนาคุณภาพผลผลิต โดยส่งเสริม การผลิตสินค้าที่มีมาตรฐานและเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการหลังเก็บเกี่ยว 3. จัดแสดงและจาหน่ายสินค้าของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรที่ได้มาตรฐาน พัฒนาบุคลากร ในการจัดการธุรกิจ และสร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือทั้งภายในและภายนอกประเทศ เพื่อพัฒนาระบบสหกรณ์ รวมถึงความร่วมมือในการพัฒนาด้านสารสนเทศ 4. ศึกษาข้อตกลงของ AEC ที่มีผลกระทบต่อการดาเนินธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร 5. ส่งเสริมทางเลือกอาชีพใหม่ในห่วงโซ่มูลค่าสินค้าเกษตร เช่น การผลิตเมล็ดพันธุ์พชื เพื่อ จาหน่าย
3. การวิจัยและพัฒนา แนวทางการดาเนินงานเพื่อเตรียมความพร้อม
1. ให้ความสาคัญกับการส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา ด้านการเกษตร 2. ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนความรู้กับประเทศสมาชิก
4. การจัดการศัตรูพืชและโรคระบาด แนวทางการดาเนินงานเพื่อเตรียมความพร้อม 1. เพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการการปูองกันโรคระบาดโรคพืชและ โรคสัตว์ โดยกาหนดมาตรการเฝูาระวังการแพร่ระบาดของโรคและแมลง และการกักกันพืชและสัตว์ที่นาเข้าจากต่างประเทศ การจัดทาเขตปลอด โรคระบาดสัตว์ รวมทัง้ การเพิ่มการผลิตวัคซีนในการปูองกันโรคสัตว์ และ วิธีการปูองกันกาจัดศัตรูพืช 2. เพิ่มความเข้มงวดในการเคลื่อนย้ายสินค้าพืช ปศุสัตว์และประมง 3. ปรับประสานระบบกักกันและวิธีตรวจสอบสุขอนามัยพืชและสัตว์ รวมถึง เพิ่มศักยภาพของด่านกักกันพืชและสัตว์
5. แรงงานเกษตร แนวทางการดาเนินงานเพื่อเตรียมความพร้อม เตรียมความพร้อมเกษตรกรเพื่อปรับตัวในการใช้เทคโนโลยีและ เครื่องจักรกลทางการเกษตรเพื่อทดแทนแรงงานเกษตร
6. การลงทุนภาคเกษตร แนวทางการดาเนินงานเพื่อเตรียมความพร้อม 1. สนับสนุนการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้านเพื่อใช้สิทธิพิเศษทาง การค้า (GSP) 2. ปรับปรุงกฏระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนให้รัดกุมและทันสมัย
7. การจัดการดินและน้า แนวทางการดาเนินงานเพื่อเตรียมความพร้อม ส่งเสริมความร่วมมือในการพัฒนาบริหารจัดการทรัพยากรดินและน้า อย่างบูรณาการและเป็นระบบในภูมิภาคอาเซียน
8. การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันของสินค้าเกษตรที่สาคัญ Thailand Competitiveness Matric (TCM) Attractiveness Factors Competitiveness Factors
Quadrant : New Wave, Opportunity, Star Trouble, Question, Failing Star 6
Thailand Competitiveness Matrix : TCM New Wave
Opportunity
Star
• เป็นสินค้าที่มีความ ต้องการสูง แต่มขี ีด ความสามารถในการ แข่งขันอยู่ในระดับต่า ในทุกๆ ด้านของห่วงโซ่ มูลค่า ต้องมีการพัฒนา หรือปรับตัวให้สามารถ แข่งขันได้ดีขึน
• เป็นสินค้าที่มีอนาคต เนื่องจากมีความ ต้องการทางการตลาด สูงและมีศักยภาพใน การสร้างรายได้ แต่มี ขีดความสามารถในการ แข่งขันปานกลางโดยมี ปัญหาที่เกิดจากห่วงโซ่ ในบางส่วน
• เป็นสินค้าที่ไทยเป็น ประเทศผู้ผลิตและ ส่งออกรายใหญ่ที่สุดใน อาเซียน ความต้องการ สินค้าในตลาดอาเซียน อยู่ในระดับสูง ซึ่งพิจารณาจากการ ขยายตัวในการนาเข้า สินค้าของประเทศใน อาเซียน และพิจารณา ความสามารถในการ แข่งขันซึ่งอยู่ในระดับสูง เมื่อเทียบกับคู่แข่ง
Thailand Competitiveness Matrix : TCM Trouble
Question Mark
Falling Star
• เป็นสินค้าที่มีความ ต้องการของตลาดและ ความสามารถในการ แข่งขันในระดับต่า
• เป็นสินค้าที่มีความ ต้องการทางการตลาด ต่า แม้จะมี ความสามารถในการ แข่งขันอยู่ในเกณฑ์ปาน กลาง เพราะมีปัญหาที่ เกิดจากห่วงโซ่มลู ค่า บางส่วน จาเป็นต้อง ปรับตัวให้อยู่รอดหรือ ปรับเปลี่ยนการผลิต
• เป็นสินค้าที่มีความ ต้องการทางการตลาด ต่า แต่มีความสามารถ ในการแข่งขันสูง อยู่ใน เกณฑ์ดีของทุกห่วงโซ่ มูลค่า จึงต้องพัฒนา และเพิ่มช่องทาง การตลาดเพื่อปรับตัวให้ อยู่รอดหรือปรับเปลี่ยน การผลิต
การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันของสินค้าเกษตรที่สาคัญ ประมง
ปศุสัตว์
ผลไม้
กุ้ง
ไก่เนื้อและ ผลิตภัณฑ์
ทุเรียน
ไข่ไก่
ลาไย
ปลาทูน่า ปลานิล กุ้ง ก้ามกราม
โคนมและ ผลิตภัณฑ์ โคเนื้อและ ผลิตภัณฑ์ สุกร
ข้าว
ไม้ยืนต้น
พืชไร่
ปาล์มน้ามัน
มัน สัมปะหลัง
มะพร้าว
มังคุด มะม่วง สับปะรด
ยางพารา กาแฟ
ข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ อ้อยโรงงาน
ไหม
ภาพสรุปการวิเคราะห์ศักยภาพแข่งขันของสินค้าเกษตรที่สาคัญ Opportunity
Star
Trouble
Question Mark
Falling Star
Low
Attractiveness
High
New Wave
60%
Competitiveness
80%
100%
แนวทางการพัฒนาการเกษตรของไทย Quality
Productivity
Standards
พัฒนาระบบ การผลิต
เรียนร้ ู ใส่ ใจ ใช้ ประโยชน์ จาก AEC One Vision One Identity One Community