ระเบียบสานักนายกรั ฐมนตรี ว่ าด้ วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ ไขเพิม่ เติม
สำนักมำตรฐำนกำรจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐ
7/11/2012
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่ าด้ วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และทีแ่ ก้ ไขเพิม่ เติม
สานักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
สานักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
1
7/11/2012
หลักการบริหารพัสดุ
3
การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ แบ่งออกเป็ น 5 ระยะ คือ ระยะที่ 1
ระยะที่ 2
การกาหนด ความต้ องการ และการขอ งบประมาณ
การเตรียมการ จัดซื้อจัดจ้าง
ระยะที่ 3
การจัดซื้อจัดจ้าง
ระยะที่ 4
การบริ หาร สัญญา
ระยะที่ 5
การควบคุมและ จาหน่ ายพัสดุ
สานักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
2
7/11/2012
การใช้บงั คับตามระเบียบฯ การใช้ บังคับ
ส่ วนราชการ
การพัสดุ
เงิน งปม. เงินกู้ เงินช่ วยเหลือ
5
6
3
7/11/2012
การซือ้ ทุกชนิดที่มีการติดตัง้ ทดลอง และบริการอื่นที่เกี่ยวเนื่อง การซื้อโดยระบุยหี่ ้ อสิ นค้ าได้ หรื อไม่ ? ตามมติ ครม. แจ้ ง ตามหนั ง สื อ ส านั ก เลขาธิ ก ารคณะรั ฐ มนตรี ที่ สร 0203/ว 52 ลงวันที่ 28 มีนาคม 2520 กาหนดห้ ามมิให้ ส่วนราชการ ระบุยี่ห้อสิ นค้ าที่จะซื้อ หรื อกาหนดคุณลักษณะเฉพาะให้ ใกล้ เคียงยี่ห้อใด ยีห่ ้ อหนึ่ง ข้ อยกเว้ น เว้ นแต่ เป็ นพัสดุที่โดยลักษณะของการใช้ งานหรื อมีข้อจากัด ทางเทคนิคทีจ่ าเป็ นต้ องระบุยหี่ ้ อเป็ นการเฉพาะ ตามระเบียบฯ ข้ อ 23 (6) ดังนั้น ในกรณีจาเป็ นต้ องระบุยี่ห้อ ควรใช้ วิธีพิเศษ จะใช้ สอบราคาหรื อ ประกวดราคามิได้
7
การจ้ าง : การจ้ างทาของ การรั บขนตาม ปพพ. และ การจ้ า งเหมาบริ ก าร แต่ ไ ม่ ร วมถึ ง การจ้ า งลู ก จ้ า งของ ส่ วนราชการการรั บขนในการเดินทางไปราชการ การจ้ าง ที่ปรึ กษา การจ้ างออกแบบและควบคุมงาน และการจ้ าง แรงงาน
8
4
7/11/2012
- งานก่ อสร้ างตามหลักทั่วไปที่มีกฎหมาย ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรีหรือหนังสือเวียนที่เกี่ยวข้ องอ้ างอิงได้
1. งานเคลื่อนย้ ายอาคาร 2. งานดัดแปลง งานต่ อเติม งานรื อ้ ถอนและงานซ่ อมแซม ซึ่งส่ วนราชการเห็นว่ ามีความจาเป็ นจะต้ องมีการควบคุม และดูแลการปฏิบัตงิ านของผู้รับจ้ างตลอดเวลาดาเนินการ ตามความเหมาะสม (ที่ นร (กวพ)1204/ว 1939 ลว 24 ก.พ.2537) 9
สานักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
การมอบอานาจ ผู้มอี านาจ ดาเนินการ ตามระเบียบฯ (ส่ วนกลาง : อธิบดี/ หน.สรก ที่เรียกชื่อ อย่ างอืน่ และมีฐานะ เป็ นนิตบิ ุคคล ส่ วนภูมภิ าค : ผู้ว่าราชการจังหวัด)
มอบอานาจ เป็ นหนังสื อ ให้ แก่ ผ้ ดู ารง ตาแหน่ งใดก็ได้
คานึงถึงระดับ ตาแหน่ งหน้ าที่และ ความรับผิดชอบของ ผู้ที่จะได้ รับมอบอานาจเป็ นสาคัญ (ผู้รับมอบอานาจจะมอบ อานาจให้ แก่ ผ้ ดู ารงตาแหน่ ง อืน่ ต่ อไปไม่ ได้ )
10
5
7/11/2012
การมอบอานาจ (ต่ อ) มอบอานาจต่ อตามระเบียบกระทรวงกลาโหม
ผู้มอบ อานาจ
มอบอานาจให้ แก่ ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ว่าฯ สามารถมอบอานาจต่ อ แจ้ ง
รองผู้ว่าฯ , ผู้ช่วยผู้ว่าฯ , ปลัดจังหวัด , หัวหน้ าส่ วนราชการ ประจาจังหวัด
บุคคลอืน่
ได้ รับความเห็นชอบ
• เจ้ าหน้ าทีพ่ สั ดุ
• • • •
- โดยตาแหน่ ง - โดยแต่ งตั้ง (ข้ าราชการ, ลูกจ้ างชั่ วคราว, ลูกจ้ างประจา, พนักงานราชการ, พนักงานมหาวิทยาลัย) หัวหน้ าเจ้ าหน้ าทีพ่ สั ดุ - โดยตาแหน่ ง - โดยแต่ งตั้ง (ข้ าราชการ) หัวหน้ าส่ วนราชการ - อธิบดี (ส่ วนกลาง) - ผู้ว่าราชการจังหวัด (ส่ วนภูมิภาค) ผู้มีอานาจอนุมัติสั่งซื้อ-จ้ าง - หัวหน้ าส่ วนราชการ - ปลัดกระทรวง - รัฐมนตรีเจ้ าสั งกัด คณะกรรมการต่ าง ๆ /ผู้ควบคุมงาน
6
7/11/2012
คณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคา คณะกรรมการรับ และเปิ ดซองประกวดราคา คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพเิ ศษ คณะกรรมการจัดจ้ างโดยวิธีพเิ ศษ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ คณะกรรมการตรวจการจ้ าง /ผู้ควบคุมงาน คณะกรรมการกาหนดราคากลาง (มติคณะรัฐมนตรี) สานักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
13
แต่งตัง้ กรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา เป็น กรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา แต่งตัง้ กรรมการเปิดซองสอบราคา หรือกรรมการ พิจารณาผลการประกวดราคาเป็น กรรมการตรวจรับพัสดุ
สานักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
14
7
7/11/2012
ถาม
เป็ นหัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ โดยตาแหน่งหรือได้รบั การ แต่งตั้งสามารถแต่งตั้งเป็ นคณะกรรมการ ตรวจงานจ้างได้ หรือไม่ ? ระเบียบฯ พ.ศ. ๒๕๓๕ มิได้มีขอ้ กาหนดห้ามหัวหน้า เจ้าหน้าที่พสั ดุเป็ นคณะกรรมการตรวจการจ้าง แต่ใน ทางปฏิบตั ิน้นั หัวหน้าเจ้าหน้าทีพ่ สั ดุเป็ นประสานงานระหว่าง ผูค้ วบคุมงาน คณะกรรมการตรวจการจ้าง และหัวหน้า ส่วนราชการ ดังนั้น อาจจะมีความไม่เหมาะสมทีจ่ ะทาการ แต่งตั้งหัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุเป็ นคณะกรรมการตรวจการจ้าง
ประธาน 1 คน กรรมการอืน่ อย่างน้ อย 2 คน แต่ งตั้งจากข้ าราชการ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย หรือพนักงานของรัฐ ** ทั้ง นี้ โดยคานึ ง ถึ ง ลัก ษณะหน้ า ที่แ ละความรั บ ผิด ชอบของ ผู้ทไี่ ด้ รับแต่ งตั้งเป็ นสาคัญ ** ในกรณีจาเป็ นหรื อเพื่อประโยชน์ ของทางราชการ จะแต่ งตั้ง บุคคลอืน่ อีกไม่ เกิน 2 คน ร่ วมเป็ นกรรมการด้ วยก็ได้ (ปรับปรุงตามระเบียบฯ ฉบับที่ 7 พ.ศ. (2552) )
สานักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
16
8
7/11/2012
กวพ. อนุมัติให้ ส่วนราชการสามารถแต่ งตั้งลูกจ้ างประจาของ ส่ วนราชการเป็ นกรรมการ ตามระเบียบฯ โดยการแต่ งตั้ง ลูกจ้ างประจา จะต้ องคานึงถึงความรู้ ความสามารถ ลักษณะงาน หน้ าที่และความรับผิดชอบของผู้ทไี่ ด้ รับแต่ งตั้งเป็ นสาคัญ (ตามหนังสื อกรมบัญชี กลาง ด่ วนทีส่ ุ ด ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 417 ลว. 22 ตค. 53) ** การแต่ งตั้งคณะกรรมการจะต้ องแต่ งตั้งเป็ นครั้ง ๆ ไป (ไม่ จาเป็ นต้ องมีรูปแบบ) สานักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
17
หลักการตามระเบียบฯ สาหรับการซื้อ / จ้ าง
ไม่ เกิน 10,000 บาท ตามระเบียบฯ ข้ อ 35 วรรคท้ าย ให้ แต่ งตั้งข้ าราชการ / ลูกจ้ างประจาคนหนึ่ง ซึ่งมิใช่ ผ้ จู ัดซื้อ หรือจัดจ้ าง เป็ นผู้ตรวจรับพัสดุหรืองานจ้ างนั้น กวพ. อนุมัติผ่อนผันการแต่ งตั้ง พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย หรือพนักงานของรัฐ เป็ นผู้ตรวจรับพัสดุหรืองานจ้ าง (ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 341 ลว. 20 กย. 53)
สานักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
18
9
7/11/2012
การประชุมของคณะกรรมการ องค์ประชุม มติกรรมการ ยกเว้น
- ประธาน + กรรมการไม่ น้อยกว่ ากึง่ หนึ่ง และประธานจะต้ องอยู่ด้วยทุกครั้ง - ถือเสี ยงข้ างมาก - ถ้ าเสี ยงเท่ ากันให้ ประธานออกเสี ยง เพิม่ อีก 1 เสี ยง - คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ - คณะกรรมการตรวจการจ้ าง - ต้ องใช้ มติเอกฉันท์ 19
เ มื่ อ ถึ ง ก า ห น ด เ ว ล า เ ปิ ด ซ อ ง ส อ บ ร า ค า ห รื อ รั บ ซองประกวดราคาให้ กรรมการที่ ม าเลื อ กกรรมการ คนหนึ่ ง ท าหน้ าที่ ป ระธาน โดยให้ ปฏิ บั ติ ห น้ าที่ เ ฉพาะ ข้ อ 42 (1) หรือข้ อ 49 แล้วรายงานประธาน
20
10
7/11/2012
นอกจากวิธีพเิ ศษ / กรณีพเิ ศษ 1. หัวหน้ าส่ วนราชการ (ไม่ เกิน 50 ล้ านบาท) 2. ปลัดกระทรวง (เกิน 50 ล้ านบาท ไม่ เกิน 100 ล้ านบาท) 3. รัฐมนตรี (เกิน 100 ล้ านบาท) 4. ผู้ท่ ไี ด้ รับมอบอานาจ
21
โดยวิธีพเิ ศษ 1. หัวหน้ าส่ วนราชการ (ไม่ เกิน 25 ล้ านบาท) 2. ปลัดกระทรวง (เกิน 25 ล้ านบาท ไม่ เกิน 50 ล้ านบาท) 3. รัฐมนตรี (เกิน 50 ล้ านบาท) โดยวิธีกรณีพเิ ศษ
- หัวหน้ าส่ วนราชการไม่ จากัดวงเงิน 22
11
7/11/2012
ใครเป็ นผูอ้ อกแบบค ุณลักษณะเฉพาะ เจ้ าหน้ าทีพ่ สั ดุ คณะกรรมการทีส่ ่ วนราชการแต่ งตั้ง ผู้ใช้ พสั ดุ งานก่อสร้ างแบบรู ปรายการ (อาจจ้ างเอกชนเป็ นผู้ออกแบบ)
23
หลักการในการกาหนด spec. ** การกาหนดรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุ หรือ งานจ้ าง/คุณสมบัติของผู้เสนอราคา หรือผู้เสนองาน ** เป็ นอานาจของหน่ วยงานทีจ่ ดั หาพัสดุ สามารถใช้ ดุลยพินิจ กาหนดและวินิจฉัยได้ ตามความต้ องการของหน่ วยงาน แต่ ต้ องอยู่ภายใต้ หลักเกณฑ์ ตามทีก่ ฎหมาย ระเบียบ ข้ อบังคับ คาสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรีทเี่ กีย่ วข้ องกาหนดไว้
*** การวินิจฉัยตีความคุณสมบัติของผู้เสนอราคา หรือผู้เสนองาน แต่ ละรายว่ าเป็ นไปตามเงือ่ นไขทีก่ าหนดไว้ หรือไม่
12
7/11/2012
โครงสร้างของอานาจตามระเบียบ อานาจดาเนินการ - อานาจในการให้ ความเห็นชอบในการซื้อจ้ าง - อานาจในการแต่ งตั้งคณะกรรมการ อานาจสั่ งซื้อสั่ งจ้ าง อานาจลงนามในสั ญญา
25
1. 2. 3. 4. 5. 6.
วิธีตกลงราคา วิธีสอบราคา
ไม่ เกิน 100,000 บาท เกิน100,000 บาท ไม่ เกิน 2,000,000 บาท วิธีประกวดราคา เกิน 2,000,000 บาท วิธีพเิ ศษ เกิน 100,000 บาท แต่ มีเงือ่ นไข วิธีกรณีพเิ ศษ ไม่ มีกาหนดวงเงิน แต่ มีเงือ่ นไข วิธีประมูลด้ วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) ตามระเบียบฯ พัสดุ ปี 49 26
13
7/11/2012
กรณี1: ใช้วงเงินเป็ นตัวกาหนดวิธีการ ครั ง้ หนึ่งไม่ เกิน ครั ง้ หนึ่งเกินกว่ า แต่ ไม่ เกิน ครั ง้ หนึ่งเกินกว่ า
100,000 100,000 2,000,000 2,000,000
บาท บาท บาท บาทขึน้ ไป
กรณี2: ใช้วงเงินและเงื่อนไขเป็ นตัวกาหนดวิธีการ วงเงินเกินกว่ า 100,000 บาท o เงื่อนไขอย่ างใดอย่ างหนึ่งตามข้ อ 23 o
วงเงินเกินกว่ า 100,000 บาท o เงื่อนไขอย่ างใดอย่ างหนึ่งตามข้ อ 24 o
14
7/11/2012
กรณี3: ใช้เงื่อนไขเป็ นตัวกาหนด ได้ แก่ การซือ้ /จ้ างจากส่ วนราชการ, รั ฐวิสาหกิจ, หน่ วยงานตามกฎหมายท้ องถิ่น เงือ่ นไข: 5.1) เป็ นผู้ทา/ผลิตเองและนายกรั ฐมนตรี อนุมัตหิ ลักการแล้ ว 5.2) มีกฎหมาย/มติคณะรั ฐมนตรี ให้ ผ้ ซู อื ้ / จ้ าง
กรณี 4: อื่นๆ การจัด ซือ้ / จ้ า งด้ ว ยวิธี ก ารทางอิเล็ ก ทรอนิ ก ส์ ปั จจุ บั น ใช้ บั ง คั บ ตามระเบี ย บส านั ก นายกรั ฐ มนตรี ว่ า ด้ ว ยการพั ส ดุ ด้ วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 การซือ ้ / การจ้ าง ครั ง้ หนึ่งมีราคาตัง้ แต่ 2,000,000 บาท ต่ ากว่ า เป็ นดุลพินิจ
15
7/11/2012
แบบของ การจัดซื้อจัดจ้ าง
ไม่ แข่ งขัน
แข่ งขัน
สานักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
31
การจัดหาโดยวิธีทไี่ ม่มกี ารแข่งขันราคา วิธีตกลงราคา วิธีพิเศษ
วิธีกรณีพิเศษ 32
16
7/11/2012
การจัดหาโดยวิธีทมี่ กี ารแข่งขันราคา วิธีสอบราคา คณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคา
วิธีประกวดราคา คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา
วิธีประกวดราคาด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ คณะกรรมการประกวดราคาตามโครงการ 33
แบบแข่ งขัน กับแบบไม่ แข่งขันมีหลักการแตกต่ างกันอย่ างไร • แบบไม่ แข่ งขัน
o ต้ องตรวจสอบได้
• แบบแข่ งขัน
o ต้ องเปิ ดเผย - ประกาศทราบทั่วกัน o ต้ องโปร่ งใส - ตรวจสอบได้ o ต้ องเป็ นธรรม - เงื่อนไข เสมอภาค ไม่ ขัดขวาง - ผ่ อนปรน ไม่ ก่อให้ เกิดการได้ เปรียบเสี ยเปรียบ - ตรวจสอบผู้มผี ลประโยชน์ ร่วมกัน
สานักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
34
17
7/11/2012
การแบ่ งซื้อ แบ่ งจ้ าง หมายถึง การลดวงเงินทีจ่ ะซื้อ หรือจ้ างในครั้งเดียวกัน ออกเป็ นหลายครั้ง โดยไม่ มีเหตุผลความจาเป็ น และมีเจตนาทีจ่ ะหลีกเลีย่ ง 1) แบ่ งวงเงิน ให้ ลดลงเพือ่ เปลีย่ นวิธีจัดหาพัสดุ 2) ให้ ผู้มอี านาจสั่ งซื้อ สั่ งจ้ าง เปลีย่ นไป
35
วงเงินทีไ่ ด้ รับมาพร้ อมกันหรือไม่ พัสดุทจี่ ะจัดหาเป็ นประเภทเดียวกันหรือไม่ พิ จ ารณาจากความต้ องการของ ผู้ใช้ พสั ดุว่าต้ องการใช้ พร้ อมกันหรือไม่ 36
18
7/11/2012
Q ได้ร ับ งบประมาณในการจั ด ซื้ อครุ ภ ัณ ฑ์ห ลายประเภท ในคราวเดี ย วกั น เช่ น คอมพิ ว เตอร์ พ ร้ อ มอุ ป กรณ์ 100 เครือ่ ง เป็ นเงิน 1,500,000 บาท เครือ่ งตัดหญ้า 10 เครื่อง เป็ นเงิน 650,000 บาท จะต้องดาเนินการ จัดซื้ อในคราวเดียวกันหรือไม่ อย่างไร ?
ขอความเห็นชอบ
ดาเนินการ วิธีจัดซื้อจัดจ้ างทั่วไป 6 วิธี
ขออนุมัติ หัวหน้ าส่ วนราชการ - ปลัดกระทรวง/ทบวง - รัฐมนตรีเจ้ าสังกัด
การทาสั ญญา หัวหน้ าส่ วนราชการ
การตรวจรับ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ คณะกรรมการตรวจการจ้ าง/ ผู้ควบคุมงาน 38
19
7/11/2012
การจัดทารายงาน
39
การจัดทารายงานขอซื้ อขอจ้าง ...จัดทาเมื่อใด ?
หลักการ
** ก่อนการจ้ างทุกวิธี ต้ องทารายงานขอซื้อหรือขอจ้ าง**
เว้ นแต่ การจัดหาโดยวิธี e-Auction ให้ ดาเนินการ ภายหลังจากขั้นตอนการจัดทาและวิจารณ์ TOR เสร็ จสิ ้นแล้ ว 40
20
7/11/2012
เจ้ าหน้ าทีพ่ สั ดุ หัวหน้ าเจ้ าหน้ าทีพ่ สั ดุ หัวหน้ าส่ วนราชการ
41
ก่ อนการซือ้ – จ้ างทุกวิธี ต้ องทารายงานฯ ตามข้ อ 27 นอกจากการซือ้ ที่ดินและหรื อ สิ่งก่ อสร้ างฯ ที่ต้องทารายงานเสนอหัวหน้ าส่ วนราชการ ตามข้ อ 28 ข้ อยกเว้ น ข้ อ 39 วรรคสอง ไม่ ต้องมีรายงาน ตามข้ อ 27 42
21
7/11/2012
o เหตุผลความจาเป็ นทีต่ ้ องซื้อหรือจ้ าง o รายละเอียดของพัสดุ o ราคามาตรฐาน หรือ ราคากลาง หรือ ราคาครั้งหลังสุ ดไม่ เกิน 2 ปี งบประมาณ o วงเงินทีจ่ ะซื้อ / จ้ าง ระบุวงเงิน งปม. เงินกู้ เงินช่ วยเหลือ ทีจ่ ะซื้อ/จ้ างในครั้งนั้น o กาหนดเวลาทีต่ ้ องการใช้ พสั ดุ o วิธีจะซื้อ / จ้ าง และเหตุผลทีต่ ้ องซื้อ/จ้ างโดยวิธีน้ัน o ข้ อเสนออื่น ๆ - การแต่ งตั้งคณะกรรมการ - การออกประกาศสอบราคา หรือ ประกวดราคา
43
** การซื้อ/จ้ าง โดยวิธีตกลงราคา ในวงเงินไม่ เกิน 10,000 บาท และ วิธีพเิ ศษกรณีเร่ งด่ วนตาม 23 (2) หรือ 24 (3) ซึ่งไม่ อาจทารายงาน ตามปกติได้ เจ้ าหน้ าทีพ่ สั ดุหรือเจ้ าหน้ าทีผ่ ู้รับผิดชอบนั้นจะทา รายงานขอซื้อหรือขอจ้ างเฉพาะรายการทีเ่ ห็นว่ าจาเป็ นก็ได้
ข้ อยกเว้ น ทีไ่ ม่ ต้องทารายงานตามข้ อ 27 ** การซื้อ/จ้ าง โดยวิธีตกลงราคา ในกรณีจาเป็ นและเร่ งด่ วน เกิดขึน้ โดยไม่ ได้ คาดหมายไว้ ก่อน และไม่ อาจดาเนินการตามปกติได้ ทนั ตามข้ อ 39 วรรคสอง ไม่ ต้องรายงานขอซื้อหรือขอจ้าง แต่ ต้องทา รายงานขอความเห็นชอบต่ อหัวหน้ าส่ วนราชการ 44
22
7/11/2012
การดาเนินการโดยวิธีตกลงราคา ข้อ 39 วรรคแรก เจ้ าหน้ าที่ พัสดุ
4
1 รายงาน (27)
5
หัวหน้ าเจ้ าหน้ าทีพ่ สั ดุ เห็นชอบ (29)
หัวหน้ าส่ วนราชการ
2
ใบสัง่
ผู้ขาย/ผู้รับจ้ าง 6
ส่งของ/งาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ ตรวจการจ้ าง ผู้ตรวจรับพัสดุ/ผู้ตรวจรับการจ้ าง 45
การดาเนินการโดยวิธีตกลงราคา ข้อ 39 วรรคสอง
วิธีการ กรณีจาเป็นเร่งด่วน ไม่ได้คาดหมายไว้กอ่ น ดาเนินการตามปกติ ไม่ทนั
เจ้าหน้าที่พสั ด ุ หรือผูร้ บั ผิดชอบ
ดาเนินการไปก่อน รายงานขอความเห็นชอบ หัวหน้าส่วนราชการ ใช้รายงานเป็นหลักฐาน การตรวจรับ
46
23
7/11/2012
การตรวจสอบผูเ้ สนอราคาที่มีผลประโยชน์รว่ มกัน (ระเบียบข้อ 5 ประกอบข้อ 15 ตรี วรรคสอง) ผู้เสนอราคาทีม่ ผี ลประโยชน์ ร่วมกัน หมายถึง 1. บุคคล /นิติบุคคล เป็ นผู้มสี ่ วนได้ เสี ย (ทางตรง/อ้อม) รวมคู่สมรส/บุตรยังไม่ บรรลุนิติภาวะ ได้ แก่ - มีความสั มพันธ์ ในเชิงบริหาร - มีความสั มพันธ์ ในเชิงทุน - มีความสั มพันธ์ ในลักษณะไขว้ กนั 2. เข้ าเสนอราคา /เสนองาน ในคราวเดียวกัน 47
ความสัมพันธ์ ในเชิงบริหาร • ผูจ้ ดั การ • หน้ ุ ส่วนผูจ้ ดั การ • กรรมการ ผูจ้ ดั การ • ผูบ้ ริหาร • ผูม้ ีอานาจในการ ดาเนินงาน
มีอานาจหรือ สามารถใช้ อานาจในการ บริหารจัดการ กิจการ
บุคคลหรือนิติบุคคล อีกรายหนึ่งหรือ หลายราย
48
24
7/11/2012
ความสัมพันธ์ ในเชิงทุน
หุ้นส่ วนในห้ างหุ้นส่ วนสามัญ หุ้นส่ วนไม่ จากัดความรับผิดใน หจก. ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ใน บจก., บ.มหาชน (>25% / กวพ.กาหนด) o หุ้นส่ วนในห้ างหุ้นส่ วน สามัญ/หจก. o ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ใน บจก./บมจ. 49
ความสัมพันธ์ ในลักษณะไขว้กนั • ผู้จดั การ • หุ้นส่ วนผู้จดั การ • กรรมการผู้จดั การ • ผู้บริหาร • ผู้มีอานาจในการดาเนินงาน
• หุ้นส่ วนในห้ างหุ้นส่ วน สามัญ/หจก. • ผู้ถอื หุ้นรายใหญ่ ใน บจก./บมจ.
50
25
7/11/2012
บริษัท A เชิงบริหาร นาย ก. กรรมการผู้จัดการ เชิงทุน
นาย ก. ถือหุ้น 26%
เชิงไขว้
นาย ก. ถือหุ้น 26%
บริษัท B
หจก. C
นาย ข. กรรมการผู้จัดการ
นาย ก. หุ้นส่ วนผู้จัดการ
นาย ก. ถือหุ้น 20%
นาย ก. เป็ นหุ้นส่ วนประเภท ไม่ จากัดความรับผิดชอบ
นาย ก. หุ้นส่ วนผู้จัดการ
51
ผู้มีหน้ าที่จดั ทาเอกสารสอบราคา เจ้ าหน้ าที่พสั ดุ ผู้มีหน้ าที่ลงนามในการทาเอกสารสอบราคา หัวหน้ าเจ้ าหน้ าที่พสั ดุ
52
26
7/11/2012
ข้ อ 27
เจ้ าหน้ าทีพ่ สั ดุ
ข้ อ 29
จัดทาประกาศ (ข้ อ 40) เผยแพร่ เอกสาร
หัวหน้ าส่ วนราชการ
- ก่ อนวันเปิ ดซองสอบราคาไม่ น้อยกว่ า 10 วัน สาหรับสอบราคาในประเทศ หรือ ไม่ น้อยกว่ า 45 วัน สาหรับสอบราคานานาชาติ - จนท. พัสดุส่งประกาศเผยแพร่ เอกสารสอบฯ ไปยังผู้มีอาชีพขายหรือรับจ้ างโดยตรง หรือ ทางไปรษณีย์ลงทะเบียนให้ มากที่สุด - ปิ ดประกาศเผยแพร่ ณ ที่ทาการโดยเปิ ดเผย - ประกาศเผยแพร่ ในเว็บไซต์ หน่ วยงาน+ กรมบัญชี กลาง (ตามมติ ครม. ) 53
การยืน่ ซอง
การรับซอง
การเก็บรักษาซอง
- ผูเ้ สนอราคาจะต้องผนึกซองจ่าหน้าถึง ประธานกรรมการ - ยื่นซองด้วยตนเอง / ทางไปรษณีย ์ (กรณีที่กาหนดไว้)
- เจ้าหน้าที่ลงรับโดยไม่เปิดซอง - ระบ ุวันและเวลาที่รบั ซอง - ส่งมอบซองให้แก่หวั หน้าเจ้าหน้าที่พสั ด ุทันที - หัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ด ุส่งให้ คกก. เปิ ดซอง โดยพลัน หลังครบกาหนดรับซอง (ตามหนังสือเวียน ด่วนมาก ที่ นร (กวพ)1305/ว 7286 ลว. 20 ส.ค. 42)
27
7/11/2012
... ?... วัน คานึงถึงตรวจฮัว้
ปิดรับซอง
วันรับซอง
ประกาศ - รับซอง
พิจารณาผู้มีผลประโยชน์ ร่ วมกัน
อย่ างน้ อย 10 วัน
เปิ ดซอง
55
ปัญหาเกีย่ วกับวิธีสอบราคา วงเงินเกิน 100,000 บาท แต่ ไม่ เกิน 2 ล้านบาท ปัจจุบัน หากได้ รับ งปม. 2 ล้ านบาท พอดี ไม่ อาจสอบราคาได้ ต้องปฏิบัตติ ามระเบียบฯ ปี 49 (e-Auction)
ไม่ มีการขายเอกสารสอบราคา หากจะขายต้ องใช้ วธิ ีประกวดราคา ไม่ มีหลักประกันซอง ไม่ อาจนาวิธีการแบบ 2 ซอง ตามวิธีการประกวดราคามาใช้ ได้ วันประกาศห่ างจากวันปิ ดรับซอง ไม่ น้อยกว่า 10 วัน เริ่มต้ นรับซองนับตั้งแต่ วันประกาศ วันปิ ดรับซอง จะต้ องห่ างจากวันเริ่มต้ นรับซองไม่ น้อยกว่า 10 วัน วันประกาศ วันรับซอง
... ?... วัน คานึงถึงตรวจฮั้ว
รับซองอย่างน้ อย ๑๐ วัน
ปิ ดรับซอง
เปิ ดซอง
28
7/11/2012
การดาเนินการโดยวิธีสอบราคา คณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคา (ข้ อ 42) ขั้นที่ 1 ตรวจสอบผู้เสนอราคาทีม่ ผี ลประโยชน์ ร่วมกัน + ประกาศชื่อผู้ผ่านการตรวจสอบ
ขั้นที่ 2 เปิ ดซองใบเสนอราคาเฉพาะผู้ไม่ มผี ลประโยชน์ ร่วมกัน + อ่านแจ้ งราคา บัญชีรายการเอกสารหลักฐาน + ลงชื่อกากับ ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เสนอราคา ใบเสนอราคา แคตตาล็อก หรือแบบรู ปรายการละเอียด แล้วคัดเลือกผู้เสนอราคาทีถ่ ูกต้ อง ตามเงื่อนไขในเอกสารสอบราคา 57
การดาเนินการโดยวิธีสอบราคา ขั้นที่ 3 คัดเลือกพัสดุหรืองานจ้ างทีผ่ ่านขั้นตอนที่ 2 ทีม่ คี ุณภาพและ คุณสมบัติเป็ นประโยชน์ ต่อทางราชการ
** หนังสือ ที่ นร (กวพ) 0901/ว 48 ลว. 14 ก.ค. 29 การคัดเลือกคุณภาพและคุณสมบัติ ดังกล่ าว มุ่งหมายถึง การพิจารณาจากเกณฑ์ ในส่ วนที่ ไม่ สามารถกาหนดไว้ เป็ นเงือ่ นไข ในประกาศ **
ขั้นที่ 4 เสนอให้ ซื้อหรือจ้ างจากรายทีค่ ดั เลือกไว้แล้ว ซึ่งเสนอราคาต่าสุด
ข้ อสั งเกต รายที่เลือกไม่ ยอมเข้ าทาสั ญญา ให้ พจิ ารณารายต่าถัดไป ราคาเท่ ากันหลายราย ให้ ผ้ ทู เี่ สนอราคาดังกล่ าวยื่นซองใหม่ ถูกต้ องตามเอกสารสอบราคารายเดียว ให้ ดาเนินการตามขั้นที่ 3 โดยอนุโลม
ขั้นที่ 5 รายงานผลและความเห็น ต่ อหัวหน้ าส่ วนราชการเพือ่ สั่งการ 58
29
7/11/2012
การพิจารณาไม่ รับราคาต่าสุ ด เครื่องมือ พรฎ.ว่าด้ วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้ านเมืองทีด่ ี พ.ศ. 2546 มาตรา 23 ข้ อสงวนสิ ทธิในเงื่อนไขเอกสารสอบราคา/ประกวดราคา วิธีการ การตรวจสอบรับรองจากผู้เชี่ ยวชาญที่เชื่ อถือได้ ข้ อมูลหรือหลักฐานทีช่ ั ดเจน โดยตรง ปราศจากข้ อโต้ แย้ ง ดาเนินการตั้งแต่ ช้ ั นการตรวจสอบพัสดุ/งานจ้ างทีม่ ีคุณภาพและ คุณสมบัติเป็ นประโยชน์ ต่อราชการ
กรณีเกินวงเงิน (ข้ อ 43) เรียกรายต่าสุ ดมาต่ อรองให้ อยู่ในวงเงินหรือ สู งกว่ าไม่ เกิน 10 % ถ้ าไม่ ได้ ผลให้ เรียกทุกรายมายืน่ ซองใหม่ ถ้ าไม่ ได้ ผลอีก ขอเพิม่ เงิน หรือยกเลิกการสอบราคา
60
30
7/11/2012
เรียกรายต่าสุ ดทีเ่ ห็นควรซื้อหรือจ้ าง • กรณียอมลดราคาอยู่ในวงเงินงบประมาณ ถ้ าเหมาะสมให้ เสนอ ซื้อหรือจ้ างจากรายนั้น • ยอมลดราคา แต่ ยั ง เกิ น งบประมาณ ไม่ เกิ น ร้ อยละ 10 ถ้ าเหมาะสมให้ เสนอซื้อหรือจ้ างจากรายนั้น • ยอมลด เกินกว่าร้ อยละ 10 เรียกทุกรายทีถ่ ูกต้ องมายืน่ ซองใหม่ • ไม่ ยอมลด ถ้ า ไม่ เกินร้ อ ยละ 10 ถ้ า เหมาะสมให้ ซื้ อ /จ้ า ง ถ้ าไม่ เหมาะสมให้ ยกเลิ ก หรื อ หากเกิ น กว่ าร้ อยละ 10 เรียกทุกรายทีถ่ ูกต้ องมายืน่ ซองใหม่ 61
ลดรายการ ลดจานวน ลดเนือ้ งานจากผู้เสนอ ราคาทุกราย • หากรายตา่ สุ ดที่ได้ จากการต่ อรองตาม ข้ อ 43 (1) หรือ (2) ยังเป็ นรายตา่ สุ ดอยู่ให้ ซื้อ จากรายนั้น • หากปรับลดแล้ วลาดับเปลีย่ น ให้ ยกเลิก 62
31
7/11/2012
รู ปแบบ : เอกสารประกวดราคา กวพ. กาหนด แบบที่ผ่านการตรวจสอบจากสานักงานอัยการสูงสุด
63
คุณสมบัตขิ องผูเ้ สนอราคา งานซื้อ/จ้าง ทัว่ ไป
พิจารณาตามตัวอย่างเอกสาร ประกวดราคาที่ กวพ. กาหนด
งานจ้าง ก่อสร้าง ต้ อง ทาตามตัวอย่ างเอกสารประกวดราคาที่ กวพ. กาหนด 1 ที่ นร (กวพ) 1305/ว 7914 ลว. 22 ก.ย. 43 การกาหนด
คุณสมบัติของผู้เสนอราคาในการจ้ างก่ อสร้ าง ประกอบ 2 ด่ วนมาก ที่ นร (กวพ) 1305/ว 7286 ลว. 20 ส.ค. 42
64
32
7/11/2012
คุณสมบัตขิ องผูเ้ สนอราคา *** ตัวอย่ างเอกสารประกวดราคา *** 1. ต้องเป็ นผูม้ ีอาชีพขาย หรื อ รับจ้าง 2. ไม่เป็ นผูท้ ี่ถกู ระบุชื่อไว้ในบัญชีรายชื่อผูท้ ิ้งงาน และได้แจ้งเวียน ชื่อแล้ว หรื อไม่เป็ นผูไ้ ด้รับผลของการสัง่ ให้นิติบุคคลหรื อ บุคคลอื่นเป็ นผูท้ ิ้งงาน 3. ไม่เป็ นผูม้ ีผลประโยชน์ร่วมกัน (ณ วันประกาศ) 3.1 การซื ้อ/จ้ าง ตามระเบียบพัสดุฯ 35 ผู้เสนอราคารายอื่น 3.2 การซื ้อ/จ้ าง ตามระเบียบพัสดุฯ 49 ผู้เสนอราคารายอื่น , ผู้ให้ บริ การกลางอิเล็กทรอนิกส์ หรือไม่ เป็ นผู้กระทาการอันเป็ นการขัดขวางการแข่ งขันราคาอย่ างเป็ นธรรม 65
ค ุณสมบัติของผูเ้ สนอราคา *** ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา *** 4. ไม่เป็ นผูไ้ ด้รับเอกสิ ทธิ์ หรื อความคุม้ กัน ซึ่ งอาจปฏิเสธไม่ยอมขึ้น ศาลไทย เว้นแต่ รัฐบาลของผูเ้ สนอราคาได้มีคาสั่งให้สละสิ ทธิ์ และ ความคุม้ กันเช่นว่านั้น ** 5. ต้องผ่านการคัดเลือกผูม้ ีคุณสมบัติเบื้องต้นในการจ้างของกรม ** 6. ผูเ้ สนอราคาต้องเป็ น นิติบุคคล และ มี ผลงานก่ อสร้ างประเภท เดียวกัน กับงานที่ประกวดราคาจ้าง ในวงเงินไม่ น้อยกว่ า.....บาท และ เป็ นผลงานที่เป็ นคู่สัญญาโดยตรงกับส่ วนราชการ หน่วยงาน ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริ หารราชการส่ วนท้องถิ่น หน่วยงานอื่น ซึ่ งมีกฎหมายบัญญัติให้มีฐานะเป็ นราชการบริ หารส่ วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หรื อ หน่วยงานเอกชนที่กรมเชื่อถือ 66
33
7/11/2012
ค ุณสมบัติของผูเ้ สนอราคา *** ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา *** 6.1 กรณี ความเป็ นนิติบคุ คล งานก่ อสร้ าง วงเงินตั้งแต่ 1 ล้ านบาทขึน้ ไป ผู้เสนอราคา ต้ องเป็ นนิ ติบคุ คล ตามกฎหมาย 3 มติ ครม. 6 มิ .ย. 21 – ด่ วนมาก ที่ สร 0203/ว 80 ลว. 8 มิ.ย. 21 67
คุณสมบัตขิ องผูเ้ สนอราคา *** ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา *** 6.2 กรณี ผลงาน เพื่อให้ ได้ ทราบถึงศักยภาพของผู้ขายหรื อผู้รับจ้ าง ** งานก่ อสร้ าง ** กาหนดได้ ไม่ เกินร้ อยละ 50 ของวงเงินงบประมาณ หรื อวงเงินประมาณการ (ตาม ที่ นร (กวพ) 1305/ว 7914 ลว. 22 ก.ย. 43 ประกอบ) 4 มติ ครม. 28 ธ.ค. 36 – ด่ วนมาก นร 0202/ว 1 ลว. 3 ม.ค. 37 5 นร (กวพ) 1204/ว 11441 ลว. 28 พ.ย. 39 ต้ องเป็ นผลงานในสัญญาเดียวเท่ านั้น 68
34
7/11/2012
คุณสมบัติของผู้เสนอราคา *** ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา *** 6.2 กรณี ผลงาน งานก่ อสร้ าง (ต่ อ) ผลงานประเภทเดียวกันกับงานที่ประกวดราคาจ้ าง คือ ผลงานที่ ใช้ เทคนิคในการดาเนินการเหมือนกัน เป็ นผลงานที่ผ้ รู ั บจ้ างได้ ทางานแล้ วเสร็ จตามสัญญา ที่ได้ มีการส่ งมอบงานและตรวจรั บเรี ยบร้ อยแล้ ว ต้ องเป็ นผลงานที่ กระทาสัญญากับส่ วนราชการ รั ฐวิสาหกิจ หรื อเอกชน ซึ่ งเป็ นผู้ว่าจ้ างโดยตรง ไม่ ใช่ ผลงานอันเกิดจาก การรั บจ้ างช่ วง (แนววินิจฉัยของ กวพ.) 69
!!!
***
„ คาว่ า “มีผลงานประเภทเดียวกันกับงานทีป่ ระกวด ราคาจ้ าง” หมายถึงอะไร ?????
„ แนววินิจฉัยของ กวพ. “ผลงานประเภทเดียวกันกับ งานทีป่ ระกวดราคาจ้ าง” หมายถึง งานทีใ่ ช้ เทคนิค ในการก่อสร้ างอย่ างเดียวกันกับงานประกวดราคาจ้ าง ทั้งนี้ เพือ่ จะให้ ได้ ผู้รับจ้ างทีม่ ปี ระสบการณ์ ในการ ก่อสร้ าง ในสภาพงานทีค่ ล้ายคลึงกันมาก่อน 70
35
7/11/2012
คุณสมบัติของผูเ้ สนอราคา ** ผลงาน กรณี กิจการร่ วมค้ า 6 นร (กวพ) 1305/ว 2457 ลว. 16 มี.ค.43
จดทะเบียน o คุณสมบัติครบถ้วนตามเงื่อนไข o คุณสมบัติดา้ นผลงานก่อสร้าง ..... ใช้ผลงานของผูเ้ ข้าร่ วมค้าได้ ไม่ จดทะเบียน o คุณสมบัติทุกรายต้องครบถ้วนตามเงื่อนไข o ข้อยกเว้น • ตกลงเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ให้ใครเป็ นผูร้ ับชอบหลักในการเข้าเสนอราคา และแสดงหลักฐานพร้อมซองข้อเสนอราคา / ซองข้อเสนอทางเทคนิค • ใช้ผลงานของผูเ้ ข้าร่ วมค้าหลักได้
71
แนวคำวินิจฉัยของ กวพ. ประกาศประกวดราคาได้ กาหนดคุณสมบัติของผู้เสนอราคาว่ า จะต้ อง ผ่ านการคัดเลือกผู้มีคุณสมบัติเบือ้ งต้ นในการจ้ างก่ อสร้ างของกรมฯ ชั้ นที่ 1 ปรากฏว่ากิจการร่ วมค้ า A/B มีบริษัท A เป็ นผู้นาหลัก และได้ ผ่านการ คัดเลือกฯ แต่ บริษัท B ผู้ค้าร่ วม ไม่ ได้ ผ่านการคัดเลือกฯ โดยหลัก กิจการร่ วมค้ าทีไ่ ม่ ได้ จดทะเบียน นิติบุคคลทุกรายต้ องมี คุณสมบัติครบถ้ วนตามเงื่อนไขทีก่ าหนด เมื่อปรากฏว่ าบริษัท B ไม่ ได้ ผ่านการคัดเลือกฯ จึงถือว่ากิจการร่ วมค้ า A/B มีคุณสมบัติไม่ ครบถ้ วน
72
36
7/11/2012
คุณสมบัตขิ องผูเ้ สนอราคา *** งานซื ้อ / จ้ าง ทั่วไป *** ไม่ มีหลักเกณฑ์ เรื่ องการกาหนดผลงาน แต่ หากหน่ วยงานมีความจาเป็ นต้ องกาหนด ก็เป็ นดุลยพินิจ ของส่ วนราชการที่นาหลักเกณฑ์ ของงานก่ อสร้ าง มาใช้ ได้ โดยอนุโลม (แนววินิจฉัยของ กวพ.) กรณี ทุนจดทะเบียน กาหนดไม่ ได้ (แนววินิจฉัยของ กวพ.) 73
เจ้ าหน้ าทีพ่ สั ดุ
ข้ อ 27 ข้ อ 29
หัวหน้ าส่ วนราชการ
ทาตามตัวอย่ างที่ กวพ. กาหนด - แตกต่ างหรื อไม่ รัดกุมส่ ง สานักงานอัยการสู งสุ ดตรวจ -
จัดทาเอกสาร (ข้ อ 44)
74
37
7/11/2012
การประกาศข่ าวการประกวดราคา
ส่ งไปรษณีย์ EMS
„ ปิ ดประกาศ ณ ทีท่ าการ „ ส่ งวิทยุกระจายเสี ยงและหนังสื อพิมพ์ „ ในตู้ปิดประกาศมีกุญแจปิ ด „ มีผ้ ปู ิ ดและผู้ปลดประกาศ ซึ่งมิใช่ „ ส่ งกรมประชาสั มพันธ์ „ ส่ งองค์ การสื่ อสารมวลชน แห่ ง ปทท. คนเดียวกัน และมีพยานรับรองด้ วย „ ส่ งศู นย์ รวมข่ าวประกวดราคา „ ส่ ง สตง. „ ประกาศลงในเว็บไซต์ หน่ วยงานและ กรมบัญชีกลาง (ตามมติ ครม.)
ประกาศ ให้ /ขาย คานวณราคา วันรับซองประกวดราคา
• ไม่ น้อยกว่า 7 วัน ทาการ • ไม่ น้อยกว่า 7 วัน ทาการ • ห้ ามมีเงื่อนไขในการให้ /ขาย • ไม่ น้อยกว่า 7 วัน ทาการ • ห้ ามร่ นหรือเลือ่ นวันรับซอง และ เปิ ดซองประกวดราคา 76
38
7/11/2012
กรณีประกวดราคาไปแล้ ว มี เหตุ จ าเป็ นต้ อ งเลื่ อ น โดยไม่ มี ก าหนดแน่ นอน ให้ ย กเลิ ก เมื่ อ มี ก ารประกวดราคาใหม่ ให้ ดาเนินการตามระเบียบ ข้ อ 46 วรรคท้าย กรณียกเลิกและไม่ มีการประกวดราคาใหม่ ให้ แจ้ งผู้ซื้อ เอกสารให้ ขอคืนเงินค่ าซื้อภายใน 30 วันนับแต่ ได้ รับแจ้ ง หนังสือเวียน ที่ นร (กวพ) 1305/ว4352 ลว 5 มิ.ย./2541
77
คณะกรรมการรับและเปิ ดซองประกวดราคา - รับซองประกวดราคา/ลงทะเบียน/ลงชื่อกากับ - ตรวจหลักประกันซองร่ วมกับเจ้ าหน้ าทีก่ ารเงิน กรณีหลักประกันซองเป็ นหนังสื อคา้ ประกัน ส่ งสาเนาให้ ธนาคาร - รับเอกสารตามบัญชีรายการ หากไม่ ถูกต้ องให้ บันทึกไว้ - พ้นกาหนดเวลารับซอง ห้ ามรับซองประกวดฯ/เอกสาร (คกก.ชุ ดนี้ มีเพียงแต่ หน้ าที่ ไม่ มอี านาจที่จะพิจารณาตัดสิ ทธิผ้ เู สนอราคา)
78
39
7/11/2012
คณะกรรมการรับและเปิ ดซองประกวดราคา - ส่ งเอกสารส่ วนที่ 1 ให้ คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวด ราคาเพือ่ ตรวจสอบผู้มผี ลประโยชน์ ร่วมกัน - เปิ ดซองและอ่านแจ้ งราคาโดยเปิ ดเผยเฉพาะรายทีผ่ ่ าน การตรวจสอบผู้มผี ลประโยชน์ ร่วมกัน - ลงลายมือชื่อกากับเอกสารทุกฉบับ - ส่ งมอบเรื่องทั้งหมดให้ คณะกรรมการพิจารณา ผลการประกวดราคา 79
คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา - ตรวจสอบคุณลักษณะเฉพาะ
ยกเลิก/ดาเนินการต่ อไป
- คัดเลือกสิ่ งของ/งานจ้ าง - พิจารณาราคา เกณฑ์ ปกติ - เท่ ากันหลายราย - สู งกว่ าวงเงิน
อนุโลมข้ อ 43
ยกเลิก รายต่าสุ ด ยืน่ ซองใหม่
- ถูกต้ องรายเดียว (51) - ไม่ มผี ้ เู สนอราคา หรือไม่ ถูกต้ องตาม spec (52) - ประกวดราคาใหม่ จะไม่ ได้ ผลดี
ใช้ วธิ ีพเิ ศษ 80
40
7/11/2012
การดาเนินการซื้อโดยวิธีพเิ ศษ รายงาน ข้อ 27
เจ้าหน้าที่พสั ด ุ
หัวหน้าส่วนราชการ ให้ความเห็นชอบ 29
เงือ่ นไข (ข้ อ 23) วงเงินเกินหนึ่งแสนบาท
วิธีการ (ข้ อ 57)
- จะขายทอดตลาด
เจรจาตกลงราคา
- เร่ งด่ วนช้ าเสียหาย
เชิญผู้มอี าชีพขายมาเสนอราคาและต่ อรอง
- ราชการลับ
เชิญผู้มอี าชีพขายมาเสนอราคาและต่ อรอง
- ซื้อเพิม่ (Repeat Order)
เจรจาผู้ขายรายเดิม เงือ่ นไขเดิม ราคาเดิม หรือดีกว่ า 81
การดาเนินการซื้อโดยวิธีพเิ ศษ เงื่อนไข (ข้ อ 23) วงเงินเกินหนึ่งแสนบาท
วิธีการ (ข้ อ 57)
- ซื้อจากต่ างประเทศ
สั่งตรงโดยให้ หน่ วยงานอืน่ ในต่ างประเทศ สืบราคาให้
- จาเป็ นต้ องระบุยหี่ ้ อ
เชิญผู้ผลิต/ผู้แทนจาหน่ ายมาเสนอราคา และต่ อรอง
- ซื้อทีด่ นิ และสิ่งก่ อสร้ างเฉพาะ
เชิญเจ้ าของมาตกลงราคา
- ดาเนินงานโดยวิธีอนื่ แล้ ว ไม่ ได้ ผลดี
สืบราคาจากผู้มอี าชีพขายและผู้เสนอ ราคาทีถ่ ูกยกเลิกไป (ถ้ ามี) ต่ อรองราคา 82
41
7/11/2012
การดาเนินการจ้างโดยวิธีพเิ ศษ เจ้ าหน้ าทีพ่ สั ดุ
รายงาน ข้ อ 27
หัวหน้ าส่ วนราชการ
ให้ ความเห็นชอบ 29
เงื่อนไข (ข้ อ 24) วงเงินเกิน 1 แสนบาท - กรณีเป็ นงานทีต่ ้ องใช้ ช่างฝี มือ โดยเฉพาะหรือชานาญโดยพิเศษ - กรณีเป็ นงานจ้ างซ่ อมทีไ่ ม่ ทราบ ความเสี ยหาย
วิธีการ (ข้ อ 58) - เชิ ญผู้มีอาชี พโดยตรงมาเสนอราคา - เชิ ญผู้มีอาชี พโดยตรงมาเสนอราคา
83
การดาเนินการจ้างโดยวิธีพเิ ศษ เงื่อนไข (ข้ อ 24) วงเงินเกิน 1 แสนบาท - เร่ งด่ วนช้ าเสี ยหาย - ราชการลับ - จ้ างเพิม่ (Repeat Order) - ดาเนินการวิธีอนื่ ไม่ ได้ ผลดี
วิธีการ (ข้ อ 58) - เชิ ญผู้มีอาชี พโดยตรงมาเสนอราคา - เชิ ญผู้มีอาชี พโดยตรงมาเสนอราคา - เจรจากับผู้รับจ้ างรายเดิม ราคาต่ากว่าหรือราคาเดิม - สื บราคาจากผู้มีอาชี พรับจ้ างและ ผู้เสนอราคาที่ถูกยกเลิกไป (ถ้ ามี) ต่ อรองราคา 84
42
7/11/2012
การดาเนินการซื้อและการจ้างโดยวิธีกรณีพเิ ศษ (ข้ อ 27)
หัวหน้ าส่ วนราชการ
เจ้าหน้าที่พสั ด ุ (ข้ อ 29)
- วงเงินเกิน 100,000 บาท
ติดต่อตกลงราคา กับผูข้ ายหรือผูร้ บั จ้าง
ส่วนราชการ /รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานตามกฎหมาย ท้องถิ่น
หัวหน้ าส่ วนราชการเป็ นผู้สั่งซื้อหรือจ้ าง - วงเงินไม่ เกิน 100,000 บาท เป็ นอานาจ หัวหน้ าเจ้าหน้ าที่พสั ดุ เงื่อนไข : 1. เป็ นผู้ทา/ผลิตเองและนายกรัฐมนตรีอนุมัติ หลักการแล้ว
2. มีกฎหมาย/มติคณะรัฐมนตรี ให้ ผู้ซื้อ/จ้ าง 85
สัญญาและหลักประกัน
86
43
7/11/2012
สัญญา คืออะไร สัญญา เป็ นนิติกรรมอย่ างหนึ่ง ซึ่งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ม. 149 ให้ ความหมายไว้ว่า “การใดๆ อันทาลงโดยชอบด้ วยกฎหมาย และด้ วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงต่ อการ ผูกนิตสิ ัมพันธ์ ขนึ้ ระหว่างบุคคล เพือ่ จะก่ อ เปลีย่ นแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ”
ร ูปแบบของสัญญา 1. เต็มร ูป (ข้อ 132) ส่ง สนง. 1.1 ทาสัญญาตามตัวอย่างที่ กวพ. กาหนด อัยการสูงส ุด 1.2 มีขอ้ ความแตกต่าง เสียเปรียบ/ไม่รดั ก ุม พิจารณา 1.3 ร่างใหม่ 2. ลดร ูป (ข้อ 133) ข้อตกลงเป็นหนังสือ (ใบสัง่ ซื้อ/สัง่ จ้าง) 2.1 ตกลงราคา 2.2 ส่งของภายใน 5 วันทาการ 2.3 กรณีพิเศษ 2.4 การซื้อ/จ้างโดยวิธีพิเศษ (บางกรณี) 3. ไม่มีร ูป (ข้อ 133 วรรคท้าย) 3.1 ไม่เกิน 10,000 บาท 3.2 ตกลงราคา กรณีเร่งด่วน ตามข้อ 39 วรรคสอง จะไม่ทาข้อตกลงเป็นหนังสือไว้ต่อกันก็ได้ 88
44
7/11/2012
ตัวอย่ างสัญญาต่ าง ๆ ตามตัวอย่ างที่ กวพ. กาหนด • • • • • • • • • •
สั ญญาซื้อขาย สั ญญาจ้ าง สั ญญาจะซื้อจะขายแบบราคาคงทีไ่ ม่ จากัดปริมาณ สั ญญาซื้อขายคอมพิวเตอร์ สั ญญาจ้ างบริการบารุ งและซ่ อมแซมแก้ ไขคอมพิวเตอร์ สั ญญาเช่ าคอมพิวเตอร์ สั ญญาซื้อขายและอนุญาตให้ ใช้ สิทธิในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สั ญญาจ้ างผู้เชี่ ยวชาญรายบุคคลหรือจ้ างบริษัทที่ปรึกษา สั ญญาจ้ างที่ปรึกษาออกแบบและควบคุมงาน สั ญญาเช่ ารถยนต์ 89
แบบสัญญา ตามตัวอย่างทีเ่ คยผ่านการพิจารณาจาก สานักงานอัยการสูงสุด -
สัญญาจ้างให้บริการรักษาความปลอดภัย สัญญาจ้างทาความสะอาดอาคาร ฯลฯ
90
45
7/11/2012
สั ญญาแบบปรับราคาได้ (ค่ า K) • ต้ องมีการประกาศในเอกสารประกวดราคางานก่อสร้ าง (เฉพาะงานก่อสร้ างประเภทที่มติคณะรัฐมนตรีกาหนด) • ต้ องกาหนดในสัญญา ให้ สอดคล้องกับประกาศ • ประกาศไม่ ได้ กาหนด ในสัญญากาหนดไม่ ได้
91
การทาสัญญา (ตามตัวอย่างที่ กวพ. กาหนด) • การกาหนดเงื่อนไข • การกาหนดข้อความหรือรายการที่แตกต่าง จากตัวอย่างของ กวพ. • การร่างสัญญาใหม่ • การทาสัญญาเช่า ที่ตอ้ งผ่าน สนง. อัยการ 92
46
7/11/2012
เงื่อนไขที่สาคัญของสัญญา 1. ข้อตกลงเรือ่ งรูปแบบ ปริมาณ จานวน ราคา 2. การจ่ายเงิน (งวดเงิน) 3. การจ่ายเงินล่วงหน้า (ข้อ 68) 4. หลักประกัน 5. การส่งมอบ การตรวจรับ 6. การขยายเวลา งดหรือลดค่าปรับ 7. การปรับ 8. การประกันความชาร ุดบกพร่อง 93
ผลของสัญญา หลักการ สัญญามีผลนับตั้งแต่วนั ที่คู่สัญญาได้ ลงนาม ในสัญญา ยกเว้น คู่สัญญามีข้อตกลงกาหนดเงือ่ นไขกันไว้ในสัญญา เป็ นอย่ างอืน่ 94
47
7/11/2012
สัญญาเช่า หรือสัญญาจ้างต่อเนื่อง มีผลย้อนหลัง ? หนังสื อคณะกรรมการว่ าด้ วยการพัสดุ ด่ วนทีส่ ุ ด ที่ กค (กวพ) 0408.4/ว 351 ลงวันที่ 9 กันยายน 2548 อนุมตั ยิ กเว้นเฉพาะสัญญาเช่า หรือสัญญาจ้างที่จาเป็ นต้องเช่า/จ้าง ต่อเนื่องไปในปี งปม.ใหม่ ภายหลังจากสัญญาเดิมสิ้ นสุดลง แต่ส่วนราชการไม่สามารถลงนามสัญญาได้ทนั ภายในวันที่ 1 ตุลาคม เนื่องจาก 1. พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี ยังไม่มีผลใช้บงั คับ หรือ 2. ยังไม่ได้รบั อนุ มตั เิ งินประจางวดจากสานักงบประมาณ 95
สัญญาเช่ า หรื อสัญญาจ้างต่ อเนื่อง มีผลย้อนหลัง ? (ต่ อ) ผล ให้สญ ั ญามีผลย้อนหลังได้ต้งั แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม อันเป็ นวันเริ่มต้นปี งบประมาณ หรือวันที่มีการเช่าหรือจ้างจริง โดยมีเงื่อนไขว่า:– 1. ส่วนราชการได้ดาเนินการจัดหาไว้แล้วก่อนสิ้ นปี งบประมาณ และรูต้ วั ผูใ้ ห้เช่า หรือผูร้ บั จ้างที่จะลงนามเป็ นคู่สญ ั ญาแล้ว ไม่ว่าจะเป็ นรายเดิม หรือรายใหม่ ก็ตาม – 2. ผูม้ ีอานาจอนุมตั ิ ได้อนุมตั ิให้เช่า หรือจ้างจากรายที่ได้จดั หา ไว้แล้วก่อนสิ้ นปี งบประมาณ เพียงแต่อยูใ่ นขั้นตอนไม่อาจ ลงนามในสัญญาได้ทนั ในวันที่ ๑ ตุลาคม เท่านั้น 96
48
7/11/2012
การแบ่ งงวดงานและงวดเงิน • วัตถุประสงค์ เพือ่ ให้ งานทีจ่ ้ างเป็ นไปตามลาดับขั้นตอน ตามหลักวิชาการ ของการก่อสร้ าง และการแบ่ งจ่ ายเงินเมื่อผู้รับจ้ างส่ งมอบงานในแต่ ละงวด เพือ่ ให้ ผ้ รู ับจ้ างเกิดสภาพคล่ องทางการเงิน และใช้ เป็ นทุนหมุนเวียนในการ ก่อสร้ าง การกาหนดจ่ ายเงินเป็ นงวดนั้น จึงต้ องกาหนดให้ สัมพันธ์ กนั ระหว่างงวดงานกับงวดเงิน • กรณีทมี่ ีการแบ่ งงวดงานและงวดเงินแล้ ว โดยหลัก ผู้ว่าจ้ างไม่ อาจรับ มอบงานและจ่ ายเงินข้ ามงวดได้ เว้นแต่ ตามข้ อเท็จจริงของหลักวิชาการ ของการก่อสร้ าง งานทีส่ ่ งมอบนั้น เป็ นอิสระไม่ เกีย่ วข้ องกับงานในงวด ก่อนหน้ านั้น และมีการกาหนดไว้ในสั ญญาว่า สามารถส่ งมอบงาน ข้ ามงวดได้ 97
(ตัวอย่าง) คูส่ ัญญาส่งมอบไม่ตรงงวดงาน ในสัญญา ยังไม่ถอื ว่าผิดสัญญา จึงปรับระหว่างงวดงานไม่ได้ สัญญากาหนดเงื่อนไขการปรับว่า “หากผูร้ บั จ้างไม่สามารถทางานให้แล้วเสร็จตามที่กาหนดไว้ใน สัญญา ผูร้ บั จ้างจะต้องชาระค่าปรับให้แก่ผรู ้ บั จ้างนับถัดจากวันที่ กาหนดแล้วเสร็จตามสัญญา” คาวินิจฉัย การแบ่งงวดงานแต่ละงวดในสัญญา เป็ นเงื่อนไขที่คู่สญ ั ญาตกลงแบ่งงวดงาน เพื่อประโยชน์ในการ จ่ายเงินค่าจ้างเป็ นงวด ตามผลงานที่ดาเนินการไปแล้ว มิใช่เป็ นการกาหนดเวลาแล้วเสร็จของงานตามสัญญา ►เมื่อผูร้ บั จ้างส่งงานไม่เป็ นไปตามงวด จึงไม่อาจนามาคิด ค่าปรับตามสัญญาได้ 98
49
7/11/2012
สัญญาไม่ มีเงื่อนไขให้ ปรั บระหว่ างงวด • หากสัญญาจ้างมิได้กาหนดเงือ่ นไขให้ปรับระหว่างงวดไว้ • กรณีผูร้ บั จ้างผิดสัญญางวดใด /งวดหนึง่ เป็ นเพียงเงือ่ นไข ทีจ่ ะไม่จ่ายเงินตามงวดให้เท่านั้น - ส่วนราชการจะปรับระหว่างงวดไม่ได้ เพราะยังไม่ถอื ว่า ผิดสัญญา - การแบ่งงวดงานแต่ละงวดในสัญญา เป็ นเงื่อนไขที่ค่สู ญ ั ญาตกลงแบ่งงวดงาน เพื่อประโยชน์ ใน การจ่ายเงิ นค่าจ้างเป็ นงวดตามผลงานที่ดาเนิ นการไปแล้ว -มิ ใช่เป็ นการกาหนดเวลาแล้วเสร็จของงานตามสัญญา หากอายุสญ ั ญายังไม่ครบกาหนดเวลาแล้วเสร็จ 99
ค่ าจ้ างและการจ่ ายเงิน สัญญาซื้อขาย/สัญญาจ้ างทั่วไป จ่ ายตามวงเงินที่กาหนดในสัญญา สัญญาจ้ างก่อสร้ าง ราคาต่ อหน่ วย จ่ ายตามเนือ้ งานที่ทาเสร็จจริง ราคาเหมารวม จ่ ายตามวงเงินที่กาหนดในสัญญา 100
50
7/11/2012
หลักประกันสัญญา หลักประกันที่ผู้ขาย/ผู้รับจ้ าง ที่เป็ นคู่สัญญากับ ส่ วนราชการนามาวางขณะทาสั ญญา เพือ่ ประกันความเสี ยหายจากการผิดเงือ่ นไข ตามข้ อกาหนดในสั ญญา ใช้ เป็ นหลักประกันจนกว่ าจะสิ้นสุ ดข้ อผูกพัน ตามสั ญญา 101
หลักประกันซอง/หลักประกันสัญญา „ ให้ ใช้ หลักประกันอย่ างหนึ่งอย่ างใด ดังนี้ 1. เงินสด 2. เช็คที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่ าย 3. หนังสือคา้ ประกันของธนาคารในประเทศ 4. หนังสือคา้ ประกันของบริษทั เงินทุน 5. พันธบัตรรัฐบาลไทย 102
51
7/11/2012
มูลค่ าหลักประกัน ร้ อยละ 5 ของวงเงิน / ราคาพัสดุ ที่จัดหาในครั้งนั้น เว้ นแต่ การจัดหาที่สาคัญพิเศษ กาหนดสู งกว่ า ร้ อยละ 5 แต่ ไม่ เกินร้ อยละ 10 * กรณีส่วนราชการ / รัฐวิสาหกิจ เป็ นคู่สัญญา / ผู้เสนอราคา ไม่ ต้องวางหลักประกัน (ข้ อ 143)
103
การนาหลักประกันซองมากกว่ า 1 อย่ าง มารวมกันเพือ่ ใช้ เป็ นหลักประกันซอง ในงานจ้ างเหมาเดียวกัน ได้ หรือไม่ กวพ. วินิจฉัย * ตามระเบียบฯ ข้ อ 141 กาหนดว่ า “หลักประกันซองหรือ หลักประกันสั ญญาให้ ใช้ หลักประกันอย่ างหนึ่งอย่างใด” เจตนารมณ์ ตามระเบียบฯ ให้ เลือกหลักประกันอย่ างใดก็ได้ ดังนั้น หากใช้ หลักประกันตามทีก่ าหนดไว้ ในข้ อ 141 รวมกัน ก็ย่อมกระทาได้ 104
52
7/11/2012
การนาหลักประกันซองมาเป็ นหลักประกันสัญญา หนังสื อ ด่ วนทีส่ ุ ด ที่ กค (กวพ) 0408.4/ว 130 ลว. 20 ต.ค. 49 1. ให้ เฉพาะหลักประกันซอง - เงินสด และ นาเข้าบัญชีเงินฝากประเภทเงินนอกฯ แล้ว - เช็คทีธ่ นาคารเซ็นสั่ งจ่ าย 2. ผู้เสนอราคาทีไ่ ด้ รับคัดเลือกให้ ทาสั ญญาประสงค์ จะนาใช้ หลักประกัน ตามข้ อ 1 มาเป็ นหลักประกันสั ญญา 3. ส่ วนราชการต้ องจัดให้ มีการทาหลักฐาน การคืนหลักประกันซอง – การวาง หลักประกันสั ญญา ให้ เสร็จภายในวันเดียวกันกับวันทาสั ญญา 4. คู่สัญญาต้ องนาหลักประกันซอง (เพิม่ -ลด) มาวางให้ เท่ ากับวงเงิน หลักประกันสั ญญา 105
การคืนหลักประกัน (ข้ อ 144) หลักประกันซอง คืนภายใน 15 วัน นับแต่ วนั พิจารณา เบือ้ งต้นเรียบร้ อยแล้ว หลักประกันสัญญา คืนโดยเร็ว / อย่ างช้ าไม่ เกิน 15 วัน นับแต่ วนั ที่คู่สัญญาพ้นข้ อผูกพันแล้ว
106
53
7/11/2012
ค่ าปรับ (เบีย้ ปรับ) ค่ าเสี ยหาย ค่ าปรับ (เบีย้ ปรับ) เป็ นค่ าเสี ยหายที่คู่สัญญาได้ ตกลงกันไว้ ล่วงหน้ า ไม่ ต้องพิสูจน์ ความเสี ยหาย ค่ าเสี ยหาย เป็ นสิ ทธิเรียกร้ องของคู่สัญญาเมื่อมี ความเสี ยหายเกิดขึน้ แล้ ว ต้ องพิสูจน์ ความเสี ยหาย
107
การกาหนดอัตราค่าปรับในสัญญา (ข้อ134) กรณีซื้อ /จ้ าง ไม่ ต้องการผลสาเร็จของงานพร้ อมกัน ค่าปรับรายวัน อัตราตายตัว ระหว่างร้อยละ 0.01 ‟ 0.20 ของราคาพัสดุที่ยงั ไม่ได้รับมอบ กรณีงานจ้ างก่อสร้ าง ทีต่ ้ องการผลสาเร็จของงานพร้ อมกัน ค่าปรับรายวัน เป็ นจานวนเงินตายตัว อัตราร้อยละ 0.01 ‟ 0.10 ของราคา งานจ้าง แต่ตอ้ งไม่ต่ากว่าวันละ 100 บาท จ้ างก่ อสร้ างสาธารณูปโภคทีม่ ีผลกระทบต่ อการจราจร ปรับรายวันในอัตรา อัตราร้อยละ 0.25 ของราคางานจ้าง 108
54
7/11/2012
การคิดค่าปรับตามสัญญา เมื่อครบกาหนดสั ญญา /ข้ อตกลง ยังไม่ มีการส่ งมอบต้ องแจ้ งการเรียก ค่ าปรับตามสั ญญา เมื่อคู่สัญญาได้ ส่งมอบพัสดุ(ส่ งมอบของ/งานจ้ าง) ให้ แจ้ งสงวนสิ ทธิ การเรี ยกค่ าปรับในขณะทีร่ ับมอบพัสดุน้ ันด้ วย การนับวันปรับ ให้ นับถัดจากวันครบกาหนดตามสั ญญา/ข้ อตกลง จนถึง วันทีผ่ ้ ขู ายหรื อผู้รับจ้ างส่ งมอบสิ่ งของถูกต้ องครบถ้ วน หรือจนถึงวันที่ บอกเลิกสั ญญา/ข้ อตกลง (หักด้ วยระยะเวลาทีค่ ณะกรรมการตรวจรับใช้ ไป ในการตรวจรับออกจากจานวนวันทีต่ ้ องถูกปรับด้ วย) เงื่อนไขสั ญญาซื้อเป็ นชุ ด ให้ ปรับทั้งชุ ด สิ่ งของราคารวมติดตั้ง/ทดลอง ให้ ปรับตามราคาของทั้งหมด 109
Ex. ปรั บตามราคาของทั้งหมด ส่ วนราชการได้ ทาสัญญาซื้อขายโครงการส่ วนขยาย ระบบงาน GFMIS เพือ่ รองรับข้ อมูลของรัฐวิสาหกิจ โดย เงือ่ นไขของสัญญากาหนดการส่ งมอบงานแบ่ งเป็ น 5 งวด ผู้ขายได้ ส่งมอบงานล่าช้ าระหว่ างงวด ล่าช้ าไป 3 วัน ส่ วนราชการจะสามารถปรับผู้ขายได้ หรือไม่ ?
110
55
7/11/2012
Ex. ปรั บตามราคาของทั้งหมด (ต่ อ) แนววินิจฉัย กรณีนีเ้ ป็ นการตกลงซื้อขายและติดตั้งคอมพิวเตอร์ อปุ กรณ์ การประมวลผล ให้ พร้ อมทีจ่ ะใช้ งานได้ ให้ แก่ผู้ซื้อ โดยการ ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ระบบเครือข่ ายทั้งระบบ ฝึ กอบรมเจ้ าหน้ าที่และผู้ทเี่ กีย่ วข้ องทั้งหมด ซึ่งตามสั ญญาข้ อ 6 กาหนดเรื่องการตรวจรับว่ า ถ้ าผู้ขายส่ งมอบไม่ ตรงตามสั ญญา หรือคุณสมบัติไม่ ถูกต้ อง หรือใช้ งานได้ ไม่ ครบถ้ วน ผู้ซื้อทรงไว้ ซึ่งสิ ทธิทจี่ ะไม่ รับคอมพิวเตอร์ น้ัน 111
Ex. ปรั บตามราคาของทั้งหมด (ต่ อ) และตามสั ญญาข้ อ 14 การบอกเลิกสั ญญากาหนดว่ า กรณีผู้ขาย ไม่ ติดตั้งและส่ งมอบคอมพิวเตอร์ บางรายการหรือทั้งหมดภายใน กาหนดเวลา หรือส่ งมอบไม่ ถูกต้ อง หรือส่ งมอบภายในกาหนด แต่ ใช้ งานไม่ ได้ ผู้ซื้อมีสิทธิบอกเลิกสั ญญาทั้งหมดหรือบางส่ วนได้ ย่ อมแสดงว่ าผู้ซื้อต้ องการซื้อและติดตั้งทั้งระบบจนใช้ งานได้ และ ข้ อ 15 กาหนดเรื่องค่ าปรับไว้ ว่า ในกรณีทคี่ อมพิวเตอร์ ทตี่ กลงซื้อ ขายเป็ นระบบ ถ้ าผู้ขายส่ งมอบเพียงบางส่ วน หรือส่ งมอบทั้งหมด แต่ ใช้ งานไม่ ได้ ถูกต้ องครบถ้ วน ให้ ถือว่ ายังไม่ ได้ ส่งมอบเลย และคิดค่ าปรับจากราคาของทั้งระบบ 112
56
7/11/2012
Ex. ปรั บตามราคาของทั้งหมด (ต่ อ) กรณีนีค้ ู่สัญญามีเจตนาซื้อขายและติดตั้งเพือ่ พร้ อมใช้ งานได้ ทั้งระบบ การคิดค่ าปรับจึงต้ องถือเอาระยะเวลาสิ้นสุ ดของ สั ญญาหลัก เป็ นเกณฑ์ ในการเริ่มต้ นการปรับ และเมือ่ ผู้ขายส่ ง มอบงานระหว่ างงวดล่าช้ า แต่ หากไม่ เกินกาหนดส่ งมอบงาน ทั้งหมดตามสั ญญาหลัก ส่ วนราชการก็ไม่ อาจปรับผู้ขายได้
113
การรับมอบและการปรับ 1. ....................... กาหนดส่ง 17 ม.ค. 1
ส่ง 14 ม.ค.
รับ 20 ม.ค.
2. แจ้งให้แก้ไข
ส่ง 2 24 ม.ค.
รับ 2 27 ม.ค.
ปรับ ลดปรับ
114
57
7/11/2012
การรับมอบและการปรับ (ต่ อ) ข้ อ 71(4) “ถือว่ าผู้ขายหรือผู้รับจ้ างได้ ส่งถูกต้ องตั้งแต่ วันทีไ่ ด้ นาพัสดุมาส่ ง” ......ปรับ ? วัน ครบกาหนด 17 ม.ค. ส่ งถูกต้ อง 24 ม.ค. ตามสั ญญา จะต้ องถูกปรับ 18 ม.ค. - 24 ม.ค. = X วัน *กรรมการล่าช้ า (เป็ นเหตุพจิ ารณาลดค่ าปรับตามระเบียบฯ ข้ อ 139) 15 ม.ค. – 20 ม.ค. = Y วัน ผู้ขาย / ผู้รับจ้ าง ถูกปรับ X – Y = ? วัน
115
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา (136) หลัก • ห้ามแก้ไข เปลี่ยนแปลง ข้อยกเว้น • กรณีจาเป็น ไม่ทาให้ราชการเสียประโยชน์ • กรณีแก้ไขเพื่อประโยชน์ของทางราชการ 116
58
7/11/2012
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา (136) อานาจอนมุ ตั ิแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา • หัวหน้าส่วนราชการ ** หลักการแก้ไขฯ ** การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา สามารถที่จะพิจารณา ดาเนินการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาในช่วงเวลาใดก็ได้ แม้จะล่วงเลยกาหนดระยะเวลาแล้วเสร็จตามสัญญา ก็ตาม แต่อย่างช้าจะต้องดาเนินการแก้ไขเปลี่ยนแปลง ก่อนที่คณะกรรมการตรวจรับพัสด ุ/ตรวจการจ้าง ได้ทาการตรวจรับพัสด ุหรืองานจ้างไว้ใช้ 117
การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลา ทาการตามสัญญา (ข้อ 139)
อานาจอนมุ ตั ิ • หัวหน้าส่วนราชการ สาเหต ุ (1) เหต ุเกิดจากความผิด ความบกพร่อง ของราชการ (2) เหต ุส ุดวิสยั (3) เหต ุเกิดจากพฤติการณ์ ที่คสู่ ญ ั ญาไม่ตอ้ ง รับผิดตามกฎหมาย 118
59
7/11/2012
การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลา ทาการตามสัญญา (ข้อ 139) วิธีการ - คสู่ ญ ั ญาต้องแจ้งเหต ุให้สว่ นราชการทราบภายใน 15 วัน นับแต่เหต ุนัน้ ได้ส้ นิ ส ุดลง หากไม่แจ้งตามที่กาหนด จะยก มากล่าวอ้างเพื่อขอลดหรืองดค่าปรับ หรือขยายเวลามิได้ เว้นแต่กรณีความผิดความบกพร่องของส่วนราชการ ซึ่งมี หลักฐานชัดแจ้งหรือส่วนราชการทราบดีอยูแ่ ล้วตัง้ แต่ตน้ - พิจารณาได้ตามจานวนวันที่มีเหต ุเกิดขึ้นจริง 119
Ex. ข้อหารือการขยายเวลาส่งมอบงานตามสัญญาจ้าง หน่ วยงานแห่ งหนึ่ง ได้ ทาสั ญญาจ้ างพิมพ์หนังสื อ จานวน 2,000 เล่ม กับห้ างฯ วงเงิน 373,000 บาท ครบกาหนดตามสั ญญาภายในวันที่ 20 มกราคม 2554 และมีการขยายเวลาการส่ งมอบงาน ซึ่งตาม ข้ อเท็จจริง ผู้รับจ้ างขอขยายเวลาการส่ งมอบงานจานวน 60 วัน แต่ เจ้ าหน้ าทีผ่ ู้รับผิดชอบงานจ้ างของส่ วนราชการ ได้ ให้ เหตุผล การขยายเวลาตามระเบียบฯ ข้ อ 139 (1) โดยคานวณวันตามเหตุ ทีเ่ กิดจากความผิดหรือความบกพร่ องจริง จานวน 107 วัน ซึ่ง มากกว่ าจานวนวันทีผ่ ู้รับจ้ างขอขยายเวลา ส่ วนราชการจึงหารือ เพือ่ เป็ นแนวทางในการปฏิบัติงาน ดังนี้
60
7/11/2012
Ex. ข้อหารือการขยายเวลาส่งมอบงานตามสัญญาจ้าง (ต่อ) 1. การทีผ่ ้ รู ับจ้ างขอขยายเวลาส่ งมอบงานจานวน 60 วัน แม้ ว่าเมื่อคานวณ ตามความผิดหรือความบกพร่ องของส่ วนราชการ เป็ นจานวน 107 วัน ซึ่งมีจานวนวันมากกว่ าทีผ่ ้ รู ั บจ้ างขอมา หน่ วยงานจึงได้ อนุมัติให้ ขยายเวลา การส่ งมอบงานให้ เพียง 60 วัน เท่ าทีผ่ ้ รู ับจ้ างขอมาเท่ านั้น การปฏิบัติของ หน่ วยงานถูกต้ องตามระเบียบฯ แล้ วหรือไม่ อย่ างไร หากไม่ ถูกต้ อง ควรดาเนินการเพิม่ เติมอย่างไร 2. หากการอนุมัติให้ ขยายเวลาตามจานวนวันทีผ่ ้ รู ับจ้ างตามข้ อ 1 ถูกต้ องแล้ ว ผู้รับจ้ างจะขอขยายเวลาส่ งมอบงานเพิม่ เติมจากเหตุเดิมอีก โดยอ้ างว่ า จานวนวันตามความผิดหรือความบกพร่ องของส่ วนราชการ มีมากกว่า จานวนวันที่เคยขอมา ได้ หรือไม่ อย่างไร
Ex. ข้อหารือการขยายเวลาส่งมอบงานตามสัญญาจ้าง (ต่อ) แนววินิจฉัย กวพ. ตามระเบียบฯ ข้ อ 139 วรรคแรก กาหนดว่า “การงดหรือลดค่ าปรับให้ แก่ คู่สัญญาหรือการขยายเวลาทาการตามสั ญญาหรือข้ อตกลง ให้ อยู่ในอานาจ ของหัวหน้ าส่ วนราชการทีจ่ ะพิจารณาได้ ตามจานวนวันทีม่ ีเหตุเกิดขึน้ จริง ด้ วยเหตุ 3 เหตุ คือ 1. เหตุเกิดจากความผิดหรือความบกพร่ องของ ส่ วนราชการ 2. เหตุสุดวิสัย 3. เหตุเกิดจากพฤติการณ์ อันหนึ่งอันใดที่ คู่สัญญาไม่ ต้องรับผิดตามกฎหมาย วรรคสอง กาหนดว่ า ให้ ส่วนราชการระบุไว้ ในสั ญญา กาหนดให้ ค่ ูสัญญา ต้ องแจ้ งเหตุดังกล่ าวให้ ส่วนราชการทราบภายใน 15 วัน นับแต่ เหตุน้ ัน ได้ สิ้นสุ ดลง หากมิได้ แจ้ งภายในเวลาที่กาหนด คู่สัญญาจะยกมากล่ าวอ้ าง เพือ่ ขอลดหรืองดค่ าปรับหรือขอขยายเวลาในภายหลังมิได้ เว้นแต่ กรณี ตาม (1) ซึ่งมีหลักฐานชั ดแจ้ ง หรือส่ วนราชการทราบดีอยู่แล้ วตั้งแต่ ต้น
61
7/11/2012
Ex. ข้อหารือการขยายเวลาส่งมอบงานตามสัญญาจ้าง (ต่อ) แนววินิจฉัย กวพ. กรณีตามทีห่ ารือ 1 และ 2 หากหน่ วยงานได้ พจิ ารณาจากข้ อเท็จจริงแล้ว ปรากฏว่ า เหตุเกิดจากความผิดหรือความบกพร่ องของส่ วนราชการตามนัย ระเบียบฯ ข้ อ 139 (1) เป็ นจานวน 107 วัน แต่ ค่ ูสัญญาได้ ขอขยายระยะเวลา ตามเหตุดังกล่ าวเพียง 60 วัน และหน่ วยงานได้ พจิ ารณาขยายระยะเวลา ให้ แก่ ค่ ูสัญญาเพียง 60 วัน เท่ าทีผ่ ้ รู ับจ้ างขอมาเท่ านั้น การปฏิบัติของ หน่ วยงาน จึงถูกต้ องตามระเบียบฯ แล้ ว ต่ อมา หากคู่สัญญาได้ อ้างเหตุ ดังกล่าว เพือ่ ขอขยายระยะเวลาตามสั ญญาออกไปอีก หน่ วยงานยังสามารถ พิจารณาขยายระยะเวลาให้ แก่ ค่ ูสัญญาเพิม่ เติมได้ ตามคาขอ ทั้งนี้ เมื่อรวมกับระยะเวลาทีไ่ ด้ ขยายให้ ไปแล้ว ต้ องไม่ เกินตามจานวนวัน ทีม่ ีเหตุเกิดขึน้ จริง
ใคร ? เป็ นผูเ้ สนอความเห็ นต่อหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อ แก้ไข/ เปลี่ยนแปลงสัญญา หรือข้อตกลง การงด ลดค่าปรับ/ ขยายเวลาสัญญา/ข้อตกลง • หนังสือแจ้งเวียนของสานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร (กวพ) 1305/ว 11948 ลว. 13 ธันวาคม 2543 กาหนดให้เป็ นหน้าที่ของ :“คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือ คณะกรรมการตรวจการจ้าง • แล้วแต่กรณีเป็ นผูเ้ สนอความเห็นในแต่ละครั้งด้วย” 124
62
7/11/2012
การบอกเลิก / ตกลงกันเลิกสัญญาหรือข้อตกลง การบอกเลิก หลัก 1) มีเหตุเชื่อได้ ว่า ผู้รับจ้ างไม่ สามารถทางานให้ แล้วเสร็จ ภายในเวลาทีก่ าหนด (137 วรรคหนึ่ง) 2) ไม่ ปฏิบัตติ ามสั ญญา/ข้ อตกลง และค่ าปรับจะเกิน 10 % ของวงเงินทั้งสัญญา เว้ นแต่ จะยินยอมเสี ยค่ าปรับ ก็ให้ ผ่อนปรนได้ เท่ าทีจ่ าเป็ น (138) การตกลงเลิกสัญญาต่ อกัน ทาได้ เฉพาะเป็ นประโยชน์ /หรือเพือ่ แก้ไข ข้ อเสี ยเปรียบของราชการหากปฏิบัติตามสั ญญา/ข้ อตกลงต่ อไป (137 วรรคสอง) 125
Ex. ข้ อหารื อการบอกเลิกสัญญา จังหวัดได้ ว่าจ้ างบริษัท ดาเนินการก่อสร้ างโครงการฝายพร้ อมระบบส่ งนา้ ตามสั ญญาลงวันที่ 19 มกราคม 2554 วงเงิน 46,290,000 บาท ครบกาหนดวันที่ 22 สิ งหาคม 2554 จังหวัดได้ บอกเลิกสั ญญาจ้ างดังกล่าว เนื่องจากจานวนเงิน ค่ าปรับเกินร้ อยละสิ บของวงเงินค่ าจ้ าง โดยมีหนังสื อลงวันที่ 30 ธันวาคม 2554 แจ้ งบอกเลิกสั ญญาจ้ างต่ อผู้รับจ้ าง ต่ อมา ภายหลังบริษัทฯ ได้ ขอให้ พจิ ารณา ทบทวนการบอกเลิกสั ญญา เนื่องจากบริษัทฯ ได้ ดาเนินการก่อสร้ างแล้วเสร็จ ตามสั ญญา เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2555 และได้ ดาเนินการส่ งมอบงานงวดสุ ดท้ าย เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2555 คณะกรรมการตรวจการจ้ างได้ รายงานตรวจการจ้ าง ครั้งที่ 3 งวดที่ 6-12 (งวดสุ ดท้ าย) ให้ ผ้ วู ่ าราชการจังหวัดฯ ทราบ เพือ่ จะได้ เบิกจ่ ายค่ าจ้ างให้ ผ้ รู ับจ้ างต่ อไป
63
7/11/2012
Ex. ข้ อหารื อการบอกเลิกสัญญา จังหวัดจึงหารือแนวทางการปฏิบัติตามระเบียบฯว่า ในกรณีดังกล่าวจังหวัดฯ จะยกเลิกการบอกเลิกสั ญญาจ้ างได้ หรือไม่ และจะต้ องดาเนินการอย่างไร จึงจะถูกต้ องตามระเบียบฯ หากการปฏิบัติดังกล่ าวไม่ ถูกต้ องตามระเบียบฯ จังหวัดฯ ก็ขออนุมัติผ่อนผันการไม่ ปฏิบัติตามระเบียบฯ ดังกล่ าว ทั้งนี้ เพือ่ ประกอบการเบิกจ่ ายเงินค่ าจ้ างให้ แก่ ผ้ รู ับจ้ างต่ อไป เนื่องจากผู้รับจ้ างได้ ดาเนินการก่ อสร้ างเสร็จตามรู ปแบบรายการตามสั ญญาเดิม และคณะกรรมการ ตรวจการจ้ างได้ ตรวจการจ้ างแล้ว
Ex. ข้ อหารื อการบอกเลิกสัญญา „ แนววินิจฉัยของ กวพ. โดยหลักการตามระเบียบฯ ข้ อ 138 กาหนดว่ า ในกรณีทคี่ ู่สัญญา ไม่ สามารถปฏิบัติตามสั ญญาได้ หากจานวนเงินค่าปรับจะเกิน ร้ อยละสิ บของวงเงินค่ าพัสดุหรือค่ าจ้ างให้ ส่วนราชการพิจารณา ดาเนินการบอกเลิกสั ญญา เว้ นแต่ คู่สัญญาจะได้ ยนิ ยอมเสี ย ค่ าปรับให้ แก่ทางราชการโดยไม่ มเี งื่อนไขใดๆ ทั้งสิ้น ให้ หัวหน้ า ส่ วนราชการพิจารณาผ่ อนปรนการบอกเลิกสั ญญาได้ เท่ าทีจ่ าเป็ น ซึ่งการแสดงเจตนาบอกเลิกสั ญญาดังกล่าวไม่ สามารถถอนคืน การแสดงเจตนาได้
64
7/11/2012
Ex. ข้ อหารือการบอกเลิกสัญญา „ แนววินิจฉัยของ กวพ. (ต่ อ) ประกอบกับ ปพพ.มาตรา 391 บัญญัตวิ ่ า ภายหลังจากบอกเลิกสั ญญา แล้วคู่สัญญาแต่ ละฝ่ ายจะต้องให้ อกี ฝ่ ายหนึ่งได้ กลับคืนสู่ ฐานะดังทีเ่ ป็ น อยู่เดิม แต่ ท้งั นีจ้ ะให้ เป็ นทีเ่ สื่ อมเสียแก่สิทธิของบุคคลภายนอกหาได้ ไม่ และหากมีงานทีผ่ ู้รับจ้ างได้ กระทาให้ และผู้ว่าจ้ างยินยอมรับไว้ ผู้ว่า จ้ างจะต้ องชดใช้ เงินคืนตามควรค่าแห่ งงานนั้น
Ex. ข้ อหารือการบอกเลิกสัญญา „ แนววินิจฉัยของ กวพ. (ต่ อ) กรณีข้อหารือ เมือ่ ค่าปรับตามสั ญญาจะเกินร้ อยละสิ บของวงเงินค่าจ้ าง กรมฯ ในฐานะผู้ว่าจ้ างได้ มหี นังสื อแจ้ งให้ ผู้รับจ้ างเร่ งปฏิบัตงิ านให้ แล้ว เสร็จตามสั ญญาและยินยอมชาระค่าปรับ แต่ ผู้รับจ้ างไม่ ยนิ ยอมชาระ ค่าปรับและปฏิบัตติ ามสั ญญา กรมฯ โดยผู้ว่าราชการจังหวัดจึงมี หนังสื อ ลงวันที่ 30 ธันวาคม 2554 บอกเลิกสั ญญาและขอสงวนสิ ทธิ์ ตามสั ญญากับบริษทั ฯ กรณีดงั กล่าวคู่สัญญาจึงกลับคืนสู่ ฐานะดังที่ เป็ นอยู่เดิม ซึ่งหากมีงานทีผ่ ู้ว่าจ้ างได้ รับไว้ และใช้ ประโยชน์ ในราชการได้ ตามสั ญญาแล้ว ผู้ว่าจ้ างจะต้ องมีการชดใช้ ราคาให้ แก่ผ้รู ับจ้ าง โดยจะต้ องมีการหักค่าปรับและค่าเสี ยหายอืน่ ๆ (ถ้ ามี) ออกก่อนด้ วย
65
7/11/2012
Ex. ข้ อหารือการบอกเลิกสัญญา „ แนววินิจฉัยของ กวพ. (ต่ อ) เว้ นแต่ งานทีร่ ับไว้ หากผู้ว่าจ้ างไม่ สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ ในราชการ ตามสั ญญาได้ จึงต้ องถือว่างานนั้นไม่ ควรค่ าแห่ งการชดใช้ เงินคืน ตามนัย ปพพ. มาตรา 391 โดยผู้ว่าจ้ างไม่ สามารถยกเลิกการบอกเลิกสั ญญาจ้ างได้ ส่ วนประเด็นในเรื่องการตรวจรับงานจ้ างทีผ่ ้ รู ับจ้ างส่ งมอบภายหลัง การบอกเลิกสั ญญา เนื่องจากตามหลักการระเบียบฯ คณะกรรมการตรวจ การจ้ างจะต้ องตรวจรับงานจ้ างให้ ถูกต้ องครบถ้ วนตามสั ญญา เมื่อผู้ว่าจ้ าง ได้ มีหนังสื อบอกเลิกสั ญญาก่ อนทีผ่ ้ รู ับจ้ างจะส่ งมอบงานตามทีก่ าหนดไว้ ในสั ญญา จึงถือว่ าคู่สัญญามิได้ มีนิติสัมพันธ์ ต่อกันตามสั ญญาเดิม ผู้ว่าจ้ างจึงไม่ สามารถตรวจรับงานจ้ างตามหลักการดังกล่ าวได้
Ex. ข้ อหารือการบอกเลิกสัญญา „ แนววินิจฉัยของ กวพ. (ต่ อ)
ดังนั้น เมือ่ ข้ อเท็จจริงปรากฏว่ าคณะกรรมการตรวจการจ้ าง ได้ ดาเนินการตรวจรับงานจ้ างงวดสุ ดท้ ายในวันที่ 30 มกราคม 2555 ซึ่งเป็ นการตรวจรับภายหลังการบอกเลิกสั ญญา จึงถือ เป็ นการดาเนินการทีไ่ ม่ เป็ นไปตามระเบียบฯ
66
7/11/2012
(ตัวอย่าง) การตกลงเลิกสัญญา หน่วยงานทาสัญญาจ้างก่อสร้างอาคาร กาหนดให้เริ่มทางาน ภายในวันที่ 30 ต.ค. 46 ครบกาหนดสัญญา 22 พ.ค. 48 กรมฯ ไม่สามารถส่งมอบพื้ นที่ได้ เนื่องจากมีอาคารและสิ่งก่อสร้างของ ผูบ้ ุกรุก เรื่องอยูร่ ะหว่างการพิจารณาคดีของศาล ไม่อาจทราบได้ว่า ศาลจะมีคาพิพากษาถึงที่สุด และสามารถมอบพื้ นที่ให้ได้เมื่อใด เมื่อผูร้ บั จ้าง มีหนังสือขอเลิกสัญญา และกรมฯ เห็นว่าเป็ นประโยชน์ แก่ราชการโดยตรง ยิ่งกว่าให้สญ ั ญามีผลต่อไป หรือเพื่อแก้ไขข้อเสียเปรียบ ของทางราชการตามข้อ 137 วรรคสอง ย่อมบอกเลิกสัญญาได้ และเมื่อตกลงเลิกสัญญากันแล้ว ผูร้ บั จ้างย่อมพ้นข้อผูกพันตามสัญญา กรมฯ ผูว้ ่าจ้างมีหน้าที่ตอ้ งคืนหลักประกันสัญญาให้แก่ผรู ้ บั จ้าง ตามสัญญาข้อ 3 วรรคสอง ประกอบระเบียบฯ ข้อ 144 (2) 133
67
7/11/2012
หลักเกณฑ์ การตรวจรั บ/ตรวจการจ้ าง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรื อ คณะกรรมการตรวจการจ้าง
หลักการ
กรณี ซ้ื อหรื อจ้าง ไม่เกิน 10,000 บาท ยกเว้น แต่งตั้งข้าราชการหรื อลูกจ้างประจา ซึ่ งไม่ใช่ผจู ้ ดั ซื้ อจัดจ้างหนึ่งคน เป็ น “ผูต้ รวจรับ” “การตกลงราคา” กรณี จาเป็ นและเร่ งด่วน ใช้ “รายงานขอความเห็นชอบ” เป็ น “หลักฐานการตรวจรับ” โดยอนุโลม 135
คณะกรรมการตรวจรั บพัสดุ งานซื้อ
ระเบียบ 35 ข้ อ 71
งานจ้ างทัว่ ไป (ทาความสะอาด . รปภ . ประชาสัมพันธ์ ฯลฯ)
คณะกรรมการตรวจการจ้ าง งานจ้ างก่อสร้ าง
ระเบียบ 35 ข้ อ 72 136
68
7/11/2012
การตรวจรับพัสดุ ระเบียบฯ พัสดุ ปี 35 ข้ อ 71 หน้ าทีข่ องคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ สถานทีต่ รวจรับ :ตรวจรับพัสดุ ณ ทีท่ าการของผู้ใช้ พสั ดุ สถานทีซ่ ึ่งกาหนดไว้ ในสั ญญาหรือข้ อตกลง สถานทีอ่ นื่ ในกรณีทไี่ ม่ มสี ั ญญาหรือข้ อตกลง * ต้ องได้ รับอนุมตั ิจากหัวหน้ าส่ วนราชการก่ อน 137
หน้ าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (ต่ อ) หลักเกณฑ์ การตรวจรั บ : ตรวจให้ ถูกต้ องครบถ้ วน ตามหลักฐานทีต่ กลงกันไว้ กรณีทมี่ ีการทดลองหรือตรวจสอบในทางเทคนิคหรือ ทางวิทยาศาสตร์ จะเชิญผู้ชานาญการหรือผู้ทรงคุณวุฒิ มาให้ คาปรึกษา หรือส่ งพัสดุน้นั ไปทดลองหรือตรวจสอบ ณ สถานทีข่ องผู้ชานาญการ หรือผู้ทรงคุณวุฒิกไ็ ด้ กรณี จาเป็ นทีไ่ ม่ สามารถตรวจนับเป็ นจานวนหน่ วยทั้งหมด ได้ ให้ ตรวจรับตามหลักวิชาการสถิติ 138
69
7/11/2012
หน้ าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (ต่ อ) ระยะเวลาตรวจรับ โดยปกติ ให้ ตรวจรับพัสดุในวันทีผ่ ้ ขู ายหรื อผู้รับจ้ างนาพัสดุมาส่ ง และให้ ดาเนินการให้ เสร็จสิ้นไปโดยเร็วทีส่ ุ ด
กรณีตรวจรับถูกต้ องครบถ้ วน „ รับพัสดุไว้ และถือว่ าผู้ขายหรือผู้รับจ้ าง ได้ ส่งมอบถูกต้ องครบถ้ วน ตั้งแต่ วนั ทีน่ าพัสดุน้ ันมาส่ ง แล้ วมอบแก่ เจ้ าหน้ าทีพ่ สั ดุ „ ทาใบตรวจรับอย่างน้ อย 2 ฉบับ โดยลงชื่อไว้เป็ นหลักฐาน (มอบแก่ ผ้ ขู าย 1 ฉบับ เจ้ าหน้ าทีพ่ สั ดุ 1 ฉบับ เพือ่ ประกอบการเบิกจ่ ายเงิน ) „ รายงานผลให้ หัวหน้ าส่ วนราชการทราบ 139
หน้ าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (ต่ อ) กรณีตรวจรับไม่ ถูกต้ อง „ ส่ งมอบไม่ ถูกต้ องในรายละเอียดไม่ เป็ นไปตามข้ อกาหนดในสั ญญา/ข้ อตกลง ให้ รายงานหัวหน้ าส่ วนราชการเพือ่ ทราบหรือสั่ งการ แล้วแต่ กรณี
กรณีถูกต้ องแต่ ไม่ ครบจานวน/ หรือครบแต่ ไม่ ถูกต้ องทั้งหมด * ถ้ าสัญญาหรือข้ อตกลงมิได้ กาหนดไว้ เป็ นอย่ างอืน่ ให้ รับตรวจรับไว้ เฉพาะ จานวนทีถ่ ูกต้ อง „ เมือ่ ตรวจถูกต้ องแล้ ว ให้ รับพัสดุไว้ แล้ วมอบของให้ เจ้ าหน้ าทีพ่ สั ดุ พร้ อมกับทาใบตรวจรับ 2 ฉบับ ส่ งผู้ขาย & จนท.พัสดุ „ โดยปกติให้ รีบรายงาน หน.ส่ วนราชการ เพือ่ แจ้ งผู้ขาย/ ผู้รับจ้ างทราบภายใน 3 วันทาการ นับแต่ วนั ตรวจพบ „ ไม่ ตดั สิทธิ์ทจี่ ะปรับผู้ขายหรือผู้รับจ้ างในจานวนทีส่ ่ งมอบไม่ ครบถ้ วน หรือไม่ ถูกต้องนั้น
140
70
7/11/2012
หน้ าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (ต่ อ) กรณีพสั ดุเป็ นชุด / หน่ วย • ให้ ดูว่า ถ้ าขาดส่ วนประกอบอย่ างใดอย่ างหนึ่ง จะใช้ การไม่ ได้ อย่ างสมบูรณ์ * ถือว่ ายังไม่ ได้ ส่งมอบ * รีบรายงาน หัวหน้ าส่ วนราชการทราบภายใน 3 วันทาการ นับแต่ ตรวจพบ
141
หน้ าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (ต่ อ) กรรมการตรวจรับบางคนไม่ ยอมรับพัสดุ ให้ ทาความเห็นแย้ งไว้ เสนอ หน.ส่ วนราชการเพือ่ พิจารณาสั่ งการ ถ้ าหัวหน้ าส่ วนราชการ สั่ งการให้ รับพัสดุน้ันไว้ * ให้ ดาเนินการออกใบตรวจรับให้ ผู้ขาย/ ผู้รับจ้ าง และ จนท.พัสดุ
142
71
7/11/2012
การตรวจการจ้ างและการควบคุมงานก่ อสร้ าง ระเบียบฯ พัสดุ ปี 35 ข้ อ 72
หน้ าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้ าง ตรวจสอบรายงานของผู้ควบคุมงาน ดูการปฏิบัติงานของผู้รับจ้ าง และเหตุการณ์ แวดล้ อมทีผ ่ ้ ูควบคุมรายงาน โดยตรวจสอบกับแบบรู ปรายการละเอียด และข้ อกาหนดในสั ญญา
ทุกสั ปดาห์ รั บทราบหรื อพิจารณาการสั่ งหยุดงาน หรื อพักงานของผู้ควบคุมงาน รายงานหัวหน้ าส่ วนราชการเพือ ่ พิจารณาสั่ งการ 143
หน้ าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้ าง (ต่ อ) กรณีมีข้อสงสัยเห็นว่ าไม่ น่าจะเป็ นตามหลักวิชาการช่ าง
ให้ ออกตรวจงานจ้ าง ณ สถานทีท่ กี่ าหนดไว้ในสั ญญา/ข้ อตกลง ให้ มีอานาจ - สั่ งเปลี่ยนแปลงแก้ไขเพิม่ เติม หรือตัดทอนงานจ้ างได้ ตามทีเ่ ห็นสมควร และตามหลักวิชาช่ าง เพือ่ ให้ เป็ นไปตามรู ปแบบรายการละเอียดและ ข้ อกาหนดในสั ญญา ปกติให้ ตรวจผลงานทีผ่ ้ ูรับจ้ างส่ งมอบ - ภายใน 3 วันทาการ นับแต่ วันประธานกรรรมการรับทราบการส่ งมอบงาน - ตรวจให้ เสร็จโดยเร็วทีส่ ุ ด (มติคณะรัฐมนตรี 3 วันทาการ, 5 วันทาการ) 144
72
7/11/2012
หน้ าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้ าง (ต่ อ)
กรณีตรวจถูกต้ อง
ทาใบรับรองผลการปฏิบัติงานมอบให้ ผ้ รู ับจ้ าง , จนท.พัสดุ รายงาน หส.ราชการ ผู้ว่าจ้ างทราบ
กรณีตรวจพบว่ าไม่ ถูกต้ อง ผลงานทีส่ ่ งมอบทั้งหมด / เฉพาะงวดใด ไม่ เป็ นไปตามแบบรู ปฯ ให้ รายงานหัวหน้ าส่ วนราชการทราบ ผ่าน หน.จนท.พัสดุ เพือ่ ทราบหรือสั่ งการ แล้ วแต่ กรณี หากกรรมการตรวจการจ้ างบางคนไม่ ยอมรั บงาน ให้ ทา ความเห็นแย้งไว้ แล้วรายงานหัวหน้ าส่ วนราชการเพือ่ สั่ งการ ถ้ าหัวหน้ าส่ วนราชการสั่ งการให้ ตรวจรั บงานจ้ างไว้ ออกใบตรวจรั บให้ ผ้ รู ั บจ้ าง และ จนท.พัสดุ
145
„ ระเบียบฯ ข้ อ 37 „ ในการจ้ างก่ อสร้ างแต่ ละครั้ ง ให้ หัวหน้ าส่ วนราชการแต่ งตั้งผู้ควบคุมงาน ทีม่ ีความรู้ ความชานาญทางด้ านช่ างตามลักษณะของงานก่ อสร้ าง „ จากข้ าราชการหรือลูกจ้ างประจาในสั งกัด „ หรื อข้ าราชการหรื อลูกจ้ างประจาในสั งกัดอื่นตามที่ได้ รับความยินยอม จากหัวหน้ าส่ วนราชการของผู้น้ ันแล้ ว „ กวพ.อนุ มั ติ ผ่ อ นผั น ให้ สรก. แต่ งตั้ ง พนั ก งานราชการ พนั ก งาน มหาวิทยาลัย หรือพนักงานของรัฐ ทีม่ ีความรู้ ความสามารถในการควบคุม ได้ เป็ นผู้ ค วบคุ ม งานได้ (ตามหนั ง สื อ ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 341 ลว. 20 กย.2553) 146
73
7/11/2012
„ ในกรณีที่ลักษณะของงานก่ อสร้ างมีความจาเป็ นต้ องใช้ ความรู้ความชานาญหลายด้ าน จะแต่ งตั้งผู้ควบคุมเฉพาะ ด้ านหรือเป็ นกลุ่มบุคคลก็ได้ „ คุณวุฒิของผู้ควบคุมงานตามที่ผ้ อู อกแบบเสนอแนะ „ โดยปกติ คุณวุฒิไม่ ต่ากว่ าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ „ ในกรณีจาเป็ นจะต้ องจ้ างที่ปรึกษาเป็ นผู้ควบคุมงานแทน ข้ าราชการหรื อลูกจ้ างประจา ให้ ถือปฏิบัติตามหมวด 2 ส่ วนที่ 3 หรือส่ วนที่ 4 แล้ วแต่ กรณี
147
หน้ าที่ของผู้ควบคุมงานจ้ าง ระเบียบฯ พัสดุ ปี 35 ข้ อ 73 ตรวจและควบคุมงาน ณ สถานทีท่ กี่ าหนดไว้ ในสั ญญา ตรวจให้ เป็ นไปตามรู ปแบบ รายการละเอียด ข้ อตกลงในสั ญญา ทุกวัน ผู้ควบคุมงานมีอานาจ - สั่ งเปลี่ยนแปลงแก้ไขเพิม่ เติม หรือตัดทอนงานจ้ างได้ ตามที่ เห็นสมควร เพือ่ ให้ เป็ นไปตามสั ญญาและหลักวิชาการช่ าง ถ้ าผู้รับจ้ างขัดขืนไม่ ทาตาม - ให้ สั่งหยุดงานเฉพาะส่ วน /ทั้งหมดไว้ ก่อนจนกว่ าผู้รับจ้ าง จะยอมปฏิบัติให้ ถูกต้ องตามคาสั่ ง - รีบรายงานคณะกรรมการตรวจงานจ้ างทันที
148
74
7/11/2012
หน้ าที่ของผู้ควบคุมงานจ้ าง (ต่ อ)
กรณีเห็นว่ า รู ปแบบ รายการละเอียด ข้ อกาหนดสั ญญา มีข้อความขัดกัน คาดหมายว่ าแม้ เป็ นไปตามรู ปแบบฯ ก็จะไม่ มน ั่ คง แข็งแรง ไม่ ปลอดภัย ไม่ เป็ นไปตามหลักวิชาช่ างทีด่ ี หรือไม่ ปลอดภัย - สั่ งพักงานไว้ ก่อน - รายงาน คกก. ตรวจงานจ้ างโดยเร็ว
149
หน้ าที่ของผู้ควบคุมงานจ้ าง (ต่ อ)
จดบันทึกเป็ นรายวัน ดังนี้ สภาพการปฏิบัติงาน / เหตุการณ์ แวดล้ อม ผลการปฏิบัติงาน /การหยุดงาน/ สาเหตุหยุดงาน บันทึกให้ ระบุรายละเอียดการปฏิบัติงานและวัสดุทผ ี่ ู้รับจ้ างใช้ โดยต้ องทาบันทึกอย่ างน้ อย 2 ฉบับ - รายงาน คกก. ตรวจงานจ้ างทุกสัปดาห์ - เก็บรายงานไว้ เพือ่ มอบให้ จนท.พัสดุ เมือ่ เสร็จงาน แต่ ละงวด - ถือเป็ นเอกสารสาคัญ เพือ่ ประโยชน์ ในการตรวจสอบ 150
75
7/11/2012
หน้ าที่ของผู้ควบคุมงานจ้ าง (ต่ อ) เมือ่ ถึงวันกาหนดลงมือทางานของผู้รับจ้ าง หรือวันกาหนด ส่ งมอบงานแต่ ละงวด - ให้ รายงานผลการทางานของผู้รับจ้ าง ว่ าเป็ นไปตามสั ญญา หรือไม่ (ภายใน 3 วันทาการ นับแต่ วนั ถึงกาหนดนั้น ๆ)
151
Ex. ข้ อหารือกรณีเนื้องานตามแบบรู ปรายการกับรายละเอียดในบัญชี แสดงปริมาณวัสดุและราคาก่อสร้ าง (BOQ) ไม่ ตรงกัน „ ข้ อเท็จจริง กรม ก. ได้ทาสัญญาจ้างก่อสร้าง กับบริ ษทั เป็ นเงินทั้งสิ้ น 631,037,000 บาท ซึ่งเป็ นสั ญญาแบบถือราคาเหมารวมเป็ นเกณฑ์ ต่อมา กรมฯ ได้ตรวจสอบพบว่า เนื้ องานตามแบบรู ปรายการกับบัญชีแสดง ปริ มาณวัสดุและราคาก่อสร้าง (BOQ) ไม่ตรงกัน เนื่องจากตามแบบรู ป รายการไม่ ปรากฏมุ้งลวดและเหล็กดัด แต่ ผ้ รู ับจ้ างเสนอรายละเอียดและ คิดค่ างานติดตั้งมุ้งลวดและเหล็กดัดในบัญชี แสดงปริมาณวัสดุและราคา ก่อสร้ าง (BOQ) แนบท้ายสัญญาภายในวงเงินที่ผรู้ ับจ้างได้เสนอราคาไว้ กรมฯ จึงหารื อว่า ผูร้ ับจ้างจะต้องดาเนิ นการติดตั้งมุง้ ลวดและเหล็กดัด ตามที่ผรู ้ ับจ้างได้เสนอไว้ให้กรมฯ หรื อไม่อย่างไร เพื่อเป็ นแนวทาง และหลักการพิจารณาของคณะกรรมการตรวจการจ้างต่อไป
76
7/11/2012
Ex. ข้ อหารือกรณีเนือ้ งานตามแบบรู ปรายการกับรายละเอียดใน บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคาก่อสร้ าง (BOQ) ไม่ ตรงกัน „ แนววินิจฉัย ตามสั ญญาจ้ างก่อสร้ างทีก่ รมฯ ได้ ทาไว้กบั บริษัทฯ เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2551 ข้ อ 2 วรรคท้าย กาหนดว่า “ความใดในเอกสารแนบท้ ายสั ญญา ทีข่ ัดแย้งกับข้ อความในสั ญญานี้ ให้ ใช้ ข้อความในสั ญญานี้บังคับ และ ในกรณีที่เอกสารแนบท้ ายสั ญญาหรือแบบรู ปรายการขัดแย้ งกันเอง ผู้รับจ้ างจะต้ องปฏิบัติตามคาวินิจฉัยของผู้ว่าจ้ าง” ซึ่งโดยหลักการ เมื่อผู้รับจ้ างเสนอเงื่อนไขอย่ างไรแล้ ว ย่ อมต้ องผูกพันตามคาเสนอของตน โดยไม่ อาจถอนได้ เมื่อข้ อเท็จจริงปรากฏว่า ใบแจ้ งปริมาณงานและราคา (BOQ) ของผู้รับจ้ างมีข้อเสนอโดยระบุรายละเอียดและค่ างานติดตั้ง มุ้งลวดและเหล็กดัดไว้ และกรมฯ ได้ สนองรับราคาและมีการทาสั ญญาแล้ ว
Ex. ข้ อหารือกรณีเนื้องานตามแบบรู ปรายการกับรายละเอียดในบัญชี แสดงปริมาณวัสดุและราคาก่อสร้ าง (BOQ) ไม่ ตรงกัน „ แนววินิจฉัย (ต่ อ) ดังนั้น ผู้รับจ้ างจึงต้ องผูกพันตามเงื่อนไขทีต่ นเสนอ อีกทั้งแบบ รู ปและรายการละเอียดและใบยืน่ ข้ อเสนอบัญชีแสดงปริมาณวัสดุ และราคาก่อสร้ าง (BOQ) ทีผ่ ู้รับจ้ างได้ เสนอเป็ นเอกสารแนบท้ าย สั ญญาอันถือว่ าเป็ นส่ วนหนึ่งของสั ญญาทั้งสิ้น ดังนั้น เมือ่ งาน ติดตั้งมุ้งลวดและเหล็กดัดนั้น ปรากฏในใบแจ้ งปริมาณงานและ ราคา (BOQ) ของผู้รับจ้ าง กรมฯ ก็ต้องยึดถือบัญชีแสดงปริมาณ วัสดุและราคาก่อสร้ าง (BOQ) ดังกล่าว เป็ นหลักในการวินิจฉัย ให้ ผู้รับจ้ างปฏิบัติงานดังกล่าวต่ อไป
77
7/11/2012
หนังสือสานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร 1305/ว 5855 ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2544
เรื่อง ระยะเวลาในการตรวจการจ้ างงานก่ อสร้ าง และการตรวจรับพัสดุ
155
1. ระยะเวลาในการตรวจการจ้ างก่อสร้ าง 1.1 งานจ้ างก่อสร้ างแบบราคาเหมารวม (LUMP Sum) ราคาค่ างาน
ผู้ควบคุมงาน งวดงาน งวดสุ ดท้ าย
ทุกค่ าราคางาน
3 วัน
3 วัน
(วันทาการ)
คณะกรรมการตรวจการจ้ าง งวดงาน
งวดสุ ดท้ าย
3 วัน
5 วัน
156
78
7/11/2012
1.2 งานจ้างก่อสร้างแบบราคาต่อหน่วย (Unit Cost) (วันทาการ) ราคาค่ างาน ไม่ เกิน 30 ล้ านบาท ไม่ เกิน 60 ล้ านบาท ไม่ เกิน 100 ล้ านบาท เกิน 100 ล้ านบาท
ผู้ควบคุมงาน รายงวด ครั้งสุ ดท้ าย 4 วัน 8 วัน 8 วัน 12 วัน 12 วัน 16 วัน 16 วัน 20 วัน
คณะกรรมการตรวจการจ้ าง รายงวด ตรวจรับงาน 3 วัน 5 วัน 3 วัน 5 วัน 3 วัน 5 วัน 3 วัน 5 วัน
157
„ หลักเกณฑ์ การตรวจการจ้ างก่อสร้ าง 1. ผู้ควบคุมงานและคณะกรรมการตรวจการจ้ างจะต้ องเร่ งรัด ตรวจการจ้ างให้ แล้วเสร็จไปโดยเร็วทีส่ ุ ด และต้ องไม่ เกิน ระยะเวลาตรวจการจ้ างก่อสร้ างตามตารางดังกล่าวข้ างต้ น 2. ผู้รับจ้ างต้ องมีหนังสื อแจ้ งส่ งมอบให้ แก่ส่วนราชการ (ส่ งงานสารบรรณ/เจ้ าหน้ าทีพ่ สั ดุ/ผู้ควบคุมงาน) 3. ผู้รับหนังสื อส่ งมอบงานต้ องนาหนังสื อไปให้ งานสารบรรณ ลงรับในวันนั้นทันที (ไม่ทนั /วันทาการถัดไป) แล้วส่ งมอบให้ ผู้ควบคุมงานต่ อไป-
158
79
7/11/2012
„ หลักเกณฑ์ การตรวจการจ้ างก่อสร้ าง (ต่ อ) 4. 5. 6.
7.
การนั บ วั น ด าเนิ น การของผู้ ค วบคุ ม งาน จะเริ่ ม นั บ จากวั น ถั ด จากวั น ที่ ผู้ควบคุมงานได้ รับมอบหนังสือส่ งงานแล้ ว ในกรณีที่ผู้ควบคุมงานไม่ สามารถดาเนินการให้ แล้ วเสร็จภายในกาหนดเวลา ให้ รายงานประธานกรรมการตรวจการจ้ างพร้ อมด้ วยเหตุผลความจาเป็ น การนั บ วัน ด าเนิ นการของคณะกรรมการตรวจการจ้ า ง จะเริ่ ม นับ ถั ดจาก วัน ที่ผู้ ค วบคุ ม งานได้ ด าเนิ น การเสร็ จ และรายงานให้ ป ระธานกรรมการ ตรวจการจ้ างทราบ ในกรณี ที่คณะกรรมการตรวจการจ้ า งไม่ สามารถด าเนิ นการให้ แ ล้ วเสร็ จ ภายในก าหนดเวลา ให้ ร ายงานหั ว หน้ า ส่ วนราชการ+เหตุผ ล+ส าเนาแจ้ ง ผู้รับจ้ างทราบ
159
2. ระยะเวลาในการตรวจรับพัสดุ „ ตรวจรับในวันที่คู่สัญญานาพัสดุมาส่ ง ให้ เสร็จสิ้น โดยเร็วที่สุด แต่ อย่ างช้ าไม่ เกิน 5 วันทาการ นับแต่ วนั ที่ คู่สัญญานาพัสดุมาส่ ง ไม่ รวมระยะเวลาตรวจทดลอง หรือตรวจสอบในทางเทคนิค „ กรณีที่ไม่ สามารถดาเนินการให้ แล้วเสร็จภายใน กาหนดเวลา ให้ รายงานหัวหน้ าส่ วนราชการ+เหตุผล+ สาเนาแจ้ งให้ คู่สัญญาทราบ
160
80
7/11/2012
EX. ระยะเวลาการตรวจรั บ กรณีผ้ รู ับจ้ างส่ งงานหลาย ๆ งวด พร้ อมกันรวมงวดสุ ดท้ าย (หน่ วยงานหารื อ ) แนววินิจฉัย „ ผู้รับจ้ างส่ งมอบงานหลายงวดในคราวเดียวกัน คณะกรรมการ ตรวจการจ้ างต้ องดาเนินการตรวจการจ้ างงานก่อสร้ างทุกงวด พร้ อมกันในคราวเดียว และต้ องแล้วเสร็จภายในระยะเวลา 5 วันทาการ ไม่ ใช่ รวมจานวนระยะเวลาตรวจการจ้ าง ตามจานวนงวดทีส่ ่ งมอบ „ กรณีนี้ หากไม่ สามารถดาเนินการให้ แล้วเสร็จภายในกาหนดเวลา ให้ รายงานหัวหน้ าส่ วนราชการ+เหตุผล+สาเนาแจ้ งผู้รับจ้ างทราบ 161
งบประมาณ
TOR
ประกาศจัดซื้อ จัดจ้าง
พิ จารณาผล
ตรวจรับ
ส่งมอบ
ทาสัญญา
สานักมาตรฐานการจัดซื้ อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลาง
81
7/11/2012
ติดต่ อสอบถามเพิ่มเติม
82